. หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดษิ ฐ์ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ.2564 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 1
สารบญั หน้า หมวด 4 หมวดที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป 4 4 1) รหสั และช่ือหลกั สูตร 4 2) ชื่อปริญญาและสาขาวชิ า 5 3) วชิ าเอก 6 4) จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร 6 5) รูปแบบของหลกั สูตร 6 6) สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมตั /ิ เห็นชอบหลกั สูตร 6 7) ความพร้อมในการเผยแพร่หลกั สูตรคุณภาพและมาตรฐาน 7 8) อาชีพที่สามารถประกอบไดห้ ลงั สาเร็จการศกึ ษา 7 9) ช่ือ-นามสกลุ ตาแหน่ง และคุณวฒุ ิการศกึ ษาของอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 10 10) สถานท่จี ดั การเรียนการสอน 11) สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาทจ่ี าเป็นตอ้ งนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สูตร 11 12) ผลกระทบจาก ขอ้ 11.1 และขอ้ 11.2 ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและความเกี่ยวขอ้ งกบั 11 พนั ธกิจของสถาบนั 12 13) ความสมั พนั ธ์ (ถา้ มี) กบั หลกั สูตรอ่ืนทเ่ี ปิ ดสอนในคณะ/ภาควชิ าอื่นของสถาบนั หมวดท่ี 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 12 1) ปรัชญา ความสาคญั และวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร 12 2) แผนพฒั นาปรบั ปรุง 15 หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร 37 1) ระบบการจดั การศกึ ษา 37 2) การดาเนินการหลกั สูตร 3) หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน 39 4) องคป์ ระกอบเก่ียวกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) 39 5) ขอ้ กาหนดเก่ียวกบั การทาโครงงานหรืองานวจิ ยั 42 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1) การพฒั นาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา 2) การพฒั นาผลการเรียนรู้ในแตล่ ะดา้ น 3) แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 2
สารบญั (ต่อ) เรื่อง หน้า หมวดที่ 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนักศึกษา 1) กฎระเบยี บหรือหลกั เกณฑ์ ในการใหร้ ะดบั คะแนน (เกรด) 49 2) กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนกั ศึกษา 49 3) เกณฑก์ ารสาเร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตร 49 หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์ 1) การเตรียมการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ 50 2) การพฒั นาความรู้และทกั ษะใหแ้ ก่คณาจารย์ 50 หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลกั สูตร 1) การกากบั มาตรฐาน 51 2) บณั ฑิต 51 3) นกั ศกึ ษา 51 4) อาจารย์ 53 5) หลกั สูตร การเรียน การสอน การประเมินผเู้ รียน 53 6) สิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ 54 7) ตวั บง่ ช้ีผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) 55 หมวดที่ 8 การประเมิน และปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 1) การประเมินประสิทธิผลของการสอน 56 2) การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม 56 3) การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลกั สูตร 57 4) การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุงหลกั สูตรและแผนกลยทุ ธก์ ารสอน 57 ภาคผนวก ภาคผนวก ก คาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร 58 ภาคผนวก ข คาสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการวพิ ากษห์ ลกั สูตร 60 ภาคผนวก ค ประวตั ิอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 62 ภาคผนวก ง ขอ้ บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั ว่าดว้ ยการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ.2562 77 วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 3
รายละเอยี ดของหลักสูตร หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2564 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั วิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ หมวดท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ช่ือหลกั สูตร วศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ Doctoral of Engineering Program in Computer Engineering and Artificial Intelligence 2. ชื่อปริญญา ภาษาไทย (ชื่อเตม็ ) วศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต (วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์) (ช่ือยอ่ ) วศด.(วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ)์ ภาษาองั กฤษ (ช่ือเตม็ ) Doctoral of Engineering (Computer Engineering and Artificial Intelligence) (ชื่อยอ่ ) D.Eng. (Computer Engineering and Artificial Intelligence) 3. วชิ าเอก ไม่มี 4. จานวนหน่วยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลกั สูตร การศึกษารายวชิ าและการวจิ ยั เพอื่ ทาวทิ ยานิพนธ์ โดยมีแบง่ การศึกษาเป็น 2 แบบ และมีจานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลกั สูตร ดงั น้ี 4.1 แบบ 1 เป็ นแผนการศึกษาทเี่ นน้ การวจิ ยั โดยมีการทาวทิ ยานิพนธ์ อาจกาหนดใหเ้ รียนรายวชิ า เพม่ิ เตมิ หรือ ทากิจกรรมทางวชิ าการอ่ืนเพม่ิ ข้นึ โดยไม่นบั หน่วยกิต โดยใช้ แบบ 1.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาท่ีสาเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาโท 50 หน่วยกิต 4.2 แบบ 2 เป็ นแผนการศกึ ษาท่เี นน้ การวจิ ยั และศกึ ษารายวชิ าเพมิ่ เติม ดงั น้ี 4.2.1 แบบ 2.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโท 52 หน่วยกิต (ตอ้ งทาวทิ ยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต และเรียนรายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ 16 หน่วยกิต) 4.2.2 แบบ 2.2 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี 78 หน่วยกิต (ตอ้ งทาวทิ ยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 48 หน่วยกิต และเรียนรายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ 30 หน่วยกิต) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 4
5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา โดยแบ่งการศึกษาเป็ น 2 แบบ โดยเนน้ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นานกั วชิ าการและนกั วชิ าชีพช้นั สูง คือ 5.1.1) แบบ 1 เป็ นแผนการศึกษาท่ีเน้นการวิจยั โดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ สถาบนั ฯ อาจกาหนดใหเ้ รียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ หรือทากิจกรรมทางวชิ าการอ่ืนเพม่ิ ข้นึ โดยไม่นับ หน่วยกิต แตจ่ ะตอ้ งมีผลสมั ฤทธ์ิตามที่สถาบนั กาหนด และมีคุณสมบตั ิผเู้ ขา้ ศกึ ษา ดงั น้ี (1) แบบ 1.1 ผเู้ ขา้ ศึกษา ซ่ึงสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโทและจะตอ้ งทาวทิ ยานิพนธ์ไม่นอ้ ย กวา่ 50 หน่วยกิต 5.1.2) แบบ 2 เป็ นแผนการศึกษาท่ีเนน้ การวิจยั โดยมีการทาวทิ ยานิพนธ์ท่ีมีคุณภาพสูง และก่อใหเ้ กิด ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและวชิ าชีพ และศึกษางานรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ดงั น้ี (1) แบบ 2.1 ผเู้ ขา้ ศึกษา ซ่ึงสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโท จะตอ้ งทาวทิ ยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต และศึกษางานรายวชิ าอีกไม่นอ้ ยกวา่ 16 หน่วยกิต (2) แบบ 2.2 ผเู้ ขา้ ศึกษา ซ่ึงสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี จะตอ้ งทาวทิ ยานิพนธ์ ไม่น้อยกวา่ 48 หน่วยกิต และศึกษางานรายวชิ าอีกไม่นอ้ ยกวา่ 30 หน่วยกิต 5.2 ภาษาท่ใี ช้ ภาษาทใี่ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอนและใชเ้ อกสาร/ตาราในรายวชิ าของหลกั สูตรดงั น้ี 5.2.1) เป็นภาษาไทยสาหรบั นกั ศกึ ษาไทย ซ่ึงเขา้ ศึกษาและรบั ปริญญาของสถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั เพียงสถาบันเดียว โดยใช้เอกสารและตาราในรายวิชาของหลักสูตรเป็ นภาษาไทยหรือ ภาษาองั กฤษ 5.2.2) เป็ นภาษาองั กฤษสาหรับนกั ศึกษาไทยหรือนกั ศึกษาต่างชาติ ที่เรียนร่วมในช้นั เรียนในลกั ษณะ หลกั สูตรนานาชาติ ที่เขา้ ศึกษาและรับปริญญาของท้งั สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั และสถาบนั อ่ืนๆ ซ่ึงเป็นไปตามบนั ทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือทางวชิ าการและวจิ ยั และจดั การศึกษาแบบสอง ปริญญากับสถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั โดยใชค้ าสอนและใชเ้ อกสาร/ตาราในรายวิชาของ หลกั สูตรเป็นภาษาองั กฤษ 5.3) การรับเข้าศึกษา รบั นกั ศึกษาไทยและนกั ศกึ ษาต่างชาติ โดยใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั วา่ ดว้ ย การจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2562 5.4 ความร่วมมือกบั สถาบันอ่ืน คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร มีความร่วมมือทางด้านงานวิจยั และบริการทางวิชาการร่วมกนั สถาบนั การศึกษาภายในประเทศ อาทิ เช่น สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ และ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ตลอดจนสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ อาทิเช่น University of Salento (ประเทศอิตาลี) King’s College London (ประเทศสหราชอาณาจกั ร) และ Khalifa University (ประเทศสหรัฐอาหรบั เอมิเรตส์) 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ใหป้ ริญญาเพยี งสาขาวชิ าเดียว วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 5
6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลกั สูตร - หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต (Computer Engineering and Artificial Intelligence) เป็นหลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2564 - เปิ ดสอนภาคการศึกษาท่ี 1 โดยเริ่มปี การศกึ ษา 2564 -ไดพ้ จิ ารณากลนั่ กรองโดยคณะกรรมการประจาส่วนงานวชิ าการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั ในการประชุมคร้งั ท่ี ......... เม่ือวนั ท่ี ...... เดือน............ พ.ศ. ..... - ไดพ้ จิ ารณากลนั่ กรองโดยคณะกรรมการพจิ ารณาหลกั สูตรระดบั ปริญญาดุษฎีบณั ฑิต ในการประชุมคร้ังท่ี .......... เมื่อวนั ที่ ...... เดือน............ พ.ศ. ..... - ไดร้ บั ความเห็นชอบจากสภาวชิ าการสถาบนั ในการประชุมคร้งั ท่ี ......... เมื่อวนั ที่ ...... เดือน............ พ.ศ. ..... - ไดร้ ับอนุมตั ิ/เห็นชอบหลกั สูตรจากสภาสถาบนั ในการประชุมคร้ังที่ ......... เม่ือวนั ที่ ...... เดือน............ พ.ศ. ..... 7. การขอรับการประเมินเพื่อขอรับรองมาตรฐานหลกั สูตร หลกั สูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั บณั ฑติ ศึกษา หลกั สูตร วศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ในปี การศกึ ษา 2564 8. อาชีพท่สี ามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา นกั ศึกษาทส่ี าเร็จการศกึ ษาในหลกั สูตรน้ีสามารถประกอบอาชีพไดห้ ลากหลาย เช่น (1) นกั บริหารงานวจิ ยั /นกั วเิ คราะห์ระบบช้นั สูงดา้ นปัญญาประดิษฐ์ ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (2) นกั วเิ คราะห์ระบบอินเตอร์เน็ทของสรรพสิ่งท่ีชาญฉลาด (Smart IOT system analyst) (3) นกั บริหารโครงการดา้ นคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ(์ Computer and AI project manager) (4) นกั วเิ คราะห์งานถ่ายทอดระบบนวตั กรรมปัญญาประดิษฐ์ (AI Innovation system transfering analyst) (5) นกั บริหารระดบั สูงขององคก์ รดา้ นปัญญาประดิษฐ์ (High manager of AI organization) (6) นกั วเิ คราะห์ระบบควบคุมหุ่นยนตอ์ จั ฉริยะ(Artificial Intelligence Robot Control system analyst) (7) อาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั ดา้ นคอมพวิ เตอร์ช้นั สูง (Advance Computer researcher and lecturer) (8) ท่ีปรึกษาทางเทคโนโลยใี นองคก์ รดา้ นวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ (9) นกั ธุรกิจเฉพาะดา้ นคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ หรือธุรกิจอุตสาหกรรมที่เก่ียวขอ้ ง วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 6
9. ชื่อ –สกลุ ตาแหน่ง และคณุ วฒุ ิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ลาดับ ชื่อ-สกลุ ตาแหน่งวชิ าการ คณุ วฒุ ิ, สาขาวชิ า สถาบันการศึกษา ปี ท่ีสาเร็จ เลขประจาตัวประชาชน พ.ศ.2548 1 วา่ ที่ รต. มงคล กลนิ่ กระจาย อาจารย์ Ph.D.(Robotics and King College London, พ.ศ.2550 พ.ศ.2533 3 1005 03720 996 Mechatronics United Kingdom. พ.ศ.2554 Engineering) พ.ศ.2544 พ.ศ.2540 วศ.บ.(วศิ วกรรม สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั พ.ศ.2555 อิเลก็ ทรอนิกส์ฯ) พ.ศ.2546 คบ.(คอมพิวเตอร์) วทิ ยาลยั ครูสวนสุนนั ทา พ.ศ.2539 2 ดร.สกล อดุ มศิริ รอง D.Eng.(Information Nagaoka University of 3 7105 00985 12 8 ศาสตราจารย์ Science and Control Technology, Japan Engineering) วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยมี หานคร 3 ดร.แสนศกั ด์ิ ดอี อ่ น อาจารย์ D.Eng.(Information Nagaoka University of 3 1011 00242 09 4 science and control Technology, Japan Engineering) วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยมี หานคร 10. สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาท่ีจาเป็ นต้องนามาพจิ ารณาในการวางแผนเสนอหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปัจจบุ นั สงั คมไทยกา้ วเขา้ สู่โลกยคุ ดิจิทลั อยา่ งเตม็ ตวั ท้งั ภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทาใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว การแขง่ ขนั สูง การเขา้ ถึงแหล่งปริมาณขอ้ มูลมหาศาลบนโลกออนไลน์ มีมากข้ึน ส่งผลตอ่ พฤตกิ รรม ความคดิ และทศั นคตขิ องคนไทยเปลี่ยนไป รวมท้งั นโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยต้งั เป้าหมายใหไ้ ทยสามารถใชน้ วตั กรรมทางเทคโนโลยมี าช่วยเสริมคุณค่าทางเศรษฐกิจและ สงั คมรวมท้งั พฒั นาทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ ีคุณภาพ เพอื่ ขบั เคล่ือนประเทศ ดงั น้นั การศกึ ษาจงึ เป็น เคร่ืองมือสาคญั ในการยกระดบั คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ เยาวชนชาวไทยยคุ ใหม่ เพอ่ื ใหเ้ ขาเหล่าน้นั สามารถทนั ตอ่ การพฒั นาระบบการศกึ ษาทางดา้ นเทคโนโลยี 4.0 จึงนบั มีส่วนสาคญั ในการช่วยริเริ่มการเชื่อมโยงและผสมผสานการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ืองในหลาย มิติท้งั ด้านนโยบายดา้ นความร่วมมือและการสนับสนุนจากเครือข่ายของสถาบนั การศึกษาต่างๆ เพอ่ื ใหเ้ ป็ นกลไกหลกั ในช่วยพฒั นาเยาวชนรุ่นใหม่ใหท้ นั ตอ่ ยคุ สมยั และสอดคลอ้ งตลาดแรงงาน อนั จะนาไปสู่การพัฒนาประเทศในการผลิตบุคลากรให้มีคุณภาพและสามารถตอบโจทยก์ าร เปล่ียนแปลงของโลกในอนาคต ให้เป็ นไปตามกรอบแนวคิดของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 7
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ซ่ึงจะมีส่วนสาคัญและสามารถเชื่อมโยงสรรพสิ่งเพ่ือการ พฒั นาประเทศไทยอยา่ งยง่ั ยนื โดยพจิ ารณาแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงของประเทศและของโลกในอนาคต เช่น การรวมตวั ของ เศรษฐกิจในภูมิภาค การเปล่ียนศูนยก์ ลางอานาจทางเศรษฐกิจโลกมาอยใู่ นภูมิภาคเอเชีย การวจิ ยั และ พฒั นานวตั กรรมทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ซ่ึงกลายเป็นปัจจยั หลกั เพอ่ื ขบั เคลื่อนการพฒั นาใน ทกุ ดา้ นควบคูก่ บั การจดั การศึกษาในระดบั บณั ฑติ ศึกษา สาขาวชิ าวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ ซ่ึงสถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั ไดพ้ จิ ารณาแลว้ วา่ ทรัพยากรท้งั บุคคลากร เครื่องมือและสถานที่ ตลอดจนส่ิงอานวยความสะดวกในสถาบนั ฯ จะสามารถมีส่วนช่วยให้เกิดการพฒั นาคนอยา่ งมี คุณภาพ ให้เขา้ ใจกระบวนการคน้ ควา้ วิจยั ตลอดจนสามารถประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ให้ บรรลุผลในงานวิจยั อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศได้ ที่ซ่ึงคาดวา่ จะสามารถนาผลจาก งานวิจยั ที่ได้มา ช่วยแกป้ ัญหาในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ของ ประเทศไทยและนางานวจิ ยั ทีไ่ ดม้ าปรับระบบใหส้ อดคลอ้ งกบั พนั ธกรณีในการเพม่ิ ศกั ยภาพของการ พฒั นาประเทศไทย ใหร้ องรับการพฒั นาประเทศเขา้ สู่โลกยคุ ดิจิทลั ไทยแลนด์ 4.0 ให้สามารถนาไป สร้างนวตั กรรมประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเครื่องมือต่างๆ เพอื่ เพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานดา้ นต่างๆ ในอุตสาหกรรมอัตโนมัติ ให้สามารถขยายขอบเขตการให้บริการได้อย่างกว้างขวางเป็ น อุตสาหกรรมดิจิตอลแนวใหม่และสามารถช่วยในการพฒั นาเศรษฐกิจแก่ประเทศไทย 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ในความมุ่งม่ันท่ีเน้นพฒั นาดา้ นเศรษฐกิจอยา่ งรวดเร็ว แมจ้ ะมีประโยชน์อย่างมากในความ พยายามกา้ วกระโดด เพอ่ื การพฒั นาประเทศ ซ่ึงอาจจะเป็ นการนาเทคโนโลยมี าสนบั สนุนการพฒั นา ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินของไทยและนามาสรา้ งมูลค่าเพิม่ ซ่ึงจะเป็นสินทรพั ยท์ างปัญญาที่สร้างมูลค่าทาง เศรษฐกิจสูงข้ึนได้ แต่หากขาดการปลูกฝังดา้ นคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีต่อเยาวชนไทย ก็จะทาให้ เกิดปัญหาทางสังคมและวฒั นธรรมตามมา จึงกลายเป็ นความจาเป็ นตอ้ งหันมาช่วยให้ความรู้ทกั ษะ และจริยธรรม หลกั ธรรมาภิบาล ตลอดจนการเสริมสร้างความคิดดา้ นคุณธรรมท่ีถูกตอ้ งใหแ้ ก่กลุ่มผู้ ที่ได้ศึกษาในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมอิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ วิศวกรรมหุ่นยนต์ วิศวกรรมอัตโนมัติ วิศวกรรมซอฟท์แวร์ อิเลคทรอนิกส์อัจฉริยะ วิทยาการ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ทุกแขนง หรือสาขาวชิ าที่เกี่ยวขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์ และมีประสบการณ์ทางอิเลคทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะเป็ นผสู้ ร้างกฏเกณฑแ์ ละการตดั สินใจ ในการควบคุมการทางานของระบบอจั ฉริยะในอนาคต ในการน้ีจะสามารถช่วยเป็นกลไกการขบั เคล่ือนกระบวนการพฒั นาช้นั สูงในเกือบทุกข้นั ตอนที่ ตอ้ งใช“้ ความรอบรู้” ในการพฒั นาดา้ นต่างๆ ดว้ ยความรอบคอบและมีลาดบั ข้นั ตอนสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของสังคมไทย รวมท้งั การเสริมสร้างศีลธรรมและสานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการ ดาเนินชีวิตด้วยความเพียร ให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนท้งั ในระดบั ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ อีกท้ังด้วยกระแสโลกาภิวตั น์ ที่เขา้ มาสู่โลกที่ไร้พรหมแดนทาให้มีการ เคลื่อนยา้ ยทุนและปัจจยั การผลิต ระหว่างประเทศไดอ้ ย่างคล่องตวั ความได้เปรียบของประเทศ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 8
ท้งั หลายจะข้นึ กบั การมีทรัพยากรธรรมชาติ กาลงั คนที่มีขีดความสามารถสูงและเทคโนโลยเี พม่ิ ข้ึน จะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมทาให้สังคมไทยในอนาคตมีแนวโน้ม สดั ส่วนประชากรวยั เด็กลดลงในขณะทป่ี ระชากรสูงอายเุ พมิ่ ข้นึ ในขณะท่ีแนวโน้มของกระแสวฒั นธรรมใหม่ที่มากับส่ือสารสนเทศและส่ือบันเทิงจาก ต่างประเทศ กาลงั เขา้ มาแทนที่เอกลกั ษณ์และคุณค่าแบบด้งั เดิมของสังคมไทย นับต้งั แต่อุปนิสัย คา่ นิยมเรื่องศาสนา ค่านิยมทางเพศ รวมท้งั มีทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ทกั ษะดา้ น ชีวิตและอาชีพ ในการทางานจะมีความซับซ้อนมากข้ึน ดงั น้ันการพฒั นาหรือสร้างองคค์ วามรู้ รวมถึงการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมมาผสมผสานร่วมกบั จุดแขง็ ในสังคมไทย จะทาให้ กระบวนการพฒั นาขบั เคล่ือนใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกบั วถิ ีชีวติ ของสงั คมไทย โดยหลกั สูตรทีจ่ ะเปิ ดสอนใหม่น้ี สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2574) ของประเทศตามยทุ ธศาสตร์ตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 การพฒั นาหลกั สูตรกระบวนการ จดั การเรียนการสอนการวดั และประเมินผลผเู้ รียน ระบบการวดั และประเมินการเรียนรู้ (Learning Outcome) ของ ผูเ้ รียนท้ังที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั ประสบการณ์จากการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ยกระดบั คุณวฒุ ิของผเู้ รียน โดยอาศัย ระบบและกลไกการสะสมหน่วยการเรียนและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานหลกั สูตร และมาตรฐานสมรรถนะวชิ าชีพภายใตก้ รอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ มี เป้าหมายในการสร้างความร่วมมือกบั กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย สานักงานการวิจยั แห่งชาติ สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถมั ภ์ สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแ์ วร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) วศิ วกรรมสถาน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ สาขาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และสาขาวศิ วกรรมสารสนเทศ ซ่ึงเป็ นหน่ึงในหน่วยงานที่มีบทบาทสาคญั ในการขบั เคลื่อนประเทศไทยสู่ยคุ เศรษฐกิจดิจิทลั ตาม นโยบายของรัฐบาล ในลักษณะการร่วมงานวิจยั ด้านวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ที่ใช้งานใน ภาคอุตสาหกรรมและการสร้างเครือข่ายบคุ ลากรเพอ่ื การทาวจิ ยั นอกจากน้ีแลว้ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และ ปัญญาประดิษฐ์ จะสนับสนุนในการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักวชิ าการ ในการเขา้ ร่วมการ อบรมตามโครงการของหน่วยงานภาครัฐที่เปิ ดโอกาสให้สถานศึกษาเขา้ ร่วมโครงการ เพื่อป้อน บคุ ลากรสู่อุตสาหกรรม 11.3 สถานการณ์การพัฒนาประเทศไทยตามนโยบาย Thailand 4.0 องค์ประกอบสาคญั ในการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ หลกั สูตร พ.ศ. 2564 ซ่ึงประกอบดว้ ย 1. วิสัยทศั น์ '‘ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0)” ท่ีมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจของ ประเทศนับจากปี ปัจจุบนั ไปสู่ “เศรษฐกิจท่ีขบั เคลื่อนดว้ ยนวตั กรรม ซ่ึงมุ่งเน้นให้เกิดการ เปล่ียนแปลงใน 3 มิติสาคญั คือ มิติที่ 1 เปล่ียนเป็ นการผลิตสินคา้ เชิง “นวตั กรรม” มิติที่ 2 วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 9
ขบั เคลื่อนประเทศดว้ ยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม และมิติท่ี 3 เน้นภาค บริการ 2. ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม ของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 12 ทมี่ ุ่งส่งเสริมพฒั นาใหเ้ ป็ นผปู้ ระกอบการทางเทคโนโลยี 3. ยทุ ธศาสตร์ชาติซ่ึงสอดคลอ้ งตามแผนปฏิบตั ิการเกษตรอัจฉริยะ (พ.ศ. 2563 - 2565) กับแผน ระดับท่ี 1-2 ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560 ในแนวทางการพฒั นาการนา เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเป็นฟาร์มหรือแปลงเกษตรอจั ฉริยะ และการสนบั สนุน ส่งเสริมการทาระบบฟาร์มอจั ฉริยะ 4. การเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรีวท้งั ในส่วนของเทคโนโลยแี ละการใขป้ ระโยชนจ์ ากคอมพวิ เตอร์ 5. ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century skills) ช่ีงระบุทกั ษะท่ีสาคญั ที่สุดสาหรับการศึกษาใน ศตวรรษท่ี 21 จานวน 4 ทักษะ คือ 1) การคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical thinking) 2) การล่ือสาร (Communication) 3) การร่วมมือ (Collaboration) และ 4) ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity) ดงั น้ันการคิดแบบมีวจิ ารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ และความสอดคลอ้ งกบั แนวคิดสากล จึงเป็ น ความสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และ ปัญญาประดิษฐ์ พ.ศ. 2564 12. ผลกระทบจากข้อ 11.1 11.2 และ 11.3 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกบั พนั ธกจิ ของสถาบันฯ 12.1 การร่างหลักสูตร ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก จึงจาเป็ นต้องร่างหลักสูตรในเชิงรุกท่ีมีศักยภาพและ สามารถปรับเปลี่ยนไดต้ ามววิ ฒั นาการของอุตสาหกรรม และรองรบั การแข่งขนั ในระบบการคา้ เสรีที่ จะเข้ามามี บทบาท มีผลกระทบต่อธุรกิจภายในประเทศในทุกระดบั โดยการผลิตบุคลากรด้าน วิศวกรรมให้มีความสามารถและมีความพร้อมในการออกแบบ ปรับปรุง กระบวนการผลิตใน อุตสาหกรรม สามารถนาหรือพฒั นาเทคโนโลยีที่เหมาะสม เขา้ มาใช้ให้เป็ นข้อ มคอ.2 วศ.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์) คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั เพื่อให้สามารถช่วยแกป้ ัญหาการขาดแคลนบุคลากร ผทู้ ่ีมีความรู้ความสามารถอย่างแทจ้ ริงดา้ น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงมีความจาเป็ นอยา่ งยง่ิ ในการพฒั นาประเทศ การขาดแคลนวิศวกร ช้นั สูง มีแนวโนม้ ท่ีจะทวีความรุนแรงข้ึนในอนาคตซ่ึงเป็ นสภาวะท่สี ถาบนั อุดมศึกษาของรัฐบาลไม่ สามารถผลิตวศิ วกรเพอ่ื สนองความตอ้ งการได้ อีกท้งั เพอื่ ช่วยเสริมความตอ้ งการที่จะผลิตบณั ฑิตที่มี ความรู้ความสามารถที่เต็มศกั ยภาพเพือ่ ประโยชน์แก่ตนเองและประเทศชาติ ความสามารถดงั กล่าว จะสามารถสงั่ สมจากการศึกษาและการฝึกปฏบิ ตั ใิ ห้มีความรู้ความเขา้ ใจลึกซ้ึงในวิทยากรสมยั ใหม่ ตลอดจนมีความรู้และทกั ษะในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ที่เป็ นจริง การจัดทาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และ ปัญญาประดิษฐ์ จะมุ่งเนน้ ผลิตบณั ฑิตท่ีสามารถทางานวิจยั อยา่ งเป็ นระบบและนาความรู้ที่เกี่ยวขอ้ ง กบั ทางวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ ไปผสมผสานกบั เทคโนโลยใี หม่ๆ เพ่ือให้ไดง้ านวิจยั ที่มีมูลค่า วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 10
ใหม่ๆซ่ึงสามารถนามาใชใ้ นภาคอุตสาหกรรมในรอบ 5 ปี ท่ีผ่านมาเทคโนโลยใี หม่ๆ ทางดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ และการส่ือสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ดงั น้นั การพฒั นาหลกั สูตรเพ่ือสรา้ งบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถดงั กล่าว จาเป็ นตอ้ งมีการ วางแผน กาหนดทิศทางและพัฒนาอย่างต่อเนื่องไปด้วย เพ่ือให้ได้งานวิจยั ที่มีมูลค่าในการ ขบั เคล่ือนประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขบั เคลื่อนดว้ ยเทคโนโลยใี หม่สมยั ใหม่ ท่ีเนน้ การ บริหารจดั การและเทคโนโลย.ี 12.2 ความเกยี่ วข้องกบั พันธกจิ ของสถาบนั สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั เป็ นสถาบนั อุดมศกึ ษาเฉพาะดา้ น ที่มีพนั ธกิจในการจดั การศกึ ษาและ พฒั นาผลงานทางวิชาการดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบนั สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั มี คณาจารย์ ดา้ นวศิ วกรรมทีม่ ีความพรอ้ มท้งั คุณวฒุ ิและผลงานทางวชิ าการในการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา เพ่ือตอบสนองต่อความตอ้ งการในการพฒั นาประเทศท้งั ทางเศรษฐกิจและสังคม คณาจารย์ ดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั จึงสมควรมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ในลกั ษณะบูรณาการเพอ่ื ผลิตวศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ า วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ที่มีขีดความสามารถสร้างนวตั กรรมท่ีมีศกั ยภาพในเชิง พาณิชยม์ ากข้นึ 13. ความสัมพนั ธ์ (ถ้ามี) กับหลกั สูตรอื่นทเ่ี ปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบนั 13.1 กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลักสูตรนี้ทเี่ ปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสูตรอื่น ไม่มี 13.2 กล่มุ วิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิ ดสอนให้สาขาวชิ า/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน ไม่มี 13.3 การบริหารจัดการ กาหนดอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลกั สูตรของสาขาวชิ า และบริหารจดั การการเรียนการสอนใหม้ ี ผลมาตรฐานการเรียนรู้เป็นไปตามท่ีระบุในหลกั สูตร หมวดท่ี 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรัชญา ความสาคญั และวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา มุ่งเน้นผลิตวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ที่มี ความรู้ เกี่ยวกับระบบอิเล็กทรอนิกส์กาลัง เทคโนโลยดี ิจิตอล และระบบควบคุมอจั ฉริยะ อีกท้งั สามารถ ประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ไปสร้างผลงานวจิ ยั ที่เพม่ิ มูลค่าทางเศรษฐกิจใหเ้ ป็นทย่ี อมรบั ท้งั ในและตา่ งประเทศ 1.2 ความสาคญั วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ จะเก่ียวขอ้ งกบั การควบคุมกระบวนการทางานอตั โนมตั ิ รวมถึงการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี หม่ๆได้ ดังน้ันการผลิตนักวิจยั ท่ีเขา้ ใจและประยกุ ต์ใชอ้ งคค์ วามรู้ทาง วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 11
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ไดจ้ ึงมีความสาคญั และสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาประเทศและเพม่ิ มูลค่าใหก้ บั งานวจิ ยั ในมิติตา่ งๆ ได้ 1.3 วัตถุประสงค์ หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ซ่ึงเป็ น หลกั สูตร พ.ศ.2563 มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ผลิตบณั ฑิตใหม้ ีคุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี 1.3.1 เพื่อผลิตบุคลากรและนักวิจัยช้ันสูงทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ให้มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ปัญหา และพิจารณา แนวหาวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยใชห้ ลกั การทางวศิ วกรรม ใหส้ ามารถนาผลการวเิ คราะห์ไปแกไ้ ข ปัญหาให้แก่สังคม และเป็ นบุคลากรที่มีความสามารถในการบูรณาเทคโนโลยีเพื่อการ สร้างสรรคผ์ ลงานนวตั กรรมช้นั สูง เพอื่ ตอบสนองตอ่ การพฒั นาอุตสาหกรรมในประเทศชาติ 1.3.2 เพื่อตอบสนองต่อแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 ส่งเสริมทรัพยากรบุคคล ท่ีมีความรู้ความสามารถในดา้ นการวเิ คราะห์ ออกแบบ สร้างสรรและพฒั นางานวจิ ยั ทางดา้ น วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ และการกระจายโอกาสทางการศึกษาในระดบั สูง 1.3.3 เพ่ือผลิตบุคลากรช้ันสูงทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ให้มีความคิด สร้างสรรคแ์ นวทางแกไ้ ขปัญหาโดยมีหลกั การและเหตผุ ลเชิงวทิ ยาศาสตร์ท่ีสามารถพสิ ูจนไ์ ด้ 2. แผนพฒั นาปรับปรุง แผนการพฒั นา/เปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งชี้ - พฒั นาหลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา - พัฒนาหลักสูตรโดยมีพ้ืนฐานจาก - รายงานติดตามและประเมินหลกั สูตร ระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชา หลกั สูตรในระดบั สากลท่ีทนั สมยั - รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ วิศวกรรมคอมพิ วเตอร์และ - ติดตามการปรับปรุงหลกั สูตรอย่าง ในการใชบ้ ณั ฑิตของผปู้ ระกอบการ ปัญญาประดิษฐ์ ให้มีมาตรฐาน สม่าเสมอ -ผใู้ ชบ้ ณั ฑิตมีความพึงพอใจดา้ นทกั ษะ ไม่ต่ากวา่ เกณฑท์ ่ี สกอ.กาหนด - เชิญผเู้ ชี่ยวชาญท้งั ภาครัฐและเอกชน ความสามารถในการทางาน มามีส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตร - ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ - ติดตามความเปล่ียนแปลงในความ - รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ สอดคล้องกับความต้องการ ตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ หน่วยงาน ในการใชบ้ ณั ฑิตของผปู้ ระกอบการ ของตลาดแรงงาน และการ ต่างๆ ที่เก่ียวข้องทางด้านวิศวกรรม - ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในด้าน เปลี่ยน แปลงของเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ ความรู้และทกั ษะทางานของบณั ฑิต - พัฒนาศกั ยภาพของบุคลากร - สนบั สนุนบุคลากรดา้ นวิจยั ในเชิงลึก - ปริ มาณ ผลงาน วิจัยต่ออาจารย์ใน ดา้ นการเรียนการสอน งานวิจยั ที่ใชโ้ จทยป์ ัญหาจากอุตสาหกรรม หลกั สูตร และการบริการวิชาการ เพ่ือให้ - สนับสนุนบุคลากรในการทางาน - ปริมาณงานบริการวิชาการต่ออาจารย์ มี ความรู้ ในเชิ งลึ กท่ี ทันต่อ บริการวิชาการแก่องคก์ รภายนอก ในหลกั สูตร เทคโนโลยที ่ีเกี่ยวขอ้ งในการนา - สนบั สนุนบุคลากรดา้ นการเรียนการ - จานวนอาจารยท์ ่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมทาง ความรู้ทางวิศวกรรมปัญญา สอนให้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ วิชาการตอ่ อาจารยใ์ นหลกั สูตร ประดิษฐ์ ไปปฏิบตั ิงานจริง ระดบั ประเทศหรือระดบั นานาชาติ - การพฒั นาครุภณั ฑ์การศึกษา - จัด ท าแผ นจัดซ้ื อ จัดซ่ อ มบ ารุ ง - แผนจัดซ้ือ จดั ซ่อมบารุง ครุภณั ฑ์ใน ที่สามารถรองรับงานวิจยั ด้าน ครุภณั ฑใ์ นระยะเวลา 5 ปี ระยะเวลา 5 ปี วิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ - บัญ ชี รายก ารค รุ ภัณ ฑ์ ส าข าวิ ช า วิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 12
หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนนิ การและโครงสร้างของหลกั สูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจดั การศึกษาใชร้ ะบบทวภิ าคโดยมีการจดั การศกึ ษา แบง่ ออกเป็ น 2 ภาคศึกษาปกติ และจดั การ เรียนการสอนในลกั ษณะระบบโมดูล (Modular system) ตามนโยบายการดาเนินงานบนภารกิจของกระทรวง การอุดมศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม โดยหน่ึงในภารกิจของกระทรวงฯ บนแพลตฟอร์มท้งั 4 คือ (1) การสรา้ งและพฒั นาคน ใหเ้ ป็น Smart Citizen (2) การสรา้ งและพฒั นาองคค์ วามรู้ ไปสู่ระบบเศรษฐกิจที่ เนน้ คุณค่า (Value Based Economy) (3) การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรม ไปสู่ประเทศฐานนวตั กรรม (Innovation Nation) และ (4) การยกเคร่ืองมหาวทิ ยาลยั (Reinvent) มหาวทิ ยาลยั จะตอ้ งเป็ นหลกั ในการ กาหนดทศิ ทางและยทุ ธศาสตร์ทเี่ ป็นรูปธรรมของประเทศ(Future Setting) ตามพลวตั โลกในศตวรรษท่ี 21 และเป็นไปตามขอ้ บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ.2562 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน อาจจะมีการจดั การศึกษาภาคฤดูร้อน ท้งั น้ีเป็ นไปตามแนวปฏิบตั ิในการเปิ ดรายวิชา และการจดั การศึกษาภาคฤดูร้อนของสถาบนั ฯ หรือข้นึ กบั ดุลพนิ ิจของคณะกรรมการรับผดิ ชอบหลกั สูตร 1.3 การเทียบเคยี งหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวภิ าค : สามารถเทียบเคยี งหรือเทียบโอนได้ ในการสะสมหน่วยกิต (Credit Bank) ตามนโยบายรัฐบาล เพ่ือส่งเสริมและสนบั สนุนใหบ้ ุคคลทวั่ ไปมีโอกาสศึกษาเพิม่ พูนความรู้ ทางวชิ าการ สามารถนาไปพฒั นางานและวชิ าชีพ โดยใหเ้ ขา้ รับการศกึ ษาเป็นรายวชิ า หรือหลกั สูตรฝึกอบรม ที่สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั จดั ข้นึ โดยผา่ นการประเมินผลและไดร้ ับวฒุ ิบตั รจากการอบรมรายวชิ าน้นั โดย รายวิชาที่สามารถเทียบเคียงหรือสะสมหน่วยกิตตามลักษณะรายวิชาที่เกี่ยวข้องและเหมาะสมจะอย่ใู น ดุลพนิ ิจคณะกรรมการหลกั สูตร 2. การดาเนินการหลกั สูตร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนกรกฎาคม – พฤศจิกายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤจกิ ายน – มีนาคม หรือเป็นไปตามประกาศของสถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 2.2 คุณสมบตั ิของผู้เข้าศึกษา (1) ผเู้ ขา้ ศกึ ษาชาวไทยหรือชาวตา่ งชาติ ซ่ึงสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีจากสถาบนั อุดมศึกษาที่มี ผลการเรียนดีมาก หรือสาเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาโท ภายในประเทศหรือสถาบนั การศึกษาใน ต่างประเทศ ซ่ึงสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ สานักงานคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรือน (กพ.) ให้การรับรองคุณวฒุ ิ และเป็ นไปตามขอ้ บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทุม วนั วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2562 วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 13
(2) ผเู้ ขา้ ศึกษาผทู้ ีส่ าเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศบ.) ในสาขาวชิ า ตอ่ ไปน้ี อิเลคทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์ ควบคุม ไฟฟ้า การวดั คุม เมคคาทรอนิกส์ หรือสาขาวชิ าท่ี สมั พนั ธก์ นั ซ่ึงไดร้ ับเกรดเฉลี่ยไม่ต่ากวา่ 3.25 และตอ้ งเป็นผมู้ ีประสบการณ์ในการทางานวจิ ยั ที่ เก่ียวขอ้ งไม่ต่ากวา่ 2 ปี หรืออยใู่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรโดยรับเข้าเป็ น นกั ศึกษาปกติ (3) ผเู้ ขา้ ศกึ ษาสาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโท วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต (วศม.) หรือครุศาสตร์ อุตสาหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต (คอม.) วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต (วทม.) หรือเทียบเท่า ในสาขา วชิ าเอกต่อไปน้ี คอมพวิ เตอร์ ไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ หรือ สาขาวิชาที่สมั พนั ธก์ นั ซ่ึงอยใู่ นดุลยพนิ ิจ ของคณะกรรมการหลกั สูตร (4) มีคุณสมบตั ิอ่ืนๆตามสาขาวิชากาหนดและจะประกาศให้ทราบในเอกสารรับสมัครในแต่ละปี การศกึ ษา 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า นกั ศึกษาแรกเขา้ ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องการใชภ้ าษาองั กฤษ และคุณวฒุ ิของนักศึกษาที่จะรบั เขา้ ศึกษา มาจากหลายสาขาวิชาและต่างสถาบนั จึงอาจมีปัญหาของนักศึกษาแรกเขา้ ซ่ึงมาจากต่างสถาบนั และมี พน้ื ฐานการศกึ ษาและมีการจดั การเรียนการสอนทแี่ ตกต่างกนั 2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 2.4.1 ใชส้ ่ือการสอนในการสอนปรบั พ้นื ฐานภาษาองั กฤษ โดยใหน้ กั ศกึ ษาลงทะเบียนและเขา้ เรียน รายวชิ าภาษาองั กฤษเพอื่ ปรบั พ้นื ฐานทางภาษาองั กฤษ จนสามารถผา่ นเกณฑท์ ดสอบภาษาองั กฤษ 2.4.2 ใช้สื่อการสอนในรายวิชาต่างๆ เป็ นภาษาองั กฤษให้มากข้ึน เพ่ือให้นักศึกษาคุน้ เคยและ ฝึกฝนการใชภ้ าษาองั กฤษ ตลอดจนแนะนาใหน้ กั ศคกษาลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าภาษาองั กฤษเพม่ิ เติม 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาเอกในระยะ 5 ปี จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาแต่ละปี การศึกษา 2564 2565 2566 2567 2568 ช้นั ปี ท่ี 1 นกั ศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศ (ภาคปกต)ิ 5 5 10 10 15 15 15 15 20 20 ช้นั ปี ที่ 1 นกั ศึกษาไทย (ภาคพิเศษ) - ช้นั ปี ท่ี 2 นกั ศึกษาไทยหรือนกั ศึกษาต่างประเทศ (ภาคปกต)ิ 5 5 10 10 - 15 15 15 20 ช้นั ปี ท่ี 2 นักศึกษาไทย (ภาคพิเศษ) - ช้นั ปี ท่ี 3 นกั ศึกษาไทยหรือนกั ศึกษาต่างประเทศ (ภาคปกต)ิ - 5 5 10 - - 15 15 15 ช้นั ปี ท่ี 3 นักศึกษาไทย (ภาคพเิ ศษ) รวม 20 40 65 75 90 - 20 20 25 คาดว่าจะจบการศึกษา วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 14
2.6 งบประมาณตามแผน (ระดบั ปริญญาเอก) 2.6.1. งบประมาณรายรับ (หน่วย บาท) รายละเอียดรายรับ (2 ภาคเรียน/ปี ) 2564 ปี งบประมาณ 2568 (5 คน) (15 คน) นักศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศ (ภาคปกต)ิ ประมาณ 3 ปี 600,000 2565 2566 2567 1,800,000 ประมาณ 5-15 คน (ลงทะเบียน 60,000/ภาคเรียน) (5 คน) (10 คน) (10 คน) ค่าลงทะเบียนเรียนประมาณ 360,000 บาทต่อคน/หลกั สูตร 600),000 1,200,000 1,200,000 นกั ศึกษา (ภาคพเิ ศษ) ประมาณ 3-6 ปี ประมาณ 15-20 คน (ลงทะเบยี น 80,000/ภาคเรียน) (15 คน) (15 คน) (15 คน) (20 คน) (20 คน) ค่าลงทะเบียนเรียนประมาณ 480,000 บาทต่อคน/หลกั สูตร 2,400,000 2,400),000 2,400,000 3,200,000 3,200,000 รวมรายรับ 3,000,000 3,000,000 3,600,000 4,400,000 5,000,000 หมายเหตุ : งบประมาณตามแผน (ระดบั ปริญญาเอก) แผนงบประมาณรายรับ ดงั ตาราง 2.6.1 เป็นการคาดการณ์หากมนี กั ศึกษาตา่ งประเทศเขา้ เรียน ดงั น้ี -อตั ราค่าลงทะเบียนดงั ในตารางนกั ศกึ ษาภาคปกติและภาคพิเศษ เป็ นอตั ราค่าลงทะเบยี นสาหรับนักศกึ ษาไทย - หากเป็ นนักศกึ ษาชาวต่างประเทศ (ระดบั ปริญญาเอก) ควรรับเข้าเรียนภาคปกติ ในแผนการเรียนแบบ 2.1 (เรียนรายวชิ าและทาวทิ ยานิพนธ์) และควรใช้อตั ราค่าลงทะเบียน 100,000 บาท/ภาคเรียน (โดยเกบ็ เหมาเป็ นรายปี ๆ ละ 200,000 บาท) โดยอาจมสี ่วนลดเป็ นกรณๆี ไป 2.6.2. งบประมาณรายจา่ ย (หน่วย : บาท) ปี งบประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 หมวดเงนิ 135,000 135,000 135,000 135,000 135,000 ก. งบดาเนินการ 1.คา่ ใชจ้ ่ายบุคลากร (2 ภาคเรียน/ปี) 162,000 162,000 162,000 162,000 162,000 1.1อาจารยบ์ ณั ฑิตศึกษาภาคปกติ(จานวน 3 วชิ า วิชาละ 15 คร้ังๆ ละ 3 คาบๆ ละ 1,000 บาท) 192,000 192,000 192,000 192,000 192,000 1.2 อาจารยบ์ ณั ฑิตศึกษาภาคพเิ ศษ(จานวน 3 วิชา 115,200 115,200 115,200 115,200 115,200 วิชาละ 15 คร้ังๆ ละ 3 คาบๆ ละ1,200 บาท) 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 1.2 1.3 ธุรการ 1 คนๆ ละ 16,000 บาท/เดือน 40,000 40,000 40,000 40,000 40,000 1.4 เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งวิจยั 1 คนๆ ละ 9,600/เดือน บาท 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 2.คา่ ใชจ้ ่ายดาเนินการ 2.1 จา้ งประชาสมั พนั ธห์ ลกั สูตร ผ่านสื่อต่างๆ 100,000 100,000 100,000 200,000 200,000 2.2 จดั Open House แนะนาหลกั สูตรภายนอก 2.3 จา้ งจดั พิมพ/์ คนแจกส่ิงพิมพโ์ บชวั น์หลกั สูตร 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 2.4 คา่ ใชจ้ ่ายใหต้ วั แทนประชาสมั พนั ธ์ใน - - - - - ตา่ งประเทศท่ีแนะนาผูเ้ รียนจากตา่ งประเทศ 3.งบเงินอุดหนุน/ทุนสนบั สนุนวิจยั 4.รายจ่ายระดบั สถาบนั วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 15
รวมงบดาเนินการ(ก) 648,200 648,200 648,200 748,200 748,200 - ข. งบลงทนุ - --- 800,000 - 1.คา่ ครุภณั ฑ์ 800,000 800,000 800,000 800,000 200,000 100,000 2.ปรับปรุงหอ้ งปฏิบตั ิการและเครื่องมือปฏิบตั ิการ 300,000 - - 300,000 1,100,000 1,848,200 3.ปรับปรุงหอ้ งวจิ ยั และอปุ กรณ์วจิ ยั - 200,000 200,000 200,000 45 4.ปรับปรุงหอ้ งพกั อาจารยพ์ เิ ศษ - 100,000 100,000 - 85 33,868.88 รวมงบลงทนุ (ข) 1,100,000 1,100,000 1,100,000 1,000,000 5,000,000 รวม (ก) + (ข) 1,748,200 1,748,200 1,748,200 1,748,200 1,848,200 3,151,800 จานวนนกั ศึกษาภาคปกติ 5 10 20 30 จานวนนกั ศึกษาภาคพเิ ศษ 15 30 45 55 คา่ ใชจ้ ่ายต่อหวั นกั ศึกษาโดยเฉลยี่ ไมร่ วมงบบคุ ลากร 87,410.00 43,705.00 26,895.38 20,990.58 ประมาณการค่าใช้จ่ายเฉลย่ี ต่อหวั นักศึกษา/ปี = 42,573.96 บาท รวมรายรับ 3,000,000 3,000,000 3,600,000 4,400,000 รวมรายจ่าย 1,748,200 1,748,200 1,748,200 1,748,200 รายไดเ้ ขา้ สถาบนั 1,251,800 1,251,800 1,851,800 2,651,800 2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็ นแบบช้นั เรียน ตามขอ้ บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั วา่ ดว้ ยการจดั การศึกษา ระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2562 2.8 การเทยี บโอนหน่วยกิต รายวชิ าและการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขา้ มสถาบนั อุดมศึกษา ตามขอั บงั คบั สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั วา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2562 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร แบบ 1 แผนการศึกษาแบบทาวิทยานิพนธ์อย่างเดยี ว แบบ 1.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาโท 52 หน่วยกิต แบบ 2 แผนการศึกษาแบบเรียนรายวิชาและทาวิทยานิพนธ์ แบบ 2.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาโท 52 หน่วยกิต การศึกษารายวชิ า 16 หน่วยกิต การคน้ ควา้ เพอื่ ทาวทิ ยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต แบบ 2.2 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี 78 หน่วยกิต การศกึ ษารายวชิ า 30 หน่วยกิต การคน้ ควา้ เพอ่ื ทาวทิ ยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 16
3.2 โครงสร้างหลกั สูตร 3.2.1 แบบ 1 แผนการศึกษาแบบทาวทิ ยานิพนธ์อย่างเดียว แบบ 1.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งศกึ ษาตามโครงสร้างหลกั สูตร ดงั ต่อไปน้ี หมวดวชิ า/จานวนหน่วยกิต ปริญญาเอก 1 หน่วยกิต หมวดวชิ าบงั คบั 3 หน่วยกิต หมวดสมั มนา 48 หน่วยกิต หมวดวทิ ยานิพนธ์ - หน่วยกิต หมวดวชิ าเลือก 52 หน่วยกติ หน่วยกิตรวม 3.2.2 แบบ 2 แผนการศึกษาแบบเรียนรายวชิ าและทาวทิ ยานิพนธ์ แบบ 2.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งศึกษาตามโครงสร้างหลกั สูตร ดงั ต่อไปน้ี หมวดวชิ า/จานวนหน่วยกิต ปริญญาเอก หมวดวชิ าบงั คบั 7 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต หมวดสมั มนา 36 หน่วยกิต หมวดวทิ ยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต หมวดวชิ าเลือก 52 หน่วยกิต หน่วยกติ รวม แบบ 2.2 ผเู้ ขา้ ศึกษาจะตอ้ งศึกษาตามโครงสร้างหลกั สูตร ดงั ต่อไปน้ี หมวดวชิ า/จานวนหน่วยกิต ปริญญาเอก หมวดวชิ าบงั คบั 21 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต หมวดสมั มนา 48 หน่วยกิต หมวดวทิ ยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต หมวดวชิ าเลือก 78 หน่วยกิต หน่วยกิตรวม 3.3 รายวชิ า ความหมายของรหัสวิชา การกาหนดรหัสวิชาในหลักสูตรบณั ฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ประกอบดว้ ยตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ 4 ตวั ตามดว้ ยตวั เลข 3 หลกั 12 34 DAI E1 XXX รหัสตัวอกั ษร ในหลกั สูตรบณั ฑิตศกึ ษา สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ มคี วามหมายดังต่อไปนี้ DAIE หมายถึงหลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ รหัสตวั เลข มีความหมายดังต่อไปนี้ ตวั เลขหลกั ที่ 1 แสดงถึง หมวดวชิ า ตวั เลข 1 หมายถึง วชิ าบงั คบั ตวั เลข 2 หมายถึง สมั มนา ตวั เลข 3 หมายถึง วทิ ยานิพนธ์ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 17
ตวั เลข 4 หมายถึง วชิ าเลือก ตวั เลขหลกั ท่ี 2 แสดงถึง กลุ่มวชิ า ตวั เลข 0 หมายถึง วชิ าหลกั ตวั เลข 1 หมายถึง วชิ าแขนงคอมพวิ เตอร์ ตวั เลข 2 หมายถึง วชิ าแขนงปัญญาประดิษฐ์ ตวั เลขหลกั ท่ี 3-4 แสดงถึง ลาดบั วชิ าในแต่ละสาขาวชิ า 12 34 GES E1 XXX รหัสตวั อักษร ในหลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา มีความหมายดงั ต่อไปนี้ GESE หมายถึงหลกั สูตรภาษาองั กฤษสาหรับบณั ฑิตศกึ ษาในสาขาทางวศิ วกรรมศาสตร์ รหัสตัวเลข มีความหมายดังต่อไปนี้ ตวั เลขหลกั ท่ี 1 แสดงถึง ประเภทวชิ าภาษาองั กฤษ ตวั เลข 1 หมายถึง วชิ าบงั คบั เรียนปรับพ้นื ฐานทางภาษาองั กฤษ (ตามเง่ือนไขเกณฑว์ ดั ผลทางภาษา) ตวั เลข 2 หมายถึง วชิ าเลือกเรียนภาษาองั กฤษเพมิ่ เตมิ (เพม่ิ ประสิทธิภาพทางการเรียนรู้ภาษา) ตวั เลข 3 หมายถึง วชิ าเลือกเรียนภาษาองั กฤษ (เพอ่ื ใชใ้ นการสื่อสารและสนทนาทางภาษา) ตวั เลข 3 หมายถึง วชิ าเลือกเรียนภาษาองั กฤษ (เพอื่ การเขยี นบทความและวทิ ยานิพนธภ์ าษาองั กฤษ) ตวั เลข 4 หมายถึง วชิ าภาษาองั กฤษสาหรับบณั ฑิตศกึ ษา ตวั เลขหลกั ท่ี 2-3 แสดงถึง ลาดบั รายวชิ าในหลกั สูตรภาษาองั กฤษ 3.3.1) หมวดวชิ าบงั คบั 1(3-0-6) (1). รายวิชาบังคบั ในแบบ 1.1 โดยตอ้ งลงทะเบียนเรียน จานวน 1 หน่วยกิต คอื DAIE1001 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 1(3-0-6) (AI Engineering Research and Development Methodology 1) 3(3-0-6) (2). รายวชิ าบังคบั ในแบบ 2.1 โดยตอ้ งลงทะเบยี นเรียน จานวน 7 หน่วยกิต ดงั น้ี 3(3-0-6) DAIE1001 ระเบยี บวธิ ีวิจยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 (AI Engineering Research and Development Methodology 1) 1(3-0-6) DAIE1003 โครงขา่ ยประสาทเทียมและฟัซซ่ีโลจิก 1(3-0-6) (Neural Network and Fuzzy Logic) 3(3-0-6) DAIE1004 การประมาณคา่ พารามิเตอร์ท่เี หมาะท่สี ุดทางวศิ วกรรม (Engineering Optimisation and Parametric Estimation) (2). รายวชิ าบงั คบั ในแบบ 2.2 โดยตอ้ งลงทะเบยี นเรียน จานวน 21 หน่วยกิต ดงั น้ี DAIE1001 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 (AI Engineering Research and Development Methodology 1) DAIE1002 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 2 (AI Engineering Research and Development Methodology 2) DAIE1003 โครงขา่ ยประสาทเทยี มและฟัซซ่ีโลจิก (Neural Network and Fuzzy Logic) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 18
DAIE1004 การประมาณคา่ พารามิเตอร์ทีเ่ หมาะท่สี ุดทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) (Engineering Optimisation and Parametric Estimation) DAIE1005 การพฒั นาธุรกิจอิเลคทรอนิกส์และการจดั การอุตสาหกรรมอจั ฉริยะ 3(3-0-6) (Intelligence Industrial Management and E-Business Development) DAIE1006 กลยทุ ธการควบคุมผลิตอจั ฉริยะและการจาลองแบบปัญหา 3(3-0-6) (Intelligent Manufacturing control strategy and Simulation Modeling) DAIE1007 กลยทุ ธการตรวจทราบและคาดคะเนขอ้ มลู อจั ฉริยะ 3(3-0-6) (Smart Informatics Recognition and Estimation Strategy) DAIE1008 การประมวลผลภาพและควบคมุ สญั ญาณดิจิตอลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Digital Signal Control and Image Processing) DAIE1009 หัวขอ้ พเิ ศษในระบบควบคุมดว้ ยคอมพวิ เตอร์และระบบอจั ฉริยะ 1(1-0-2) (Special Topics in Computer Control Systems and Intelligent Systems) 3.3.2) หมวดวิชาสัมมนา รายวิชาสัมมนา ในแบบ 1.1 แบบ 2.1 และ แบบ 2.2 โดยตอ้ งลงทะเบยี นเรียน จานวน 3 หน่วยกิต ดงั น้ี DAIE2001 สมั มนาปริญญาเอก 1 : การอ่านงานวจิ ยั ) 1(0-3-6) (Seminar I : Research Publication Reading) DAIE2002 สมั มนาปริญญาเอก 2 (การเขยี นขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ) 1(0-3-6) (Seminar II : Research Proposal Writing) DAIE2003 สมั มนาปริญญาเอก 3 (การเขียนบทความวจิ ยั ) 1(0-3-6) (Seminar III : Research Article Writing) 3.3.3) หมวดวชิ าวทิ ยานิพนธ์ รายวชิ าวทิ ยานิพนธ์ โดยตอ้ งลงทะเบียนเรียน ดงั น้ี 48 หน่วยกิต DAIE3001 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาเอก 1 (Doctoral Thesis 1) DAIE3002 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาเอก 2 36 หน่วยกิต (Doctoral Thesis 2) 3.3.4) หมวดวิชาเลือก (1) รายวชิ าเลือก ในแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 โดยตอ้ งลงทะเบยี นเรียน จานวน 6 หน่วยกิต ดงั น้ี รายวิชาเลือก (คอมพวิ เตอร์) DAIE4101 การวเิ คราะห์ขอ้ ความและการประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Text Analytics and Natural Language Processing) DAIE4102 สถาปัตยกรรมและเสน้ ทางขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data Architecture and Pipeline) DAIE4103 การออกแบบวศิ วกรรมสารสนเทศและระบบข้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Information Engineering Design and Systems) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 19
DAIE4104 การประมวลผลสญั ญาณและการจดจาสญั ญาณเสียงพดู 3(3-0-6) (Voice Recognition and Speech Signal Processing) DAIE4105 หลกั การและกระบวนทศั น์การประมวลผลกล่มุ เมฆ 3(3-0-6) (Cloud Computing Principles and Paradigms) DAIE4106 สถาปัตยกรรมและองคก์ รคอมพวิ เตอร์ข้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Computer Architecture and Organization) DAIE4107 ความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ย 3(3-0-6) (Security in Computers and Networks) DAIE4108 การทาเหมืองขอ้ มูลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Data Mining) DAIE4109 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Database Management Systems) (2) รายวิชาเลือก (ปัญญาประดิษฐ)์ DAIE4201 ปัญญาประดิษฐช์ ้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Artificial Intelligence) DAIE4202 กลยทุ ธการเรียนรู้แบบเครื่องจกั รและดีพ 3(3-0-6) (Deep and Machine Learning) DAIE4203 การวดั และวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงวิศวกรรม 3(3-0-6) (Measurement and Data Analysis for Engineering) DAIE4204 กลยทุ ธการประยกุ ตเ์ ซ็นเซอร์อจั ฉริยะและดีเอสพี 3(3-0-6) (Smart DSP and intelligent sensor applications strategy) DAIE4205 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ณ เวลาจริงและกระแสตอ่ เนื่องของขอ้ มูล 3(3-0-6) (Data Streaming and Real Time Data Analytics) DAIE4206 ระบบสมาร์ทอิเลคทรอนิกสช์ ้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Smart Electronic Systems) DAIE4207 ศาสตร์ทางวศิ วกรรมหุ่นยนตช์ ้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Robotics Engineering) DAIE4208 กลยทุ ธการควบคุมผลิตอจั ฉริยะและการจาลองแบบปัญหา 3(3-0-6) (Intelligent Manufacturing control strategy and Simulation Modeling) DAIE4209 เซ็นเซอร์และอินเตอร์เน็ตของสรรพส่ิง 3(3-0-6) (Sensor and Internet of Things) DAIE4210 ระบบสารสนเทศพน้ื ที่และการรบั รูร้ ะยะไกล 3(3-0-6) (Spatial and Remote Sensing Information Systems) DAIE4211 จาลองเสมือนจริงและเทคโนโลยกี ารเขา้ ถึงสาหรับการแสดงผล 3(3-0-6) (Virtual Reality and Immersive Technology for Visualization) DAIE4212 การออกแบบและพฒั นาระบบควบคุมแบบสมองกลฝังตวั 3(3-0-6) (Embedded System Design and Development) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 20
3.3.5) หมวดวชิ าภาษาอังกฤษ รายวิชาบังคบั เรียนปรับพื้นฐานทางภาษาอังกฤษ เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มสาหรับนกั ศกึ ษาหลกั สูตร นานาชาติ ทม่ี ีทกั ษะทางภาษาองั กฤษต่ากวา่ เกณฑ์ ทคี่ ณะกรรมการบริหารหลกั สูตรกาหนด) ดงั น้ี GESE101 ปรบั พน้ื ฐานภาษาองั กฤษสาหรบั หลกั สูตรนานาชาติระดบั บณั ฑติ ศึกษา 3(2-3-5) (Presessional English for International Course at Post Graduate Study) GESE102 หลกั การทางภาษาองั กฤษสาหรบั หลกั สูตรนานาชาติระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา 3(2-3-5) (Fundamentals English for International Course at Post Graduate Study) รายวิชาเลือกเรียนเพมิ่ พูนความรู้ทางภาษาองั กฤษ สาหรบั นกั ศึกษานานาชาตทิ างวศิ วกรรม ดงั น้ี GESE201 ภาษาองั กฤษเพมิ่ พนู สาหรบั นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา 2 (1-2-6) (English Enhancement Course for Engineer Students at Post Graduate Study) GESE202 ภาษาองั กฤษสมบรู ณ์สาหรับนกั ศกึ ษาทางวศิ วกรรมระดบั บณั ฑิตศกึ ษา 2 (1-2-6) (Immedia English Course for Engineer student at Post Graduate Study) GESE203 การส่ือสารและการสืบคน้ สารสนเทศทางภาษาองั กฤษ 2 (1-2-6) (Sessional English Course for communication at Post Graduate Study) 3.4 แสดงแผนการศึกษา (1). โครงสรา้ งหลกั สูตร แบบ 1 แผนการศกึ ษาแบบทาวทิ ยานิพนธอ์ ยา่ งเดียว แบบ 1.1 ผเู้ ขา้ ศึกษาจะตอ้ งสาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโท จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร 52 หน่วยกิต ปี ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกติ ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกติ 1(3-0-6) 1(0-3-6) DAIE0101 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และ 8(0-24-48) DAIE2001 สัมมนาปริญญาเอก 8(0-24-48) พฒั นาดา้ นวิศวกรรม 9(3-24-54) 1 : การอ่านงานวจิ ยั 9(0-27-54) 1 ปัญญาประดิษฐ์ 1 1(0-3-6) DAIE3001 วทิ ยานิพนธ์ระดบั 1(0-3-6) DAIE3001 วิทยานิพนธ์ระดบั DAIE2003 ปริญญาเอก 1 ปริญญาเอก 1 รวม รวม 2 DAIE2002 สัมมนาปริญญาเอก 2 สมั มนาปริญญาเอก (การเขียนขอ้ เสนอ 3 (การเขียน โครงการวจิ ยั ) บทความวจิ ยั ) DAIE3001 วิทยานิพนธร์ ะดบั DAIE3001 วทิ ยานิพนธ์ระดบั ปริญญาเอก 1 8(0-24-48) ปริญญาเอก 1 8(0-24-48) รวม 9(0-27-54) รวม 9(0-27-54) 3 DAIE3001 วิทยานิพนธ์ระดบั DAIE3001 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาเอก 1 8(0-24-48) ปริญญาเอก 1 8(0-24-48) รวม 8(0-24-48) รวม 8(0-24-48) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 21
(2). โครงสร้างหลกั สูตร แบบ 2 แผนการศึกษาแบบเรียนรายวิชาและทาวทิ ยานิพนธ์ แบบ 2.1 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งสาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโท จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร 52 หน่วยกิต ปี ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกติ ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต DAIE1003 โครงข่ายประสาทเทียม DAIE1004 การประมาณ และฟัซซ่ีโลจิก ค่าพารามิเตอร์ทเี่ หมาะ 3(3-0-6) ที่สุดทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) 1 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นา DAIE4XXX วชิ าเลือก 1 DAIE0101 ดา้ นวศิ วกรรม ปัญญาประดษิ ฐ์ 1 1(3-0-6) 3(3-0-6) DAIE3002 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญา เอก 2 6(0-18-32) DAIE2001 สมั มนาปริญญาเอก 1 : 1(0-3-6) DAIE3002 การอ่านงานวจิ ยั 3(0-9-18) วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาเอก 2 รวม 10(6-18-44) รวม 10(6-12-36) 2 DAIE4XXX วชิ าเลือก 2 DAIE2003 สัมมนาปริญญาเอก 3 (การเขียนบทความ 3(3-0-6) วจิ ยั ) 1(0-3-6) วทิ ยานิพนธร์ ะดบั 6(0-18-32) DAIE2002 สมั มนาปริญญาเอก 2 (การ DAIE3002 ปริญญาเอก 2 DAIE3002 เขยี นขอ้ เสนอ โครงการวจิ ยั ) 1(0-3-6) วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญา รวม 7(0-21-38) เอก 2 3(0-9-18) 7(3-12-24) รวม 3 DAIE3002 วทิ ยานิพนธ์ระดบั ปริญญา 9(0-27-54) DAIE3002 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั 9(0-27-54) เอก 2 ปริญญาเอก 2 รวม 9(0-27-54) รวม 9(0-27-54) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 22
(3). โครงสรา้ งหลกั สูตร แบบ 2 แผนการศึกษาแบบเรียนรายวชิ าและทาวทิ ยานิพนธ์ แบบ 2.2 ผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร 78 หน่วยกิต ปี ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกติ ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกติ DAIE1003 โครงขา่ ยประสาทเทียม 3(3-0-6) DAIE0102 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และ 1(3-0-6) และฟัซซี่โลจิก 3(3-0-6) DAIE1008 พฒั นาดา้ นวิศวกรรม 3(3-0-6) 1 ปัญญาประดิษฐ์ 2 DAIE1004 การประมาณคา่ พารามิเตอร์ท่ี การประมวลผลภาพและ เหมาะท่ีสุดทางวศิ วกรรม ควบคุมสญั ญาณดิจิตอล ช้นั สูง DAIE0101 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นา 1(3-0-6) DAIE3001 วิทยานิพนธ์ระดบั 9(0-27-54) DAIE3001 ดา้ นวิศวกรรม 6(0-18-32) ปริญญาเอก 1 ปัญญาประดิษฐ์ 1 วิทยานิพนธร์ ะดบั ปริญญา เอก 1 2 DAIE1005 รวม 13(9-18-50) DAIE1006 รวม 13(6-27-66) DAIE2001 3(3-0-6) DAIE1009 3(3-0-6) การพฒั นาธุรกจิ อิเลคทรอนิกส์ กลยทุ ธการควบคุมผลิต และการจดั การอุตสาหกรรม 1(0-3-6) อจั ฉริยะและการจาลอง 1(1-0-2) อจั ฉริยะ แบบปัญหา 1(0-3-6) สมั มนาปริญญาเอก 1 : การ หวั ขอ้ พิเศษในระบบ อ่านงานวิจยั ) ควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) และระบบอจั ฉริยะ DAIE3001 วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญา 9(0-27-54) DAIE2002 สมั มนาปริญญาเอก 2 เอก 1 (การเขียนขอ้ เสนอ โครงการวจิ ยั ) DAIE1007 กลยทุ ธการตรวจทราบ และคาดคะเนขอ้ มลู อจั ฉริยะ DAIE3001 วทิ ยานิพนธ์ระดบั 6(0-18-32) ปริญญาเอก 1 3 DAIE4XXX รวม 13(3-30-66) DAIE4XXX 14(7-21-52) DAIE2003 3(3-0-6) DAIE3001 รวม 3(3-0-6) วิชาเลือก 1 9(0-27-54) สมั มนาปริญญาเอก 3 (การ 1(0-3-6) วิชาเลือก 2 เขียนบทความวิจยั ) วทิ ยานิพนธร์ ะดบั ปริญญาเอก 1 DAIE3001 วิทยานิพนธร์ ะดบั ปริญญา 9(0-27-54) เอก 1 รวม 12(3-30-66) รวม 12(3-27-60) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 23
3.5 รายละเอยี ดวิชา รหัสวชิ า ชื่อรายวิชา หน่วยกิต(บรรยาย - ปฏิบตั ิ - ศึกษาด้วยตัวเอง) DAIE1001 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 1(3-0-6) (AI Engineering Research and Development Methodologies 1) หลกั การและระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทางดา้ นวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ โดยการศึกษา และสืบหาปัญหา การต้งั โจทยป์ ัญหา การวิเคราะหป์ ัญหา การออกความคิด การคดิ วธิ ีการแกป้ ัญหา การพสิ ูจน์ วธิ ีการแกป้ ัญหา การกาหนดหวั ขอ้ การออกแบบวธิ ีวจิ ยั การเขียนขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั การทดลอง การ จดั เกบ็ ขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การเขียนรายงานการวจิ ยั เทคนิคการนาเสนองานวจิ ยั และการเผยแพร่ ผลงานวจิ ยั Principles and research methodology in Aritificial Intelligent Engineering, The problem investigation and study. Problem definition analysis, problem solution method, solution methodology proof, research topics assignment, research methology design, research proposal writing, experiments, data collection, data analysis, research report writing, and research dissemination presentation techniques. DAIE1002 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 2 1(3-0-6) (AI Engineering Research and Development Methodologies 2) ภาพรวมของระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ จริยธรรม การคัดลอกผลงาน การทบทวน วรรรณกรรม การวิเคราะห์ผลงานตีพิมพ์ การอ่านบทความทางเทคนิค การกาหนดปัญหา การต้งั คาถามการ วจิ ยั การวางแผนโครงการหรืองานวจิ ยั การสุ่มตวั อยา่ งขอ้ มูล การเก็บขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและการแปร ความหมาย เครื่องมือวจิ ยั ประมวลหลกั การปฏิบตั ิงาน และมาตรฐาน การจดั การและการนาเสนอขอ้ มูล การ เขยี นบทความวชิ าการ การนาเสนอผลงาน Overview of engineering research methodology, ethics, plagiarism, literature review, critical analysis of publications, reading of technical papers, problem identification, research question, research or project planning, data sampling, data collection, data analysis and information identify, research tools, code of practice and standards, data management and presentation, academic writing, result presentation. DAIE1003 โครงขา่ ยประสาทเทียมและฟัซซี่โลจิก 3(3-0-6) (Neural Network and Fuzzy Logic) ทฤษฎีและงานประยกุ ตโ์ ครงข่ายประสาทเทียมและฟัซซ่ีโลจิก การแบบรบั รู้หลายช้นั แผนที่การ จดั การระบบการทางานดว้ ยตนเอง เครือขา่ ยพน้ื ฐานเรเดียล เครือข่ายฮ็อบฟิลด์ เกิดซา้ํ ทฤษฎีกลุ่มคลมุ เครือ โครงข่ายประสาทเทียมคลุมเครือ การประมวลผลววิ ฒั นาการ งานประยกุ ตใ์ นระบบควบคุม การรูจ้ ารูปแบบ การโมเดลแบบไม่เป็นเชิงเสน้ การประมวลผลเสียงพดู และภาพ Artificial neural network and fuzzy systems, theory and applications of artificial neural networks and fuzzy logic, multi-layer perception, self-organization map, radial basis network, Hopfield network, recurrent network, fuzzy set theory, fuzzy logic control, evolution computing, applications in control systems, pattern recognition, nonlinear system modeling, speech and image processing. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 24
DAIE1004 การประมาณค่าพารามิเตอร์ท่ีเหมาะทสี่ ุดทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) (Engineering Optimisation and Parametric Estimation) ศึกษาหลกั การหาผลเฉลยเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม การหาคา่ ต่าสุด และสูงสุดของฟังก์ชนั หลายตวั แปร ตวั คูณลากรัง การโปรแกรมเชิงเส้น การโปรแกรมไม่เชิงเสน้ โปรแกรมพลวตั จีเนติกอลั กอริธึม ซิมมเู ลท แอนนี ลล่ิง วิธีการคานวณแบบวิวฒั นาการ การหาผลเฉลยเหมาะที่สุดข้นั สูง และการหาผลเฉล่ียซ่ึงเหมาะที่สุดแบบทนั ที การประมาณคา่ พารามิเตอร์ วิธีโมเมนตด์ ดั แปลง วิธีประมาณดว้ ยภาวะน่าจะเป็นสูงสุด และวิธีกาลงั สองต่าสุด การ เปรียบเทียบกระทาภายใตส้ ถานการณ์ โดยการแจกแจงแบบลอกนอร์มอลตดั ปลายทางซ้าย และการแจกแจงแบบ พาเรโตต้ ดั ปลายทางซ้าย ท่ีใชใ้ นการวิจยั ไดจ้ ากการจาลองดว้ ยเทคนิคมอนติคาร์โลและทาการทาลองซ้าๆ กนั การหา คา่ รากที่สองของค่าเฉล่ียของความคลาดเคลื่อนกาลงั สอง Study the Engineering optimization foundation, optimisation of multivariable functions, lagrange multiplier, linear programming, non-linear programming, dynamic programming, genetic algorithm, simulated annealing, evolutionary computation techniques, advanced optimization and real time optimization. Methods of estimating parameters for left-truncated distributions with unknown truncated points. estimating parameters under consideration. The modified moment method, Maximum Likelihood, Pseudo Least-squares method. Left-truncated distributions/Lognormal Distributions, Left-truncated Exponential Distribution, and Left- truncated Pareto Distribution. Estimating parameters and evaluating the square root of mean square error (RMSE). DAIE1005 การพฒั นาธุรกิจอิเลคทรอนิกส์และการจดั การอุตสาหกรรมอจั ฉริยะ 3(3-0-6) (Intelligence Industrial Management and E-Business Development) คลงั ขอ้ มลู ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ งานประยกุ ตธ์ ุรกิจอุตสาหกรรมอจั ฉริยะ กระบวนการทางธุรกิจ ความตอ้ งการ ข่าวสารในการเชื่อมตอ่ กบั ระบบธุรกิจอจั ฉริยะ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ การออกแบบการเช่ือมต่อกบั ระบบธุรกิจ อจั ฉริยะให้มน่ั คง ซอฟตแ์ วร์ดา้ นธุรกิจ ธุรกิจอจั ฉริยะบนกลมุ่ เมฆ การจดั การองคก์ รและการจดั การในอตุ สาหกรรม แนวคิดและทฤษฎีการจดั การ การวิเคราะห์และกระบวนการแกป้ ัญหา หนา้ ท่ีของการจดั การและการประเมินผลงาน การจดั การทรัพยากรมนุษย์ การติดต่อส่ือสารในองคก์ ร ภาวะผนู้ า จริยธรรมและคุณธรรมของวิศวกรการปรับเปล่ียน พฤติกรรมและมนุษยส์ มั พนั ธ์ในการทางาน Data Warehouse, Big data, Business Intelligence applications, Business processes, Users requirements in insights information, BI portal interface, Desirable features, BI portal security model, Tools, Business Intelligence Software, Cloud Business Intelligence. Industrial organization and management concepts and theories of management, problem analysis and problem solving process, organizational theories, function of management, performance evaluation, human resource management, organizational communications, leadership, ethics and responsibility of engineers, behavioral modification. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 25
DAIE1008 การประมวลผลภาพและควบคุมสญั ญาณดิจิตอลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Digital Signal Control and Image Processing) หลกั การประมวลผลภาพ การไดม้ าของภาพดิจิทลั การแสดงภาพโดย อุปกรณ์แสดงผลตา่ งๆ การประมวลผล ภาพดว้ ยวิธีทางสถิติ ตวั กรองเชิงเสน้ ตรงและไมใ่ ชเ่ สน้ ตรง การกาจดั สิ่งรบกวน การจดั ภาพเชิงเรขาคณิต การ ประมวลผลภาพแบบเวลาจริง การควบคมุ ชนิดสญั ญาณไม่ตอ่ เนื่อง กระบวนการการแปลงสญั ญาณ เสถียรภาพของ ระบบควบคุมชนิดสญั ญาณไมต่ ่อเน่ือง ผลตอบสนองเชิงเวลาของระบบควบคุมชนิด สญั ญาณไมต่ ่อเนื่องการ ออกแบบระบบควบคมุ โดยใชว้ ิธีปริภมู ิสถานะการควบคมุ ที่เหมาะสมท่ีสุด การจดจาวตั ถกุ ารพฒั นาอลั กอริทึมใน การ ประมวลผลภาพโดยใชเ้ คร่ืองมือทางซอฟตแ์ วร์ Fundamental of image processing, digital image acquisition, display using digital devices, statistic image processing, image distortion correction, linear and nonlinear filtering, noise removal, geometric transformation, real-time image processing. discrete time control systems, signal conversion processing, stability of discrete time control systems, time response of discrete time control systems, frequency response of discrete time control systems,. state-space approach to discrete time control system design, linear discrete time optimal control, object recognition, implementation of digital image processing algorithms using software tool. DAIE1009 หวั ขอ้ พิเศษในระบบควบคมุ ดว้ ยคอมพิวเตอร์และระบบอจั ฉริยะ 1(1-0-2) Special Topics in Computer Control Systems and Intelligent Systems การบรรยายและอภิปรายในหวั ขอ้ ปัจจบุ นั ที่น่าสนใจในดา้ น ปัญญาประดิษฐ์ และเป็นหวั ขอ้ ท่ีน่าสนใจ หรือเป็นหวั ขอ้ ท่ีเป็นเทคโนโลยีสมยั ใหมท่ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั ระบบการควบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์และระบบอจั ฉริยะ Lectures and discussions on current topics of interest in an intelligent system and interest topic or modern technology topic that involve computer control system and artificial intelligence. DAIE2001 สมั มนาปริญญาเอก 1 : การอา่ นงานวิจยั ) 1(0-3-6) (Seminar I : Research Publication Reading) การศึกษาคน้ ควา้ จากห้องสมดุ และแหลง่ อ่ืนๆ เพื่อหาขอ้ มูลและความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ ในหวั ขอ้ ทาง วิศวกรรมคอมพิวเตอร์หรือสาขาท่ีเกี่ยวขอ้ ง การเขา้ ร่วมฟัง และอภิปรายในกิจกรรมสมั มนาของภาควิชาฯ เพ่ือฝึกฝน ทกั ษะการอ่านและการนาเสนองานวิจยั Literature survey in libraries and other sources to follow the progress in topics of interested in computer engineering and related areas, participation in presentation and discussion in the department seminar in order to train research publication reading and presentation skills. DAIE2002 สมั มนาปริญญาเอก 2 (การเขียนขอ้ เสนอโครงการวิจยั ) 1(0-3-6) (Seminar II : Research Proposal Writing) การคน้ ควา้ จากห้องสมุดและแหล่งอื่นๆ เพ่ือหา ขอ้ มลู และความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ ในหวั ขอ้ ทาง วิศวกรรม คอมพิวเตอร์หรือสาขาที่เกี่ยวขอ้ ง การเขา้ ร่วมฟังและ อภิปรายในกิจกรรมสมั มนาของภาควิชาฯ เพ่ือ ฝึกฝนทกั ษะ การเขียนและการนาเสนอขอ้ เสนอโครงการวิจยั วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 26
Literature survey in libraries and other sources to follow the progress in topics of interested in computer engineering and related areas, participation in presentation and discussion in the department seminar in order to train research proposal writing and presentation skills DAIE2003 สมั มนาปริญญาเอก 3 (การเขียนบทความวิจยั ) 1(0-3-6) (Seminar III : Research Article Writing) การคน้ ควา้ จากห้องสมดุ และแหล่งอ่ืนๆ เพอื่ หา ขอ้ มลู และความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ ในหวั ขอ้ ทางวิศวกรรม คอมพิวเตอร์หรือสาขาท่ีเก่ียวขอ้ ง การเขา้ ร่วมฟังและ อภิปรายในกิจกรรมสมั มนาของภาควิชาฯ เพื่อฝึกฝนทกั ษะ การเขียนและนาเสนอบทความวิจยั Literature survey in libraries and other sources to follow the progress in topics of interested in computer engineering and related areas, participation in presentation and discussion in department seminar in order to train research proposal writing and presentation skills DAIE3001 วิทยานิพนธ์ระดบั ปริญญาเอก 1 48 หน่วยกิต (Doctoral Thesis 1) การวิจยั ในระดบั ปริญญาเอก และเรียบเรียงเขียนเป็นวิทยานิพนธ์ จดั ทาวิทยานิพนธ์ และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดยหวั ขอ้ วิทยานิพนธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ และ ไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการ สอบวิทยานิพนธท์ ่ีไดร้ ับการแต่งต้งั สาหรับผศู้ ึกษาในแบบ 1.1 และ แบบ 2.2 DAIE3002 วิทยานิพนธ์ระดบั ปริญญาเอก 2 36 หน่วยกิต (Doctoral Thesis 2) การวิจยั ในระดบั ปริญญาเอก และเรียบเรียงเขียนเป็นวิทยานิพนธ์ จดั ทาวิทยานิพนธ์ และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดยหวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ตอ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ และ ไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการ สอบวิทยานิพนธท์ ่ีไดร้ ับการแตง่ ต้งั สาหรับผศู้ ึกษาในแบบ 2.1 DAIE4101 การวิเคราะห์ขอ้ ความและการประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3(3-0-6) (Text Analytics and Natural Language Processing) วิธีการจดั การ การสรุปความและการวิเคราะห์ขอ้ มูลท่ีไมม่ ีโครงสร้างหรือมีโครงสร้างเบาเพ่ือคน้ หาแบบ รูปท่ีน่าสนใจ การสกดั ความรู้ที่เป็นประโยชน์ เพื่อสนบั สนุนการตดั สินใจ เทคนิคทางสถิติและการประมวลผลถาษา ธรรมชาติ หวั ขอ้ ช้นั สูง เชน่ การวิเคราะห์เคา้ ร่าง การวิเคราะห์เน้ือหา พจนานุกรมเน้ือหา การวิเคราะห์ในระดบั คา และการวิเคราะห์โครงขา่ ยความหมาย Methods for organizing, summarizing and analyzing large collections of unstructured and lightly-structured text to discover interesting patterns, extract useful knowledge, and support decision making that can be generally applied to arbitrary text data in any natural language with minimum human effort. Concepts and principles of major statistical and Natural Language Processing techniques. Advanced topics, including schema analysis, classical content analysis, content dictionaries, semantic network analysis. DAIE4102 สถาปัตยกรรมและเส้นทางขอ้ มูลขนาดใหญ่ 3(3-0-6) วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 27
(Big Data Architecture and Pipeline) สถาปัตยกรรมขอ้ มลู ขนาดใหญ่ การติดต้งั และการบริหารระบบขอ้ มลู ใหญ่ แหล่งขอ้ มลู ใหญร่ วมถึง web scraping เซ็นเซอร์ กลอ้ งดิจิตอล เครื่องบนั ทึกเสียง แสกนเนอร์ อินเตอร์เนต็ ของสรรพสิ่ง การเช่ือมโยงผใู้ ชง้ าน ระบบวางแผนแหลง่ เอน็ เตอร์ไพร์ การสตรีมม่ิงขอ้ มลู ไปสู่การจดั เก็บแบบกระจายและกอ้ นเมฆ และการส่งต่อขอ้ มูล ไปสู่ API การประยกุ ตซ์ อฟทแ์ วร์ Big data architecture, Big data system installation and administration, big data including web scraping, sensor, digital camera, voice recorder, scanner, internets of things, user interface, enterprise resource planning system, data streaming into cloud and distributed storage, and data transmission for API, software application. DAIE4103 การออกแบบวิศวกรรมสารสนเทศและระบบข้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Information Engineering Design and Systems) การออกแบบระบบวิศวกรรมสารสนเทศและระบบ เทคโนโลยสี าหรับการประมวลผลและกระจายขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการใชง้ านบนอปุ กรณ์ส่ือสารไร้สาย การลเู่ ขา้ หากนั ของเทคโนโลยีมลั ติมีเดียและคอมพิวเตอร์การ จดั บริการสาหรับเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์บา้ น กรณีศึกษาดา้ นการประยกุ ตผ์ า่ นระบบโทรคมนาคมสาธารณะไร้สาย Information engineering design and systems, technologies for information processing and distribution on mobile devices, multimedia and computing convergence, multimedia service management for home network, case studies in public mobile telecommunication systems applications. DAIE4104 การประมวลผลสญั ญาณและการจดจาสญั ญาณเสียงพดู 3(3-0-6) (Voice Recognition and Speech Signal Processing) การกาเนิดเสียงพดู การรับรู้เสียงพดู รู้จาเสียงพดู เทคนิคการสกดั คา่ ลกั ษณะเด่นของเสียงพูด สมั ประสิทธ์ิเคป็ สตรัมเมล การเขา้ รหสั แบบทานายเชิงเสน้ แบบจาลองฮิดเดนมาร์คอฟ เคร่ืองมือสาหรับระบบรู้จา เสียงพูด ระบบ รู้จาเสียงพูดคาต่อเนื่องที่มีจานวนคาศพั ทม์ าก การสงั เคราะห์เสียงพูด เทคนิคการสงั เคราะห์เสียงพูด ระบบแปลง ขอ้ ความเป็นเสียงพูด Speech production, speech perception, speech recognition, feature extraction techniques, Mel frequency cepstral coefficients, linear predictive coding, Hidden Markov model, tools for speech recognition, large vocabulary continuous speech recognition, speech synthesis, speech synthesis techniques, text-to-speech systems. DAIE4105 หลกั การและกระบวนทศั น์การประมวลผลกลมุ่ เมฆ 3(3-0-6) (Cloud Computing Principles and Paradigms) นิยามและคุณสมบตั ิของการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ หลกั การและเทคโนโลยแี บบกล่มุ เมฆ การจาลองเครื่อง เสมือน การจดั สมดลุ ภาระงาน การขยายระบบและการยดื หยนุ่ ปรับตวั เขา้ กบั สถานการณ์การนาไปใช้ การทา สาเนา บริการและโมเดลแบบกลุ่มเมฆ แนวคิดดา้ นการพฒั นาโปรแกรม การดแู ลและจดั การระบบ ประสิทธิภาพ และการ วดั เปรียบเทียบสมรรถนะ ความปลอดภยั แบบกลมุ่ เมฆ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ตวั อยา่ งบริการกล่มุ เมฆ Definition and characteristics of cloud computing, cloud concepts and technologies, virtualization, load balancing, scalability and elasticity, deployment, replication, cloud-based services and models, programming aspects, monitoring and management, performance and benchmarking, cloud security and big data analytics, cloud service examples (case studies). วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 28
DAIE4106 สถาปัตยกรรมและองคก์ รคอมพวิ เตอร์ข้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Computer Architecture and Organization) การออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์ การคานวณทาง คณิตศาสตร์สาหรับคอมพิวเตอร์ไปป์ ไลนน์ ิง โปรเซสเซอร์ แบบหลายการทางาน โปรเซสเซอร์แบบเวกเตอร์ หน่วย ควบคมุ การอินเตอร์รัพตอ์ ยา่ งแม่นยา หน่วยความจาหลกั หน่วยความจาแบบแคช การออกแบบชดุ คาสง่ั เครื่องกองซอ้ น ระบบบสั และอนิ พตุ เอาตพ์ ุต ระบบความปลอดภยั และการ ป้องกนั ข้นั ตอนวิธีแบบขนาน หลกั การของการตรวจสอบการ ประมวลแบบขนาน และตวั แปลภาษาของโครงสร้างเวกเตอร์ การเช่ือมต่อเครือข่าย โครงสร้างแบบคาสงั่ เดียว/หลายคาสง่ั การทางาน เป็นจงั หวะของโปรเซสเซอร์ลาดบั ข้นั ของขอ้ มลู โครงสร้างแบบดาตาโฟล โปรเซสเซอร์เฉพาะงาน Microprocessor design, computer arithmetic, pipelining, multi-operation processors, vector processors, control units, precise interrupts, main memory, cache memories, instruction set design, stack machines, busses and I/O, protection and security parallel algorithms, principles of parallelism detectionand vectorizing compilers, interconnection networks, processor synchronization, dataflow machines, special purpose processors DAIE4107 ความปลอดภยั ของคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 3(3-0-6) (Security in Computers and Networks) วิธีการท่ีจะไดม้ าของระบบความปลอดภยั ของ คอมพิวเตอร์แบบผใู้ ชง้ านหลายคนและแบบกระจาย การ เขา้ รหสั คียค์ วามลบั คียส์ าธารณะ ลายเซ็นแบบดิจิทลั การให้ สิท ธิและการแสดงตวั ตน ระบบป้องกนั เครือ ขา่ ย ระบบปฏิบตั ิการและเครือขา่ ยท่ีปลอดภยั ความปลอดภยั ของ อีเมลลแ์ ละเวิลดไ์ วดเ์ วบ็ โปรโตคอลท่ีเก่ียวกบั ความ ปลอดภยั ใน ไออีทเี อฟ ไฟร์วอลและการประเมินความเสี่ยง Techniques for achieving security in multiuser computer systems and distributed computer systems, cryptography, secret-key, public-key, digital signatures, authentication and identification schemes, intrusion detection system, secured operating systems and networks, security of electronic mail and world wide web, IETF related security protocols, firewalls and risk assessment. DAIE4108 การทาเหมืองขอ้ มูลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Data Mining) ภาพรวมการทาเหมืองขอ้ มูล กระบวนการคน้ พบความรู้ในฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ การประยกุ ตใ์ ชก้ ารทา เหมืองขอ้ มูลกบั ปัญหาจริง การประมวลผลขอ้ มูลก่อน คลงั ขอ้ มลู และโอแลป วิธีการทาเหมืองขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ความสมั พนั ธ์ การจาแนกประเภท การจดั กลมุ่ การสืบคน้ แบบภาษาคน้ หาโครงสร้าง การใชอ้ ลั กอลิธม่ั แขนง ตดั สินใจ การจดั กลมุ่ การจดั ความสมั พนั ธ์ ชดุ เวลา การวิเคราะห์ลาดบั การเกิดขอ้ มลู การวิเคราะห์การเอนเอียงของ ขอ้ มลู Overview of data mining, process of knowledge discovery in large databases, applications of data mining to real-world problems, data preprocessing, data warehousing and OLAP, data mining methods, association, classification, clustering, Structured Query Language (SQL), decision tree algorithm, clustering management, association management, time series, data sequence analysis, data deviation analysis. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 29
DAIE4109 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลช้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Database Management Systems) สถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มูล การคน้ หาท่ีเหมาะสมที่สุด ระบบฐานขอ้ มลู แบบกระจายและคูข่ นาน สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มลู ใหมแ่ ละตวั ดาเนินการสืบคน้ ฐานขอ้ มูลเชิงวตั ถุสมั พนั ธ์ ฐานขอ้ มลู เชิงวตั ถุ ฐานขอ้ มูลแบบ กระจาย ฐานขอ้ มลู เวบ็ การเขียนโปรแกรมฐานขอ้ มูลข้นั สูง การบริหารฐานขอ้ มลู การรักษาความปลอดภยั ของ ฐานขอ้ มลู การสารองและการกกู้ ลบั ฐานขอ้ มูล การปรับแต่งการปฏิบตั ิงานของฐานขอ้ มูล การดีนอร์มอลไลซ์ของ ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ระบบความปลอดภยั ของฐานขอ้ มลู Architecture of database systems, Query optimization, Parallel and distributed database systems, New database architectures and query operators, Object-relational databases, object-oriented databases, distributed databases, web databases, advanced database programming, database administration, database security, database backup and recovery, database performance tuning. denormalization Database Management Systems, the secure management of encryption keys, protection of the encryption system. DAIE4201 หลกั การทางปัญญาประดิษฐช์ ้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Artificial Intelligence Principle) แนวคิดในการสร้างและพฒั นาระบบปฏิสมั พนั ธ์รวมถึงระบบอจั ฉริยะ ท้งั ในแง่มุมของคณิตศาสตร์ การประมวลผลสญั ญาณ, เทคนิคการคน้ หา การคน้ หาแบบ ฮิวริสติก ตรรกศาสตร์ประพจน์ ตรรกศาสตร์เพรดดิเคต ระบบการผลิต ระบบเหตผุ ลทางตรรกศาสตร์ ระบบจดั การแบบดีดกั ทีฟและอินดกั ทีฟ ความไมแ่ น่นอน กราฟ การ เวียนซ้า ระบบชานาญการ การเรียนรู้ของเครื่อง เครือขา่ ยประสาท หุ่นยนต์ คอมพิวเตอร์วิชน่ั และการประมวลผล ภาษาธรรมชาติ การเรียนรู้ของเครื่องจกั ร อินเตอร์เนต็ ในทกุ สรรพสิ่ง, การแปลงจากสญั ญาณแอนะลอ็ กเป็นดิจิทลั , การประมวลผลสญั ญาณสาหรับระบบปฏิสมั พนั ธ์ Concept of mathematics, signal processing, searching techniques, heuristic search, propositional logic, predicate logic, production systems, logic reasoning systems, deductive and inductive inference systems, uncertainty, knowledge representation such as conceptual graph, recursive transition, expert system, machine learning, neural network, robotics, computer vision and natural language processing, artificial intelligence and machine learning towards development of interactive and intelligent systems, Internet of Things (IoT), digitization, signal processing for interactive systems. DAIE4202 กลยทุ ธการเรียนรู้แบบเคร่ืองจกั รและดพี 3(3-0-6) (Deep and Machine Learning) การเรียนรู้แบบซูปเปอร์วิชนั่ /อนั ซูปเปอร์วิชน่ั ปัจจยั ของการเรียนรู้ทางการคานวณ ทฤษฎีเคอร์เนล สาหรับขอ้ มลู ไมต่ อ่ เน่ือง วิธีการเคอร์เนลบาร์เยสเซ่ียนสาหรับการใชล้ าดบั ขอ้ มุลและความรู้ การวิเคราะห์เพ่ือจดั กลุ่ม จาแนกกลมุ่ และการคาดการณ์ความเป็นไปได้ การจดั การและจาแนกขอ้ มลู ภมู ิสารสนเทศที่มีความซบั ซอ้ นและ มีความหลากหลาย การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงลึกสาหรบั วิเคราะห์คาดการณ์และประกอบการตดั สินใจ กระบวนการและ ชนิดของโครงขา่ ยการเรียนรู้แบบดีพ การจาแนกหมวดหมู่ของการเรียนรู้แบบดีพ ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชก้ ารเรียนรู้ แบบดีพ การจาแนกภาพโดยใชก้ ารเรียนรู้แบบแมชชีน วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 30
Supervised/Unsupervised Learning, Elements of Computational Learning, Theory Kernel for non-linear data, Support Vector Machines, Kernels Bayesian methods for using prior knowledge and data, Bayesian Belief Networks and Graphical models, Gaussian Processes Ensemble Learning, Random Forest,Group analysis, group classification and possibilities estimation, complex geographic information deep classify and management, data analysis for forcasting and decision, algorithm and type of deep learning network, classification of deep learning, example of deep learning application, image classification using machine learning. DAIE4203 การวดั และวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงวิศวกรรม 3(3-0-6) (Measurement and Data Analysis for Engineering) มาตรฐานเคร่ืองมือวดั ความเท่ียงตรงและความแม่นยา คุณสมบตั ิทางสถิตย์และทางพลศาสตร์ของ เครื่องมือวดั สถิติ ตวั แปร ขอ้ มูลและมาตราการวดั ความคลาดเคลื่อนและการวิเคราะห์ค่าความคลาดเคลื่อนทาง สถิตยในการวดั ความน่าเช่ือถือของระบบการวดั การวดั แรงดนั กระแสและกาลงั ทางไฟฟ้า ทรานสดิวเซอร์ วิธีการ วดั ทางดิจิทลั การวดั ความถี่และเวลาดว้ ย เทคนิคการหาอตั ราส่วนระหวา่ งสญั ญาณการวดั กบั สญั ญาณรบกวน การ แจกแจงความถ่ี การนาเสนอขอ้ มูล ตวั วดั ตาแหน่งที่ของขอ้ มูล ค่ากลางและการกระจาย การแจกแจงทวินาม การแจก แจงปกติ การแจกแจงตวั อยา่ ง การประมาณค่า และการทดสอบ สมมติฐานทางสถิติ วิธีการลดสิ่งรบกวน, หลกั การ สร้างแนวเสน้ แบบเคอร์พฟิ ตติ้ง Standard instruments, accuracy and precision, static and dynamic properties of instruments, statistics, variables, data and scales of measurement, error in measurements and their statistical analysis, reliability of measurement system, voltage, current and power measurements, transducers, digital measurement methodology, frequency and time measurement, frequency distribution, data presentation, measure of location, center and variability, probability, binomial distribution, normal distribution, sampling distribution, estimation and statistical hypothesis testing, Noise reduction, noises, signal-to-noise ratio enhancement techniques, Curve fitting method. DAIE4204 กลยทุ ธการประยกุ ตเ์ ซ็นเซอร์อจั ฉริยะและดีเอสพี 3(3-0-6) (Smart DSP and sensor applications strategy) หลกั การของซุปเปอร์โพซิชน่ั สญั ญาณเซ็นเซอร์ซบั ซ้อน เทคนิคการประมวลสญั ญาณท่ีเหมาะสม การ เชื่อมตอ่ เทอร์โมคพั ป้ิ งในแบบตวั วดั แรงดนั ไฟฟ้า วงจรรบกวนทางอิเลคทรอนิกส์ในสภาวะจริง ตวั สร้างสญั ญาณ รบกวนและปัจจยั ทางแรงเคลื่อนไฟฟ้าซ่ึงมีการรบกวน โดเมนความถ่ีผา่ นกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การ วิเคราะห์ของกระบวนการสญั ญาณจาเพาะ การออกแบบเซ็นเซอร์อจั ฉริยะแบบพเิ ศษ Principle of superposition, complex sensor signals, appropriate signal-processing techniques, thermocouple connection as measurement, real situation electronic noise circuit, electrical noise generator and noise voltage component, frequency domain via a mathematical operation, analysis of a particular signal-processing, specializing design of intelligent sensors. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 31
DAIE4205 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ณ เวลาจริงและกระแสตอ่ เนื่องของขอ้ มลู 3(3-0-6) (Data Streaming and Real Time Data Analytics) การวิเคราะห์ขอ้ มูล ณ เวลาจริง อินเตอร์เนต็ ของสรรพส่ิงและเซ็นเซอร์ การเขยี นโปรแกรมกระแสตอ่ เน่ือง ของขอ้ มูล ฐานขอ้ มลู สาหรับขอ้ มูล ณ เวลาจริง และกระแสต่อเน่ืองของขอ้ มลู การประยกุ ตใ์ ชก้ ระแสต่อเนื่องของ ขอ้ มลู ความปลอดภยั ไซเบอร์ อตุ สาหกรรมและอ่นื ๆ การเรียนรู้ดว้ ยเครื่องจกั ร์สาหรับขอ้ มูล ณ เวลาจริง การ คานวณแบบกระจายและกอ้ นเมฆสาหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูล ณ เวลาจริง Real-time data analytics, internet of things and censor, streams programming, database for real-time data and data streaming, applications of streaming related to cyber security, industrial and others, machine learning applied to real-time data, distributed and cloud computing for real-time analytics. DAIE4206 ระบบสมาร์ทอิเลคทรอนิกส์ช้นั สูง 3(3-0-6) (Advanced Smart Electronic Systems) คุณลกั ษณะและการประยุกต์ใชง้ านสวิตช์กาลงั ทอพอโลยแี ละเทคนิคการควบคุมตวั แปลงผนั กาลงั แบบต่าง ๆ ได้แก่ กระแสตรงเป็ นกระแสตรง กระแสสลบั เป็ นกระแสตรง กระแสตรงเป็ นกระแสสลบั และ กระแสสลบั เป็นกระแสสลบั ความเพ้ียนเชิงฮาร์มอนิกรวม เทคนิคการป้องกนั ในระบบอิเลก็ ทรอนิกส์กาลงั การใช้ งานระบบอิเลก็ ทรอนิกส์กาลงั ในแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่ แหล่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าต่อเนื่อง ระบบยานยนต์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบโทรคมนาคม และกระบวนการตา่ ง ๆ ในอตุ สาหกรรม Characteristics and application of power switches, various DC-DC, AC-DC, DC-AC, and AC-AC converter circuit topologies and their control techniques, total harmonic distortion and power electronic system protection, application to uninterruptible power supplies, automobiles, computer systems, telecommunications, and industrial processes. DAIE4207 ศาสตร์ทางวิศวกรรมหุ่นยนตช์ ้นั สูง 3(3-0-6) (Advance Robotics Engineering) ศาสตร์ทางวิศวกรรมหุ่นยนตใ์ นมุมกวา้ งไดแ้ ก่ การควบคมุ หุ่นยนต,์ ตวั ตรวจรู้และการเช่ือมตอ่ ปัญหา ของหุน้ ยนตแ์ ละการเขยี นโปรแกรมซ่ึงครอบคลุมหลายสาขาไดแ้ ก่ เครื่องกล, ไฟฟ้า, อุตสาหการ และวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ การวางแผนเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์ สถาปัตยกรรมแบบครอบคลุมระบบตอบสนอง หวั ขอ้ เร่ือง ปัจจุบนั หุ่นยนตอ์ จั ฉริยะ ไมโครโรบอต หุ่นยนตก์ ูภ้ ยั หุ่นยนตท์ างการแพทย์ หุ่นยนตส์ ารวจใตน้ ้า A broad view of robotics: robot control, sensors and interfacing, robot intelligence and programming, a broad spectrum of disciplines: mechanical, electrical, industrial, and computer engineering, motion planning of robot, subsumption architecture, reactive systems, current topics of smart robot, micro robot, rescue robot, medicine robot, underwater robot. DAIE4208 กลยทุ ธการควบคุมผลิตอจั ฉริยะและการจาลองแบบปัญหา 3(3-0-6) (Intelligent Manufacturing control strategy and Simulation Modeling) การวิเคราะห์ขอ้ มูลวิธีการสร้างตว้ แบบจาลองและการประเมินทางเลือกที่เหมาะสมกบแั บบปัญหาการ ประยกุ ตเ์ ทคนิคการวเิ คราะห์ ขอ้ มลู และเทคนิคการจาลองแบบปัญหาท่ีใชใ้ นอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ Data analysis. Simulation modeling, evaluation of alternative designs, applications of data analysis, simulation modeling techniques for manufacturing and service sectors. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 32
DAIE4209 เซ็นเซอร์และอินเตอร์เนต็ ของสรรพสิ่ง 3(3-0-6) (Sensor and Internet of Things) การพฒั นาอินเตอร์เนต็ ของสรรพสิ่งและเซ็นเซอร์ ให้สามารถบูรณาการเทคโนโลยขี องเซ็นเซอร์ที่ใชใ้ นการ ตรวจวดั อุปกรณ์แอททเู อชนั่ ท่ีช่วยบริหารจดั การในการรับค่า อุปกรณ์ระบบสมองกลฝังตวั ในการประมวลผล อุปกรณ์ส่ือสารบนทุกช่องทางของการติดต่อส่ือผา่ นเครือขา่ ยในปัจจุบนั และอุปกรณ์บนั ทึกคา่ ดิจิตอลแบบเรียลไทม์ อุปกรณ์สื่อสารเช่ือมต่อใหอ้ ุปกรณท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งดงั กลา่ วสามารถทางานร่วมกนั ตลอดจนระบบปฏิบตั ิการที่สามารถ ควบคุมอปุ กรณ์ให้สามารถทางานผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต องคป์ ระกอบดา้ นฮาร์ดแวร์สาหรบั งานอินเตอร์เน็ตท่ี สามารถผสมผสานงานในสรรพส่ิงตามความตอ้ งการประยกุ ตใ์ ชง้ านและอุตสาหกรรมต่างๆ ประสบการณ์ตรงใน การออกแบบพฒั นาและควบคมุ ไอโอที ตลอดจนเซน็ เซอร์ประยกุ ตใ์ นงานอตุ สาหกรรมอจั ฉริยะ Development of internet of things (IoT) and sensor into products and services including sensing, actuation, processing and communication devices, embedded system and interface for IoT and sensor, core hardware components for IoT devices, operating system and network supporting IoT device, hands-on experience on designing, developing, and controlling IoT and sensor in business practices. DAIE4210 ระบบสารสนเทศพ้ืนที่และการรับรู้ระยะไกล 3(3-0-6) (Spatial and Remote Sensing Information Systems) หลกั การสร้าง จดั การ และเรียกใชร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ การใชภ้ าษา SQLในการทางานกบั ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ วิธีการสร้างและทางานกบั ฐานขอ้ มูลเชิงพ้ืนท่ีท้งั บนฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ และซอฟตแ์ วร์ สาหรับระบบแผนท่ีภมู ิศาสตร์ดิจิตอล การออกแบบฐานขอ้ มูลเชิงพ้ืนท่ี ประเภทของขอ้ มูลภูมิศาสตร์ และนามาใช้ ในการจดั ทาฐานขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ี หลกั การจดั ทาฐานขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ีการสร้างและเรียกใชฐ้ านขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ี การ ประยกุ ตใ์ ชฐ้ านขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ีในงานภูมิศาสตร์ Introduction and GIS data characteristic, Database Fundamental, Installation and create database in PostgreSQL, SQL GIS Database design, Geospatial data model, Spatial Database, Creating and Working with Enterprise, Geodatabase, GIS Database Design, Spatio-Temporal data processing. DAIE4211 จาลองเสมือนจริงและเทคโนโลยกี ารเขา้ ถึงสาหรับการแสดงผล 3(3-0-6) (Virtual Reality and Immersive Technology for Visualization) หลกั การของเสน้ แบง่ ระหว่างโลกสองมิติและสามมิติ และระหว่างโลกจริงและโลกเสมอื นการบูรณา การความรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ มลั ติมิเดีย การประมวลผลภาพ คอมพิวเตอร์วิชนั่ และคอมพิวเตอร์กราฟฟิ กส์ มมุ มอง คอมพิวเตอร์แบบสามมิติ การปฏิบตั ิงานโดยใชไ้ ลน์บาร่ีในโปรแกรมมาตรฐานหรือช่วยในการโปรแกรม Principle of borderlines between 2D and 3D worlds, and between real and virtual worlds. combining knowledge of mathematics, multimedia, image processing, computer vision, and computer graphics. 3D computer vision, VR/AR/MR-specific visualization, 3D interaction techniques, hand-on practices using standard programming libraries or tools. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 33
DAIE4212 การออกแบบและพฒั นาระบบควบคุมแบบสมองกลฝังตวั 3(3-0-6) (Embedded System Design and Development) สถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอลโทรเลอร์ ชุดคาสงั่ หน่วยความจาไฟฟ้าและแผนผงั วงจร โครงสร้างพ้ืนฐานของฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์บนระบบฝังตวั ในการประยกุ ตใ์ ชง้ านตา่ งๆ การเช่ือมต่อ อุปกรณ์อินพุต เอาตพ์ ุต การเช่ือมตอ่ และการประยกุ ตส์ งั่ งานอปุ กรณ์อินพุต เอาตพ์ ุตในลกั ษณะต่างๆ ศึกษาการ ออกแบบและพฒั นาระบบควบคมุ แบบฝังตวั ที่สามารถเชื่อมต่อระหวา่ งสญั ญาดิจิทลั กบั สญั ญาณแอนะลอ็ กเพ่ือการ ควบคุม ระบบอจั ฉริยะต่างๆ การเช่ือมตอ่ ระบบฝังตวั กบั โมดูลเช่ือมตอ่ อีเธอร์เนต ซิกบี บลูทูธ อาร์เอฟไอดี และ เทคโนโลยอี ื่นๆ บนพ้ืนฐานของ internet of thing ดว้ ยอุปกรณ์พ้ืนฐานเชน่ Arduino หรือ Rasberry Pi เป็นตน้ Microprocessor architecture, microcontroller, instruction sets, types of electronicmemories and their circuit diagrams, input and output interfacing, synchronous and asynchronous interfacing, D/A and A/D device. Embedded system design and development Interfacing for smart system controlling, interfacing embedded device with ethernet modules, zigbee, bluetooth, RFID and other technolog. DAIE0109 ระเบียบวิธีวิจยั และพฒั นาดา้ นวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 1(3-0-6) (AI Engineering Research and Development Methodology 1) หลกั การและระเบียบวิธีวิจยั ทางดา้ นวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ โดยการศึกษาและสืบหา ปัญหา การต้งั โจทยป์ ัญหา การวิเคราะห์ปัญหา การออกความคิด การคิดวิธีการแกป้ ัญหา การพิสูจน์วิธีการแกป้ ัญหา การกาหนดหวั ขอ้ การออกแบบวิธีวิจยั การเขียนขอ้ เสนอโครงการวิจยั การทดลอง การจดั เกบ็ ขอ้ มลู การวิเคราะห์ ขอ้ มูล การเขียนรายงานการวิจยั เทคนิคการนาเสนองานวิจยั และการเผยแพร่ผลงานวิจยั Principles and research methodology in Aritificial Intelligent Engineering, The problem investigation and study. Problem definition analysis, problem solution method, solution methodology proof, research topics assignment, research methology design, research proposal writing, experiments, data collection, data analysis, research report writing, and research dissemination presentation techniques. DAIE0110 ระเบียบวิธีวิจยั และพฒั นาดา้ นวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ 2 1(3-0-6) (AI Engineering Research and Development Methodology 2) ภาพรวมของระเบียบวิธีวิจยั ทางวิศวกรรมศาสตร์ จริยธรรม การคดั ลอกผลงาน การทบทวน วรรรณกรรม การวเิ คราะห์ผลงานตีพิมพ์ การอา่ นบทความทางเทคนิค การกาหนดปัญหา การต้งั คาถามการวิจยั การ วางแผนโครงการหรืองานวิจยั การสุ่มตวั อยา่ งขอ้ มลู การเก็บขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการแปรความหมาย เครื่องมือวิจยั ประมวลหลกั การปฏิบตั ิงาน และมาตรฐาน การจดั การและการนาเสนอขอ้ มูล การเขียนบทความ วิชาการ การนาเสนอผลงาน Overview of engineering research methodology, ethics, plagiarism, literature review, critical analysis of publications, reading of technical papers, problem identification, research question, research or project planning, data sampling, data collection, data analysis and information identify, research tools, code of practice and standards, data management and presentation, academic writing, result presentation. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 34
GESE101 ปรับพ้ืนฐานภาษาองั กฤษสาหรับหลกั สูตรนานาชาติระดบั บณั ฑิตศึกษา 3(2-3-5) (Presessional English for International Course at Post Graduate Study) การเพื่มทกั ษะการเขียนภาษาองั กฤษสาหรับจุดประสงคท์ างวิชาการ การถอดความหมายทางภาษาโดย ปราศจากการลอกเลียนแบบ ความเขา้ ใจและคาดการณ์ชองการเขียนรายงาน ความมน่ั ใจทางภาษา เทคนิคการเรียน สาหรับงานทาวิจยั การอา้ งอิงแหลง่ คน้ ควา้ ความเขา้ ใจทางวฒั นธรรม การเตรียมการทดสอบขอ้ สอบ IELTS (การใช้ แกรมมา่ การเขียน การพูด การอา่ น การฟังภาษาองั กฤษ) การทดสอบขอ้ สอบ IELTS. Improving writing skills for academic purpose, Paraphrasing without plagiarizing, Understanding expectations of report writing, Feeling confident, Learning techniques for research, Citing sources (citation and styles), Understanding cultural expectations, IELTS test preparing (English Grammar, Writing, Speaking, Reading, Listening), Pre-IELTS Exam. GESE102 หลกั การทางภาษาองั กฤษสาหรบั หลกั สูตรนานาชาติระดบั บณั ฑิตศึกษา 3(2-3-5) (Fundamentals English for International Course at Post Graduate Study) ศึกษาพ้ืนฐานทางภาษาและพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษที่จาเป็นของนกั ศึกษา เพ่ือใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่สามารถ เขา้ เรียน ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาเกิดความมนั่ ใจในการใชภ้ าษาองั กฤษ ในดา้ นเน้ือหาวิชา ไมไ่ ด้ กาหนดเน้ือหาท่ีแน่นอน แตม่ งุ่ เน้นการแกไ้ ขปัญหาการเรียนภาษาองั กฤษของนกั ศึกษา โดยเฉพาะประเดน็ ท่ี นกั ศึกษามีปัญหามากที่สุด นอกจากน้ียงั ส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาเรียนรู้การจดั การการเรียนดว้ ยตนเอง อนั เป็นการพฒั นา ทกั ษะการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ สาหรับการคน้ ควา้ วจิ ยั เนน้ การอ่านเพ่ือสรุปความ วิเคราะห์บทความวิชาการ การ เขียน และการนาเสนอผลงานทางวิชาการ Aims to instill the background language and skills necessary for undertaking and to raise the students’ confidence in using English. There will be no predetermined focus of the course, but instead it will concentrate on those areas where the students are weakest and need most improvement. The classroom teaching and learning will be supported by self-directed learning to allow the students to improve their English language and skills autonomously for research finding. To emphasis on reading to conclude the contents, to analyse academical article writing and present their research paper. GESE201 ภาษาองั กฤษเพ่ิมพูนสาหรับนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา 2 (1-2-6) (English Enhancement Course for Engineer Students at Post Graduate Study) พฒั นาประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาองั กฤษ เสริมทกั ษะในการฟัง การพูด เพอื่ การนาเสนอขอ้ มลู และ แสดงความคิดเห็นของขอ้ มูลต่างๆ เสริมทกั ษะในการอา่ นโดยใชเ้ ทคนิคการอา่ นข้นั สูงข้ึน เช่น การอา่ นเพื่อหา หวั ขอ้ เร่ือง การอา่ นเพอ่ื จบั ใจความสาคญั และรายละเอียด ให้สามารถเขียนสรุปความ เพ่ือรายงานขอ้ ความที่อา่ น และให้มีทกั ษะในการศึกษาคน้ ควา้ ในหวั ขอ้ ที่ตรงกบั สาขาวิชาท่ีเรียนและจากแหลง่ สิ่งพิมพแ์ ละอิเลก็ ทรอนิกส์ โดย เนน้ ทกั ษะการอ่าน การเขียน และการสืบคน้ English Experience development, improve skill in listening speaking for presenting and comment the information Comprehension from Native English Speaking Instructors, improve reading skill in advance such as topic reading importance point of contents, conclusion writing for report reading and searching skill in study subject and electronic publish journal or information source specify based on skill on reading writing and search. วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 35
GESE202 ภาษาองั กฤษสมบรู ณ์สาหรับนกั ศึกษาทางวิศวกรรมระดบั บณั ฑิตศึกษา 2 (1-2-6) (Immedia English Course for Engineer student at Post Graduate Study) เพื่อพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษเชิงวิชาการท่ีเก่ียวขอั งกบั การเรียนของนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษาดา้ น วิศวกรรมศาสตร์ โดยเนน้ ทกั ษะการฝึกปฏิบตั ิ แต่ไมเ่ นน้ หนกั ที่เน้ือหาไวยากรณ์โดยตรง รายวิชาน้ีมงุ่ เนน้ การใช้ ภาษาองั กฤษท่ีตรงกบั ความตอ้ งการในการใชภ้ าษาของนกั ศึกษา โดยเฉพาะดา้ นการอ่านและการเขียนซ่ึงนกั ศึกษา ตอ้ งใชใ้ นการทาโครงงาน ในรายวิชานกั ศึกษาจะไดฝ้ ึกปฏิบตั ิข้นั ตอนการทาโครงงานต้งั แตก่ ารหาขอ้ มูลอา้ งองิ จนถึงการเขยี นรอบสุดทา้ ย นอกจากน้ี นกั ศึกษาจะไดเ้ รียนรู้กลยทุ ธ์การเรียนเพื่อฝึกทกั ษะการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ ดว้ ยตนเอง เพื่อนาไปใชใ้ นการสื่อสารท่ีแทจ้ ริงนอกห้องเรียนต่อไป To develop English language skills relevant to mature students in Graduate Degree Programs in Engineering, Science and Technology. It will be based on practical skills, but will not be yet another grammar course. Rather its focus will be on the real language demands, particularly in reading and writing, faced by students in the course of their studies. It is project-focused and simulates the stages in preparing and presenting research, from finding references to writing a final draft. The course will equip students with language learning strategies to facilitate ongoing autonomous learning and will emphasize language use not usage, real communication not classroom practice. GESE203 การส่ือสารและการสืบคน้ สารสนเทศทางภาษาองั กฤษ 2 (1-2-6) (Sessional English Course for communication at Post Graduate Study) การใชภ้ าษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวนั ตลอดจนความตระหนกั ดา้ น วฒั นธรรมของไทยและวฒั นธรรมตะวนั ตก รวมท้งั การสืบคน้ สารสนเทศทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การอา้ งอิง และเรียนรู้ จากสื่อการเรียนรู้ตา่ งๆ ฐานขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์และส่ือสิ่งพิมพ์ (ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ) พฒั นาดา้ นการฟัง การพดู การอา่ นและการเขียนภาษาองั กฤษ การติดตอ่ และการสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ การให้ ขอ้ มูลและคาแนะนา การสนทนา การอ่านและการเขียนเพ่ือการสืบคน้ และการใชพ้ จนานุกรม การกรอกแบบฟอร์ม และการเขียนขอ้ ความง่าย English for daily life communication with Thai and western cultural concerns, Electronic information retrieval, making references and learning from electronic databases and printing materials, english listening speaking reading and writing development, Contacting and communication in each situation, english standard of conversation, reading, and writing for searching and dictionary, form filling and simple English message writing. 3.2 ช่ือ สกลุ เลขประจาตวั บัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบ ลาดบั ช่ือ-สกลุ ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ, สาขาวชิ า สถาบันการศึกษา ปี ทส่ี าเร็จ เลขประจาตัวประชาชน วชิ าการ พ.ศ.2548 อาจารย์ 1 วา่ ที่ รต. มงคล กลนิ่ กระจาย Ph.D.(Robotics and King College London, พ.ศ.2550 พ.ศ.2533 3 1005 03720 996 Mechatronics Engineering) United Kingdom. พ.ศ.2554 วศ.บ.(วศิ วกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ฯ)สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั พ.ศ.2544 คบ.(คอมพิวเตอร์) วทิ ยาลยั ครูสวนสุนนั ทา พ.ศ.2540 ดร.สกล อดุ มศิริ รอง D.Eng.(Information Science Nagaoka University of 3 7105 00985 12 8 ศาสตราจารย์ and Control Engineering) Technology, Japan วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ 2 คุณทหารลาดกระบงั วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยมี หานคร วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 36
3 ดร.แสนศกั ด์ิ ดีออ่ น อาจารย์ D.Eng.(Information science Nagaoka University of พ.ศ.2555 3 1011 00242 09 4 and control Engineering) Technology, Japan พ.ศ.2546 วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ พ.ศ.2539 คุณทหารลาดกระบงั วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีมหานคร 3.2.2 อาจารย์ประจาหลกั สูตร ตาแหน่งทางวชิ าการ คณุ วุฒิ/สาขาวชิ า/สถาบัน/ปี ที่สาเร็จ รศ. ลาดบั ชื่อ – นามสกุล วศ.ด. (เทคโนโลยีพลงั งาน) มจธ. 2546 รศ. วศ.ม. (เทคโนโลยพี ลงั งาน) มจธ. 2537 1 นายสันติ หวงั นิพพานโต ผศ. วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) มทร.ธัญบุรี 2546 3 9299 0046X XXX ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจพ. 2531 รศ. วศ.ด. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจล 2552 2 นายจกั รพงษ์ จารุมิศร์ รศ. วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจล 2542 3 6099 0033X XXX อาจารย์ วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) มทม. 2538 D.Eng (Energy and Environment Science) 3 นายพฒั นา อนิ ทนิ Nagaoka U. of Tech,Japan 2553 33104 0124X XXX วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจล. 2545 วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) มทม. 2540 4 นายเสถียร ธญั ญศรีรัตน์ วศ.ด. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจล. 2550 3 1017 0227X XXX ค.อ.ม. (ไฟฟ้า) สจพ. 2537 วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) มทร.ธญั บรุ ี 2546 5 นายอนุชาติ ศรีศริ ิวฒั น์ ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) สจพ. 2529 3 7301 0085X XXX ปร.ด. (วศิ วกรรมไฟฟ้าศึกษา) มจพ. 2558 ค.อ.ม. (ไฟฟ้า) สจพ. 2543 6 นายสุวทิ ย์ ภูมิฤทธิกลุ วศ.บ. (ไฟฟ้ากาลงั ) มทร. 2546 310150177X XXX D.Eng (information Science and Control Engineering) Nagaoka U. of Tech, Japan 2557 วศ.ม. (วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2552 วศ.บ. (วศิ วกรรมโทรคมนาคม) สจล. 2548 3.2.3 อาจารย์พิเศษ ลาดับ ช่ือ – นามสกุล สาขาวชิ าเอก คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า สถานทที่ างาน D.Eng.(System & คณะกรรมการสาขาวศิ วกรรม 1 ศ.ดร.เชียรชว่ ง กลั ยาณมิตร วิศวกรรมการ Management Engineering) คอมพิวเตอร์, วิศวกรรมสถานแห่ง จดั การและระบบ Greenwich U.,US. ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ D.Eng.(System Engineering), Portland State University, US. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2 รศ.ดร.สมชาย ปราการเจริญ เทคโนโลยี ปร.ด.(เทคโนโลยสี ารสนเทศ) พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สารสนเทศ วท.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ 3 รศ.ดร.สมศกั ด์ิ อรรคทมิ ากลู Electronic- Ph.D.(Electronic–Microwave Microwave Engineering), Toulouse U., Engineering France วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 37
4 รศ.ธวชั ชยั งามสันติวงศ์ Educational MAET.Educational Technology มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ Technology 5 ผศ.ดร.ชยั ยพล ธงชยั สุรัชตก์ ูล Electrical Ph.D.(Electrical Engineering), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี Engineering Vanderbilt University, USA พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ Ph.D. (Electrical Engineering), มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม 6 ผศ. ดร. สุวฒั น์ ภทั รมาลยั Electrical Florida Atlantic University, US. เกลา้ พระนครเหนือ Engineering 7 ดร.ชยั พร ทบแป เทคโนโลยี ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ)/ คณะกรรมการสาขาวศิ วกรรม คอมพวิ เตอร์, วิศวกรรมสถานแห่ง สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ 8 ดร. ณรงค์ โพธิ เทคโนโลยี ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), นกั วิชาการอิสระ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม สารสนเทศ เกลา้ พระนครเหนือ 9. ดร. ธนรักษ์ ล้ิมจิตสมบูรณ์ นกั วชิ าการอิสระ ปร.ด.(เทคโนโลยสี ารสนเทศ) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม เกลา้ พระนครเหนือ 4. องค์ประกอบเก่ยี วกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึ กงาน หรือสหกจิ ศึกษา) ไม่มี 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม ไม่มี 4.2 ช่วงเวลา ไม่มี 4.3 การจดั เวลาและตารางสอน ไม่มี 5. ข้อกาหนดเก่ยี วกับการทาโครงงานหรืองานวจิ ยั 5.1 คาอธิบายโดยย่อ การทาโครงงานหรืองานวิจยั ในรายวิชาคือ การที่นักศึกษาทางานภายใตก้ ารควบคุมของอาจารย์ ผสู้ อนรายวชิ า ส่วนการทาวทิ ยานิพนธ์ คือการทนี่ ักศึกษาทางานภายใตก้ ารควบคุมของอาจารยท์ ี่ปรึกษา โดย การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูท้ างวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐเ์ ป็นหลกั 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ การทาโครงงานดงั กล่าวขา้ งตน้ จะมีประโยชนก์ บั นกั ศึกษา เช่น 1. มีองคค์ วามรู้จากการวจิ ยั และความสามารถแกไ้ ขปัญหาโดยวธิ ีวจิ ยั 2. สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ขอ้ มูล 3. สามารถใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการวเิ คราะหส์ ถิตขิ อ้ มูลและอภิปรายผล 4. สามารถปรบั ตวั ในการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น 5. สามารถนาเสนอและสื่อสารดว้ ยภาษาพดู และภาษาเขยี น 5.3 ช่วงเวลา ปฏบิ ตั ิงานระหวา่ งภาคการศึกษาปกตหิ รือเป็ นไปตามประกาศของสถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 5.4 จานวนหน่วยกิต เป็ นไปตามจานวนหน่วยกิตของวทิ ยานิพนธท์ ี่กาหนดในโครงสร้างหลกั สูตรในหมวดที่ 3 ขอ้ 3.2 วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 38
5.5 การเตรียมการ การใหค้ าแนะนาช่วยเหลือทางวชิ าการแก่นกั ศกึ ษา เช่น 1.อาจารยท์ ีป่ รึกษาใหค้ าแนะนานกั ศึกษา โดยใหน้ กั ศกึ ษาเป็นผเู้ ลือกอาจารยท์ ี่ปรึกษาและหวั ขอ้ หรือโครงงานหรือหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธท์ ี่นกั ศกึ ษาสนใจ 2. อาจารยท์ ่ีปรึกษาจดั ตารางเวลาการใหค้ าปรึกษาและการติดตามการทางานของนกั ศึกษา 3. จัดเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ส่ิงอานวยความสะดวกในการทางานวิทยานิพนธ์ เช่นอุปกรณ์ทาง ปัญญาประดิษฐ์ 5.6 กระบวนการประเมินผล กระบวนการประเมินผล กลไกการทวนสอบมาตรฐาน เช่น 1.ประเมินคุณภาพโครงงานโดยอาจารย์ประจาวิชา หรือประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์โดย คณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ 2. ประเมินความก้าวหน้าในระหว่างการทาวิจยั หรือวิทยานิพนธ์โดยอาจารยท์ ่ีปรึกษา อาจารย์ ประจาวชิ า อาจารยอ์ ื่น อยา่ งนอ้ ย 3 คน สงั เกตจากการรายงานดว้ ยวาจาและ/หรือเอกสารอื่น 3. ประเมินผลการทางานของนกั ศึกษาในภาพรวม จากการติดตามการทางาน ผลงานท่ีเกิดในแต่ ละข้นั ตอน และรายงานโดยอาจารยท์ ี่ปรึกษา หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล 1. การพฒั นาคณุ ลกั ษณะพิเศษของนักศึกษา คณุ ลกั ษณะพเิ ศษ กลยทุ ธ์หรือกิจกรรมของนกั ศึกษา 1. ดา้ นจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ การสอดแทรกจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพใน ระหวา่ งการสอนวชิ าต่างๆ 2. มีความรูพ้ ้นื ฐานในศาสตร์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งท้งั ภาคทฤษฎี - การเรียนการสอนในภาคทฤษฎี การเรียนการสอนใน และปฏิบตั ใิ นเกณฑด์ ี สามารถประยกุ ตไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะ ภาคปฏบิ ตั ิจากการทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและจาก สมในการประกอบวชิ าชีพ และศกึ ษาตอ่ ในระดบั สูง งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 3. คดิ เป็น ทาเป็น รูจ้ กั แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองและ - การมอบหมายงานท่ีเป็นโครงงานเป็นระบบครบวงจร เลือกวธิ ีการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและเหมาะสม การทากิจกรรมทีต่ อ้ งมีการจดั สรรงานคนและเวลา 4. มีความรูท้ นั สมยั ใฝ่ รู้ และมีความสามารถพฒั นา - การมอบหมายงานคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเพอื่ ที่ใหเ้ กิด ความรู้ เพอื่ พฒั นาตนเอง พฒั นางาน และพฒั นาสงั คม ความคดิ สร้างสรรคใ์ หม่ๆ จากพ้นื ฐานความรู้ทีม่ ีอยเู่ ดิม 5. มีความสามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื มีทกั ษะการ - การมอบหมายงานหรือกิจกรรมทีต่ อ้ งทาร่วมกนั เป็ น บริหารจดั การและทางานเป็นหมู่คณะ หมู่คณะ 6. มีความสามารถในการตดิ ต่อส่ือสาร โดยใช้ การมอบหมายงานหรือกิจกรรมท่ตี อ้ งมีการนาเสนอใน ภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศและศพั ทเ์ ทคนิค รวมถึงมี ลกั ษณะปากเปล่าประกอบสื่อในช้นั เรียน ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารเทศ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 39
2. การพฒั นาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1) ตระหนกั ในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสตั ยส์ ุจริต 2) มีภาวะความเป็นผนู้ าและผตู้ าม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ ตาม ลาดบั ความสาคญั เคารพสิทธิและรบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน รวมท้งั เคารพในคุณคา่ และ ศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ 3) สามารถวเิ คราะห์และประเมินผลกระทบจากการใชค้ วามรู้ทางวศิ วกรรมต่อบุคคล องคก์ ร สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม 4) มีจรรยาบรรณทางวชิ าการและวชิ าชีพ และความรับผดิ ชอบในฐานะผปู้ ระกอบวชิ าชีพรวมถึง เขา้ ใจถึงบริบททางสงั คมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแต่ละสาขา ต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั 2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) มอบหมายใหน้ กั ศกึ ษาทางานเป็นกลุ่ม ฝึกความรับผดิ ชอบ ฝึกการเป็ นผนู้ าสมาชิกกลุ่มและ การทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น 2) ใชก้ รณีศกึ ษาและการอธิปราย 3) อาจารยผ์ สู้ อนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน 4) อาจารยผ์ สู้ อนประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดี 5) ปลูกฝังจรรยาบรรณวชิ าชีพ 2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) สงั เกตพฤติกรรมและการโตต้ อบและการแลกเปล่ียนในหอ้ งเรียนและการทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน 2) ประเมินผลกบั กรณีศกึ ษาและอธิปรายดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 3) ประเมินผลจากผลการสอบในรายวชิ าท่เี ก่ียวขอ้ งกบั คุณธรรม จริยธรรม 4) ประเมินจากการตรงเวลาของนกั ศึกษาในการเขา้ ช้นั เรียน การส่งงานตามกาหนดทม่ี อบหมาย 5) ประเมินจากความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ที ไี่ ดร้ ับมอบหมาย 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1) มีความรูแ้ ละความเขา้ ใจในเน้ือหาสาระหลกั ของสาขาวชิ า เพอื่ การประยกุ ตใ์ ชก้ บั งาน ทางดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และการสรา้ งนวตั กรรมทางเทคโนโลยี 2) มีความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทฤษฎีท่ีสาคญั และประยกุ ตใ์ นการคน้ ควา้ ทางวชิ าการ 3) สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวชิ าท่ีศึกษากบั ความรูใ้ นศาสตร์อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 4) มีความเขา้ ใจในวธิ ีการพฒั นาความรูใ้ หม่ๆ และการประยกุ ต์ ผลกระทบของผลงานวจิ ยั ท่ี มีตอ่ องคค์ วามรู้ในสาขาวชิ าและตอ่ การปฏบิ ตั ใิ นวชิ าชีพ 5) ตระหนกั ในระเบียบขอ้ บงั คบั ทใี่ ชใ้ นสภาพแวดลอ้ มของระดบั ชาติและนานาชาติทีอ่ าจมี ผลกระทบต่อสาขาวชิ าชีพ รวมท้งั เหตผุ ลและการเปลี่ยนแปลงท่อี าจจะเกิดข้นึ ในอนาคต 2.2.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 1) จดั การเรียนการสอนในหลายแบบโดยเนน้ หลกั ทางทฤษฎีและปฏบิ ตั ิเพอ่ื ใหเ้ กิดองคค์ วาม รู้และใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผเู้ รียน และระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน 2) ใชก้ ารเรียนการสอนโดยนาเสนอเทคโนโลยแี ละองคค์ วามรูใ้ หม่ๆ ในรายวชิ าตา่ งๆ และ ผา่ นการศึกษางานวจิ ยั และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยตี า่ งๆ จากบทความทางวชิ าการ 3) จดั ใหม้ ีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศกึ ษาดูงาน วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 40
4) จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยวธิ ีการ Problems Based Instruction 5) ใชว้ ธิ ีการเรียนการสอนแบบวจิ ยั เป็นฐาน 6) ใชเ้ อกสารประกอบการสอนเป็นภาษาองั กฤษเพอื่ เพมิ่ ความรู้ดา้ นภาษาในรายวชิ าต่างๆ 7) ใหน้ กั ศึกษาจดั กิจกรรมโดยนาหลกั การทางทฤษฎีมาประยกุ ตใ์ ช้ 2.2.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะด้านความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบดา้ นทฤษฎี การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน สาหรับการ ปฏบิ ตั กิ ารประเมินจากผลงานและการปฏบิ ตั ิการ 2) การทดสอบยอ่ ย 3) พจิ ารณาจากรายงานทม่ี อบหมาย 4) ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน 5) ประเมินดา้ นความรูจ้ ากกิจกรรมทไี่ ดร้ บั มอบหมายของผเู้ รียน 6) การสอบประมวลผลความรู้ การสอบหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธ์ การสอบความกา้ วหนา้ การสอบ วทิ ยานิพนธ์ และการตีพมิ พบ์ ทความทางวชิ าการและวชิ าชีพ 2.3 ทกั ษะทางปัญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1) มีความสามารถในการค้นหาความรู้ ขอ้ มูล และประเมินความถูกตอ้ งได้ด้วยตนเอง เพอ่ื การเรียนรูต้ ลอดชีวติ และทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงทางองคค์ วามรูแ้ ละเทคโนโลยใี หม่ๆ 2) สามารถประมวล และศกึ ษาขอ้ มูลเพอื่ วเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหาและขอ้ โตแ้ ยง้ รวมท้งั หา แนวทางป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3) สามารถคดิ วเิ คราะห์ และแกไ้ ขปัญหาดา้ นวศิ วกรรมไดอ้ ยา่ งมีระบบ รวมถึงการใชข้ อ้ มูล ประกอบการตดั สินใจในการทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4) สามารถสงั เคราะห์และใชผ้ ลงานวจิ ยั สิ่งตพี มิ พท์ างวชิ าการ ในการพฒั นานวตั กรรมหรือ ตอ่ ยอดองคค์ วามรูจ้ ากเดิมไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 2.3.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา 1) เนน้ การสอนใหน้ กั ศกึ ษารู้จกั บรู ณาการและการประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีความรู้ต่างๆ ผา่ นการ ทารายงานและงานท่มี อบหมายในวชิ าตา่ งๆ 2) เนน้ การสอนใหร้ ูจ้ กั สงั เกต และจบั ประเด็นที่มาและความสาคญั ของปัญหาต่างๆ ในงาน และวชิ าชีพทีต่ นรับผดิ ชอบ เพอื่ นามากาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการแกป้ ัญหาน้นั ๆอยา่ งมี บรู ณาการ ผา่ นการทาวทิ ยานิพนธ์ และวชิ าระเบยี บวธิ ีวจิ ยั 3) เนน้ ใหเ้ ห็นความสาคญั และรูจ้ กั เก็บขอ้ มูลเพอ่ื การวเิ คราะห์และตดั สินใจแกป้ ัญหาอยา่ ง มีเหตผุ ลและอยบู่ นพน้ื ฐานของความเป็ นจริง ผา่ นการศึกษาและการทารายงานในวิชาต่างๆ การทาวทิ ยานิพนธ์ และวชิ าทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา 1) ประเมินจากการรายงานผลการดาเนินงานและการแกป้ ัญหา 2) การประเมินผลจากผลงานทมี่ อบหมาย 3) การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบหรือสมั ภาษณ์ 4) การสอบหวั ขอ้ ความกา้ วหนา้ และการสอบวทิ ยานิพนธ์ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 41
2.4 ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1) สามารถสื่อสารกบั กลุ่มคนท่หี ลากหลายและสนทนาโดยใชค้ วามรูใ้ นสาขาวชิ าชีพมา ส่ือสารท้งั ภาษาไทยและตา่ งประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพในประเด็นทีเ่ หมาะสม 2) สามารถเป็นผรู้ ิเร่ิมแสดงประเด็นในการแกไ้ ขสถานการณ์เชิงสรา้ งสรรคท์ ้งั ส่วนตวั และ ส่วนรวม พร้อมท้งั แสดงจดุ ยนื อยา่ งพอเหมาะท้งั ของตนเองและของกลุ่ม รวมท้งั ให้ ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแกไ้ ขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 3) สามารถวางแผนและรับผดิ ชอบในการพฒั นาการเรียนรูท้ ้งั ของตนเอง และสอดคลอ้ งกบั ทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง 4) รู้จกั บทบาท หนา้ ท่ี และมีความรับผดิ ชอบในการทางานตามทีม่ อบหมาย ท้งั งานบคุ คล และงานกลุ่ม สามารถปรับตวั และทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนท้งั ในฐานะผนู้ าและผตู้ ามไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพ สามารถวางตวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ความรบั ผดิ ชอบ 5) มีความรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภยั ในการทางานและการรักษาสภาพแวดลอ้ ม 2.4.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้ในการพฒั นาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 1) กาหนดการทางานกลุ่มโดยใหห้ มุนเวยี นการเป็ นผนู้ า การเป็ นสมาชิกกลุ่ม และผลดั กนั เป็นผรู้ ายงาน 2) ใหค้ าแนะนาในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ของสถาบนั เพอื่ ส่งเสริมทกั ษการอยใู่ นสงั คม 3) ส่งเสริมใหน้ กั ศกึ ษากลา้ แสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจดั อภปิ รายและเสวนา งานท่ีมอบหมายท่ใี หค้ น้ ควา้ 4) ใหว้ ธิ ีการสอนแบบเปิ ดโอกาสในการแสดงความคดิ เห็น (Brainstorming) เพอื่ ฝึกการ ยอมรบั ความคดิ เห็นของผอู้ ื่นดว้ ยเหตุผล 5) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น 2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1) ประเมินจากการรายงานหนา้ ช้นั เรียนโดยอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา 2) ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผนู้ าและผตู้ ามท่ีดี 3) พจิ ารณาจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมของนกั ศกึ ษา 4) ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 5) สงั เกตพฤติกรรมการระดมสมอง 6) ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 7) ตดิ ตามการทางานร่วมกบั สมาชิกกลุ่มของนกั ศึกษาเป็ นระยะ พร้อมบนั ทึกพฤตกิ รรมเป็ น รายบุคคล 2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) มีทกั ษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์และขอ้ มูลสารสนเทศ สาหรับการทางานทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั วชิ าชีพไดเ้ ป็ นอยา่ งดี 2) มีทกั ษะในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางคณิตศาสตร์และสถิติ ตอ่ การแกป้ ัญหาท่ีเก่ียวขอ้ งได้ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 42
3)สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทีท่ นั สมยั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4) มีทกั ษะในการส่ือสารขอ้ มูลท้งั ทางการพดู การเขยี น การสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5)นาเสนอรายงานผา่ นส่ิงตพี มิ พท์ างวชิ าการหรือวชิ าชีพ รวมท้งั วทิ ยานิพนธ์ 2.5.2 กลยทุ ธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข 1) สอดแทรกการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยกี ารส่ือสาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ การคดิ วเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลขลงไปในรายวชิ าทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2) มีการทดลอง คน้ ควา้ เกี่ยวกบั การวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลขในวชิ าท่เี ก่ียวขอ้ ง 3) การใชศ้ กั ยภาพทางเทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอผลงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 5) ส่งเสริมการคน้ ควา้ เรียบเรียงขอ้ มูลและนาเสนอใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจไดถ้ ูกตอ้ ง และให้ ความสาคญั ในการอา้ งอิงแหล่งทม่ี าของขอ้ มูล 6) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวชิ าตา่ งๆ ใหน้ กั ศกึ ษาไดว้ เิ คราะหส์ ถานการณ์จาลองและ สถานการณ์เสมือนจริง และนาเสนอการแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยกุ ต์ เทคโนโลยสี ารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ 7) จดั ทา e-mail group หรือ social media ของนกั ศกึ ษา เพอื่ การสื่อสาร การส่งรายงาน และประสานงานระหวา่ งคณาจารยก์ บั นกั ศึกษา และระหวา่ งนกั ศึกษากบั นกั ศกึ ษา 2.5.3 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงสื่อสาร 1) สงั เกตพฤติกรรมของนกั ศึกษาดา้ นความมีเหตุผลและมีการบนั ทกึ เป็นระยะ 2) ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน 3) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขอ้ จากดั เหตุผลในการเลือกใชเ้ คร่ืองมือ ต่างๆ การอภปิ ราย กรณีศึกษาต่างๆ ทมี่ ีการนาเสนอต่อช้นั เรียน 4) ประเมินจากการใชง้ าน e-mail group หรือ social media เพอื่ การประสานงานระหวา่ ง อาจารยก์ บั นกั ศึกษา 6) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและทางการปฏิบตั ใิ นวชิ าทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรียนรู้ในตารางมีความหมายดังนี้ 3.1 คณุ ธรรม จริยธรรม 1) ตระหนกั ในคุณคา่ และคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่ือสตั ยส์ ุจริต 2) มีภาวะความเป็ นผนู้ าและผตู้ าม สามารถทางานเป็ นหมู่คณะ สามารถแกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ ตามลาดบั ความสาคญั เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน รวมท้งั เคารพในคุณค่า และศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ 3) สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมินผลกระทบจากการใชค้ วามรูท้ างวศิ วกรรมตอ่ บคุ ค องคก์ ร สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม 4) มีจรรยาบรรณทางวชิ าการและวชิ าชีพและมีความรบั ผดิ ชอบในฐานะผปู้ ระกอบวชิ าชีพรวม ถึงเขา้ ใจถึงบริบททางสงั คมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแตล่ ะสาขา ต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั 3.2 ความรู้ 1) มีความรู้และความเขา้ ใจในเน้ือหาสาระหลกั ของสาขาวชิ า เพอ่ื การประยกุ ตใ์ ชก้ บั งาน ทางดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ท่ีเก่ียวขอ้ ง และการสร้างนวตั กรรมทางเทคโนโลยี 2) มีความรู้และความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ทฤษฎีและนามาประยกุ ตใ์ นการศึกษาคน้ ควา้ ทางวชิ าการ 3) สามารถบรู ณาการความรูใ้ นสาขาวชิ าท่ศี ึกษากบั ความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 43
4) มีความเขา้ ใจในวธิ ีการพฒั นาความรู้ใหม่ๆ และการประยกุ ต์ ผลกระทบของผลงานวจิ ยั ท่ี มีต่อองคค์ วามรูใ้ นสาขาวชิ าและต่อการปฏบิ ตั ิในวชิ าชีพ 3) ตระหนักในระเบียบขอ้ บงั คบั ที่ใชอ้ ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มของระดบั ชาติและนานาชาติท่ี อาจมีผลกระทบตอ่ วชิ าชีพ รวมท้งั เหตุผลและการเปล่ียนแปลงที่อาจจะเกิดข้นึ ในอนาคต 3.3 ทกั ษะทางปัญญา 1) มีความสามารถในการคน้ หาความรู้ ขอ้ มูล และประเมินความถูกตอ้ งไดด้ ว้ ยตนเอง เพอื่ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ และทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางองคค์ วามรู้และเทคโนโลยใี หม่ๆ 2) สามารถประมวล และศึกษาขอ้ มูลเพอื่ วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหาและขอ้ โตแ้ ยง้ รวมท้งั หาแนวทางป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3) สามารถคิด วเิ คราะห์ และแกไ้ ขปัญหาดา้ นวศิ วกรรมไดอ้ ยา่ งมีระบบ รวมถึงการใชข้ อ้ มูล ประกอบการตดั สินใจในการทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4) สามารถสงั เคราะห์และใชผ้ ลงานวจิ ยั ส่ิงตพี มิ พท์ างวชิ าการ ในการพฒั นานวตั กรรมหรือ ต่อยอดองคค์ วามรูจ้ ากเดิมไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ 3.4 ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ 1) สามารถสื่อสารกบั กลุ่มคนท่หี ลากหลาย และสามารถสนทนาท้งั ภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถใชค้ วามรู้ในสาขาวชิ าชีพมาสื่อสาร ต่อสงั คมไดใ้ นประเดน็ ทีเ่ หมาะสม 2) สามารถเป็นผรู้ ิเร่ิมแสดงประเดน็ ในการแกไ้ ขสถานการณ์เชิงสร้างสรรคท์ ้งั ส่วนตวั และส่วนรวม พร้อมท้งั แสดงจุดยนื อยา่ งพอเหมาะท้งั ของตนเองและของกลุ่ม รวมท้งั ให้ ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแกไ้ ขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 3) สามารถวางแผนและรบั ผดิ ชอบในการพฒั นาการเรียนรูท้ ้งั ของตนเอง และสอดคลอ้ งกบั ทางวชิ าชีพอยา่ งตอ่ เนื่อง 4) รู้จกั บทบาท หนา้ ที่ และมีความรบั ผดิ ชอบในการทางานตามท่มี อบหมายท้งั งานบคุ คล และกลุ่ม สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นท้งั ในฐานะผนู้ าและผตู้ ามไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) มีจติ สานึกความรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน และการรกั ษา สภาพแวดลอ้ มต่อสงั คม 3.5 ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) มีทกั ษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์และขอ้ มูลสารสนเทศ สาหรบั การทางานทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั วชิ าชีพไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2) สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ที่ทนั สมยั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 3) มีทกั ษะในการส่ือสารขอ้ มูลท้งั ทางการพดู การเขียน การสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และนาเสนอรายงานผา่ นสิ่งตพี มิ พท์ างวชิ าการหรือวชิ าชีพ รวมท้งั วทิ ยานิพนธ์ วศ.ด สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 44
แผนแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ ความรับผิดชอบหลกั รายวิชา 1. คณุ ธรรม 2. คว จริยธรรม 1234123 1. หมวดวิชาบังคบั DAIE1001 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ น วศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 1 DAIE1002 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั และพฒั นาดา้ น วศิ วกรรมปัญญาประดิษฐ์ 2 DAIE1003 โครงข่ายประสาทเทียมและฟัซซี่โลจิก DAIE1004 การประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะ ท่ีสุดทางวศิ วกรรม DAIE1005การพฒั นาธุรกิจอิเลคทรอนิกส์และ การจดั การอุตสาหกรรมอจั ฉริยะ DAIE1006 กลยทุ ธการควบคุมผลิตอจั ฉริยะและ การจาลองแบบปัญหา DAIE1007 กลยทุ ธการตรวจทราบและคาดคะเน ขอ้ มูลอจั ฉริยะ DAIE1008 การประมวลผลภาพและควบคุม สญั ญาณดิจิตอลช้นั สูง DAIE1009 หัวขอ้ พเิ ศษในระบบควบคุมดว้ ย คอมพวิ เตอร์และระบบอจั ฉริยะ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ค
รเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์ ความรับผดิ ชอบรอง เชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ วามรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและความ สารสนเทศ รับผดิ ชอบ 123 4 34512341234 5 45 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั
แผนแสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเร ความรับผิดชอบหลกั รายวชิ า 1. คุณธร จริยธรร 123 2. หมวดวิชาเลือก DAIE4101 การวเิ คราะห์ขอ้ ความและการประมวลผลภาษาธรรมชาติ DAIE4102 สถาปัตยกรรมและเสน้ ทางขอ้ มูลขนาดใหญ่ DAIE4103 การออกแบบวศิ วกรรมสารสนเทศและระบบข้นั สูง DAIE4104 การประมวลผลสญั ญาณและการจดจาสญั ญาณเสียงพดู DAIE4105 หลกั การและกระบวนทศั น์การประมวลผลกลุ่มเมฆ DAIE4106 สถาปัตยกรรมและองคก์ รคอมพวิ เตอร์ข้นั สูง DAIE4107 ความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ย DAIE4108 การทาเหมืองขอ้ มูลช้นั สูง DAIE4109 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลช้นั สูง DAIE4201 ปัญญาประดิษฐช์ ้นั สูง DAIE4202 กลยทุ ธการเรียนรู้แบบเครื่องจกั รและดีพ DAIE4203 การวดั และวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงวศิ วกรรม DAIE4204 กลยทุ ธการประยกุ ตเ์ ซ็นเซอร์อจั ฉริยะและดีเอสพี DAIE4205 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ณ เวลาจริงและกระแสตอ่ เน่ืองฯ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ค
รียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ต่อ ความรับผดิ ชอบรอง 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ วเิ คราะห์เชิง ความสัมพนั ธ์ ตวั เลข การ สื่อสาร และการ รรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง ระหว่างบุคคลและ ใช้เทคโนโลยี รม ปัญญา ความรับผดิ ชอบ สารสนเทศ 3412345123412345 1234 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 46
รายวชิ า 1. คณุ ธร จริยธรร 123 DAIE4206 ระบบสมาร์ทอิเลคทรอนิกส์ช้นั สูง DAIE4207 ศาสตร์ทางวศิ วกรรมหุ่นยนตช์ ้นั สูง DAIE4208 กลยทุ ธการควบคุมผลิตอจั ฉริยะและการจาลองแบบปัญหา DAIE4209 เซ็นเซอร์และอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง DAIE4210 ระบบสารสนเทศพน้ื ท่แี ละการรับรู้ระยะไกล DAIE4211 จาลองเสมือนจริงและเทคโนโลยกี ารเขา้ ถึงฯ DAIE4212 การออกแบบและพฒั นาระบบควบคุมแบบสมองกลฝังตวั สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ค
4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ ความสัมพันธ์ วเิ คราะห์เชิง รรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง ระหว่างบุคคลและ ตวั เลข การ รม ปัญญา ความรับผดิ ชอบ สื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 34123451234123451234 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวนั 47
Search