Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579

แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579

Published by ครูรุ่งทิวา สลากัน, 2020-03-14 21:37:48

Description: แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560-2579

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ http://www.vec.go.th

แผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579

สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 ………. หนา แผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 สิ่งพมิ พ สอศ. สนผ. 1 /2560 พมิ พครัง้ ที่ 1 กนั ยายน 2560 จํานวน 1,000 เลม ผูจดั พมิ พเ ผยแพร สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 319 ถนนราชดาํ เนนิ นอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท 02 281 5555 โทรสาร 02 282 1184 http://www.vec.go.th พมิ พท ี่ ..................................................................................................

ก คํานาํ ประเทศไทยไดจัดทําแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) เพ่ือใหการพัฒนา ประเทศมีความตอ เนือ่ งและมีแนวทางทีช่ ัดเจน โดยกําหนดวิสัยทัศน “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เปน ประเทศพฒั นาแลว ดว ยการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และพรอมรองรับประเทศไทย ยุค 4. 0 โ ด ย ใช ก าร ศึ ก ษา เ ปน ก ล ไก ห ลัก ใ น กา ร พัฒ น า ปร ะ เท ศ กร ะ ทร ว ง ศึก ษ าธิ ก า ร โดยสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ไดจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อกําหนด กรอบเปาหมายและทศิ ทางการจดั การศึกษาของประเทศใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรช าติ ดังกลา ว สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนหนวยงานหลักในการจัดการอาชีวศึกษา เพ่ือผลิต และพัฒนากําลังคนในดานวิชาชีพ ระดับฝมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งการฝกอบรม วิชาชีพเพ่ือเพิ่มพูนความรู และการฝกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ไดจัดทําแผนพัฒนาการ อาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 โดยการวิเคราะหและสังเคราะหยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) เพื่อใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของและสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการพัฒนา และขับเคล่ือนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของประเทศ ใหสอดคลองกับเปาหมายและทิศทางของการ พัฒนากําลังคนตามยุทธศาสตรชาติ โดยเฉพาะอยางย่ิงการสรางความสามารถในการแขงขัน การพัฒนา และเสรมิ สรา งศักยภาพคน แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 ฉบับนี้ เปนประโยชนอยางย่ิงสําหรับหนวยงาน สถานศึกษา ใชเปนเคร่ืองมือในการจัดการอาชีวศึกษาใหบรรลุผลตามเปาหมายและเจตนารมณของการ พัฒนาประเทศ เนื่องจากมีสาระสําคัญประกอบดวย แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา วิสัยทัศนของ แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พันธกิจของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา วัตถุประสงคของแผนพัฒนา การอาชีวศึกษา เปาหมายของผูสําเร็จการอาชีวศึกษา ยุทธศาสตรการอาชีวศึกษา กลยุทธ แผนงาน โครงการ และตวั ช้วี ัด ที่ครอบคลุมกระบวนการในการบรหิ ารจดั การอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กันยายน 2560

ข บทสรปุ สําหรับผูบ รหิ าร สาํ นักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษาไดจ ดั ทําแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ที่สอดคลองกับ ยุท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ร ะ ย ะ 2 0 ป ( พ . ศ . 2 5 6 0 –2 5 79 ) แ ผ น กา ร ศึ ก ษ า แ หง ช า ติ พ . ศ. 2 5 6 0 –2 5 7 9 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) มีสาระสําคัญ ประกอบดวย แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา คานิยมอาชีวศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค เปาหมาย ยุทธศาสตร กลยทุ ธ แผนงาน โครงการ ตวั ชี้วดั และการขับเคลือ่ นแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษาสูการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. แนวคดิ การจัดการอาชวี ศึกษา การจัดการอาชวี ศึกษาเปนการจัดการศึกษาในดานวิชาชีพ เพ่ือผลิตและพัฒนากําลังคนในระดับฝมือ (ปวช.) ระดับเทคนิค (ปวส.) ระดับเทคโนโลยี (ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) และการฝกอบรมวิชาชีพ ซ่ึงเปนการเพ่ิมพูนความรูและทักษะอาชีพระยะสั้นและระยะยาว ท่ีมีความสัมพันธสอดคลองกับ ปรชั ญาการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานการอาชวี ศึกษาในแตระดบั 2. คา นยิ มอาชวี ศกึ ษา ในการจัดการอาชีวศึกษามีคานิยมที่เปนเปาหมายหลักในการปลูกฝงท่ีสําคัญ 4 ประการ ไดแก คณุ ธรรม (Merit) คณุ ภาพ (Quality) ความรว มมือ (Collaboration) ความเปนมืออาชพี (Professional) 3. วสิ ัยทัศน แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ไดกําหนดวิสัยทัศนที่เปนความคาดหวังตามเจตนารมณของ การจดั การอาชีวศึกษา ไวด งั นี้ “ผสู ําเร็จการอาชวี ศกึ ษาและฝก อบรมวิชาชีพ มคี ุณธรรม คุณภาพ สอดคลองกบั ความตอ งการในการพฒั นาประเทศ” 4. พันธกิจ เพ่อื ใหก ารจัดการอาชีวศึกษาบรรลผุ ลตามวิสัยทัศนท่ีกาํ หนดไว จงึ มีภารกิจทีต่ องดาํ เนนิ การดังนี้ 4.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพสอดคลองกับความตองการของ สถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระใหมคี ุณภาพไดมาตรฐานในระดับสากล 4.2 ขยายโอกาสการศึกษาวชิ าชีพใหก ับประชาชนทุกชวงวัย 4.3 เพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใตหลักธรรมาภิบาลโดยอาศัยเครือขายความรวมมือ จากทกุ ภาคสว น 4.4 พัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และสรางองคความรูเพื่อการจัดอาชีวศึกษาและ พฒั นาวิชาชพี 4.5 พัฒนาครูและบุคลากรอาชวี ศึกษาใหมคี ุณภาพดว ยวธิ ีที่หลากหลาย

ค 5. วตั ถุประสงค แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 ไดกําหนดวัตถุประสงค เพ่ือใชเปนแนวทางใน การจดั การอาชวี ศึกษา ดงั น้ี 5.1 เพอ่ื ผลติ และพฒั นากาํ ลงั คนดา นวิชาชีพใหมีคณุ ธรรม คณุ ภาพ และความเปน มอื อาชีพ 5.2 เพือ่ เพิ่มโอกาสการศกึ ษาวิชาชีพกบั ประชาชนทกุ ชว งวัย 5.3 เพื่อนําหลกั ธรรมาภบิ าลมาใชใ นการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษา 5.4 เพอ่ื พัฒนางานวิจยั ส่งิ ประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคค วามรอู าชีวศึกษา 5.5 เพ่อื พัฒนาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษาใหมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 6. เปาหมายดา นคุณภาพของผูสาํ เร็จการศึกษา การพัฒนาการอาชีวศึกษาตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 มีเปาหมายเพื่อผลิตและ พัฒนาผเู รยี นและผูสําเรจ็ การศกึ ษามคี ุณภาพครอบคลุมอยางนอ ย 3 ดาน ไดแก 6.1 ดานคุณลักษณที่พึงประสงค ไดแก คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะนิสัย และทักษะทางปญ ญา 6.2 ดา นสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่วั ไป ไดแก ความรแู ละทกั ษะการส่ือสาร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรยี นรูและการปฏิบัตงิ าน การทํางานรว มกบั ผอู ื่น การใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การประยุกตใช ตวั เลข การจัดการและการพฒั นางาน 6.3 ดานสมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรู และทักษะในสาขาวิชาชีพสู การปฏิบตั จิ ริง รวมทง้ั ประยุกตสอู าชพี 7. ยทุ ธศาสตร เปา หมาย และตวั ชีว้ ัด เพ่ือใหแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 บรรลุผลตามวิสัยทัศน และเปาหมาย จึงไดกําหนด ยทุ ธศาสตรการพัฒนาการอาชีวศึกษาไว 6 ยทุ ธศาสตร ดังน้ี 7.1 ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การจัดการอาชวี ศึกษาเพอื่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ มเี ปาหมายดงั นี้ 7.1.1 ผูเรียนอาชีวศึกษามีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดีและธํารงรักษาไวซ่ึงสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ผูเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกคนผานการอบรมลูกเสือ เนตรนารี การจัดการเรียนการสอน และกจิ กรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือสงเสริมการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ สรางภมู ิคุมกันหรอื ปองปรามการทุจรติ คอรรปั ชน่ั 7.1.2 ผูเ รียนอาชวี ศึกษามีความรแู ละไดรบั การดแู ลปองกนั ภัยคกุ คามในชีวิตรูปแบบใหม มีตัวชี้วัดที่ สําคัญ ไดแก การจัดกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยงโดยแนวทางสันติวิธี เพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองในการปองกันภัยคุกคามรูปแบบใหม มีระบบ กลไก และมาตรการ ทเี่ ขมแขง็ ในการปองกนั และแกไขภัยคกุ คามรปู แบบใหม สถานศกึ ษาปลอดยาเสพติด อบายมขุ และเหตทุ ะเลาะวิวาท

ง 7.1.3 ผเู รยี นอาชีวศกึ ษาเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต เขตพฒั นาเศรษฐกิจ พิเศษและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ มีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ไดแก การ พฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชพี ท่สี อดคลอ งกบั สังคมและวัฒนธรรม การจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพท่ี ค ร อ บ ค ลุ ม ค น ทุ ก ช ว ง วั ย ส อ ด ค ล อ ง กั บ ภู มิ สั ง ค ม อั ต ลั ก ษ ณ แ ล ะ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ชุ ม ช น พัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะอาชีพมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ มีความรวมมือกับทุกภาคสวนในการจัดการ อาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ มีระบบเงินเดือนคาตอบแทนพิเศษ เพ่ือสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ผูสําเร็จ การศึกษาในกลุม สาขา ปาหมาย มีงานทําหลังจบการศึกษา และความพึงพอใจของภาคผูใชที่มีตอสมรรถนะของ ผสู าํ เรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษา 7.2 ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางขีดความสามารถในการ แขง ขันของประเทศ มีเปา หมายดงั นี้ 7.2.1 กําลังคนอาชีวศึกษามีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศ มีตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก มีฐานขอมูลการผลิตและความตองการกําลังคนอาชีวศึกษา ผูเรียนอาชีวศึกษา เพ่มิ ขึ้นเม่อื เทียบกับผูเรียนสามัญศึกษา ผูเรียนอาชีวศึกษาไดรับเงินกูยืมเพื่อการศึกษา ผูสําเร็จอาชีวศึกษามีสรรถนะ ตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ ความสามารถการใชภาษาอังกฤษของผูสําเร็จ อาชีวศึกษาตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) ผูสําเร็จอาชีวศึกษาในสาขากลุมอุตสาหกรรม เปาหมายตรงตามขอมูลความตองการกําลังคน อัตราการมีงานทํา การประกอบอาชีพอิสระของผูสําเร็จอาชีวศึกษา ภายในระยะเวลา 1 ป และผา นการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี และมาตรฐานอาชีพ 7.2.2 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาที่มีความเช่ียวชาญและเปนเลิศเฉพาะทาง มีตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก ความเช่ียวชาญและเปนเลิศเฉพาะทาง มีหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขาที่ตรงกับความ ตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ จัดการศึกษาเนนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัย จัดการเรียนรูแบบบูรณาการองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร หรือสะเต็มศึกษา ใชชุมชนเปนแหลงเรียนรูทางวิชาชีพ ผานการประเมินสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ มีภาคีเครือขายความรวมมือ ระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพทีจ่ ัดการอาชีวศึกษารวมกบั สถานศึกษา เพื่อพัฒนากําลังคนตาม ความตองการของตลาดแรงงาน 7.2.3 การวจิ ัย สิง่ ประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชีวศึกษา เพ่ือเพิ่มผลผลิต และมูลคาทางเศรษฐกิจ ประเทศ มีตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก จํานวนโครงการ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูท่ีนําไปใชประโยชนใ นการพัฒนาชุมชนและสงั คม จํานวนบุคลากรอาชีวศึกษาดานการวิจัย และพัฒนา จํานวนนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ ที่ไดรับการจดสิทธิบัตร และจํานวนผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพ ในระดับชาตหิ รอื นานาชาติ 7.3. ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความ ตองการในการพฒั นาประเทศ มีเปา หมายดังน้ี 7.3.1 กําลังคนดานการอาชวี ศึกษามคี ณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลกั และสมรรถนะทว่ั ไป

จ และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนาประเทศ สูประเทศไทย 4.0 มีตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป และสมรรถนะ วิชาชีพ และความพึงพอใจของภาคผูใชท ม่ี ีตอ ผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 7.3.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษามีศักยภาพในการพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษา มีตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพระดับสูง และ ความพงึ พอใจของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาท่ีมีตอ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษา 7.3.3 หลักสตู รอาชวี ศึกษามีการพฒั นาเพ่มิ ขึ้นอยางหลากหลายตามความตอ งการในการพฒั นา ประเทศ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก หลักสูตรที่ไดรับการพัฒนา จํานวนผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ไดรับการพัฒนา และความพึงพอใจของผสู าํ เร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาทีม่ ีตอหลกั สูตรท่ีไดรบั การพฒั นา 7.3.4 การพัฒนาความรวมมือกับทุกภาคสวน เพื่อเพ่ิมศักยภาพกําลังคนดานอาชีวศึกษา ใหมี คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะทวั่ ไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับความตองการ ในการพัฒนาประเทศ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก สถานประกอบการท่ีรวมมือในการพัฒนาศักยภาพกําลังคน ดานอาชีวศึกษา จํานวนโครงการความรวมมือท้ังในและตางประเทศ และความพึงพอใจในการพัฒนาความรวมมือ การพฒั นาศกั ยภาพกําลังคนดา นการอาชีวศกึ ษา 7.4 ยุทธศาสตรที่ 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มในดานการอาชวี ศึกษา 7.4.1 เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาดา นอาชีวศึกษา ใหผ เู รียนทกุ คน ทกุ กลุม ทกุ พ้ืนที่ และทุกระดบั การศกึ ษาไดรบั บริการทางการศกึ ษาดานอาชวี ศกึ ษาอยา งมีคุณภาพ ตวั ชี้วัดทีส่ ําคัญ ไดแก สัดสวนผูเขาเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปที่ 1 (ปวช.1) เทียบกับนักเรียน ที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ผูเขาเรียน หลักสูตรทวิศึกษาเทียบกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเขาเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ช้ันปที่ 1 (ปวส.1) เทียบกับนักเรียนที่สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.3) และอัตราการเพิ่มขึ้น ของผูเรียนระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ หลักสูตรการฝกอบรมอาชีพท่ีไดรับการพัฒนา สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ผูเรียนที่มีความจําเปนพิเศษที่ไดรับการศึกษาดานอาชีวศึกษาหรือฝกอบรม วิชาชีพหลักสูตรและรูปแบบการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาที่ยืดหยุน หลากหลาย ทุกระดับการศึกษา ทั้งการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน และมีระบบเครือขายเทคโนโลยี สารสนเทศ เพอื่ การศึกษาท่ที ันสมัยตอบสนองความตองของผเู รียนและผูใชอ ยา งทวั่ ถงึ และมีประสทิ ธิภาพ 7.4.2 ระบบฐานขอมูลรายบุคคลของผูเรียนอาชีวศึกษาท่ีถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผน การบริหารจัดการอาชีวศึกษา การติดตามและประเมินผล ตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก ระบบฐานขอมูลรายบุคคลที่ อางองิ จากเลขประจาํ ตวั ประชาชน 13 หลกั ท่สี ามารถเชอ่ื มโยงและแลกเปลีย่ นฐานขอมูล รวมท้ังใชประโยชนรวมกัน ระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและหนวยงานอ่ืน ระบบสารสนเทศท่ีครอบคลุม ถูกตอง และเปน ปจจุบันเพ่ือใชประโยชนในการวางแผนการบริหารจัดการศึกษาอาชีวศึกษา การติดตามและประเมินผล ระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพตาม

ฉ มาตรฐาน สามารถใหบริการและใชประโยชนรวมกันระหวางหนวยงานอื่นได และความพึงพอใจของบุคคลและ หนว ยงานในการเขาถงึ และใชป ระโยชนจ ากฐานขอ มูลและสารสนเทศทางการศึกษา 7.5 ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มเี ปาหมายดังน้ี 7.5.1 ผูเรียนอาชีวศึกษา มีจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ ไดแก จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สรางจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ผูเรียนอาชีวศึกษาที่ไดรับการปลูกฝงจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาที่ไดรับการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม และสถานศึกษาทีด่ ําเนินการตามโครงการสถานศึกษาคุณธรรม 7.5.2 ผูเรียนอาชวี ศึกษาสามารดํารงชีวติ อยางมีความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด ที่สําคัญ ไดแก จํานวนสถานศึกษาที่บริหารจัดการและจัดการการเรียนการสอนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ผูเรียนอาชีวศึกษาที่นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดํารงชีวิต ครูและบุคลากร ทางการศึกษาอาชีวศึกษาทีน่ ําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ นการดาํ รงชีวติ 7.5.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ตัวช้ีวัดที่สําคัญ ไดแก งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูที่เก่ียวของกับ การสรา งเสริมคณุ ภาพชวี ติ เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและนําไปใชประโยชน หนวยงานภายนอกที่รวมมือหรือสนับสนุน สถานศึกษาในการวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูท่ีเกี่ยวของกับการสรางเสริมคุณภาพชีวิต เปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม 7.6 ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 การเพิ่มประสทิ ธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษา มเี ปาหมายดังนี้ 7.6.1 ระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่มีประสิทธิภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ไดแก สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพภายใต หลักธรรมาภิบาลสถานศึกษาท่ีบริหารจัดการมีประสิทธิภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล และความพึงพอใจของ ผูม สี ว นไดส ว นเสียกับการจัดการอาชีวศกึ ษา 7.6.2 นวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคลองรองรับกับการพัฒนาประเทศ ตัวช้ีวัดท่ี สําคัญ ไดแก นวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีสอดคลองรองรับกับการพัฒนาประเทศ และนวัตกรรม ดา นการพัฒนาการเรยี นการสอนอาชีวศึกษาท่ีสอดคลอ งรองรบั กับการพฒั นาประเทศ 7.6.3 สรางเครือขายความรวมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ไดแก เครือขาย ความรวมมือในการบริหารจัดการอาชวี ศกึ ษา 7.6.4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาทุกระดับการศึกษา ตัวชี้วัดที่สําคัญ ไดแก สถานศึกษาท่ีมีผลการประเมินคุณภาพภายในอยูในระดบั คณุ ภาพ ดีมาก และสถานศึกษาท่ีไดรับการยกระดับคุณภาพ ใหไดคณุ ภาพตามมาตรฐาน

ช 8. การขับเคลอื่ นแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษาสูก ารปฏิบัติ ความสําเร็จของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 สูการปฏิบัติขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญหลาย ประการ ไดแก สาระสําคัญของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาที่มีความชัดเจน ครบถวน และครอบคลุม การมีสวนรวม ในกระบวนการพัฒนาตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาของผูเก่ียวของทุกภาคสวน ตั้งแตระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ ผูมีสวนไดสวนเสีย และสาธารณชน การเผยแพร การประชาสัมพันธ เพ่ือสรางความตระหนัก ความรู ความเขาใจ ในความสาํ คัญของแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา และการนาํ แผนพัฒนาการอาชวี ศึกษาสกู ารปฏิบัติที่ชัดเจน 8.1 แนวทางการขับเคล่อื นแผนพฒั นาการอาชวี ศึกษาสูการปฏบิ ตั ิ มีดงั น้ี 8.1.1 การสรางความรูความเขาใจ ใหทุกภาคสวนตระหนักถึงความสําคัญและพรอมเขารวมในการ ผลักดันแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา การสรางความเขาใจกับหนวยงาน องคการ และภาคีเครือขาย ในการจัดการอาชีวศึกษาเก่ียวกบั วิสยั ทศั นแ ละเปาหมายของแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา 8.1.2 การสรางความเช่ือมโยงระหวางแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 กับแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และแผนปฏิบัติการประจํา ปงบประมาณของสถานศึกษาในสังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 8.1.3 การปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบ และกฎหมายตางๆ ใหเ ออ้ื ตอแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา 8.1.4 การสรางชองทางใหภาคีเครือขายในการจัดการอาชีวศึกษามีสวนรวมในการจัดการศึกษา อยางกวางขวาง ทั้งระดับนโยบาย และระดบั ปฏิบัตกิ าร 8.2 การติดตามประเมินผลแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลแผนพัฒนา การอาชีวศึกษา เปนการติดตามประเมินผลที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียกับการจัดการอาชีวศึกษาเขามามี สวนรวมในการประเมิน ท้ังการประเมินกระบวนการจัดการผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ โดยสถานศึกษาใน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเมินการดําเนินงานของสถานศึกษาเองควบคูไปกับการประเมิน ของหนวยงานภายในสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการกําหนดหลักเกณฑการติดตามและประเมินผล ตวั ชวี้ ัดท่ีชัดเจนมมี าตรฐาน และถูกตอ งตามหลกั วชิ า

ซ สารบญั คํานาํ ......................................................................................................................................... หนา บทสรปุ สําหรับผบู ริหาร............................................................................................................ ก ข สารบัญ...................................................................................................................................... ซ สารบญั ตาราง........................................................................................................................... สารบญั ภาพ.............................................................................................................................. ญ ฐ สว นท่ี 1 สาระสาํ คัญของแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560-2579 1 แนวคิดการจดั การอาชีวศึกษา.................................................................................. 1 วสิ ัยทศั นของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา.................................................................. 1 พนั ธกจิ ของแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา.................................................................... 2 วัตถุประสงคข องแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา............................................................ 2 เปาหมายของผูสาํ เร็จการอาชีวศกึ ษา....................................................................... 2 ยทุ ธศาสตรก ารอาชวี ศกึ ษา....................................................................................... 2 กรอบแนวคดิ ของแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา........................................................... 4 ความเช่อื มโยงสาระสาํ คัญของแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา....................................... สว นที่ 2 ยทุ ธศาสตร กลยุทธ เปาหมาย แผนงาน โครงการ ตวั ช้วี ดั 5 ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การจดั การอาชวี ศึกษาเพ่ือความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ 10 15 ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางขีด 18 ความสามารถในการแขงขันของประเทศ....................................... 20 23 ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพกําลงั คนดา นการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกบั ความตองการในการพัฒนาประเทศ……………………… ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในดาน การอาชีวศึกษา............................................................................... ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการอาชวี ศกึ ษาเพ่อื สรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวิต เปน มิตรกบั สิง่ แวดลอม.................................................................................... ยุทธศาสตรท ี่ 6 การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชวี ศึกษา............

ฌ สารบัญ (ตอ) หนา สว นท่ี 3 การขบั เคล่อื นแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 สูก ารปฏบิ ตั ิ การขับเคลอื่ นแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 สูก ารปฏบิ ตั ิ…………. 27 ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การจดั การอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ 28 ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพื่อสรางขีด ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ....................................... 33 ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพกาํ ลงั คนดา นการอาชีวศึกษาใหมสี มรรถนะ สอดคลอ งกับความตอ งการในการพัฒนาประเทศ……………………… 39 ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในดาน การอาชีวศกึ ษา................................................................................ 43 ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดการอาชวี ศกึ ษาเพ่อื สรา งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิต เปนมติ รกบั สิ่งแวดลอ ม.................................................................................... 45 ยุทธศาสตรที่ 6 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบการบริหารจดั การอาชวี ศึกษา............. 48

ญ ตารางที่ สารบญั ตาราง หนา 3.1 28 การขบั เคล่ือนแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา กลยทุ ธก ารพฒั นาหลกั สูตรและการ จัดการเรียนการสอนดา นความเปนพลเมอื ง โดยเนน การปลูกฝง และเสรมิ สราง วิถีประชาธปิ ไตย ความสามคั คี สมานฉนั ท สันติวิธี สงเสรมิ การอยูรวมกนั ใน สังคมพหุวฒั นธรรม และตอ ตานการทุจรติ คอรร ปั ชัน่ …………………………………… 3.2 การขับเคลื่อนแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา กลยทุ ธการพัฒนาระบบ กลไก และ มาตรการท่ีเขม แข็งในการปองกันและแกไ ขการทะเลาะววิ าท การสรางความ รนุ แรง และภยั คุกคามรูปแบบใหมสาํ หรับผูเรยี นอาชีวศึกษา………………………… 29 3.3 การขบั เคล่ือนแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา กลยุทธอาชีวศกึ ษาเขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต......................................................................... 30 3.4 การขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธอาชวี ศกึ ษาเขตพฒั นา เศรษฐกิจพิเศษ.................................................................................................... 31 3.5 การขับเคลอ่ื นแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา กลยุทธอ าชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก..................................................................................................... 32 3.6 การขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา กลยุทธการผลติ และพฒั นากาํ ลังคน อาชีวศกึ ษาใหมีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความตองการของภาคผูใช และ 33 การพฒั นาเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ.............................................................. 3.7 การขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา กลยุทธก ารสงเสรมิ การผลติ และ พฒั นากําลงั คนอาชวี ศกึ ษาทีม่ คี วามเชย่ี วชาญและเปน เลิศเฉพาะทาง……………… 36 3.8 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริมการวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชีวศึกษา เพ่ือเพ่ิม ผลผลติ และมูลคา ทางเศรษฐกิจ............................................................................ 38 3.9 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริม สนับสนุนใหมี การพัฒนากาํ ลงั คนดานอาชีวศึกษาใหมคี ณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค สมรรถนะหลัก และสมรรถนะทวั่ ไป และสมรรถนะวชิ าชพี อยา งเต็มศกั ยภาพ………………………… 3.10 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริม พัฒนาครูและ 40 บคุ ลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาใหม ีศักยภาพ...................................................

ฎ สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 3.11 การขับเคลอื่ นแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา กลยทุ ธก ารสง เสรมิ การพฒั นาหลักสูตร 42 อาชวี ศกึ ษาท่ีตรงกบั ความตองการในการพัฒนาประเทศ……................................. 3.12 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริมการพัฒนาความ รวมมือในการเพิ่มศักยภาพกําลังคนดานอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลอง 43 กบั ความตองการในการพฒั นาประเทศ…………………………………………………………. 3.13 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการเพิ่มโอกาสความเสมอภาค 44 และความเทา เทียมในการศึกษาดานอาชีวศึกษาท่ีมคี ุณภาพ…………….………………. 3.14 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาระบบฐานขอมูลและ สารสนเทศดานการอาชีวศกึ ษาท่ีครอบคุลม ถกู ตอ งและเปนปจ จุบัน...................... 45 3.15 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาผูเรียน อาชีวศึกษา ใหมีจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปน มิตรกับสิง่ แวดลอ ม........................................................................................... 46 3.16 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาผูเรียน อาชี ว ศึ กษ าใ หส ามา รถ ดํา รง ชีวิ ตอย าง มีค ว า มสุ ขตา มป รัช ญา ขอ ง 47 เศรษฐกจิ พอเพยี ง................................................................................................... 3.17 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาการวิจัย เพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการเสริมสรางคุณภาพชีวิต 48 เปนมติ รกับสิ่งแวดลอม........................................................................................... 3.18 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาระบบการบริหาร 50 จดั การอาชวี ศกึ ษาท่ีมปี ระสิทธิภาพภายใตหลกั ธรรมาภบิ าล................................... 3.19 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริมการสรางนวัตกรรม 51 การบริหารจัดการอาชวี ศึกษาท่สี อดคลอ งรองรับกับการพัฒนาประเทศ…………….. 3.20 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการสงเสริมการสรางเครือขาย ความรว มมือในการบริหารจดั การอาชวี ศึกษา.........................................................

ฏ สารบญั ตาราง (ตอ) ตารางท่ี หนา 3.21 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาระบบประกัน 52 คุณภาพภายในการอาชวี ศึกษาทกุ ระดับการศกึ ษา………………………………………

ฐ สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา 1 กรอบแนวคดิ ของแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา.......................................................... 3 2 ความเช่ือมโยงสาระสําคญั ของแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา...................................... 4 3 การขับเคล่อื นแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 สูการปฏิบตั ิ.......... 27

1 สว นที่ 1 สาระสาํ คญั ของแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 1. แนวคิดการจดั การอาชวี ศึกษา 1.1 หลักการจัดการอาชวี ศกึ ษา การจดั การอาชวี ศึกษาและการฝก อบรมวชิ าชพี ตองเปนการจดั การศกึ ษาในดานวิชาชีพสอดคลองกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากําลังคนในดานวิชาชีพระดับฝมือ ระดับเทคนิค และ ระดับเทคโนโลยี รวมท้ังเปนการยกระดับการศึกษาวิชาชีพใหสูงขึ้นเพ่ือใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงานโดยนําความรูในทางทฤษฎีอันเปนสากลและภูมิปญญาไทยมาพัฒนาผูรับการศึกษาใหมีความรู ความสามารถในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนําไปประกอบอาชีพในลักษณะผูปฏิบัติหรือประกอบอาชีพ อิสระ 1.2 ภารกจิ ของการจัดการอาชวี ศึกษา ในการจัดการอาชวี ศกึ ษามภี ารกจิ ท่ีสาํ คัญ ไดแก 1.2.1 การจัดการอาชีวศึกษา เปนการผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพ ในระดับฝมือ (ปวช.) ระดบั เทคนิค (ปวส.) และระดับเทคโนโลยี (ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร) 1.2.2 การฝกอบรมวิชาชีพ เปน การเพมิ่ พนู ความรูแ ละการฝก ทกั ษะอาชพี 1.3 คานิยมอาชีวศึกษา ในการจัดการอาชีวศึกษามีคานิยมท่ีเปนเปาหมายหลักในการปลูกฝงท่ีสําคัญ 4 ประการ ไดแก 1.3.1 คุณธรรม (Merit) หมายถึง ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชนแกตนเองและสังคมซึ่งมี พ้ืนฐานมาจากหลกั ศลี ธรรมทางศาสนา เปน คานิยมทางวฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 1.3.2 คุณภาพ (Quality) หมายถึง ผูสําเร็จการอาชีวศึกษามีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแหง ชาติ และมาตรฐานคุณวฒุ ิการอาชวี ศกึ ษาแตละระดบั 1.3.3 ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถและทักษะในการจัดการและ การพฒั นางาน รวมทง้ั การทาํ งานรวมกับผูอนื่ 1.3.4 ความเปนมืออาชีพ (Professional) หมายถึง ความรู ทักษะ และความสามารถใน ดานวิชาชีพ รวมทง้ั การประยกุ ตใชความรู ทักษะ ในดา นวชิ าชพี เพื่อการประกอบอาชีพอิสระ 2. วิสัยทัศนข องแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา “ผสู ําเร็จการอาชีวศกึ ษาและฝกอบรมวิชาชีพ มีคณุ ธรรม คณุ ภาพ สอดคลอ งกบั ความตอ งการในการพัฒนาประเทศ” 3. พันธกิจของแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา การจดั การอาชวี ศึกษา มีพนั ธกจิ ทีส่ ําคัญ ดังน้ี

2 3.1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพสอดคลองกับความตองการของ สถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระใหมีคุณภาพไดมาตรฐานในระดับสากล 3.2 ขยายโอกาสการศกึ ษาวิชาชีพใหกบั ประชาชนทุกชวงวยั 3.3 เพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใตหลักธรรมาภิบาลโดยอาศัยเครือขายความรวมมือ จากทกุ ภาคสว น 3.4 พัฒนางานวจิ ัย สงิ่ ประดษิ ฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และสรา งองคความรูเพ่ือการจดั อาชวี ศกึ ษาและพัฒนา วิชาชพี 3.5 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษาใหมคี ุณภาพดว ยวิธีท่ีหลากหลาย 4. วตั ถุประสงคของแผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา 4.1 เพอ่ื ผลติ และพฒั นากาํ ลงั คนดานวิชาชีพใหม คี ณุ ธรรม คณุ ภาพ และความเปนมืออาชีพ 4.2 เพอื่ เพมิ่ โอกาสการศึกษาวชิ าชีพกบั ประชาชนทกุ ชวงวัย 4.3 เพือ่ นําหลกั ธรรมาภิบาลมาใชในการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษา 4.4 เพื่อพฒั นางานวจิ ยั สงิ่ ประดิษฐ นวตั กรรม เทคโนโลยี และองคความรูอาชวี ศึกษา 4.5 เพ่ือพฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 5. เปา หมายดานคุณภาพของผูส าํ เรจ็ การอาชวี ศึกษา ผูสาํ เร็จการศึกษาในระดับอาชวี ศกึ ษาและฝกอบรมวิชาชีพมคี ุณภาพอยางนอย 3 ดา น 5.1 ดานคุณลักษณท่ีพึงประสงค ไดแก คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรมลักษณะนิสัย และทกั ษะทางปญ ญา 5.2 ดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ไดแก การส่ือสาร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศการพัฒนา การเรยี นรแู ละการปฏิบัตกิ าร การทํางานรวมกบั ผูอ่นื การใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร การประยุกตใชตัวเลขและ การจดั การและการพัฒนางาน 5.3 ดานสมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรู ความสามารถในการใชทักษะ ในสาขาวิชาชีพสูการปฏบิ ัตจิ ริง และความสามารถในการประยุกตสูอาชีพ 6. ยุทธศาสตรก ารอาชวี ศึกษา 6.1 การจดั การอาชีวศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ 6.2 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ 6.3 การพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความตองการใน การพฒั นาประเทศ

3 6.4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมในดานการอาชีวศึกษา 6.5การจัดการอาชวี ศกึ ษาเพ่ือสรางเสริมคณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมติ รกบั สิ่งแวดลอม 6.6 การเพิ่มประสิทธภิ าพระบบการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษา 7. กรอบแนวคดิ ของแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา จากการวเิ คราะหสาระสาํ คญั ของแนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ยุทธศาสตร และเปาหมายในการพัฒนาการอาชีวศึกษา สามารถกําหนดเปนกรอบแนวคิดของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ดงั ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ แผนพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรก ารพฒั นา สมรรถนะของผู การอาชีวศึกษา สําเร็จอาชีวศกึ ษา ๑.การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคม คุณภาพ คา นิยมอาชวี ศึกษา และประเทศชาติ ๒.การผลิตและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษา ๑. ด้านคณุ ลกั ษณ์ทีพ่ งึ ๑. คณุ ธรรม เพื่อสรา งขีดความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ ประสงค์ ๒. คณุ ภาพ ๓.การพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานอาชีวศึกษาใหมี ๒. ด้านสมรรถนะหลกั และ ๓. ความร่วมมอื สมรรถนะ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนา สมรรถนะทวั่ ไป ๔. ความเป็ นมืออาชีพ ประเทศ ๓. ด้านสมรรถนะวชิ าชีพ ๔.การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทยี มในดานอาชวี ศกึ ษา ๕.การจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิต ที่เปนมิตรกบั สิ่งแวดลอม ๖.การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการบริหาร จัดการอาชวี ศกึ ษา ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดของแผนพฒั นาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560 – 2579

4 จากกรอบแนวคิดของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ ระหวางยุทธศาสตรการพัฒนาการอาชีวศึกษา ไดแก ๑) การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ ๒) การผลิตและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาเพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ๓) การพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนาประเทศ ๔) การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในดานอาชีวศึกษา ๕) การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อสรางเสริม คุณภาพชวี ิตที่ เปนมติ รกับสง่ิ แวดลอ ม ๖) การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษาท่ีสงผลตอ สมรรถนะของผูสําเร็จอาชีวศึกษา ในดานคุณภาพ ไดแก ดานคุณลักษณที่พึงประสงค ดานสมรรถนะหลักและ สมรรถนะท่ัวไป ดานสมรรถนะวิชาชีพ และคานิยมอาชีวศึกษา ไดแก คุณธรรม คุณภาพ ความรวมมือ และ ความเปนมอื อาชีพ 8. ความเชื่อมโยงสาระสาํ คญั ของแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560-2579 มีเช่ือมโยงระหวางสาระสําคัญ ดัง ภาพท่ี ๒ ภาพที่ ๒ ความเชื่อมโยงสาระสําคัญของแผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙

5

5 สว นที่ 2 ยทุ ธศาสตร กลยุทธ เปา หมาย แผนงาน โครงการ ตัวช้ีวัด สํานักงานคณะงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดจัดทําแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 โดย การวิเคราะหและสังเคราะหยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) เพ่ือใหหนวยงาน ท่ีเก่ียวของและสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการพัฒนาและขับเคล่ือนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของประเทศ ใหสอดคลองกับเปาหมายและทิศทางของการพัฒนากําลังคนตามยุทธศาสตรชาติ โดยกําหนดยุทธศาสตร การอาชีวศกึ ษา 6 ยทุ ธศาสตร ดงั นี้ ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การจดั การอาชวี ศึกษาเพอื่ ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ 1. วัตถปุ ระสงค 1.1 เพ่ือการจัดการเรียนการสอนดานความเปนพลเมือง เนนการปลูกฝงและเสริมสรางวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉันท สนั ติวธิ ี สงเสริมการอยูรว มกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม และตอ ตานการทุจริตคอรร ัปชั่น 1.2 เพอื่ เสรมิ สรางความมน่ั คงในชวี ิตของคนทุกชวงวยั จากภยั คกุ คามในรูปแบบใหม 1.3 เพ่ือเสรมิ สรางความมัน่ คงในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2. กลยุทธ ยุทธศาสตรก ารจัดการอาชีวศกึ ษาเพื่อความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ มจี ํานวน 5 กลยทุ ธ ดังนี้ 2.1 กลยุทธท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนดานความเปนพลเมือง โดยเนนการปลูกฝงและ เสริมสรางวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉันท สันติวิธี สงเสริมการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม และ ตอ ตา นการทุจรติ คอรรัปชนั่ โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตัวช้ีวดั ดงั น้ี 2.1.1 เปาหมาย ผูเรียนอาชีวศึกษามีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ 2.1.2 แผนงาน 1) การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาดานความเปนพลเมืองใน พหวุ ัฒนธรรม 2) การสรางจิตสํานึกของผูเรียนอาชีวศึกษาใหมีความจงรักภักดี และธํารงรักษาสถาบันหลัก ของชาติ ไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

6 3) การปลูกฝงและเสริมสรางวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉันท สันติวิธี ตอตานการ ทจุ รติ คอรรัปชัน่ และยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข 4) การเสริมสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั ริย 5) การสง เสริมการพฒั นากิจการลกู เสอื เนตรนารใี นสถานศึกษาใหมีคณุ ภาพและมาตรฐาน 6) การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อสงเสริมการอยูรวมกันในสังคม พหุวัฒนธรรม 2.1.3 โครงการ 1) โครงการสรางจติ สาํ นึกความรกั สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ  2) โครงการสง เสรมิ ประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา 3) โครงการสถานศึกษาคณุ ธรรม 4) โครงการลกู เสอื ชอ สะอาด 5) โครงการการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสงเสริมการเรียนรูและปลูกฝงวิถีประชาธิปไตย ความสามคั คี สมานฉันท สันตวิ ธิ ี สงเสรมิ การอยรู วมกนั ในสังคมพหุวฒั นธรรม และตอ ตานการทุจริตคอรร ปั ชน่ั 6) โครงการพฒั นาสารสนเทศเพือ่ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นการสอน 7) โครงการอืน่ ๆ 2.1.4 ตวั ช้ีวัด 1) รอยละของสถานศึกษาอาชีวศึกษาที่จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่แสดงออกถึงความ จงรกั ภกั ดีและธํารงรักษาไวซึง่ สถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปน ประมุข 2) นักเรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทกุ คนผานการอบรมลูกเสือ เนตรนารี 3) รอยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อ สง เสริมการอยูรวมกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรม 4) รอยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพ่ือ สรางภมู คิ ุมกันหรือปองปรามการทุจรติ คอรรัปชั่น 2.2 กลยุทธที่ 2 พัฒนาระบบ กลไก และมาตรการท่ีเขมแข็งในการปองกันและแกไขการทะเลาะวิวาท การสรางความรุนแรง และภัยคุกคามรูปแบบใหมสําหรับผูเรียนอาชีวศึกษา โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และ ตวั ช้วี ดั ดังน้ี 2.2.1 เปา หมาย ผูเรียนอาชีวศกึ ษามคี วามรูและไดร บั การดูแลปองกันภยั คุกคามในชวี ติ รูปแบบใหม 2.2.2 แผนงาน

7 1) การสงเสริมกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยงโดยแนวทาง สันติวิธี เพอ่ื ใหมคี วามรู ความเขาใจ ทจี่ ะลดระดับความรุนแรงเมื่อเผชญิ กบั สถานการณแ ละปญหาความมนั่ คงรูปแบบตา ง ๆ 2) การเสรมิ สรางความรู ความเขา ใจทถ่ี กู ตอ งในการปอ งกันภยั คกุ คามรูปแบบใหม 3) การพัฒนาระบบ กลไกและมาตรการท่เี ขมแขง็ ในการปองกันและแกไขภยั คุกคามรูปแบบใหม 4) การพัฒนาระบบดูแลชวยเหลอื ผเู รียนอาชวี ศึกษา 2.2.3 โครงการ 1) โครงการการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสงเสริมการเรียนรูและปลูกฝงวิถีประชาธิปไตย ความสามคั คี สมานฉันท สันติวิธี สง เสริมการอยรู ว มกนั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม และตอ ตา นการทจุ ริตคอรร ัปชน่ั 2) โครงการสงเสริมการเรียนรูกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการ ความขัดแยง โดยแนวทางสันตวิ ธิ ี 3) โครงการอน่ื ๆ 2.2.4 ตัวชว้ี ัด 1) รอยละของสถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความ ขดั แยงโดยแนวทางสนั ติวธิ ี 2) รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนรู เพ่ือเสริมสรางความรู ความเขาใจ ท่ีถกู ตอ งในการปองกนั ภัยคกุ คามรูปแบบใหม 3) รอยละของสถานศึกษาที่มี ระบบ กลไก และมาตรการที่เขมแข็งในการปองกันและ แกไขภยั คกุ คามรปู แบบใหม 4) รอยละของสถานศึกษาทปี่ ลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 5) รอยละของสถานศึกษาทม่ี ีเหตุทะเลาะวิวาท 2.3 กลยุทธท่ี 3 ขับเคลื่อนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต โดยมีเปาหมาย แผนงานโครงการ และตัวชวี้ ดั ดังนี้ 2.3.1 เปา หมาย ผูเรียนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับการศึกษาและ เรียนรูอ ยา งมคี ณุ ภาพ 2.3.2 แผนงาน 1) การสรางและขยายโอกาสการศึกษาดานอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จงั หวัดชายแดนภาคใต 2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาดานอาชีวศึกษาเพ่ือสงเสริมสนับสนุน การจดั การอาชีวศกึ ษาสําหรับคนทกุ ชวงวยั ในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต

8 3) การสงเสริมใหสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต จดั การเรียนการสอน โดยบรู ณาการหลกั สตู รใหสอดคลองกบั สงั คมและวฒั นธรรม 4) การเสริมสรางขวัญและกําลังใจใหครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติหนาที่ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต 2.3.3 โครงการ 1) โครงการสรา งจิตสาํ นกั ความรักสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย 2) โครงการสงเสริมประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา 3) โครงการพัฒนาการอาชวี ศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต 4) โครงการเงินอุดหนุนคาใชจายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชน ในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต 5) โครงการเงินอุดหนุนสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนในพื้นท่ี เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต 6) โครงการพฒั นาการศกึ ษาในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต 7) โครงการเงินอุดหนุนนักเรียนเรียนดีมีความสามารถในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จงั หวัดชายแดนภาคใต 8) โครงการการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสงเสริมการเรียนรูและปลูกฝงวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท สนั ติวธิ ี สงเสริมการอยูรว มกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม และตอ ตานการทุจริตคอรรปั ชั่น 9) โครงการอน่ื ๆ 2.3.4 ตวั ชว้ี ดั 1) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตที่มีการพัฒนา หลกั สูตรฐานสมรรถนะอาชีพทส่ี อดคลองกบั สงั คมและวัฒนธรรม 2) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตที่มีการจัดการ อาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพที่ครอบคลุมคนทุกชวงวัยสอดคลองกับภูมิสังคม อัตลักษณ และความตองการของ ชุมชน 3) รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตท่ีไดรับ การพัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะอาชพี มีงานทาํ หรือประกอบอาชีพอสิ ระ 4) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตท่ีมี ความรวมมอื กบั ทกุ ภาคสวนในการจดั การอาชวี ศกึ ษาและฝก อบรมวิชาชีพ 5) สถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีระบบเงินเดือน คา ตอบแทนพิเศษ เพื่อสรางแรงจงู ใจในการปฏิบตั งิ าน

9 2.4 กลยุทธที่ 4 ขับเคล่ือนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และ ตัวชว้ี ดั ดงั นี้ 2.4.1 เปาหมาย ผเู รียนอาชีวศกึ ษาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไดร ับการศึกษาและเรียนรูอยา งมีคุณภาพ 2.4.2 แผนงาน 1) การจัดทําฐานขอมูลความตองการการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะอาชีพใหสอดคลองกบั ความตอ งการกําลังคนอาชีวศึกษา ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 3) การสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการจัดการอาชีวศึกษาศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพของ คนทุกชวงวัยใหส อดคลองกับภูมสิ งั คม อัตลักษณ และความตอ งการของชุมชน 4) การสรางความรว มมือกับทุกภาคสว นในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษในการจดั การอาชีวศึกษา 2.4.3 โครงการ 1) โครงการจัดทําฐานขอมูลความตองการการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) โครงการสรางความรวมมือกับทุกภาคสวนในการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 3) โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพใหสอดคลองกับความตองการกําลังคน อาชวี ศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 4) โครงการอื่น ๆ 2.4.4 ตัวชวี้ ัด 1) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ อาชีพท่สี อดคลองกับสงั คมและวฒั นธรรม 2) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีมีการจัดการอาชีวศึกษาและ ฝกอบรมวชิ าชพี ท่ีครอบคลุมคนทกุ ชวงวัยสอดคลอ งกบั ภมู ิสังคม อัตลักษณ และความตองการของชุมชน 3) รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ ตามสมรรถนะอาชพี มงี านทาํ หรือประกอบอาชีพอิสระ 4) รอยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีมีความรวมมือกับทุกภาคสวน ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาและฝก อบรมวชิ าชพี

10 2.5 กลยุทธที่ 5 ขับเคลื่อนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ช้วี ัด ดงั นี้ 2.5.1 เปาหมาย ผูเ รยี นอาชวี ศกึ ษาพฒั นาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ไดรบั การศกึ ษาและเรยี นรูอยางมีคุณภาพ 2.5.2 แผนงาน 1) การจัดทําฐานขอมูลความตองการการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนา พเิ ศษภาคตะวนั ออก 2) การสรางระบบสนับสนุนท่มี ีความยดื หยุน สูงเชิงบริหารจดั การและวชิ าการ 3) การสง เสรมิ โอกาสในการเขาถึงองคความรูดานวิชาชีพ 4) การสรา งความรวมมอื กบั ทุกภาคสวนในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกในการจัดการอาชวี ศึกษา 2.5.3 โครงการ 1) โครงการจัดทําฐานขอมูลความตองการการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา ในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 2) โครงการสรางความรวมมือกับทุกภาคสวนในการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา ในเขตเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก 3) โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพใหสอดคลองกับความตองการกําลังคน อาชีวศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก 4) โครงการเตรยี มความพรอ มดานอาชีพใหก บั คนในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก 5) โครงการพัฒนาระบบสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและวชิ าการ 6) โครงการอนื่ ๆ 2.5.4 ตวั ชว้ี ดั 1) รอ ยละของผูสําเร็จการศกึ ษาในกลุม สาขา ปาหมาย มีงานทําหลงั จบการศึกษา 2) ระดบั ความพึงพอใจของภาคผูใชท ่มี ตี อสมรรถนะของผูส ําเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษา

11 ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลติ และพัฒนากําลงั คนดา นการอาชีวศึกษาเพอ่ื สรา งขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 1. วัตถปุ ระสงค 1.1 เพ่ือผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะตรงกับความตองการของตลาดแรงงานและการ พฒั นาประเทศ 1.2 เพื่อยกระดบั คณุ วุฒกิ ารศกึ ษาและวิชาชีพของผเู รยี นอาชวี ศกึ ษา 1.3 เพ่อื พัฒนาทกั ษะฝม อื ความเชยี่ วชาญและเปน เลิศเฉพาะทาง 1.4 เพอ่ื พฒั นางานวิจัย ส่งิ ประดษิ ฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคค วามรูดานอาชีวศกึ ษา 2. กลยทุ ธ ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศมจี าํ นวน 3 กลยุทธ ดงั นี้ 2.1 กลยุทธที่ 1 ผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการของ ภาคผูใช และการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคมของประเทศ โดยมเี ปาหมาย แผนงาน โครงการ และตัวชว้ี ดั ดงั นี้ 2.1.1 เปา หมาย กาํ ลังคนอาชวี ศกึ ษามีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ 2.1.2 แผนงาน 1) การจดั ทาํ ฐานขอ มูลการผลติ และความตอ งการกําลังคนอาชวี ศกึ ษา 2) การสง เสริมภาพลกั ษณแ ละปรบั คา นิยมของผูเรยี นดา นอาชวี ศึกษา 3) การจัดทําแผนการผลิตและพัฒนากําลังคนกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายใหมีสมรรถนะ ทไ่ี ดม าตรฐาน ตรงตามความตองการของภาคผูใ ช 4) การเพิ่มปริมาณผูเรียนอาชีวศึกษาใหมีสัดสวนที่สอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศดว ยวธิ ีทหี่ ลากหลาย 5) การสงเสริมกระบวนการเรียนรูเชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ (อาทิ สะเต็มศึกษา ทวิศกึ ษา ทวภิ าคี ทวิวุฒ)ิ เพือ่ พัฒนากระบวนการคิด และการสรางสรรคน วตั กรรม 6) การพัฒนาระบบการแนะแนวดานอาชีวศึกษา เพ่ือสรางทางเลือกการตัดสินใจศึกษาดาน อาชวี ศึกษา และประกอบอาชีพในสาขาทต่ี นถนัดและสนใจ 7) การเพิ่มประสิทธิภ าพการเรียนการส อนภ าษาอังกฤษเพื่อยกระดับทักษะ การใชภาษาอังกฤษของผูเรียนอาชวี ศึกษา 8) การสงเสริมทักษะและสมรรถนะของผูเรียนอาชีวศึกษาและกําลังแรงงาน โดยเนนการลงมือปฏิบัตจิ รงิ อยางครบวงจร การทาํ งานรวมกัน และการฝกปฏิบตั ใิ นสถานการณจริง

12 9) การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของผูเรียนอาชีวศึกษา ท้ังการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และระบบทวิภาคี 10) การพัฒนาระบบการทดสอบ วัดและประเมินผลการเรียนรูตามมาตรฐานหลักสูตร การอาชีวศึกษา ระบบการเทียบโอนความรูและประสบการณวิชาชีพ เพ่ือยกระดับคุณวุฒิการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิ แหงชาติ 2.1.3 โครงการ 1) โครงการสานพลังประชารฐั เพ่ือการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาตามความตองการ ของตลาดแรงงานและประเทศ 2) โครงการผลติ และพฒั นากําลงั คนอาชีวศึกษาใหตรงกับความตองการของตลาดงานในกลุม อตุ สาหกรรมเปา หมาย 3) โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษารูปแบบอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและ ทวิศึกษา 4) โครงการยกระดบั ทกั ษะการใชภาษาอังกฤษของผูเ รียนอาชวี ศกึ ษา 5 โครงการพัฒนากําลงั คนอาชีวศึกษาใหมีทักษะพ้นื ฐานที่จําเปน ในโลกศตวรรษที่ 21 6) โครงการขับเคลอ่ื นกรอบคุณวฒุ แิ หงชาตสิ ูก ารปฏิบตั ิ 7) โครงการเทยี บเคยี งกรอบคุณวุฒิแหงชาตกิ ับกรอบคณุ วฒุ อิ างองิ อาเซยี น 8) โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดการศึกษาดานอาชีพของสถานศึกษาและสถาน ประกอบการ 9) โครงการสงเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิผูเรียนดวยคุณภาพและ มาตรฐานใหมสี มรรถนะและความพรอมเพ่ือเขาสูตลาดแรงงาน 10) โครงการเงินอดุ หนุนการศกึ ษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 11) โครงการความรวมมือผลิตกําลังคนดานอาชีวศึกษาตอบสนองภาคการผลิตและบริการ ใน 10 อตุ สาหกรรมหลัก เพือ่ เปน กลไกขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจประเทศเพ่อื อนาคต 12) โครงการสานประชารัฐดา นยกระดับคุณภาพวิชาชีพ E๒ 13) โครงการสง เสริมการประกอบอาชีพอสิ ระในกลมุ ผูเรยี นอาชวี ศึกษา 14) โครงการเงินอุดหนนุ การหารายไดร ะหวางเรียนของนกั เรยี นนักศึกษาท่ยี ากจน 15) โครงการเงินทุนเสริมสรา งประสบการณอาชวี ศึกษาและสรางรายไดระหวางเรียน 16) โครงการสงเสริมการปฏิรปู อาชีวศึกษาเพื่อเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ผิ ูเรียนดวยคุณภาพและมาตรฐาน ใหมสี มรรถนะและความพรอมเพื่อเขาสตู ลาดแรงงาน

13 17) โครงการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพอาชีวศึกษาแบบออนไลนสู มาตรฐานสากล 18) โครงการสงเสริมการปฏิรปู อาชีวศกึ ษาเพ่อื เพ่มิ ผลสมั ฤทธ์ผิ เู รียนดวยคุณภาพและมาตรฐาน ใหมสี มรรถนะและความพรอ มเพ่อื เขา สตู ลาดแรงงาน 19) โครงการยกระดบั มาตรฐานกําลังคนอาชวี ศึกษาและเทคโนโลยีระดับปฏิบัติการ 20) โครงการพัฒนาศกั ยภาพสรางความเขมแข็งใหก ับสถาบนั การอาชีวศกึ ษา 21) โครงการเงินอดุ หนุนทนุ การศกึ ษาตอระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัติการ 22) โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม 23) โครงการเสรมิ สรา งคุณธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 24) โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อปอ งกันและปราบปรามทจุ ริตใหเขม แข็งและมีประสิทธภิ าพ 25) โครงการสงเสริมกจิ กรรมการปอ งกันการทุจริต 26) โครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนกั เรียนนักศึกษา 27) โครงการอาชีวะพัฒนา 28) โครงการพฒั นารปู แบบและยกระดบั คุณภาพศูนยซ อมสรางเพ่ือชุมชน 29) โครงการกิจกรรมองคก ารวชิ าชพี ความคิดสรางสรรคอ าํ นวยการและอาชีพเฉพาะทาง 30) โครงการองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทยในพระราชูปภัมภ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี 31) โครงการองคก ารนกั วชิ าชพี ในอนาคตแหงประเทศไทย 32) โครงการสงเสรมิ ทักษะวชิ าชพี เพอื่ เปนมืออาชีพและความเปนเลิศนักศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อ สรางทนุ ปญ ญาชาติ 33) โครงการอ่นื ๆ 2.1.4 ตัวชีว้ ดั 1) รอ ยละของสถานศึกษามีฐานขอมูลการผลติ และความตอ งการกาํ ลังคนอาชีวศึกษา 2) สดั สวนของผเู รยี นอาชวี ศกึ ษาเพมิ่ ข้นึ เม่อื เทียบกบั ผเู รยี นสามญั ศึกษา 3) รอ ยละของผูเ รียนอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 4) รอ ยละของผเู รยี นอาชวี ศึกษาที่ไดรับเงินกูย มื เพื่อการศึกษา 5) รอยละของผูสําเร็จอาชีวศึกษาท่ีมีสรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและ การพฒั นาประเทศ 6) ระดับความสามารถการใชภาษาอังกฤษของผูสําเร็จอาชีวศึกษาตามมาตรฐาน ความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR)

14 กาํ ลงั คน 7) จาํ นวนผูสาํ เร็จอาชวี ศกึ ษาในสาขากลมุ อุตสาหกรรมเปาหมายตรงตามขอมูลความตองการ ระยะเวลา 1 ป 8) อัตราการมีงานทํา ประกอบอาชีพอิสระของผูสําเร็จอาชีวศึกษา (ไมนับศึกษาตอ) ภายใน 9) รอยละของผูสําเร็จอาชวี ศึกษาที่ผา นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานอาชพี 2.2 กลยุทธท่ี 2 สงเสริมการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปน เลิศเฉพาะทาง โดยมเี ปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชวี้ ดั ดงั นี้ 2.1.1 เปา หมาย การผลิตและพฒั นากาํ ลงั คนดา นการอาชวี ศกึ ษาที่มีความเชยี่ วชาญและเปน เลศิ เฉพาะทาง 2.1.2 แผนงาน 1) การสง เสรมิ และพัฒนาการอาชวี ศกึ ษาใหผลิตและพัฒนากําลังคนตามความเชี่ยวชาญและ ความเปนเลศิ เฉพาะทาง ท่ีมีคณุ ภาพมาตรฐานระดบั สากล 2) การสงเสริมการขับเคลื่อนระบบคุณวุฒิ มาตรฐานอาชีพสูการปฏิบัติ เพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถในการแขงขันของประเทศ 3) การสงเสริมสนับสนุนผูเรียนอาชีวศึกษาท่ีมีความสามารถพิเศษใหไดรับการพัฒนา อยา งตอเนื่อง สอดคลอ งกับทิศทางการพัฒนาประเทศ 4) การปรบั ระบบการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาใหมีความยดื หยุนและเช่ียมโยงกับระบบการศึกษาอ่นื ๆ ได 5) การพัฒนามาตรฐานหลักสูตรวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแหงชาติ (NQF) มาตรฐานอาชีพ วชิ าชพี ท่ีสอดคลอ งกับตลาดงานและยุทธศาสตรป ระเทศไทย 4.0 6) การสงเสริมใหมีการประเมินสมรรถนะผูเรียนอาชีวศึกษาตามกรอบคุณวุฒิแหงชาติ และ การเทยี บเคียงกบั กรอบคุณวฒุ อิ างอิงอาเซยี นหรือประเทศตาง ๆ ในการยกระดับฝม ือผเู รยี นอาชีวศึกษาสรู ะดับสากล 7) พฒั นาครฝู กในสถานประกอบการ 8) พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขาท่ีตรงกับความตองการของตลาดแรงงานและ การพฒั นาประเทศ 2.1.3 โครงการ 1) โครงการขับเคลื่อนกรอบคณุ วุฒแิ หง ชาตสิ กู ารปฏิบัติ 2) โครงการเทยี บเคยี งกรอบคุณวุฒิแหงชาตกิ ับกรอบคณุ วฒุ อิ างอิงอาเซยี น 3) โครงการพฒั นาความรว มมอื อาชีวศึกษาสูมาตรฐานนานาชาติ 4) โครงการยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือเปนศูนยกลางดานอาชีวศึกษาของภูมิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต 5) โครงการความรวมมอื กับสถาบนั คีนัน บริทิชเคานซิล และ สสวท.

15 6) โครงการเสริมสรางนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐคนรุนใหมและ หนุ ยนตอ าชวี ศึกษา 7) โครงการวจิ ัยประยกุ ตเพอื่ สรา งองคความรแู ละนวตั กรรม 8) โครงการสงเสรมิ งานวิจัยพฒั นานโยบายและวจิ ยั องคความรแู ละนวตั กรรม 9) โครงการวจิ ยั และพัฒนาอาชีวศกึ ษาเพอ่ื สรา งองคความรูและนวตั กรรม 10) โครงการวิทยาลยั เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร 11) โครงการสงเสรมิ สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาใหมีความเปน เลิศเฉพาะทาง 12) โครงการอาชีวศึกษามาตรฐานสากล 13) โครงการความรว มมอื ในการฝก งานนกั เรยี นนักศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาในตา งประเทศ 14) โครงการความรว มมอื กับตา งประเทศเพอ่ื พฒั นาอาชีวศึกษาไทยของประเทศ 15) โครงการสง เสรมิ การปฏริ ูปอาชีวศึกษาเพ่อื เพม่ิ ผลสัมฤทธ์ผิ เู รยี นดวยคุณภาพและมาตรฐาน ใหม สี มรรถนะและความพรอมเพอ่ื เขาสูตลาดแรงงาน 16) โครงการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพอาชีวศึกษาแบบออนไลน สมู าตรฐานสากล 17) โครงการสง เสริมการปฏิรปู อาชีวศกึ ษาเพอื่ เพม่ิ ผลสัมฤทธิ์ผูเรยี นดวยคุณภาพและมาตรฐาน ใหมีสมรรถนะและความพรอมเพื่อเขาสตู ลาดแรงงาน 18) โครงการพัฒนาความรว มมอื อาชวี ศึกษาสมู าตรฐานนานาชาติ 19) โครงการยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อเปนศูนยกลางดานอาชีวศึกษาของภูมิภาค เอเซียตะวนั ออกเฉียงใต 20) โครงการอาชวี ศึกษามาตรฐานสากล 21) โครงการอนื่ ๆ 2.1.4 ตวั ชวี้ ดั 1) รอ ยละของสถานศกึ ษาที่ผลติ และพฒั นากําลงั คนใหมีความเช่ยี วชาญและเปนเลิศเฉพาะทาง 2) จํานวนหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขาที่ตรงกับความตองการของตลาดแรงงานและ การพัฒนาประเทศ 3) รอ ยละของสถานศึกษาทีจ่ ดั การศึกษาเนน ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยแี ละการวิจัย 4) รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรูแบบบูรณาการองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณติ ศาสตร หรือสะเตม็ ศึกษา 5) จํานวนสถานศกึ ษาท่ใี ชชุมชนเปน แหลง เรยี นรทู างวชิ าชพี 6) รอ ยละของครูอาชวี ศึกษาผานการประเมนิ สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ

16 7) จํานวนของภาคีเครือขายความรวมมือระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวชิ าชีพทีจ่ ัดการอาชวี ศกึ ษารวมกบั สถานศกึ ษา เพอื่ พัฒนากาํ ลังคนตามความตอ งการของตลาดแรงงาน 2.3 กลยุทธที่ 3 สงเสริมการวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชีวศึกษา เพือ่ เพ่มิ ผลผลิตและมูลคาทางเศรษฐกจิ โดยมีเปา หมาย แผนงาน โครงการ และตวั ช้ีวดั ดังน้ี 2.1.1 เปาหมาย การวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชีวศึกษา เพ่ือเพ่ิมผลผลิต และมลู คาทางเศรษฐกจิ 2.1.2 แผนงาน 1) การสงเสริมการวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานอาชีวศึกษา เพือ่ เพ่มิ ผลผลิตและมลู คาทางเศรษฐกิจ 2) การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาการวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ องคค วามรอู าชวี ศกึ ษา 2.1.3 โครงการ 1) โครงการความรวมมือกับสถาบนั คนี ัน บริทชิ เคานซ ิล และ สสวท. 2) โครงการเสริมสรางนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐคนรุนใหมและหุนยนต อาชีวศึกษา 3) โครงการวิจยั ประยกุ ตเ พอื่ สรางองคความรแู ละนวตั กรรม 4) โครงการสง เสรมิ งานวิจัยพัฒนานโยบายและวิจยั องคความรแู ละนวตั กรรม 5) โครงการวิจยั และพัฒนาอาชีวศกึ ษาเพ่อื สรางองคค วามรแู ละนวตั กรรม 6) โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร 7) โครงการสงเสริมสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาใหม คี วามเปน เลิศเฉพาะทาง 8) โครงการอาชวี ศกึ ษามาตรฐานสากล 9) โครงการความรวมมือในการฝกงานนักเรยี นนักศกึ ษาอาชีวศึกษาในตา งประเทศ 10) โครงการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพอาชีวศึกษาแบบออนไลน สูมาตรฐานสากล 11) โครงการอ่ืน ๆ 2.1.4 ตัวชีว้ ัด 1) จํานวนโครงการ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรู ที่นําไปใช ประโยชนในการพฒั นาชมุ ชนและสังคม 2) จํานวนบุคลากรอาชีวศึกษาดานการวิจยั และพฒั นา 3) จํานวนนวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ ที่ไดร บั การจดสิทธิบตั ร

17 4) จาํ นวนผลงานวจิ ัยท่ไี ดรบั การตีพมิ พใ นระดบั ชาติหรอื นานาชาติ ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความตองการในการ พฒั นาประเทศ 1. วัตถุประสงค 1.1 เพ่ือพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป สมรรถนะวชิ าชีพ สอดคลองกับความตอ งการในการพฒั นาประเทศไทย 4.0 1.2 เพอื่ พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหมศี ักยภาพในการพัฒนากําลังคนดา นการอาชีวศกึ ษา 1.3 เพ่อื พฒั นาหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษาทหี่ ลากหลายตามความตองการในการพัฒนาประเทศ 1.4 เพื่อพัฒนาความรวมมือในการเพ่ิมศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป สมรรถนะวชิ าชพี สอดคลองกับความตอ งการในการพฒั นาประเทศ 2. กลยทุ ธ ยุทธศาสตรการพัฒนาศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความตองการในการ พฒั นาประเทศ มีจาํ นวน 4 กลยุทธ ดังนี้ 2.1 กลยุทธที่ 1 สงเสริม สนับสนุนใหมีการพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพอยางเต็มศักยภาพโดย มีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และ ตัวชี้วัด ดงั น้ี 2.1.1 เปา หมาย กาํ ลงั คนดานการอาชีวศกึ ษามคี ุณลักษณะทพี่ ึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป และ สมรรถนะวชิ าชีพ สอดคลองกับความตองการในการพฒั นาประเทศ สปู ระเทศไทย 4.0 2.1.2 แผนงาน 1) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค สมรรถนะหลัก และสมรรถนะทวั่ ไป และสมรรถนะวชิ าชพี ตามศักยภาพของกาํ ลงั คนอาชวี ศกึ ษา 2) การสง เสรมิ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูดว ยวิธีท่ีหลากหลาย 3) การพฒั นาแหลงเรียนรูดา นอาชวี ศกึ ษาทั้งเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ 4) การสรา งเครอื ขายความรวมมอื ในการพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษา 2.1.3 โครงการ 1) โครงการฝกอบรม Online TEPE 2) โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพนวัตกรรมการสอนของครอู าชวี ศึกษา 3) โครงการพัฒนาครูฝก ในสถานประกอบการ 4) โครงการพฒั นาความสามารถทางภาษา ECHO English และทักษะในศตวรรษที่ 21

18 5) โครงการพฒั นาสถานศึกษาเฉพาะทาง (ไทยแลนด 4.0 S-Curve และ New S-Curve) 6) โครงการพัฒนาอาชวี ศกึ ษาสูมาตรฐานสากล 7) โครงการสรา งความยดื หยนุ ระบบอาชีวศกึ ษา พฒั นาระบบเทยี บโอนประสบการณ 8) โครงการเพมิ่ ขีดความสามารถในการวิจัยและนวัตกรรมตามนโยบายไทยแลนด 4.0 9) โครงการขึน้ ทะเบยี นครูเจาของอาชพี ครภู มู ิปญญา (เชอ่ื มโยงแกป ญหาความขาดแคลนครู) 10) โครงการสรางการมีสวนรวมจัดอาชีวศึกษา (สานพลังประชารัฐ/กรอ.อศ./อ.กรอ.อศ./ สถานประกอบการและหนวยงาน) 11) โครงการพฒั นาสถานศกึ ษาภายใตโ ครงการเงินกูจ ากรัฐบาลญี่ปุน 12) โครงการอื่นๆ 2.1.4 ตวั ช้วี ัด 1) รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค สมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชพี 2) ระดบั ความพึงพอใจของภาคผใู ชท่ีมีตอผสู ําเร็จการศกึ ษาอาชวี ศึกษา 2.2 กลยุทธที่ 2 สงเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีศักยภาพ โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตัวช้วี ดั ดังนี้ 2.2.1 เปา หมาย ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษามีศกั ยภาพในการพฒั นากาํ ลังคนดา นอาชีวศกึ ษา 2.2.2 แผนงาน 1) การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษาอยา งตอเน่ือง 2) การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา อาชีวศกึ ษา 3) การจัดหาสอื่ อปุ กรณและแหลง เรียนรูท ท่ี นั สมยั สนับสนุนการจัดการเรียนรู 4) การสนับสนุนชมรมครูวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพใหมีบทบาทในการพัฒนาครู และ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอาชีวศึกษา 2.2.3 โครงการ 1) โครงการผลิตพัฒนาเสรมิ สรางคุณภาพชีวิตครคู ณาจารยและบุคลากรทางการศกึ ษา 2) โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการอาชวี ศกึ ษาเอกชน (พัฒนาครู) 3) โครงการประเมินสมรรถนะครเู พือ่ การพัฒนา 4) โครงการฝก อบรม Online TEPE 5) โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพนวตั กรรมการสอนของครอู าชีวศึกษา 6) โครงการพัฒนาครูฝกในสถานประกอบการ

19 7) โครงการพฒั นาความสามารถทางภาษา ECHO English และทักษะในศตวรรษท่ี 21 8) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการวจิ ัยและนวัตกรรมตามนโยบายไทยแลนด 4.0 9) โครงการพฒั นาอาชวี ศึกษาสมู าตรฐานสากล 10) โครงการพัฒนาชมรมครูวิชาชีพกบั สมาคมวชิ าชพี สูมาตรฐานสากล 11) โครงการอ่นื ๆ 2.2.4 ตัวชว้ี ดั 1) รอ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษาที่ไดรับการพฒั นาศักยภาพ 2) รอ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอาชีวศกึ ษาท่ีมศี กั ยภาพระดับสูง 3) ระดับความพงึ พอใจของผเู รยี นอาชวี ศึกษาท่ีมีตอ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษา 2.3 กลยุทธท่ี 3 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาท่ีตรงกับความตองการในการพัฒนาประเทศ โดยมี เปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชี้วัด ดังนี้ 2.3.1 เปา หมาย หลักสูตรอาชีวศึกษามีการพัฒนาเพิ่มข้ึนอยางหลากหลายตามความตองการในการพัฒนา ประเทศ 2.3.2 แผนงาน 1) การสนบั สนุนการพฒั นาหลกั สูตรอาชีวศึกษาที่ตรงกับความตอ งการในการพฒั นาประเทศ 2) การจัดสรรทรพั ยากรสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูต ามหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษาทีไ่ ดรบั การพัฒนา 3) การประเมินและพฒั นาศกั ยภาพผูสําเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตรอาชีวศกึ ษาที่ไดรบั การพัฒนา 2.3.3 โครงการ 1) โครงการพัฒนาหลกั สูตรอาชีวศกึ ษาตามความตอ งการในการพัฒนาประเทศ 2) โครงการเพิม่ ขีดความสามารถในการวจิ ัยและนวัตกรรมตามนโยบายไทยแลนด 4.0 3) โครงการพฒั นาสถานศกึ ษาเฉพาะทาง (ไทยแลนด 4.0 S-Curve และ New S-Curve) 4) โครงการพฒั นาอาชีวศึกษาสมู าตรฐานสากล 5) โครงการพัฒนาความสามารถทางภาษา ECHO English และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 6) โครงการพัฒนาสถานศึกษาภายใตโ ครงการเงินกจู ากรัฐบาลญีป่ ุน 7) โครงการอื่นๆ 2.3.4 ตวั ชีว้ ัด 1) จาํ นวนหลักสูตรทไ่ี ดร ับการพัฒนา 2) จาํ นวนผูสําเร็จการศกึ ษาตามหลักสตู รทีไ่ ดร ับการพฒั นา 3) ระดับความพงึ พอใจของผสู ําเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาท่มี ตี อหลกั สูตรท่ีไดรับการพฒั นา

20 2.4 กลยุทธท ่ี 4 สงเสรมิ การพัฒนาความรว มมือในการเพิ่มศักยภาพกาํ ลังคนดานอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนา ประเทศ โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชีว้ ัด ดงั น้ี 2.4.1 เปาหมาย พัฒนาความรว มมอื กับทกุ ภาคสว น เพ่อื เพม่ิ ศักยภาพกําลงั คนดานอาชีวศึกษาใหมีคุณลักษณะท่ี พึงประสงค สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนา ประเทศ 2.4.2 แผนงาน 1) การสรางความรวมมือกับทุกภาคสวนในประเทศในการเพ่ิมศักยภาพกําลังคนดาน อาชีวศึกษา 2) การสรา งความรวมมอื กับตางประเทศในการเพม่ิ ศกั ยภาพกําลังคนดานอาชีวศึกษา 3) การสรางความรวมมือกับองคกรท้ังในประเทศและตางประเทศในการพัฒนาศักยภาพ กําลงั คนดานอาชวี ศึกษาเฉพาะทาง 2.4.3 โครงการ 1) โครงการพฒั นาครูฝก ในสถานประกอบการ 2) โครงการสรางการมีสวนรวมจัดอาชีวศึกษา (สานพลังประชารัฐ/กรอ.อศ./อ.กรอ.อศ./ สถานประกอบการและหนว ยงาน) 3) โครงการพัฒนาสถานศกึ ษาภายใตโครงการเงินกูจ ากรฐั บาลญี่ปุน 4) โครงการอืน่ ๆ 2.4.4 ตวั ชวี้ ัด 1) จํานวนสถานประกอบการทร่ี วมมอื ในการพฒั นาศักยภาพกําลงั คนดานอาชีวศึกษา 2) จาํ นวนโครงการความรวมมือท้ังในและตางประเทศ 3) ระดับความพึงพอใจในการพัฒนาความรวมมือการพัฒนาศักยภาพกาํ ลังคนดา นการอาชวี ศกึ ษา ยทุ ธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมในดา นการอาชวี ศึกษา 1. วตั ถุประสงค 1.1 เพ่ือเพ่ิมโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในการเขาถึงบริการทางการศึกษาดานอาชีวศึกษา ตอบสนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 1.2 เพ่อื ใหผูเรยี นทกุ คน ทุกกลมุ ทุกพ้นื ที่ และทกุ ระดับการศึกษาไดรับการศึกษาดานอาชีวศึกษาในรูปแบบ ที่เหมาะสมตามศกั ยภาพในสถานศึกษาทีม่ ีมาตรฐานและคุณภาพทัดเทียมกัน

21 1.3 เพ่ือใหมีระบบฐานขอมูลกลางรายบุคคลของผูเรียนอาชีวศึกษาท่ีสามารถเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยน ฐานขอ มูลระหวางสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาและหนว ยงานทเ่ี กย่ี วของ 1.4 เพื่อใหมีระบบสารสนเทศทางการศึกษาดานอาชีวศึกษาที่ครอบคลุม ถูกตอง และเปนปจจุบัน ในการวางแผน การบรหิ ารจดั การ การติดตามและประเมนิ ผลอาชวี ศกึ ษา 2. กลยุทธ ยุทธศาสตรการสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มในดา นการอาชีวศกึ ษา มีจํานวน 2 กลยุทธ ดังน้ี 2.1 กลยุทธท่ี 1 เพิ่มโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในการศึกษาดานอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมเี ปา หมาย แผนงาน โครงการ และตัวชว้ี ัด ดังน้ี 2.1.1 เปาหมาย เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาดานอาชีวศึกษา ใหผูเรียนทุกคน ทุกกลุม ทุกพ้ืนที่ และทุกระดับ การศกึ ษาไดร บั บรกิ ารทางการศกึ ษาดา นอาชีวศึกษาอยา งมคี ุณภาพ 2.1.2 แผนงาน 1) การสรางโอกาสการเขารับบริการการศึกษาดานอาชีวศึกษาครอบคลุมผูเรียน ทุกกลุม เปา หมาย 2) การพฒั นาสถานศึกษาใหมีมาตรฐานการจัดการศึกษาอาชีวศกึ ษาที่ทดั เทียมหรือใกลเ คียงกัน 3) การพัฒนาหลักสตู รที่หลากหลายรองรบั ผเู รียนทกุ กลมุ เปา หมาย 4) การจัดสรรอตั รากําลังครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอยา งเพยี งพอท้ังปริมาณและคุณภาพ 5) การ พัฒ น าส่ือ การ เรีย นกา รส อ นแล ะจัด หาค รุภัณ ฑกา รศึก ษาที่ เหม าะส ม ทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพ 6) การสรางความรว มมอื การจัดการศึกษาอาชีวศกึ ษากับทุกภาคสวน 2.1.3 โครงการ 1) โครงการพัฒนาระบบแนะแนวอาชีพท่ีมีประสิทธิภาพรวมกับสํานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และสถานประกอบการ 2) โครงการสรา งคานิยมในการเรียนการอาชีวศกึ ษา 3) โครงการ อศกช. 4) โครงการ ทวศิ ึกษา 5) โครงการอาชีวศกึ ษามัธยมตอนตน (ปตอ.) 6) โครงการวิชาชพี แกนมธั ยมศกึ ษา 7) โครงการอาชีวศกึ ษาสาํ หรบั ผอู อกนอกระบบการศึกษา

22 8) โครงการฝก อบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นสําหรับวัยแรงงาน กลุมผูสูงอายุกลุมเปาหมาย พิเศษ สรางงาน สรางอาชพี ตอยอดอาชีพ 9) โครงการอาชวี ศกึ ษาสาํ หรับผมู ีความตองการพิเศษ 10) โครงการสง เสริมการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบเทยี บโอนความรแู ละประสบการณ 11) โครงการวิเคราะหค วามตอ งการอตั รากําลงั ครูและบุคลากรทางการศึกษา 12) โครงการพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอนรว มกับสถานประกอบการ 13) โครงการอืน่ ๆ 2.1.4 ตัวช้วี ดั 1) สัดสวนผูเขาเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปท่ี 1 (ปวช.1) เทียบกับนักเรียนท่ีสําเร็จ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน 2) รอ ยละของผเู ขาเรียนหลกั สตู รทวิศึกษา เทยี บกับนักเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3) รอยละของผเู ขา เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สูงชนั้ ปท ี่ 1 (ปวส.1) เทียบกับนักเรียน ที่สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.3) 4) อตั ราการเพ่ิมขน้ึ ของผเู รยี นระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร 5) จาํ นวนหลกั สูตรการฝก อบรมอาชพี ทไี่ ดรบั การพฒั นาสอดคลองกับความตองการของผูเรียน 6) จํานวนผูเรียนทีม่ คี วามจําเปนพเิ ศษทีไ่ ดร บั การศึกษาดานอาชวี ศึกษาหรอื ฝกอบรมวชิ าชีพ 7) จาํ นวนหลักสตู รและรูปแบบการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาท่ียืดหยุน หลากหลาย ทุกระดับ การศึกษา ทง้ั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ทีม่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน 8) มีระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาท่ีทันสมัยตอบสนองความตองของ ผเู รียนและผูใชอ ยางทว่ั ถึงและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.2 กลยุทธที่ 2 พัฒนาระบบฐานขอมูลและสารสนเทศดานการอาชีวศึกษาท่ีครอบคุลม ถูกตอง และเปน ปจจบุ ัน โดยมีเปา หมาย แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัด ดังนี้ 2.2.1 เปา หมาย ระบบฐานขอมูลรายบุคคลของผูเรียนอาชีวศึกษาที่ถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผน การบรหิ ารจดั การอาชวี ศึกษา การตดิ ตามและประเมนิ ผล 2.2.2 แผนงาน 1) การพัฒนาฐานขอมูลดานการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีมาตรฐานครอบคลุม ถูกตอง เปน ปจ จุบัน และมีความเปนเอกภาพ 2) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดานการอาชีวศึกษาที่ครอบคุลม ถูกตอง และ เปนปจจุบัน สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอ มูลกบั หนว ยงานอ่นื ทเี่ ก่ียวของ

23 2.2.3 โครงการ 1) โครงการพฒั นาระบบฐานขอ มลู ผูเ รยี นอาชีวศกึ ษา 2) โครงการจัดทําฐานขอ มลู รายบคุ คลของสถานศกึ ษา 3) โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศภายในสถานศกึ ษา 4) โครงการอ่ืนๆ 2.2.4 ตัวช้ีวัด 1) มีระบบฐานขอมูลรายบุคคลท่ีอางอิงจากเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก ที่สามารถ เช่ือมโยง และแลกเปล่ียนฐานขอมูล รวมท้ังใชประโยชนรวมกันระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและ หนว ยงานอน่ื 2) มีระบบสารสนเทศที่ครอบคลุม ถูกตอง และเปนปจจุบันเพ่ือใชประโยชนในการวาง แผนการบริหารจัดการศกึ ษาอาชวี ศึกษา การตดิ ตามและประเมนิ ผล 3) มีระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรู อาชวี ศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐาน สามารถใหบรกิ ารและใชประโยชนรวมกันระหวา งหนวยงานอ่นื ได 4) ระดับความพึงพอใจของบุคคลและหนวยงานในการเขาถึงและใชประโยชนจากฐานขอมูล และสารสนเทศทางการศึกษา ยุทธศาสตรที่ 5 การจดั การอาชวี ศกึ ษาเพ่ือสรา งเสริมคณุ ภาพชีวติ เปน มติ รกับสิ่งแวดลอม 1. วตั ถุประสงค 1.1 เพื่อสรางจิตสํานึก ปลูกฝงทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมของผูเรียนอาชีวศึกษาในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปน มิตรกับสง่ิ แวดลอม 1.2 เพ่ือสงเสริมคา นยิ มของผูเ รยี นอาชีวศกึ ษาใหสามารดํารงชวี ติ อยา งมีความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.3 เพอื่ วิจัยและพฒั นาองคค วามรใู นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตที่เปนมิตรกับส่งิ แวดลอม 1.4 เพ่ือสงเสรมิ ใหผ เู รียนอาชวี ศกึ ษานําองคค วามรูไปใชการพฒั นาคุณภาพชีวติ เปน มิตรกบั สิง่ แวดลอ ม 2. กลยุทธ ยทุ ธศาสตรการจัดการอาชวี ศกึ ษาเพอื่ สรางเสริมคณุ ภาพชวี ติ เปน มติ รกับสง่ิ แวดลอม มีจาํ นวน 3 กลยทุ ธ ดงั น้ี 2.1 กลยุทธท ่ี 1 พัฒนาผูเรียนอาชวี ศึกษา ใหม จี ิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนมิตร กับสง่ิ แวดลอม โดยมเี ปา หมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชว้ี ดั ดังน้ี 2.1.1 เปาหมาย ผเู รียนอาชีวศึกษา มีจติ สํานึก ทศั นคติ คา นยิ ม ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ เปน มติ รกบั สิ่งแวดลอม 2.1.2 แผนงาน

24 1) การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาในการสรางจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปน มิตรกับสง่ิ แวดลอ ม 2) การสงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรใหผูเรียนอาชีวศึกษา มจี ติ สาํ นกึ ทศั นคติ คานยิ มในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม 3) การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษา ใหมีสมรรถนะในการจัดการเรียน การสอนและจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรใหผูเรียนอาชีวศึกษาเกิดจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม 2.1.3 โครงการ 1) โครงการธนาคารขยะในสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา 2) โครงการปลูกจติ สาํ นึกรกั ษาทรัพยากรปาไม 3) โครงการอาชีวะตา นยาเสพตดิ 4) โครงการรณรงคปอ งกันและแกไขปญหายาเสพตดิ (To Be Number One) 5) โครงการสรางคา นยิ มอาชีวศกึ ษา 6) โครงการซอ มคอมพวิ เตอรโซลาเซลล 7) โครงการสถานศึกษาคณุ ธรรม 8) โครงการเสรมิ เสรางคณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา 9) โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการใชพ ลงั งาน 10) โครงการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษา ใหมีจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เปน มิตรกับส่งิ แวดลอม 1) โครงการอื่นๆ 2.1.4 ตัวชว้ี ัด 1) รอ ยละของสถานศกึ ษาท่ีจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรทีส่ รางจติ สํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการ พฒั นาคณุ ภาพชีวิต เปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอ ม 2) รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาที่ไดรับการปลูกฝงจิตสํานึก ทัศนคติ คานิยม ในการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ เปนมิตรกบั สิ่งแวดลอม 3) รอยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีไดรับการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม 4) รอยละของสถานศกึ ษาทด่ี ําเนนิ การตามโครงการสถานศกึ ษาคุณธรรม 2.2 กลยุทธท่ี 2 พัฒนาผูเรียนอาชีวศึกษาใหสามารถดํารงชีวิตอยางมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โดยมเี ปา หมาย แผนงาน โครงการ และตวั ช้ีวัด ดงั น้ี 2.2.1 เปา หมาย

25 ผเู รยี นอาชีวศกึ ษาสามารถดาํ รงชวี ติ อยา งมคี วามสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.2.2 แผนงาน 1) การสงเสริมการบริหารจัดการและจัดการการเรียนการสอนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง “สถานศึกษาพอเพยี ง” 2) การสงเสริมใหผูเรียนอาชีวศึกษาสามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน การดาํ รงชีวติ 3) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาใหสามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใชใ นการจัดการเรียนการสอนและการดํารงชีวิต 2.2.3 โครงการ 1) โครงการพฒั นาการอาชวี ศกึ ษาตามแนวพระราชดาํ ริ 2) โครงการสถานศึกษาตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 3) โครงการอนรุ ักษพ ันธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ 4) โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงดา นการศึกษา 5) โครงการอ่ืนๆ 2.2.4 ตัวชวี้ ดั 1) จาํ นวนสถานศึกษาที่บรหิ ารจัดการและจัดการการเรียนการสอนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง “สถานศึกษาพอเพยี ง” 2) รอ ยละของผเู รยี นอาชวี ศึกษาทีน่ ําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ นการดํารงชีวิต 3) รอ ยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ใชในการดํารงชวี ิต 2.3 กลยุทธที่ 3 พัฒนาการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เปนมติ รกับส่ิงแวดลอ ม โดยมเี ปาหมาย แผนงาน โครงการ และตัวชวี้ ัด ดังน้ี 2.3.1 เปา หมาย การวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เปนมิตรกับ ส่ิงแวดลอม 2.3.2 แผนงาน 1) การสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนาองคความรู และนวัตกรรมท่ีเก่ียวของกับการสรางเสริม คณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม 2) การแสวงหาความรวมมือกับหนวยงานภายนอกในการสนับสนุนดานการวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูท่ีเก่ยี วขอ งกบั การสรางเสริมคณุ ภาพชวี ิต เปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม

26 3) การสงเสริมการนําผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดาน การสรา งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิต เปน มิตรกับสง่ิ แวดลอ มไปใชประโยชน 2.3.3 โครงการ 1) โครงการเสรมิ สรางนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐของคนรุนใหมและหุนยนต อาชวี ศกึ ษา 2) โครงการวจิ ัยประยกุ ตเพอื่ สรา งองคความรแู ละนวตั กรรม 3) โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการใชพลงั งาน 4) โครงการสง เสรมิ การจดสทิ ธิบตั รและลิขสทิ ธิผ์ ลงานวิจยั ส่งิ ประดิษฐ นวตั กรรม 5) โครงการอ่ืนๆ 2.3.4 ตวั ชว้ี ดั 1) จํานวนงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูที่เก่ียวของกับการ สรา งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ เปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม 2) จํานวนผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูดานการสรางเสริม คุณภาพชวี ิต เปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอมไปใชประโยชน 3) จํานวนหนวยงานภายนอกที่รวมมือหรือสนับสนุนสถานศึกษาในการวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรทู ีเ่ กี่ยวขอ งกบั การสรา งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ เปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ ม ยทุ ธศาสตรที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษา 1. วตั ถุประสงค 1.1 เพื่อพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษาใหมปี ระสิทธภิ าพภายใตห ลักธรรมาภบิ าล 1.2 เพอื่ สรา งนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษาทส่ี อดคลองรองรบั กบั การพฒั นาประเทศ 1.3 เพ่อื สรา งเครือขายความรว มมอื ในการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา 1.4 เพื่อพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในการอาชีวศึกษาทุกระดบั การศึกษา 2. กลยุทธ ยทุ ธศาสตรก ารเพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษา มจี าํ นวน 4 กลยทุ ธ ดังน้ี 2.1 กลยทุ ธท ี่ 1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ท่ีมีประสิทธิภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตัวชี้วดั ดงั นี้ 2.1.1 เปาหมาย สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาหนว ยงานในสังกัดสถาบันอาชีวศึกษา และสถานศึกษา มีระบบการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษาที่มปี ระสิทธภิ าพภายใตหลกั ธรรมาภบิ าล

27 2.1.2 แผนงาน 1) การปรับปรุงแกไขกฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวของกับบทบาทและภารกิจของการจัดการ อาชวี ศึกษาทง้ั ในสวนกลาง สถาบนั การอาชวี ศึกษา และสถานศกึ ษา 2) การกําหนดมาตรการการบริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาตาม ประเภท ขนาด และสถานศึกษาทตี่ องการความชวยเหลอื และพฒั นาเปนพิเศษอยางเรงดวน 3) ก า ร ส ง เ ส ริ ม ใ ห ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ภ า ย ใ ต หลกั ธรรมาภบิ าล 4) การสงเสริมใหผ มู ีสวนไดสวนเสียมีสว นรวมในการจัดการอาชีวศึกษา 2.1.3 โครงการ 1) โครงการเสริมสรา งคณุ ธรรม และจริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 2) โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาดวยนวัตกรรมทางการบริหาร ท่ีสอดคลอ งกบั บริบทของสถานศึกษาและสภาพพน้ื ท่ี ชมุ ชน 3) โครงการปรับปรุง พัฒนา แกไขกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกบั การจัดการอาชีวศกึ ษา 4) โครงการปรับปรุงโครงสรางบริหารราชการสวนกลาง สถาบันการอาชีวศึกษา และ สถานศกึ ษา 5) โครงการจัดกลุมสถานศึกษาตามประเภท ขนาดสถานศึกษา และความเปนเลิศเฉพาะทาง ของสถานศกึ ษา 6) โครงการพัฒนารูปแบบการบริหารงบประมาณท่ีเหมาะสม สอดคลองกับบริบทของ สถานศกึ ษา 7) โครงการพัฒนาศักยภาพสรา งความเขมแข็งใหกับสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา 8) โครงการสรางเสริมคณุ ภาพสถานศึกษาขนาดเล็กใหไ ดม าตรฐานการอาชีวศกึ ษา 9) โครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ตองการความชวยเหลือและ พัฒนาพเิ ศษอยา งเรงดวน (ICU) 10) โครงการสานพลังประชารฐั ดานยกระดับคณุ ภาพวิชาชพี (E2) 11) โครงการขยายและยกระดับการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี 12) โครงการอื่นๆ 2.1.4 ตัวชว้ี ดั 1) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เอ้ือตอการบริหาร จดั การอาชวี ศกึ ษาอยา งมีประสทิ ธิภาพ ภายใตหลกั ธรรมาภบิ าล 2) สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีมาตรการทางการบริหารท่ีสงผลตอประสิทธิภาพ การบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา

28 3) รอยละของสถานศึกษาที่มีการบริหารจัดการสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพภายใต หลักธรรมาภิบาล 2.2 กลยทุ ธที่ 2 สงเสรมิ การสรา งนวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่สอดคลองรองรับกับการพัฒนา ประเทศ โดยมีเปา หมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชีว้ ัด ดังนี้ 2.2.1 เปาหมาย นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การอาชวี ศกึ ษาสอดคลอ งรองรบั กับการพัฒนาประเทศ 2.2.2 แผนงาน 1) พัฒนานวัตกรรมการบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษาทสี่ อดคลองรองรับกับการพัฒนาประเทศ 2) พัฒนานวตั กรรมดา นการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่สอดคลองรองรับกับการพัฒนา ประเทศ 2.2.3 โครงการ 1) โครงการพัฒนาศักยภาพสรางความเขม แขง็ ใหกับสถาบันการอาชวี ศึกษา 2) โครงการการพัฒนาและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษา ใหมีความ เปนเลิศเฉพาะทางสมู าตรฐานสากล 3) โครงการสรางเสริมคณุ ภาพสถานศึกษาขนาดเลก็ ใหไดม าตรฐานการอาชีวศึกษา 4) โครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ตองการความชวยเหลือและ พัฒนาพเิ ศษอยางเรงดวน (ICU) 5) โครงการความรวมมือผลิตกําลังคนดานอาชีวศึกษาตอบสนองภาคการผลิตและ บรกิ ารใน 10 อุตสาหกรรมหลกั เพ่ือเปน กลไกขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ประเทศเพื่ออนาคต 6) โครงการอื่นๆ 2.2.4 ตัวชว้ี ดั 1) จํานวนนวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษาท่ีสอดคลองรองรับกับการพฒั นาประเทศ 2) จํานวนนวัตกรรมดานการพัฒนาการเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่สอดคลองรองรับกับการ พัฒนาประเทศ 2.3 กลยุทธที่ 3 สงเสริมการสรางเครือขายความรวมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชว้ี ดั ดงั นี้ 2.3.1 เปาหมาย เครอื ขา ยความรวมมือในการบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษาสอดคลองกับภารกจิ ของสถานศึกษาและ ตอบสนองความตองการของประชาชนและพนื้ ท่ี 2.3.2 แผนงาน แสวงหาเครือขายความรว มมอื ในการบรหิ ารจดั การอาชีวศกึ ษา

29 2.3.3 โครงการ 1) โครงการพฒั นาศักยภาพสรางความเขม แข็งใหก ับสถาบันอาชีวศึกษา และสถานศึกษา 2) โครงการจดั การศึกษาเรียนรวมหลกั สตู รอาชีวศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศกึ ษา) 3) โครงการความรว มมือกบั ตางประเทศเพื่อพฒั นาอาชีวศกึ ษาของประเทศไทย 4) โครงการความรวมมือผลิตกําลังคนดานอาชีวศึกษาตอบสนองภาคการผลิตและบริการ ใน 10 อตุ สาหกรรมหลักเพื่อเปน กลไกขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ประเทศเพ่อื อนาคต 5) โครงการสานพลงั ประชารัฐดานยกระดับคุณภาพวชิ าชพี (E2) 6) โครงการขยายและยกระดับการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 7) โครงการอนื่ ๆ 2.3.4 ตวั ช้ีวัด จาํ นวนเครือขา ยความรว มมือในการบรหิ ารจดั การอาชีวศกึ ษา 2.4 กลยุทธท่ี 4 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยมีเปาหมาย แผนงาน โครงการ และตวั ชีว้ ัด ดงั นี้ 2.4.1 เปาหมาย สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน การอาชวี ศึกษาทกุ ระดบั 2.4.2 แผนงาน 1) การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษาท่ีสอดคลองกับ การเปลี่ยนแปลงและบริบทท่เี ปล่ยี นแปลงไป 2) การสง เสริมสนับสนนุ ใหสถานศกึ ษาพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 3) การสงเสรมิ ใหสถานศึกษาไดรับการยกระดับคุณภาพใหไดค ุณภาพตามมาตรฐาน 2.4.3 โครงการ 1) โครงการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพอาชีวศึกษาแบบออนไลน สมู าตรฐานสากล (APACC) 2) โครงการสง เสรมิ การปฏริ ูปอาชีวศึกษาเพื่อเพ่มิ ผลสมั ฤทธ์ผิ เู รียนดว ยคุณภาพและมาตรฐาน ใหมีสมรรถนะและความพรอมเพ่อื เขาสูตลาดแรงงาน 3) โครงการอื่นๆ 2.4.4 ตัวชว้ี ดั 1) รอ ยละของสถานศกึ ษาท่มี ผี ลการประเมนิ คุณภาพภายในอยูในระดับคุณภาพ ดมี าก 2) รอยละของสถานศึกษาทีม่ กี ารพฒั นาระบบประกันคุณภาพเพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพ 3) รอ ยละของสถานศกึ ษาทไ่ี ดรับการยกระดับคุณภาพใหไดคุณภาพตามมาตรฐาน

30

สวนที่ 3 การขับเคลื่อนแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 สกู ารปฏิบัติ ความสําเร็จของการขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 สูการปฏิบัติ ข้ึนอยูกับ ปจจัยสําคัญหลายประการ ประกอบดวย สาระสําคัญของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา ท่ีมีความชัดเจน ครบถวนและครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย และการมีสวนรวมในการพัฒนาแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาของ ผูเกีย่ วขอ งทุกภาคสว น ท้ังในระดับนโยบาย และการปฏบิ ัตกิ าร เพือ่ นําสูการปฏิบัติอยา งเปน รูปธรรม ดงั ภาพท่ี 3 ภาพที่ ๓ การขับเคล่อื นแผนพัฒนาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560-2579 สูการปฏิบัติ

ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั การอาชีวศึกษาเพ่อื ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ กลยทุ ธท ี่ 1 พฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอนดา นความเปน พลเมือง โดยเนน การปลูก สงั คมพหวุ ฒั นธรรม และตอตานการทจุ ริตคอรร ัปชนั่ เปา หมาย ผเู รยี นอาชวี ศึกษามคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบปร ตารางที่ 3.1 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา กลยุทธการพัฒนาหลักสูต วถิ ีประชาธปิ ไตย ความสามคั คี สมานฉันท สันติวิธี สง เสริมการอยรู วมกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม แ แผนงาน โครงการ 1) การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 1) โครงการสรางจิตสํานึกความรักส ดา นความเปน พลเมืองในพหวุ ัฒนธรรม และพระมหากษตั รยิ  2) การสรางจติ สํานกึ ของผูเรยี นอาชวี ศึกษาใหมีความจงรักภักดี 2) โครงการสงเสรมิ ประชาธปิ ไตยในส และธํารงรักษาสถาบันหลักของชาติ ไดแก ชาติ ศาสนา 3) โครงการสถานศกึ ษาคณุ ธรรม พระมหากษัตริย 4) โครงการลูกเสือชอสะอาด 3) การปลูกฝงและเสริมสรางวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี 5) โครงการการจัดกิจกรรมเสริมหล สมานฉันท สันติวิธี ตอตานการทุจริตคอรรัปช่ัน และยึดม่ันใน เรียนรูและปลูกฝงวิถีประชาธิปไ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน สมานฉันท สันติวิธี สงเสริมการอ ประมขุ พหุวฒั นธรรม และตอ ตา นการทจุ ริตค 4.) การเสริมสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับสถาบัน 6) โครงการพัฒนาสารสนเทศเพ่ือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย และการจดั การเรยี นการสอน 5) การสงเสริมการพัฒนากิจการลูกเสือ เนตรนารี 7) โครงการอืน่ ๆ ในสถานศึกษาใหมีคณุ ภาพและมาตรฐาน 6) การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพอื่ สง เสรมิ การอยรู ว มกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook