Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ประถม

วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ประถม

Published by natthawat hongjui, 2021-10-18 06:56:34

Description: วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ประถม

Search

Read the Text Version

ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย สค 12024 ระดับประถมศกึ ษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

ใบความรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง ความเปน็ มาของชาตไิ ทย ประวตั ศิ าสตร์ไทยกอ่ นสมยั สโุ ขทยั - ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยก่อนสมัยสโุ ขทัย - อาณาจกั รอ้ายลาวถกู รกุ ราน - อาณาจกั รเพงาย - อาณาจกั รนา่ นเจ้า - ความเจริญของอาณาจักรน่านเจา้ - การแผอ่ านาจของขอมและพม่า - แควน้ โยนกเชียงแสน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั สโุ ขทยั หลังจากมีการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ขนึ้ เปน็ ราชธานี และมีพอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ เปน็ ปฐมกษตั รยิ ์แลว้ พระองคท์ รงดแู ลพระราชอาณาจักรและบารุงราษฎรเปน็ อยา่ งดี พระมหากษัตรยิ พ์ ระองค์ทสี่ าม พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรง พระปรชี าสามารถทั้งในด้านนิรกุ ตศิ าสตร์ การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม ศาสนา ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ เปน็ ต้น ผลงานของพระองคท์ ่ปี รากฏให้เหน็ อาทิ ศิลาจารึกทค่ี น้ พบในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ท่ีอธบิ ายถงึ ความเปน็ มา ลีลาชีวติ ของชาวสุโขทยั โบราณ นา้ พระทัยของพระมหากษัตรยิ ์ การพิพากษาอรรถคดี ฯลฯ นอกจากน้ยี ังมผี ลงาน ทางวิศวกรรมชลประทาน คือ เขื่อนสรีดภงคท์ ่ีเป็นการกักเกบ็ นา้ ไว้ใช้ในยามแล้ง มีการทาทอ่ ส่งน้าจากตวั เขื่อนมาใชใ้ นเมือง พระมหากษตั รยิ ์ทีท่ รงทานบุ ารงุ ศาสนามากที่สดุ คือ พระเจ้าลิไท ในรชั สมัยของพระองคม์ กี ารสร้างวดั มากท่ีสุด กษัตริย์ พระองคส์ ุดทา้ ยในฐานะรฐั อิสระ คอื พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ตอ่ จากน้ัน อาณาจักรไดถ้ กู แบง่ ส่วนออกเปน็ ของ อาณาจกั รอยุธยา และอาณาจกั รล้านนา จนในทีส่ ดุ อาณาจักรท้ังหมด กถ็ ูกรวมศูนย์ เขา้ เป็นดนิ แดนสวนหนึ่งของอาณาจักร อยุธยา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั อยธุ ยา อาณาจกั รอยุธยา เปน็ อาณาจักรของชนชาตไิ ทยในอดตี ต้งั แต่ พ.ศ. 1893-2310 มี เมอื งหลวงท่ี กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรซงึ่ มีความเจริญรุ่งเรอื งจนอาจถือได้ว่าเปน็ อาณาจักรท่ี รงุ่ เรืองมั่งคั่งทส่ี ุดในภมู ิภาคสุวรรณภมู ิ อกี ทั้งยงั เป็นอาณาจักรที่มคี วามสมั พนั ธท์ างการค้ากับ หลายชาติ จนถอื ได้วา่ เป็นศนู ย์กลางการคา้ ในระดับนานาชาติ เชน่ จีน เวียดนาม อินเดยี ญีป่ นุ่ เปอรเ์ ซยี รวมทั้งชาตติ ะวันตก เชน่ โปรตเุ กส สเปน ดตั ช์ และฝรงั่ เศส เคยมอี าณาเขตกว้างใหญ่ ไพศาล โดยมปี ระเทศราชแผข่ ยายไปจนถงึ รัฐฉานของพม่า อาณาจักรลา้ นนา มณฑลยนู นานและ มณฑลชานสี อาณาจกั รลา้ นช้างอาณาจักรขอม และคาบสมทุ รมมลายใู นปจั จบุ นั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

ประวตั ิศาสตรไ์ ทยสมยั ธนบุรี อาณาจกั รธนบรุ ี เปน็ อาณาจกั รของคนไทยในชว่ งเวลาสั้น ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2310 – 2325ระยะเวลา 15 ปี มีพระมหากษัตริยป์ กครองเพยี งพระองค์เดียว คือ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ภายหลังจากที่อาณาจกั ร อยุธยาลม่ สลายไปพร้อมกบั การปล้นกรงุ ศรีอยธุ ยาของกองทพั พมา่ ทวา่ ในเวลาตอ่ มาสมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ ศึกไดส้ ถาปนาตนเองขนึ้ เปน็ กษตั รยิ ์ และทรงยา้ ยเมอื งหลวงไปยงั ฝ่ังตะวนั ออกของแม่น้าเจา้ พระยา คือ กรุงเทพมหานครในปัจจบุ ัน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุง่ ช้าง

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ราชอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ เป็นราชอาณาจักรทสี่ ี่ในยคุ ประวัตศิ าสตร์ของไทย เร่ิมตงั้ แต่การย้ายเมอื งหลวง จากฝ่งั กรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซง่ึ ตง้ั อยู่ทางตะวนั ออกของแมน่ า้ เจา้ พระยา ปฐมกษตั รยิ ์แหง่ ราชวงศจ์ ักรี เสดจ็ ขึน้ ครองราชสมบัติ เม่อื วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2325ครงึ่ แรกของสมัยนี้เปน็ การเพิม่ พนู อานาจของอาณาจกั ร ถกู ขัดจังหวะด้วยความขัดแย้งเป็นระยะกับพมา่ เวียดนามและลาว สว่ นครึ่งหลังนน้ั เปน็ การเผชิญกับประเทศเจ้าอาณานคิ ม องั กฤษและฝรั่งเศส จนทาให้ไทยเป็นเพียงประเทศเดียวในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตท้ ีไ่ ม่ตกเปน็ อาณานคิ มของตะวันตก ผลกระทบจากภยั คกุ คามนนั้ นาใหอ้ าณาจกั รพฒั นาไปสรู่ ฐั ชาติสมยั ใหม่ทีร่ วมอานาจเขา้ ส่ศู นู ยก์ ลาง โดยมีพรมแดน ที่ กาหนดร่วมกบั ชาตติ ะวนั ตก สมัยน้มี พี ัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีสาคญั ด้วยการเพิ่มการค้ากับตา่ งประเทศ การ เลิกทาส และการขยายการศึกษาแก่ชนชน้ั กลางท่ีเกิดขึน้ อย่างไรก็ตาม ไม่มีการปฏิรูปทางการเมอื งอย่างแทจ้ รงิ กระท่ัง ระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชถูกแทนทด่ี ว้ ยระบอบราชาธิปไตยภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ในการปฏวิ ัตสิ ยาม พ.ศ. 2475 ชอื่ \"รัตนโกสนิ ทร\"์ ยงั คงใชม้ าจนถึงปัจจบุ ัน แต่บทความนจ้ี ะกล่าวถงึ เหตกุ ารณ์จนถึง พ.ศ. 2475 เท่าน้นั ประวตั ศิ าสตร์ ไทยสมัยปจั จบุ ัน เริม่ ตง้ั แตส่ งครามโลกครง้ั ท่ี 2ส้นิ สุดลง ซ่งึ มีผลกระทบอยา่ งรุนแรงท่วั โลกและกอ่ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื งการปกครองของสงั คมโลกในปจั จบุ ัน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ใบความรทู้ ่ี 2 เร่ือง พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจกั รสโุ ขทยั ราชวงศพ์ ระร่วง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ระยะการ ลาดบั สมภพ ส้ินรัชกาล สวรรคต ตราแผน่ ดนิ ครองราชย์ พ.ศ. 1792 30 ปี 1 พ่อขนุ ศรอี ินทราทิตย์ ไมป่ รากฏ (สถาปนากรงุ สุโขทยั เป็นราช พ.ศ. 1822 ธาน)ี (สวรรคต) ไมถ่ ึง 1 ปี 2 พอ่ ขนุ บานเมือง ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1822 (พระราชโอรสใน พ.ศ. 1822 พ่อขนุ ศรอี นิ ทราทิตย์) (สวรรคต) พ.ศ. 1822 19 ปี 3 พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1780 – (พระราชโอรสในพ่อขนุ ศรี พ.ศ. 1841 1790 (สวรรคต; 51 – 61 พรรษา) อินทราทิตย์) พ.ศ. 1841 25 ปี 4 พระยาเลอไทย ไม่ปรากฏ (พระราชโอรสในพ่อขุน พ.ศ. 1866 รามคาแหงมหาราช) (สวรรคต) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจักรสโุ ขทยั ราชวงศพ์ ระร่วง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช สวรรค ระยะการ ลาดบั c ครองราชย์ ส้นิ รชั กาล สมภพ ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ พ.ศ. 1866 พ.ศ. 1890 24 ปี 5 พระยาง่ัวนาถมุ ไมป่ รากฏ (พระราชโอรสในพ่อขุน (สวรรคต) บานเมอื ง) พระมหาธรรมราชาท่ี พ.ศ. 1890 ไม่ทราบปีท่ีแนน่ อน 29 ปี 6 ไมป่ รากฏ (พระราชโอรสในพระยา 1 (สวรรคต) เลอไทย) พระมหาธรรมราชาที่ พ.ศ. 1911 พ.ศ. พ.ศ. 1943 1952 7 2 พ.ศ. 1901 (พระราชโอรสในพระมหา (ถูกยึดพระ 32 ปี (ลอื ไทย) ธรรมราชาท่ี 1) (51 ราชบัลลังก)์ พรรษา) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจกั รสุโขทยั ราชวงศพ์ ระร่วง ลาดบั พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ส้นิ รชั กาล สวรรค ระยะการ ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ สมภพ ต 8 พระมหาธรรมราชาท่ี พ.ศ. 1943 19 ปี 8 3 (พระราชโอรสในพระมหา พ.ศ. 1962 19 ปี ไมป่ รากฏ (ไสลอื ไทย) ธรรมราชาที่ 2; ยดึ พระ (สวรรคต) ราชบัลลงั ก์) พระมหาธรรมราชาท่ี 4 พ.ศ. 1962 พ.ศ. 1981 9 (บรมปาล) ไม่ปรากฏ (พระราชโอรสในพระมหา (สวรรคต) ธรรมราชาท่ี 2) ถูกผนวกเปน็ สว่ นหนึ่งของอาณาจกั รอยธุ ยา ในรัชสมยั ของสมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ 2 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ราชวงศ์อู่ทอง (คร้งั ท่ี 1) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ระยะการ ลาดบั สมภพ สน้ิ รชั กาล สวรรคต ตราแผน่ ดนิ ครองราชย์ สมเด็จพระรามาธบิ ดี พ.ศ. 1893 พ.ศ. 1912 1 ท่ี 1 พ.ศ. 1855 (สถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา 20 ปี (สวรรคต; 57 พรรษา) (พระเจ้าอ่ทู อง) เปน็ ราชธานี) พ.ศ. 1912 พ.ศ. 1913 พ.ศ. 1938 2 สมเดจ็ พระราเมศวร พ.ศ. 1885 (พระราชโอรสในสมเด็จ (สละราช (53 ไมถ่ ึง 1 ปี (1) พระรามาธบิ ดีที่ 1) สมบัติ) พรรษา) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (ครง้ั ที่ 1) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ระยะการ ลาดบั สมภพ สน้ิ รชั กาล สวรรคต ตราแผน่ ดนิ ครองราชย์ สมเด็จพระบรม พ.ศ. 1913 18 ปี 3 ราชาธิราชท่ี 1 พ.ศ. 1853 (พระเชษฐาของพระมเหสี พ.ศ. 1931 (ขนุ หลวงพะงัว่ ) ในสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี (สวรรคต; 78 พรรษา) 1) สมเดจ็ พระเจ้าทอง พ.ศ. 1931 พ.ศ. 1931 7 วัน 4 ลนั พ.ศ. 1917 (พระราชโอรสในสมเด็จ (ถกู ยึดพระราชบลั ลงั ก์ (เจา้ ทองจันทร์) พระบรมราชาธิราชท่ี 1) และสวรรคต; 14 พรรษา) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

ราชวงศอ์ ทู่ อง (ครง้ั ที่ 2) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ระยะการ ลาดบั สมภพ สิ้นรชั กาล สวรรคต ตราแผน่ ดนิ ครองราชย์ 2 สมเดจ็ พระราเมศวร พ.ศ. 1885 พ.ศ. 1931 พ.ศ. 1938 7 ปี (2) (ยึดพระราชบลั ลังก์) (สวรรคต; 53 พรรษา) พ.ศ. 1938 พ.ศ. 1952 สมเด็จพระเจา้ ราม 5 พ.ศ. 1899 (พระราชโอรสในสมเดจ็ (ถกู ยึดพระ ไม่ปรากฏ 15 ปี ราชา พระราเมศวร) ราชบลั ลงั ก์) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทงุ่ ชา้ ง

ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (ครง้ั ท่ี 2) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น สวรรค ระยะการ ลาดบั สมภพ รชั กาล ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระนครินท พ.ศ. 1952 15 ปี พ.ศ. พ.ศ. 1967 6 ราธริ าช (พระราชนดั ดาในสมเด็จ 1902 (สวรรคต; 65 พรรษา) (เจา้ นครอนิ ทร์) พระบรมราชาธริ าชท่ี 1) สมเด็จพระบรม พ.ศ. 1967 24 ปี 7 ราชาธริ าชท่ี 2 พ.ศ. 1929 (เป็นพระราชโอรสใน พ.ศ. 1991 (เจ้าสามพระยา) สมเด็จพระนครินทราธิ (สวรรคต; 62 พรรษา) ราช) สมเด็จพระบรมไตร พ.ศ. 1991 พ.ศ. 2031 40 ปี 8 พ.ศ. 1974 (พระราชโอรสในสมเดจ็ โลกนาถ (สวรรคต; 57 พรรษา) พระบรมราชาธริ าชที่ 2) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอท่งุ ชา้ ง

ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (ครง้ั ท่ี 2) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น สวรรค ระยะการ ลาดบั สมภพ รัชกาล ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ สมเด็จพระบรม พ.ศ. พ.ศ. 2031 พ.ศ. 2034 3 ปี 9 (พระราชโอรสในสมเด็จ ราชาธิราชที่ 3 2005 (สวรรคต; 29 พรรษา) พระบรมไตรโลกนาถ) สมเด็จพระรามาธบิ ดี พ.ศ. พ.ศ. 2034 พ.ศ. 2072 38 ปี 10 (พระราชโอรสในสมเดจ็ (สวรรคต; 57 พรรษา) ที่ 2 2015 พระบรมไตรโลกนาถ) สมเด็จพระบรม พ.ศ. 2072 4 ปี พ.ศ. พ.ศ. 2076 11 ราชาธริ าชท่ี 4 (พระราชโอรสในสมเด็จ 2031 (สวรรคต; 45 พรรษา) (หนอ่ พุทธางกูร) พระรามาธิบดีที่ 2) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (ครง้ั ท่ี 2) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น สวรรค ระยะการ ลาดบั สมภพ รัชกาล ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ พ.ศ. 2077 พ.ศ. 2077 5 เดอื น สมเดจ็ พระรัษฎาธิ พ.ศ. (ถกู ยึดพระราชบลั ลังก์ 12 (พระราชโอรสในสมเดจ็ ราช 2072 และสวรรคต; 5 พระบรมราชาธิราชที่ 4) พรรษา) สมเด็จพระไชย พ.ศ. พ.ศ. 2077 พ.ศ. 2089 13 ปี 13 (พระราชโอรสในสมเด็จ (สวรรคต; 47 พรรษา) ราชาธริ าช 2042 พระบรมราชาธริ าชท่ี 4) พ.ศ. 2089 พ.ศ. 2091 2 ปี สมเดจ็ พระยอดฟา้ พ.ศ. (ถูกยดึ พระราชบัลลังก์ 14 (พระราชโอรสในสมเด็จ (พระแกว้ ฟ้า) 2078 และสวรรคต; 13 พระไชยราชาธิราช) พรรษา) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่งุ ชา้ ง

ราชวงศส์ พุ รรณภมู ิ (ครง้ั ที่ 2) พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สน้ิ ระยะการ ลาดบั สมภพ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ รชั กาล ครองราชย์ พ.ศ. 2091 42 วนั พ.ศ. พ.ศ. 2091 (ถูกลอบปลงพระชนม์ - ขุนวรวงศาธริ าช 2069 (ยึดพระราชบลั ลังก์) และสวรรคต; 42 พรรษา) สมเดจ็ พระมหา พ.ศ. 2091 20 ปี จกั รพรรดิ พ.ศ. พ.ศ. 2111 15 (พระราชโอรสในสมเด็จ (พระเฑยี รราชา หรอื 2048 (สวรรคต; 63 พรรษา) พระรามาธบิ ดีที่ 2) พระเจ้าช้างเผอื ก) สมเด็จพระมหนิ ท พ.ศ. พ.ศ. 2111 พ.ศ. 2112 1 ปี 16 (พระราชโอรสในสมเด็จ ราธริ าช 2082 (สวรรคต; 30 พรรษา) พระมหาจกั รพรรดิ) เสียกรงุ ครงั้ ที่ 1 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่งุ ชา้ ง

ราชวงศส์ โุ ขทยั พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิน้ สวรรค ระยะการ ลาดบั สมภพ รัชกาล ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระมหาธรรม พ.ศ. 2112 พ.ศ. 2133 17 ราชาธริ าช พ.ศ. 2057 (พระเจ้าบเุ รงนองโปรดให้ (สวรรคต; 21 ปี 17 ราชาภิเษก) 76 พรรษา) 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 25 เมษายน 18 สมเดจ็ พระนเรศวร พ.ศ. 2098 (พระราชโอรสในสมเด็จพระ พ.ศ. 2148 14 ปี 271 18 มหาราช มหาธรรมราชาธิราช) (สวรรคต; วนั 50 พรรษา) 25 เมษายน พ.ศ. 2148 พ.ศ. 2153 19 สมเดจ็ พระเอกาทศรถ พ.ศ. 2103 (พระราชโอรสในสมเดจ็ พระ (สวรรคต; 5 ปี 19 มหาธรรมราชาธริ าช) 50 พรรษา) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอทุ่งช้าง

ราชวงศ์สุโขทยั พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น สวรรค ระยะการ ลาดบั สมภพ รชั กาล ต ครองราชย์ ตราแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระศรี พ.ศ. 2153 พ.ศ. 2153 20 ไมป่ รากฏ (พระราชโอรสในสมเดจ็ พระ (ถกู ยึดพระ ไม่ปรากฏ 1 ปี 2 เดือน เสาวภาคย์ เอกาทศรถ) ราชบลั ลังก์) 12 ธนั วาคม สมเด็จพระเจา้ ทรง พ.ศ. 2154 พ.ศ. 2171 พ.ศ. 21 ธรรม พ.ศ. 2131 (พระราชโอรสในสมเด็จ (สวรรคต) 2171 17 ปี (พระศรศี ิลป์) พระเอกาทศรถ) (พระชนม ายุ 40 พรรษา) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทุง่ ช้าง

ราชวงศส์ โุ ขทยั พระบรมรปู หรอื พระราช ครองราชย์ ส้นิ รชั กาล ระยะการ ลาดบั พระนาม สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2171 (เจา้ พระยากลาโหมสรุ ิ พ.ศ. 2173 สมเด็จพระ 22 พ.ศ. 2155 (พระราชโอรสในสมเดจ็ ยวงศเ์ ขา้ ยดึ พระราชวัง (พระชนมายุ 1 ปี 7 เดอื น เชษฐาธริ าช พระเจ้าทรงธรรม) และจบั พระองคส์ าเรจ็ 18 พรรษา) โทษ) พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2173 (เหล่ามุขมนตรกี ็เหน็ วา่ ยงั พ.ศ. 2178 สมเด็จพระอาทิต 23 พ.ศ. 2161 (พระราชโอรสในสมเดจ็ ทรงพระเยาวเ์ กินไป จึง (พระชนมายุ 36 วนั ยวงศ์ พระเจา้ ทรงธรรม) ถอดพระองค์จากราช 17 พรรษา) สมบัติ) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทงุ่ ช้าง

ราชวงศป์ ราสาททอง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ ระยะการ ลาดบั สมภพ ส้ินรชั กาล สวรรคต ตราแผน่ ดนิ ครองราชย์ สมเดจ็ พระเจ้า พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2199 พ.ศ. 2199 24 ปราสาททอง พ.ศ. 2143 (เหล่าขุนนางอนั เชญิ เสวย (สวรรคต) (พระชนมายุ 25 ปี ราชสมบตั ิ) 56 พรรษา) พ.ศ. 2199 (พระศรีสุ พ.ศ. 2199 ธรรมราชา 25 สมเด็จเจา้ ฟ้าไชย ไม่ปรากฏ (พระราชโอรสในสมเด็จ และพระ พ.ศ. 2199 9 เดือน พระเจ้าปราสาททอง) นารายณไ์ ด้ ร่วมกนั ชงิ ราชสมบัต)ิ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอทงุ่ ชา้ ง

ราชวงศป์ ราสาททอง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช สิ้นรชั กาล ระยะการ ลาดบั ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ พ.ศ. 2199 พ.ศ. 2199 สมเด็จพระศรสี ุธรรม (พระอนชุ าใน (พระนารายณ์เข้ายดึ 2 เดอื น 17 26 ไมป่ รากฏ พระราชวัง และนา พ.ศ. 2199 ราชา สมเด็จพระเจา้ วัน สมเด็จพระศรสี ธุ รรม ปราสาททอง) ราชาสาเรจ็ โทษ) พ.ศ. 2199 11 สมเดจ็ พระนารายณ์ (พระราชโอรสใน พ.ศ. 2231 กรกฎาคม 27 มหาราช พ.ศ. 2175 สมเด็จพระเจา้ (สวรรคต) พ.ศ. 2231 32 ปี (พระนารายณ์) ปราสาททอง) (พระชนมายุ 56 พรรษา) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทงุ่ ชา้ ง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช สิ้นรชั กาล ระยะการ ลาดบั ครองราชย์ สวรรคต พ.ศ. 2246 ตราแผน่ ดนิ สมภพ (สวรรคต) ครองราชย์ พ.ศ. 2231 พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2246 15 ปี (ทรงเขา้ ยึดอานาจ (สวรรคต) (พระชนมายุ 28 สมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. 2175 71 พรรษา) และกวาดลา้ ง อิทธพิ ลตา่ งชาต)ิ พ.ศ. 2246 พ.ศ. 2251 5 ปี สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ (พระชนมายุ 47 พรรษา) (พระราชโอรสใน 29 ท่ี 8 พ.ศ. 2204 สมเดจ็ พระเพท (พระเจ้าเสอื ) ราชา) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

ราชวงศ์บา้ นพลหู ลวง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช สิ้นรชั กาล ระยะการ ลาดบั ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2275 24 ปี สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ (สวรรคต) (พระชนมายุ 54 พรรษา) (พระราชโอรสใน 30 ที่ 9 พ.ศ. 2221 สมเดจ็ พระสรร (พระเจ้าท้ายสระ) เพชญ์ท่ี 8) พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2301 (พระชนมายุ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว (พระราชโอรสใน พ.ศ. 2301 78 พรรษา) 31 พ.ศ. 2223 (สวรรคต) 26 ปี บรมโกศ สมเด็จพระสรร เพชญท์ ี่ 8) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทุ่งช้าง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช สน้ิ รชั กาล ระยะการ ลาดบั ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ สมเดจ็ พระบรม พ.ศ. 2301 พ.ศ. 2301 ราชาธิราชท่ี 6 (พระราชโอรสใน (ทรงสละราชบัลลังคใ์ ห้ พ.ศ. 2339 32 (สมเด็จพระเจ้า พ.ศ. 2265 สมเดจ็ พระ สมเด็จพระทนี่ ั่ง (พระชนมายุ 2 เดอื น อุทุมพร / ขุนหลวงหา เจา้ อยหู่ วั บรมโกศ) สุรยิ าศนอ์ มั รินทร์) 74 พรรษา) วัด) สมเด็จพระที่น่งั พ.ศ. 2301 พ.ศ. 2310 พ.ศ. 2310 33 สรุ ยิ าศน์อัมรนิ ทร์ พ.ศ. 2252 (พระราชโอรสใน (เสียกรุงศรีอยุธยา (พระชนมายุ 9 ปี (สมเดจ็ พระเจ้าเอก สมเดจ็ พระ และสวรรคต) 58 พรรษา) ทัศ) เจา้ อยู่หวั บรมโกศ) เสยี กรุงคร้งั ท่ี 2 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจักรธนบุรี ราชวงศธ์ นบรุ ี พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น ระยะการ ลาดบั สมภพ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ รชั กาล ครองราชย์ 22 สมเด็จพระเจา้ กรุง มีนาคม พ.ศ. 6 เมษายน ธนบุรี พ.ศ. 2277 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2310 2325 พ.ศ. 2325 1 หรือ (ทรงสถาปนากรงุ ธนบุรี (เกิดจลาจล (พระชนมายุ 14 ปี 99 วัน (สมเดจ็ พระเจ้าตาก 17 เป็นราชธานี) ในกรงุ 47 พรรษา) สนิ มหาราช) เมษายน ธนบรุ ี) พ.ศ. 2277 อาณาจกั รธนบุรี เปน็ อาณาจกั รทีม่ รี ะยะเวลาส้ันทีส่ ุดของไทย คอื ระหวา่ ง พ.ศ. 2310–2325 ระยะเวลา 15 ปี มพี ระมหากษัตรยิ ป์ กครองเพยี ง พระองคเ์ ดียว คอื สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี ภายหลังอาณาจักรอยุธยาลม่ สลายไปพร้อมกับการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครั้งท่สี อง ทวา่ ในเวลา ตอ่ มา สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั ริย์ศกึ ไดป้ ราบดาภเิ ษกข้ึนเป็นพระมหากษตั ริย์ และทรงย้ายเมอื งหลวงไปยงั ฝงั่ ตะวนั ออกของแม่น้าเจ้าพระยา คอื กรุงเทพมหานครในปจั จุบนั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ ราชวงศจ์ ักรี พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น ระยะการ ลาดบั สมภพ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ รัชกาล ครองราชย์ พระบาทสมเดจ็ พระ 20 6 เมษายน พ.ศ. 2325 13 7 กันยายน พทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก มีนาคม (ทรงปราบจลาจลในกรุง มิถุนายน พ.ศ. 2352 พ.ศ. 2352 1 ธนบรุ ี และทรงสถาปนา พ.ศ. (สวรรคต) (พระชนมายุ มหาราช พ.ศ. กรุงรตั นโกสินทรเ์ ป็นราช (รัชกาลที่ 1) 2279 2325 73 พรรษา) ธานี) 24 21 กรกฎาคม พระบาทสมเดจ็ พระ 7 กนั ยายน พ.ศ. 2352 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2367 พ.ศ. 2367 2 พทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย (พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระ พ.ศ. (สวรรคต) (พระชนมายุ (รัชกาลท่ี 2) พุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช) 2310 57 พรรษา) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจกั รรัตนโกสินทร์ ราชวงศจ์ ักรี พระบรมรปู หรอื พระนาม พระราช ครองราชย์ สิ้น ระยะการ ลาดบั สมภพ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ รชั กาล ครองราชย์ พระบาทสมเดจ็ พระ 2 เมษายน นงั่ เกลา้ เจ้าอยู่หวั 31 มนี าคม 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 พ.ศ. 2394 พ.ศ. 2394 3 (พระมหาเจษฎาราช พ.ศ. (พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระ (สวรรคต) (พระชนมายุ เจา้ ) 2330 พทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย) 64 พรรษา) (รัชกาลที่ 3) พระบาทสมเดจ็ พระ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 1 ตุลาคม จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั 18 ตุลาคม (พระราชโอรสใน 6 เมษายน พ.ศ. 2411 พ.ศ. 2411 4 (พระสยามเทวมหาม พ.ศ. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ พ.ศ. 2394 (สวรรคต) (พระชนมายุ กุฏวทิ ยมหาราช)[1] 2347 เลิศหลา้ นภาลยั ) 63 พรรษา) (รชั กาลท่ี 4) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอท่งุ ชา้ ง

อาณาจกั รรัตนโกสนิ ทร์ ราชวงศ์จกั รี พระบรมรปู พระนาม พระราช ส้นิ รชั กาล ระยะการ ลาดบั หรอื ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ พระบาทสมเดจ็ พระ 20 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 23 ตุลาคม พ.ศ. จลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว (พระราชโอรสใน (ครั้งท่ี 1) พ.ศ. 2453 2453 5 กนั ยายน (พระปยิ มหาราช) พระบาทสมเดจ็ พระ 16 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2416 (สวรรคต) (พระชนมายุ 57 พ.ศ. 2396 (รชั กาลที่ 5) จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ) (ครงั้ ท่ี 2) พรรษา) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 26 พฤศจิกายน เกลา้ เจ้าอยูห่ วั 1 มกราคม (พระราชโอรสใน พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2468 6 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2454 (พระมหาธีรราชเจ้า) พ.ศ. 2423 พระบาทสมเดจ็ พระ (สวรรคต) (พระชนมายุ 45 (รชั กาลที่ 6) จุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ) พรรษา) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งชา้ ง

อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ ราชวงศ์จักรี พระบรมรปู พระนาม พระราช สิ้นรชั กาล ระยะการ ลาดบั หรือ ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2 มีนาคม 30 พฤษภาคม พระบาทสมเด็จ 8 2468 พ.ศ. 2477 พ.ศ. 2484 7 พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั พฤศจิกายน (พระราชโอรสใน 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2469 (ทรงสละราช (พระชนมายุ 47 (รัชกาลที่ 7) พ.ศ. 2436 พระบาทสมเดจ็ พระ สมบตั ิ) พรรษา) จลุ จอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว) พระบาทสมเดจ็ พระ 2 มนี าคม พ.ศ. 2477 9 มิถนุ ายน พ.ศ. ปรเมนทรมหาอานนั ท 20 (พระโอรสในสมเดจ็ มไิ ด้ประกอบพิธบี รม พ.ศ. 2489 2489 8 มหิดล กันยายน พระมหติ ลาธเิ บศร ราชาภิเษก (สวรรคต) (พระชนมายุ 20 (พระอฐั มรามาธิบดินทร) พ.ศ. 2468 อดุลยเดชวกิ รม พระ พรรษา) (รัชกาลที่ 8) บรมราชชนก) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทงุ่ ช้าง

อาณาจกั รรัตนโกสินทร์ ราชวงศ์จกั รี พระบรมรปู พระนาม พระราช สิ้นรชั กาล ระยะการ ลาดบั หรือ ครองราชย์ สวรรคต ตราแผน่ ดนิ สมภพ ครองราชย์ 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2489 13 ตลุ าคม พ.ศ. พระบาทสมเด็จพระมหา 5 ธนั วาคม (พระโอรสในสมเด็จ พ.ศ. 2559 2559 9 ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช พ.ศ. 2470 พระมหิตลาธิเบศร 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 (สวรรคต) (พระชนมายุ 88 (รชั กาลท่ี 9) อดลุ ยเดชวกิ รม พระ พรรษา) บรมราชชนก) 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระวชริ 28 (พระโอรสใน ปจั จบุ นั 10 เกลา้ เจ้าอย่หู ัว กรกฎาคม พระบาทสมเด็จพระมหา 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (พระชนมายุ 67 ปี 106 วนั +) (รชั กาลที่ 10) พ.ศ. 2495 ภูมิพลอดลุ ยเดช มหาราช) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอทงุ่ ชา้ ง

Menu ใบความรทู้ ่ี 3 เรือ่ ง มรดกทางวฒั นธรรมสมัยสโุ ขทยั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่งุ ชา้ ง

มรดกทางวฒั นธรรมของสโุ ขทัย สงั คมสุโขทัยยึดม่นั ในพระพุทธศาสนา ประชาชน จึงไดร้ ับการขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอยี ดออ่ น ทง้ั ในแงข่ องหลักธรรมและศลิ ปกรรมตา่ ง ๆ ทาให้สามารถ สรา้ งสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมไวม้ ากมาย ซึง่ กลายเปน็ มรดกตกทอดแก่อาณาจักรไทยในยุคต่อ ๆ มาหลาย ด้าน ดังตอ่ ไปนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่งุ ชา้ ง

1. ดา้ นศาสนา ตอ่ ในสมยั ของพ่อขนุ ศรีอินทราทิตยม์ ีการนับถอื พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท ลทั ธลิ ังกาวงศ์ ซึ่งได้รับ อิทธพิ ลมาจากลงั กาผ่านมาทางเมอื งนครศรธี รรมราช นอกจากนี้ ในสมยั พ่อขุนรามคาแหงมหาราชโปรดใหน้ ิมนต์ พระสงฆน์ กิ ายเถรวาท ลัทธลิ งั กาวงศ์ จากนครศรธี รรมราชมาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาทสี่ โุ ขทยั ทาใหน้ บั ตัง้ แตน่ นั้ มา พระพทุ ธศาสนาก็มคี วามเจริญรงุ่ เรืองในสุโขทัย และไดแ้ ผข่ ยายเข้าไปในอาณาจักรอน่ื ๆ จนกลา่ วได้ วา่ พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตขิ องคนไทยและเป็นสอ่ื กลางสาคัญทชี่ ่วยสร้างความสัมพันธ์อันดแี กช่ นชาติ ไทย พระมหากษตั ริย์สมยั สโุ ขทัยทรงมีศรัทธาต่อพระพทุ ธศาสนา ทรงนาราษฎรปฏบิ ตั ธิ รรมและทากจิ กรรม ทางศาสนา โดยเฉพาะพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลไิ ทย) พระองค์ทรงออกผนวชและทรงนิพนธ์งานทาง ศาสนา เช่น หนงั สอื ไตรภมู พิ ระรว่ ง เปน็ ต้น นอกจากนี้ยงั มีประเพณีการสรา้ งวัดในเขตพระราชวงั เพอื่ ใช้ประกอบ พระราชพิธที างศาสนา และพระราชพธิ อี น่ื ๆ ทีต่ กทอดมาจนถึงปัจจบุ ัน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอท่งุ ชา้ ง

2. ด้านศลิ ปกรรม ตอ่ (1) สถาปตั ยกรรม ส่ิงกอ่ สรา้ งสมยั สุโขทยั มีความงดงามและเปน็ แบบอย่างของสุโขทยั โดยเฉพาะ ดังจะเหน็ ไดจ้ ากการก่อสรา้ ง เจดีย์ในสมัยสโุ ขทยั ตอนตน้ ทน่ี ยิ มใหก้ อ่ สรา้ งเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา ซึ่งได้รับอิทธพิ ลมาจากพระพุทธศาสนาลัทธลิ ังกาวงศ์ ตอ่ มาในสมัย สุโขทัยตอนปลายการกอ่ สร้างเจดยี จ์ ะมีลักษณะสวยงามย่ิงขนึ้ เป็นรูปแบบสโุ ขทยั แท้ คอื เจดยี ์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือทรงดอกบัวตมู นอกจากนี้สมัยสโุ ขทยั จะสร้างวิหารใหญก่ ว่าโบสถ์ มกี าแพงทึบ และเจาะเปน็ ช่องเลก็ ๆ คลา้ ยกับหน้าตา่ งเพ่อื ให้แสงลอด ผ่านเข้าขา้ งในได้ ซ่ึงเป็นลักษณะเฉพาะของการสร้างวหิ ารในสมยั นั้น จะนิยมสรา้ งไว้ด้านหน้าของเจดยี ์ เชน่ วหิ ารหลวงทเี่ มอื งสโุ ขทยั วหิ ารหลวงที่วดั มหาธาตุ เปน็ ต้น (2) ประติมากรรม การกอ่ สร้างพระพทุ ธรปู สมยั สโุ ขทัย นิยมหล่อพระพุทธรูปจากโลหะสารดิ ซ่งึ เปน็ ศิลปะแบบสโุ ขทยั แท้ พระพุทธรปู สมัยสุโขทยั ท่ีสวยงามที่สดุ ของชาติไทย ได้แก่ พระพุทธชินราช พระศรีศากยมุนี เป็นต้น (3) งานจิตรกรรม งานจติ รกรรมสมยั สุโขทยั มีท้ังภาพลายเสน้ าและภาพสฝี ุ่น เช่น จติ รกรรมงานเขียนลายเสน้ เรื่องชาดก สลักบนหนิ ชนวนท่ผี นังอุโมงค์ ในวัดศรีชุม จังหวัดสโุ ขทัย และภาพจติ รกรรมฝาผนัง ใช้สีแดง ดา ขาว เปน็ หลกั เช่น ภาพเขยี นท่ีวัด เจดียแ์ ถวเมืองศรีสัชนาลยั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอทงุ่ ช้าง

3. ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ตอ่ มรดกทางวัฒนธรรมของสุโขทยั ท่ีสาคัญ คอื ตัวอกั ษรไทยและวรรณกรรม ตวั อักษรไทยเรยี กว่า ลายสือไทย พ่อขุน รามคาแหงทรงประดิษฐข์ นึ้ เมอื่ พ.ศ. 1826 ตัวอกั ษรไทยที่พอ่ ขุนรามคาแหงทรงประดษิ ฐข์ น้ึ นน้ั ได้ดัดแปลงมาจากอกั ษรขอม และอกั ษรมอญ มีลักษณะการจดั วางรูปสละให้เรยี งอยบู่ นบรรทัดเดยี วกับพยัญชนะ การประดิษฐ์อักษรไทยทาใหเ้ กดิ วรรณกรรมที่ สาคัญ ไดแ้ ก่ ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง หรือศลิ าจารกึ หลักท่ี 1 นอกจากน้ยี งั มวี รรณคดีทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่ ไตรภูมิพระร่วง (เตร ภมู กิ ถา) (1) ศิลาจารึก ศลิ าจารึกที่พบในสมัยสโุ ขทัย มปี ระมาณไม่น้อยกวา่ 30 หลกั แต่ท่ีสาคัญมาก คือ ศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 ศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง มีคุณค่าทางภาษา กฎหมาย การปกครอง วฒั นธรรม และยังถอื เปน็ ประโยชน์ตอ่ การศึกษาเรือ่ งราว ทางประวตั ศิ าสตร์ของไทยในสมยั น้ัน จึงนบั ว่าเปน็ วรรณกรรมทมี่ ีคุณค่าท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงสภาพสังคม และวัฒนธรรมของสุโขทยั ได้เปน็ อยา่ งดี (2) ไตรภมู พิ ระรว่ ง พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลิไทย) ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น เพอ่ื ใช้แสดงธรรมโปรดพระราชมารดา และอบรมสั่งสอนประชาชนท่ัวไป ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณคดีเลม่ แรกของไทยทีเ่ ขยี นเป็นเล่มอย่างสมบูรณ์ เป็นเรื่องราวเกยี่ วกบั มนษุ ย์ นรก สวรรค์ ส่งั สอนให้คนรู้จักเกรงกลัวต่อบาปและให้ทาแต่ความดี นับว่ามมีอทิ ธิพลต่อจิตใจและความเชื่อของคนไทย สมยั น้นั เปน็ อย่างมาก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทุ่งชา้ ง

4. ดา้ นขนบธรรมเนยี มประเพณี ตอ่ ขนบธรรมเนยี มประเพณีตา่ ง ๆ เป็นสิ่งสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความเปน็ อยู่ของคนในสงั คม ขนบธรรมเนียม ประเพณีในสมัยสโุ ขทัยจะเกีย่ วขอ้ งกับพระพทุ ธศาสนาเปน็ สว่ นใหญ่ เน่ืองจากคนไทยในกรงุ สุโขทัยนบั ถอื พระพทุ ธศาสนากนั อยา่ งกว้างขวาง ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเข้ามามีอทิ ธพิ ลต่อวถิ ชี วี ิตของผคู้ นในสุโขทัยอยา่ งมากมาย เช่น ประเพณีการสรา้ งวัด ในเขตพระราชวงั ประเพณที าบุญเขา้ พรรษา ออกพรรษา รกั ษาศลี ฟังเทศนใ์ นวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น ขนบธรรมเนยี มประเพณีของสโุ ขทยั เป็นมรดกตกทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั ได้แก่ การละเล่นร่ืนเริง ประเพณกี ารเผา เทยี นเล่นไฟ และพระราชพธิ ีตา่ ง ๆ เช่น พระราชพธิ ลี อยพระประทีป เปน็ ต้น อาณาจกั รสุโขทัยไดส้ รา้ งแบบแผนของการดาเนินชวี ิตอยรู่ ่วมกนั ตลอดจนได้สร้างสรรค์ศลิ ปวฒั นธรรม เชน่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ไวม้ ากมายเป็นมรดกตกทอดใหก้ ับอาณาจกั รไทยในยคุ หลังตอ่ ๆ มา ท้ังในด้านศาสนา ศลิ ปกรรม ด้านภาษาและวรรณกรรม และดา้ นขนบธรรมเนยี มประเพณี หรอื ท่ีเรียกกันวา่ มรดกทางวัฒนธรรมของสโุ ขทยั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอทุง่ ชา้ ง

Thanks ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อาเภอท่งุ ชา้ ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทงุ่ ช้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook