สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม (สวนทะเลแกว ) จลุ สาร สถาบันวิจัยและพัฒนา Research and Development Institute Pibulsongkram Rajabhat University ปท ่ี 9 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2562
บทบรรณาธิการ บรรณาธิการ จลุ สารสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ผชู วยศาสตราจารย ดร.ศิรสิ ภุ า เอมหยวก เปนจุลสารที่นำเสนอองคความรูทางดานงานวิจัยและองคความรู ทางดานบริการวิชาการ ของคณาจารย นักวิชาการ นักวิจัย กองบรรณาธิการ ในสาขาตา งๆ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เผยแพรอ งคค วามรู ดา นงานวจิ ยั และองคความรูดานบริการวิชาการอันเปนประโยชนรวมกัน อาจารย ดร.พงษพ นั ธุ พุทธิวศิ ิษฎ ในการสรางสรรคความรูสูสังคม ซึ่งฉบับนี้ไดจัดทำขึ้นเปน ปที่ 9 ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จติ ศิริน กอนคง ฉบับที่ 3 โดยประกอบไปดวยองคความรูทางดานการวิจัยและ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ยุวดี ตรงตอ กจิ การบรกิ ารวชิ าการทม่ี คี วามนา สนใจ ไดแ ก โครงการพฒั นาคณุ ภาพ นางดาญาวี ภคู ง การศกึ ษาโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน ประจำปง บประมาณ 2562 รวมถึงการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการสบูเหลวน้ำมันรำขาว เผยแพรโ ดย ไรซเบอรรี่งอกผสมสารละลายจากฝาง สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา กองบรรณาธิการจุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ฝา ยบรกิ ารวชิ าการ ราชภฏั พบิ ลู สงคราม หวงั เปน อยา งยง่ิ วา จลุ สารสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม ฉบับนี้ จะเปนประโยชนสำหรับผูอานทุกทานและขอขอบคุณทาน โทรศพั ท 055-267000 ตอ 7217 ผูอานที่ไดใหความสนใจติดตามจุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา อยางตอ เน่ือง ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศิรสิ ุภา เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม ตดิ ตอ ขาวสารเกย่ี วกับสถาบันวิจัยและพฒั นา http://research.psru.ac.th rdi PSRU
สารบัญ เรอ่ื ง หนา บทบรรณาธิการ ................................................................................................................... ก สารบญั ................................................................................................................................ ข ขาวสารความเคล่อื นไหว ...................................................................................................... 1 องคค วามรูจ ากการบริการวิชาการ เรอ่ื งที่ 1 สง เสรมิ นสิ ยั รกั การอานแกโ รงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน โดย นางรัตนพา พันธศรี ................................................................................... 5 เรอ่ื งที่ 2 การสรางชนิ้ งาน 3 มติ ิ และการใชง านเครอื่ ง 3D Printer และ การใชงาน บอรด KidBright และการประยกุ ตใชง าน โดย นายโสภณ พินิจกจิ เจรญิ กลุ ....................................................................... 7 เรื่องที่ 3 การขยายพันธพุ ชื และเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนิคอยา งงายเพอ่ื อาหารกลางวนั ในโรงเรียนตามวิถีพอเพียง โดย ผชู ว ยศาสตราจารยอ รพิน เสละคร ............................................................ 9 เร่ืองที่ 4 การอบรมใหความรเู ชงิ ปฏิบัติการสบูเหลวน้ำมนั รำขา วไรซเ บอรงี่ อกผสม สารละลายจากฝาง โดย ผชู วยศาสตราจารย ดร.วิษณุ ธงไชย ........................................................ 13 เรอ่ื งที่ 5 การยกระดับผลติ ภณั ฑช ุมชนสมนุ ไพรไลย ุง โดย ผูชว ยศาสตราจารยเอกภพ จนั ทรส คุ นธ .................................................. 16 ประชาสัมพนั ธหลกั สูตรฝก อบรม ....................................................................................... 18 หลกั สูตรท่ี 1 การทำแหนมเหด็ โดย ผชู วยศาสตราจารยอ รพิน เสละคร หลักสตู รท่ี 2 การทำขนมจบี ซาลาเปา โดย อาจารยวิรัชยา อินทะกณั ฑ หลกั สตู รท่ี 3 การทำเตา ฮวยนมสด โดย คณุ นริ ชั ดา หงษเ กิด
1 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม รว มตอนรับคณะกรรมการและรบั การตรวจประเมินประกนั คุณภาพศึกษา ภายในระดบั มหาวทิ ยาลัย ปการศกึ ษา 2561 เมอ่ื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2562 สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม รวมตอนรับคณะกรรมการฯ และรับการตรวจประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2561 โดยมีผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะผูบริหารและบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา รว มตอบขอ ซกั ถามจากคณะกรรมการผปู ระเมนิ ฯ และเมอ่ื วนั ท่ี 30 ตลุ าคม 2562 คณะกรรมการ ผปู ระเมนิ ฯ เขา เยย่ี มชมสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา โดยมผี ชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศริ สิ ภุ า เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา คณะผบู รหิ ารและบคุ ลากรสถาบนั วจิ ยั และพฒั นารว มตอ นรบั โดยไดจ ดั นทิ รรศการดา นงานวจิ ยั แสดงผลงานอนสุ ทิ ธบิ ตั ร/สทิ ธบิ ตั รทไ่ี ดร บั การขน้ึ ทะเบยี นจาก กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา เขา สกู ระบวนการ Licensing เลม สงั เคราะหอ งคค วามรจู ากงานวจิ ยั และงานสรา งสรรค วารสาร Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, วารสารมนษุ ยศาสตรบ ณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม และดา นงานบรกิ ารวชิ าการ แสดงผลติ ภณั ฑจ งั หวดั พษิ ณโุ ลกและจงั หวดั สโุ ขทยั ทไ่ี ดร บั การพฒั นาภายใตโ ครงการยกระดบั ผลติ ภณั ฑช มุ ชน ตามยทุ ธศาสตรม หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 เพอ่ื การพฒั นาทอ งถน่ิ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562 อยา งตอ เนื่อง
2 สถาบนั วิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม รว มตอนรับคณะกรรมการและรบั การตรวจประเมิน ประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวทิ ยาลยั เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 ณ หองประชุมราชาวดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตอนรับคณะกรรมการและรับการตรวจติดตาม และประเมินผล โครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา พรอมดวย ผูบริหารและบุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนารวมตอนรับ และตอบขอซักถาม โดยไดรับเกียรติจากคณะกรรมการ ไดแก รองศาสตราจารย ดร.ธันวดี ศรีธาวิรัตน, ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรกฤช ศรีละออ, ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราวลัย มีทรัพย, นางสาวธนาภัทรรัญ เฟองมณี, นางเอมอร กมลวรเดช และเจาหนาที่จากกองนโยบายและแผน โดยผลการติดตามและประเมินผลโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวนทั้งหมด 14 โครงการ พบวามีโครงการที่ผานเกณฑ 3 ใน 4 ตัวชี้วัด จำนวน 14 โครงการ เปน โครงการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจำนวน 14 โครงการ พรอ มใหข อ เสนอแนะ ทง้ั น้ี สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ขอขอบพระคณุ คณะกรรมการ และจะนำขอ เสนอแนะเปน แนวทางดำเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 ตอไป
3 สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เขาพบพัฒนาการจังหวัดพษิ ณุโลกและจังหวดั สโุ ขทยั เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา นำโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา อาจารย ดร.พงษพันธุ พุทธิวิศิษฎ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คุณกัลนิกา พูลผล หัวหนา สำนักงานผูอำนวยการ สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา พรอมดว ย บุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา เขาพบ นางศุภลักษณ แกวมณี พฒั นาการจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ณ สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั พษิ ณโุ ลก และเมอ่ื วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2562 อาจารย ดร.พงษพ นั ธุ พทุ ธวิ ศิ ษิ ฎ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา พรอมดวยบุคลากร สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา เขา พบ นายสวุ นิ พง่ึ เงนิ พฒั นาการจงั หวดั สโุ ขทยั ณ สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั สโุ ขทยั เพอ่ื หารอื เปา หมาย ในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑชุมชน และแกไขปญหา ความยากจน ของประชาชนทม่ี รี ายไดต ำ่ กวา เกณฑ เพอ่ื นำขอ มลู ดงั กลา ว ไปจดั ทำแผนบริการวิชาการเพื่อพัฒนาทองถิน่ ตอ ไป
4 การเสวนาแลกเปล่ยี นเรยี นรู Talent Mobility วันศุกรที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ หองประชุมราชาวดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ไดจ ดั การเสวนาและแลกเปลย่ี นเรยี นรู เรอ่ื ง “แนวทางการบรหิ าร จัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน ในภาคอตุ สาหกรรม (Talent Mobility) และการเขยี นขอ เสนอขอทนุ วจิ ยั ในรปู แบบ Talent Mobility” โดยไดร บั เกยี รตจิ ากผชู ว ยศาสตราจารย ดร. ศริ สิ ภุ า เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา เปน ประธานในพธิ เี ปด ผชู ว ยศาสตราจารยไ ชยยนั ต ชนะพรมมา ผอู ำนวยการสำนกั งาน Talent Mobility มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ และ ผูชวยศาสตราจารยศิวัฒม กมลคุณานนท ผูอำนวยการ สำนกั วชิ าศกึ ษาทว่ั ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ เปน วทิ ยากร โดยหลงั จากทม่ี กี ารชแ้ี จงแนวทาง การบริหารจัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถ การแขงขันในภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) สถาบันวิจัยและพัฒนาจะดำเนินการจัดตั้ง คณะกรรมการบริหารจัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่ม ขีดความสามารถการแขงขันในภาคอุตสาหกรรม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Talent Mobility PSRU) เพื่อดำเนินงานตามบันทึกขอตกลงความรวมมือ ในการเปน หนวยประสานงานสงเสริมและสนับสนุนขับเคลื่อนงานเครือขาย Talent Mobility ของ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงครามตอไป
5 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ʧ‹ àÊÃÔÁ¹ÊÔ ÑÂÃÑ¡¡ÒÃ͋ҹᡋâçàÃÂÕ ¹µÓÃǨµÃÐàǹªÒÂá´¹ ผูรับผิดชอบโครงการ : นางรตั นพา พนั ธศ รี ชื่อหนว ยงาน : สำนกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารนเทศ ที่มาและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เปนสถานศึกษาที่ดำเนินงานโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเปน พันธกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม คือ การเปนพี่เลี้ยงในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน รวมถงึ งานพฒั นาหอ งสมดุ ของโรงเรยี นตระเวนชายแดน เปน ประจำทกุ ป เพราะหอ งสมดุ จดั เปน แหลง เรยี นรพู น้ื ฐาน เพื่อปลูกฝงใหเด็กนักเรียนมีนิสัยรักการอาน การคนควา และการใฝรูอยางตอเนื่อง การพัฒนาหองสมุดใหสามารถ ตอบสนองตอผูใช เปนแหลงเรียนรูที่ดี และสามารถเขาถึงไดงายจึงเปนสิ่งสำคัญ ในปงบประมาณ 2562 นี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงไดรวมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน และปรบั ปรงุ หอ งสมดุ เพอ่ื พฒั นาหอ งสมดุ ของโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนทง้ั 4 แหง ในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั พษิ ณโุ ลก ประกอบดวย โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานลาดเรือ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบานนุชเทียน โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นรกั ไทย อำเภอชาติตระการ และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนอาทรอุทิศ อำเภอนครไทย ใหเกิดการดำเนินงานอยางตอเนื่อง และใหหองสมุดของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เปนแหลง เรียนรูของเด็กนกั เรยี น บุคลากรของโรงเรยี น ตลอดจนประชาชนในชุมชนตอไป กระบวนการทใี่ ชใ นการถายทอดองคค วามรู 1. เก็บขอมูลและรวมวางแผนการดำเนินงานกับครูใหญ และครูผูดูแลหองสมุดโรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนบา นลาดเรอื โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นนชุ เทยี น โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นรกั ไทย อำเภอชาติตระการ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนอาทรอุทศิ อำเภอนครไทย 2. กำหนดวนั จดั กจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ยั รกั การอา น โดย ทมี บรรณารกั ษ สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม วันที่ 4 - 7 มนี าคม พ.ศ. 2562 3. อบรมถา ยทอดองคค วามรใู หก บั ครผู รู บั ผดิ ชอบในดา นการบรหิ ารและจดั การหอ งสมดุ ใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน หลักบรรณารกั ษศาสตร 4. จัดกจิ กรรมสงเสรมิ นสิ ยั รกั การอา นแกน กั เรยี นโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน เพือ่ ใหมีบรรยากาศ ทเี่ ออ้ื ตอ การเรียนรขู องนกั เรยี นสนับสนนุ ใหนกั เรียนเขาใชบรกิ ารหองสมุดมากยิ่งขึ้น
6 องคความรทู ี่ใชใ นการบริการวิชาการ 1. องคความรูดานบรรณารักษ ผูเขารับการอบรม สามารถนำความรูไปจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศไดอยาง ถูกตองตามหลักบรรณารักษศาสตร 2. องคค วามรคู วามรเู กย่ี วกบั การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การใชหองสมุด และการอนุรักษทรัพยากรสารสนเทศ สามารถ นำความรูที่ไดรับไปถายทอดตอได รวมทั้งสามารถจัดกิจกรรม สงเสริมการใชหองสมุด และมีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ของผูเรียน การนำไปใชป ระโยชนของชุมชน 1. ชวยกระตุน ใหนกั เรยี นเยาวชนและคนไทยเพ่มิ อตั ราการอา นใหมากขึ้นกวาเดิม 2. นักเรียนมีนิสัยรักการอาน มีทักษะในการใชภาษาไทย สามารถศึกษาคนควาได ดวยตนเอง และเรยี นรูก ารใชห อ งสมุดไดถูกตอ ง 3. โรงเรียน/ชุมชน มีแหลงเรียนรูที่ใกลบาน สะดวกในการเขาถึง เปนแหลงที่สามารถใชเวลาวาง ใหเกดิ ประโยชน ไมมคี าใชจ าย 4. บุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ไดใช ความเชีย่ วชาญในวชิ าชีพใหเกดิ ประโยชนตอ สังคม นบั เปนการมีสวนรว มในการพฒั นาประเทศ แนวทางการใหบริการวิชาการในอนาคต สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาแหลงเรียนรู ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่องและทำใหเกิดประโยชนสูงสุดตอนักเรียน ชุมชน จึงมีแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพหองสมุดโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ใหมีมาตรฐาน สงผลใหนกั เรียน ครู และประชาชนในชุมชน รกั การอา นและการเรียนรูอยางตอ เนอ่ื งและย่ังยืน
7 ͧ¤¤ ÇÒÁÌ٨ҡ¡ÒÃã˺Œ ÃÔ¡ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á “¡ÒÃÊÃÒŒ §ªÔ鹧ҹ 3 ÁµÔ Ô áÅСÒÃ㪧Œ Ò¹à¤Ãè×ͧ 3D Printer” áÅÐ “¡ÒÃ㪧Œ Ò¹ºÍô KidBright áÅСÒûÃÐÂØ¡µãª§Œ Ò¹” ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ : นายโสภณ พนิ ิจกิจเจริญกลุ ช่ือหนวยงาน : โครงการจดั ต้ังศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีม่ าและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงตระหนกั ถงึ ประโยชน และศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที (Information Technology: IT) ในการพัฒนาประเทศและชีวิต ความเปนอยูของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกผูดอยโอกาส ทรงมพี ระราชดำรวิ า ความเจรญิ กา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยขี น้ึ อยกู บั คณุ ภาพของคนเปน สำคญั เมอ่ื ป พ.ศ. 2558 ไดมีการจัดตั้ง “มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี” ซง่ึ มงุ เนน สนบั สนนุ ใหบ คุ ลากรทกุ ระดบั ตง้ั แตน กั เรยี น นกั ศกึ ษา ครอู าจารย นกั วจิ ยั ใหม โี อกาสไดไ ปเพม่ิ พนู ความรแู ละ ประสบการณทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในกิจกรรมตางๆ ตั้งแตการดูงาน การเขารับการอบรม การทำวจิ ยั ตลอดจนการศกึ ษาตอ ในระดบั สงู ตามศกั ยภาพและความสนใจของแตล ะคน เพอ่ื จะไดน ำความรแู ละประสบการณ ทไ่ี ดร บั มาใชป ระโยชนใ นการพฒั นาประเทศตอ ไป โดยมงุ เนน ทค่ี รแู ละนกั เรยี นในทอ งถน่ิ ซง่ึ มโี อกาสเขา ถงึ เทคโนโลยนี อ ย เพื่อใหเด็กนักเรียนในทองถิ่นและพื้นที่หางไกลไดมีโอกาสแขงขันกับโรงเรียนที่มีโอกาสไดมากขึ้น เนื่องดวยเครือขาย มหาวิทยาลัยสนองพระราชดำริฯ ไอซีทีสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มีวัตถุประสงคที่จะขยายผลใหนักศึกษา ครูและนกั เรียนจากโรงเรยี นในทอ งถนิ่ ใหสามารถประยุกตใ ชไ อซีทจี ัดการเรียนรใู นหองเรียนไดน ้นั ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จึงจัดอบรมหลักสูตรใหแกนักศึกษา ครู และนักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาดว ยตองการใหเขา ใจถงึ กระบวนการการบรู ณาการศาสตรแ ขนงตา งๆ ซง่ึ ประกอบดวย 2 หลกั สตู ร คอื 1. หลกั สตู ร “การสรา้ งชน้ิ งาน 3 มติ ิ และการใชง้ านเครอ่ื ง 3D Printer” เพอ่ื เรยี นรทู้ กั ษะการออกแบบชน้ิ งาน ใหส ามารถนำมาใชง านไดจ รงิ รวมถงึ เขา ใจหลกั การ และ การทำงานของเครอ่ื งพมิ พ 3 มติ ิ ตลอดจนสามารถประกอบ และ แกไขปญหาเบื้องตน ในการใชง านเคร่อื งพิมพ 3 มติ ไิ ด 2. หลักสูตร “การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน” เพื่อเรียนรูการเขียนโปรแกรม เชิงตรรกะเบื้องตนโดยการใชบล็อค และเรียนรูการใชงานอุปกรณเซ็นเซอรตางๆ รวมกับ KidBright ตลอดจน สามารถนำความรทู ไ่ี ดร บั ไปประยกุ ตใ ช จนเกดิ ชน้ิ งานจรงิ ได และ สามารถตอ ยอดไดจ นถงึ ระดบั Internet of Things อันเปนการกระตุนใหนักศึกษา ครู และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาไดมีโอกาสพัฒนาทักษะการเรียนรู และนำความรู ที่ไดรับจากการอบรม ทำการประดิษฐคิดคนเพื่อประยุกตใชงานตางๆ ดวยตนเอง และยังเปนการพัฒนาความรู สกู ารเปนนักวิจัยระดับอาชพี ตอไปได
8 กระบวนการทใี่ ชใ นการถายทอดองคค วามรู การบรรยาย หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer อธิบายถึงความเปนมา หลักการ ทฤษฎีตางๆ เพื่อใหผูเขารวมอบรมเขาใจ แลวลงมือฝกปฏิบัติในการออกแบบสรางชิ้นงาน แลกเปลี่ยน แนะนำ ชน้ิ งานตา งๆทอ่ี อกแบบ เพอ่ื ใหผ เู ขา รว มเขา ใจถงึ หลกั การออกแบบทถ่ี กู ตอ ง เมอ่ื ผอู บรมเขา ใจและออกแบบชน้ิ งาน ไดถ กู ตอ งแลว จงึ ทำการสรา งชน้ิ งานจรงิ และการใหค ำแนะนำการแกไ ขปญ หาตา งๆ ทผ่ี รู ว มอบรมพบ โดยหลกั สตู ร การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน ใชการบรรยายรวมกับการลงมือปฏิบัติและการตั้งโจทยปญหา เพือ่ ใหผ เู ขา รว มอบรมไดคดิ วเิ คราะห และสรา งโปรแกรมเพอ่ื แกไ ขโจทยปญหาตางๆ องคค วามรทู ใ่ี ชในการบรกิ ารวชิ าการ หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer เปนการถายทอดความรู เรื่อง หลักการออกแบบ สรางชิ้นงานสามมิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer ผานการบรรยายและปฏิบัติ เพื่อใหผูเขารวมอบรมเขาใจถึง หลักการของการออกแบบและการสรางชิ้นงานผานเครื่อง 3D Printer โดยหลักสูตร การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน เปนการถายทอดความรู ประสบการณ และนำตัวอยางการใชงาน KidBright ดานตางๆ มาแสดง ใหผูเขารับการฝกอบรม เพื่อใหเกิดการคิด วิเคราะหและ นำไปใชป ระโยชน การนำไปใชป ระโยชนข องชุมชน หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer ผูเขารวมอบรมสามารถนำความรู เรอ่ื ง การออกแบบชน้ิ งานสามมติ ทิ ไ่ี ดจ ากการอบรม มาออกแบบชน้ิ งานแบบตา งๆ เพอ่ื สรา งเปน อปุ กรณใ นการทำงาน เรียนรู หรือการสรางตนแบบผลงานที่เปนรูแบบ 3 มิติ รวมถึงการนำมาประยุกตแกไขปญหาหรือสรางอุปกรณ เครอ่ื งมอื ทห่ี าซอ้ื ไดย าก หรอื เปน สง่ิ เฉพาะทไ่ี มม จี ำหนา ย สว นหลกั สตู ร การใชง านบอรด KidBright และการประยกุ ตใ ชง าน ผูเขาอบรมจะไดรูถึงหลักการเขียนโปรแกรม เรียนรูการคิด วิเคราะห การประยุกตใชงานบอรด KidBright เพ่อื นำไปใชป ระโยชนใ นดานตา งๆ แนวทางการใหบรกิ ารวชิ าการในอนาคต การจัดตั้งกลุมผานทางสื่อสังคมออนไลน Facebook เพื่อใชในการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู รวมถึงใหคำแนะนำสำหรับผูสนใจ หรือจัดอบรมเพื่อถายทอดความรูแกผูสนใจ
9 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃÇÔªÒ¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø¾ª× áÅÐà¾ÒжÑÇè §Í¡´ÇŒ Âà·¤¹¤Ô Í‹ҧ§‹Ò à¾èÍ× ÍÒËÒáÅÒ§Çѹ ã¹âçàÃÕ¹µÒÁÇÔ¶Õ¾Íà¾Õ§ ผูร ับผิดชอบโครงการ : ผูชว ยศาสตราจารยอรพิน เสละคร ช่ือหนว ยงาน : หลกั สตู รสาขาวิชาเกษตรศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร ท่มี าและความสำคัญของโครงการ/กจิ กรรม ในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนใดๆ ก็ตามตองอยูบนวิถีของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะเปนแนวทาง ในการพัฒนาที่นำไปสูความสามารถในการพึ่งพาตนเองในระดับตางๆ การเสริมทักษะอาชีพดวยวิถีพอเพียง โดยการจดั ฝก อบรมถา ยทอดความรดู า นการขยายพนั ธพุ ชื และการเพาะถว่ั งอกอยา งงา ยเพอ่ื เปน อาหารกลางวนั ในโรงเรยี น ใหแกนักเรียน ครู โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนทั่วไป โดยใหสามารถขยายพันธุพืชเพิ่มมากขึ้น และเพาะถั่วงอกรับประทานไดเองไมตองไปหาซื้อจากแหลงอื่น ซึ่งจะเปนการลดรายจายทั้งของโรงเรียน และของประชาชนที่อยูในชุมชน และสิ่งสำคัญคือ นักเรียน ครู และประชาชน มีทักษะในการขยายพันธุพืช และการเพาะถั่วงอกดวยเทคนิคอยางงาย โดยสามารถนำความรูไปประกอบอาชีพ และสรางรายไดเสริมใหแก ครอบครวั ได ซง่ึ เปน การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของ นกั เรยี น ครแู ละประชาชนไดใ นระดบั ทพ่ี ออยู พอกนิ พอใช และพอเพยี ง ดังนั้น คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร จึงไดจัดกิจกรรมเสริมทักษะอาชีพดวยวิถีพอเพียง ในการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหแก นักเรียน ครู ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนทวั่ ไป อำเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก เพอื่ ใหส ามารถพ่ึงพาตนเองไดต อ ไปในอนาคต กระบวนการทใ่ี ชใ นการถา ยทอดองคความรู 1. มีการวางแผน (Plan) โดยประชุมวางแผนการดำเนินงานกับคณะทำงาน และ ติดตอประสานกับกลุมเปาหมายเพื่อ รบั ทราบแผนการดำเนนิ กิจกรรม 2. การดำเนนิ งาน (Do) 2.1 จัดหาวัสดุอปุ กรณการเกษตรเพ่ือใชใ นการดำเนนิ งาน 2.2 ถา ยทอดองคค วามรใู หแ ก ครู นกั เรยี น และชมุ ชน เรอ่ื ง การขยายพนั ธพุ ชื และการเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนคิ อยางงาย เพื่ออาหารกลางวัน ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานรักไทย อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก 2.3 ฝกปฏิบัติการขยายพันธุพืชโดยการเสียบยอดขนุนแบบเสียบลิ่ม การตอนกิ่งฝรั่งแบบควั่นกิ่ง และการเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนคิ อยา งงา ย เพอ่ื เสรมิ ทกั ษะอาชพี ใหแ ก ครู นกั เรยี น และชมุ ชน โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน บานรักไทย อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก
10 2.4 ติดตามผลโครงการ ใหคำแนะนำแก ครู นักเรียนและชุมชน หลังจากฝกอบรมขยายพันธุพืช และเพาะถั่วงอกดวยเทคนิคอยางงายเพื่อรับทราบปญหา 3. สรุปและประเมินผล (Chek) มีการประเมินและสรุปผลการดำเนินงานหลังสิ้นสุดโครงการ 4. การปรับปรุงและพัฒนา (Action) โดยนำผลการประเมิน และสรุปผลการดำเนินงานไปพัฒนา และปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งตอไป องคค วามรทู ่ีใชในการบรกิ ารวชิ าการ ในการใหบริการวิชาการแกชุมชนในครั้งนี้ไดนำองคความรูไปถายทอดให ครู นักเรียน และชุมชน ใหสามารถนำไปใชในชีวิตประจำวันไดหรือพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพได ในเรื่องการขยายพันธุพืช ไดแก การเสียบยอดขนุน การตอนกิ่งฝรั่ง และการเพาะถั่วงอกอยางงาย 1. การเสียบยอดขนุนแบบเสียบลิ่ม 1.1 อุปกรณที่ใช 1) ตนตอขนุน 2) ยอดขนุนพันธุดี 3) มีดขยายพันธุพืชหรือคัตเตอร 4) กรรไกรตัดกิ่ง 5) เทปพลาสติกพันกิ่ง 6) ถุงพลาสติกใส 7) ยางรัด 1.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) เลอื กตน ตอขนนุ ทส่ี มบรู ณ ไดจ ากการเพาะเมลด็ อายุไมเกิน 3 เดือน 2) ตัดยอดขนุนดวยกรรไกรใหสูงจากโคนตนประมาณ 5 นิ้ว 3) ใชมีดผากึ่งกลางตนตอใหเปนแผลลงลึกประมาณ 1 นิ้ว 4) ตดั ยอดขนนุ จากตน แมย าวประมาณ 3 นว้ิ และตดั ใบออกครง่ึ ใบ จากนน้ั เฉอื นโคนกง่ิ ขนนุ พนั ธดุ ี เฉยี งลงใหเปน รปู ลิ่มยาวเทากบั แผลตนตอ 5) นำกงิ่ พนั ธดุ ีสอดลงในแผลตน ตอ ใหรอยแผลแนบชดิ กนั 6) พันเทปพลาสติกรอบแผลตนตอและกิ่งขนุนพันธุดีจากดานลางขึ้นดานบนใหแนนเพื่อให รอยแผลเชอ่ื มประสานกนั ดี 7) นำตน เสยี บยอดไปอบในถงุ พลาสตกิ ตง้ั ไวใ นทร่ี ม เปน เวลา 1 เดอื น เมอ่ื กง่ิ เสยี บยอดตดิ กนั ดแี ลว จะเรม่ิ แตกตาใหม 8) นำตน เสยี บยอดออกจากถงุ พลาสตกิ แลว เลย้ี งอนบุ าลจนกง่ิ ทแ่ี ตกใหมเ จรญิ เตบิ โตและแขง็ แรง จงึ นำไปปลกู ในแปลง
11 2. การขยายพันธุพืชโดยการตอนกิ่งฝรั่ง 2.1 อุปกรณที่ใช 1) ตนแมพันธุฝรั่ง 2) มีดขยายพันธุพืช หรือคัตเตอร 3) กรรไกรตัดกิ่ง 4) ถุงพลาสติกใสขนาด 3x5 นิ้ว 5) ยางรัด 6) เชือกฟาง 7) ขุยมะพราว 2.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) เลือกกิ่งฝรั่งบนตนแมที่มีสีเขียวปนน้ำตาล โดยเลือกกิ่งที่ไมออนและไมแกเกินไป ขนาดเสนผา ศูนยกลาง 1-2 เซนตเิ มตร 2) บรรจุขุยมะพราวที่แชน้ำจนอิ่มตัวแลวบีบน้ำออกใหหมาดจากนั้นอัดขุยมะพราวใน ถงุ พลาสตกิ ใสใหแ นนพอดี และใชเชือกฟางมดั ปากถงุ ใหแ นน 3) ใชม ดี หรอื คัตเตอร คว่ันกง่ิ ฝรง่ั 2 รอยยาวประมาณ 1-1/2 นิ้ว บริเวณใตข อ เล็กนอย 4) กรีดเปลอื กบรเิ วณรอยควั่น แลว ใชปลายคัตเตอรแ กะเปลอื กและลอกออก 5) ใชสันมีดหรือคัตเตอรขูดเนื้อเยื่อเบาๆ ระวังไมใหเขาไปในแกนไม โดยขูดจาก รอยควั่นบนลงสูดานลาง 6) ในกรณีที่พืชออกรากยากใหทาฮอรโมนชวยเรงรากบริเวณรอยควั่นดานบนซึ่งเปน สว นทก่ี ง่ิ ตอนจะออกราก 7) ใชมีดกรีดถุงขุยมะพราวที่เตรียมไวตามยาวลึกประมาณครึ่งถุง แลวนำไปหุมบริเวณ กึ่งกลางรอยแผลที่ควัน่ ไวใชย างรัดถงุ ซอนกัน 8) ใชเชือกฟางมัดถุงกิ่งตอนหัวทายใหแนนไมใหถุงเคลื่อนหรือหมุนไปมา คอยดูแลกิ่งตอน ใหมคี วามชืน้ ภายในขยุ มะพราวอยูเสมอ 9) หลงั จากตอนกง่ิ แลว ประมาณ 1 เดอื น จะเรม่ิ ออกรากรอใหร ากเจรญิ มสี นี ำ้ ตาลออ น จากนน้ั ทำการบากเตือน โดยใชมดี บากก่ิงตอนใตถงุ ขุยมะพรา วลึกประมาณ 1 ใน 3 ของกงิ่ 10) หลงั จากบากเตือนแลว ประมาณ 1-2 สปั ดาห จงึ ตัดกิง่ ตอนไปชำ ใหแ กะถงุ พลาสตกิ ออก ระวงั ไมใ หรากขาดแลวนำไปชำในถุงพลาสตกิ ดำ ประมาณ 1 เดอื น เม่อื ตน แขง็ แรงดีจึงนำไปปลูกหรอื จำหนา ย
12 3. การเพาะถั่วงอกอยางงาย 3.1 อุปกรณที่ใช 1) ถังน้ำสีดำขนาด 20 แกลลอน หรือ 66 ลิตร 2) ตะกราพลาสติกแบบมีรูสามารถสวมเขาในถังน้ำได 3) สายยางขนาด 5/8 นิ้ว และเข็มกลัดรัด 4) ปมน้ำตูปลาขนาด 2,000 ลิตรตอชั่วโมง 5) ตะแกรงพลาสติกขนาด 2 และ 5 มิลลิเมตร 6) ตัวควบคุมการรดน้ำ 7) หัวบัวรดน้ำขนาด 120 มิลลิเมตร 8) ขอตองอ 90 องศา แบบเกลียวนอกขนาด ½ นิ้ว 9) เมล็ดถั่วเขียว 3.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) แชถั่วเขียวในน้ำสะอาดปริมาณตามที่ตองการเปนเวลาประมาณ 8 ชั่วโมง 2) เติมน้ำสะอาดในถังเพาะที่มีตะกราสำหรับรองเมล็ดถั่วอยูในถัง โดยใหระดับน้ำต่ำกวา กนตะกราประมาณ 1 นิ้ว 3) จัดวางเมล็ดถั่วบนตะแกรง 5 ชั้นในถังเพาะ โดยทำชั้นละ 1 ขีด 4) ปด ฝาถังทต่ี อ กบั ตวั ต้ังเวลาและมฝี กบวั สำหรบั รดน้ำถ่ัวงอกเปน ระยะตามท่ีตั้งเวลาไว 5) หลงั จากเพาะใชเวลา 2-3 วนั สามารถเก็บถ่ัวงอกรบั ประทานได การนำไปใชประโยชนของชมุ ชน ชมุ ชนสามารถนำความรทู ไ่ี ดร บั จากการถา ยทอดองคค วามรู และจากการฝก ทกั ษะในการปฏบิ ตั กิ ารเสยี บยอดขนนุ การตอนกิ่งฝรั่ง และการเพาะถั่วงอกอยางงาย โดยทำใชประโยชนในครอบครัวตนเองกอน จากนั้นจึงขยาย และพฒั นาไปสกู ารสรา งอาชพี ใหก ับครอบครวั ได แนวทางการใหบ รกิ ารวิชาการในอนาคต เนนการฝกทักษะที่สามารถสรางอาชีพใหเกิดรายไดแกชุมชน โดยใชวัตถุดิบที่มีอยูในทองถิ่น ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกคนในชุมชน และขยายพื้นที่ใหบริการวิชาการแกชุมชนเพิ่มมากขึ้น เพื่อชวยแกปญหา ความยากจนของชมุ ชนตอ ไป
13 ͧ¤¤ ÇÒÁÌ٨ҡ¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ¡ÒÃͺÃÁãˤŒ ÇÒÁÃàÙŒ ªÔ§»¯ÔºÑµ¡Ô ÒÃʺ‹àÙ ËÅÇ ¹éÓÁѹÃÓ¢ŒÒÇäëàºÍÃÕè§Í¡¼ÊÁÊÒÃÅÐÅÒ¨ҡ½Ò§ ผูร ับผิดชอบโครงการ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วิษณุ ธงไชย ช่ือหนวยงาน : หลักสตู รสาขาวชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ที่มาและความสำคัญของโครงการ/กจิ กรรม กลมุ พชื สมนุ ไพรวงั ทอง ตง้ั อยทู ่ี 70/4 หมู 4 บา นบางสะพาน ตำบลวงั ทอง อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เรม่ิ จดั ตง้ั กลมุ ขน้ึ เมอ่ื ป พ.ศ. 2543 จดั ตง้ั โดยกลมุ ผวู า งงาน และตกงานในยคุ เศรษฐกจิ ตกตำ่ โดยไดร บั ความชว ยเหลอื ครง้ั แรกจากกรมประชาสงเคราะห ไดใ หเ งนิ ทนุ โดยการใหเ ปลา กบั เกษตรกรเพอ่ื ชว ยในดา นอปุ กรณ และพฒั นาชมุ ชน ชว ยเหลอื ในดา นการตลาด มจี ำนวนสมาชกิ ทง้ั สน้ิ 45 คน ไดผ ลติ สนิ คา OTOP ทส่ี ง จำหนา ย คอื ทองกวาวเครอื ครมี หนา เดง สมุนไพรเกลือขัดผิว อโรมาเธอราปออยด และแปงฝุนผสมสมุนไพร ซึ่งหลังจากหาขอมูลและสอบถามไปยัง กลมุ ดงั กลา ว ทำใหท ราบวา ทางกลมุ ตอ งการทจ่ี ะพฒั นาผลติ ภณั ฑใ หค วามหลากหลาย และสามารถใชว สั ดทุ เ่ี หลอื ใช จากการทท่ี ำผลติ ภณั ฑห ลกั ใหเ ปน ผลติ ภณั ฑใ หมโ ดยไมป ลอ ยใหว สั ดเุ หลา นน้ั เหลอื ทง้ิ นอกจากนย้ี งั พบวา สมาชกิ กลมุ สวนใหญยังขาดทักษะและความรูในกระบวนการผลิตตามหลักการทางวิทยาศาสตร ทางกลุมจึงตองการใหมี การจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการนำสมุนไพรและการประยุกตใชทางเครื่องสำอาง ใหกับสมาชิกในพื้นที่ ตำบลวังทองที่มีความสนใจ เพื่อเปนทางเลือกในอาชีพและเปนรายไดเสริมใหกับชุมชน ดวยเหตุนี้จึงไดจัดโครงการ บริการการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การถายทอดองคความรูจากงานวิจัยทางดานสมุนไพรและการประยุกตใช ทางเครอ่ื งสำอาง” เพอ่ื เปน การบรู ณาการงานบรกิ ารวชิ าการแกส งั คมกบั การเรยี นการสอนในรายวชิ า เคมเี ครอ่ื งสำอาง และเพื่อสรางทักษะอาชีพใหกับประชาชนในชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการสงเสริมการสรางงาน ใหกับชมุ ชนเพือ่ ความย่งั ยืนของชมุ ชนตอไป
14 กระบวนการทีใ่ ชใ นการถา ยทอดองคความรู เปนการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการ โดยมีกำหนดการโครงการการถายทอดองคความรูจากงานวิจัย ทางดานสมนุ ไพร และการประยกุ ตใ ชทางเครอ่ื งสำอางใหกับกลุมพืชสมุนไพรวงั ทอง วันท่ี 15 กุมภาพันธ 2562 ถึง 1 มนี าคม 2562 ณ กลมุ ผลติ สมนุ ไพรครมี ลา งหนา ตำบลวงั นกแอน อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ดงั น้ี 15 กุมภาพนั ธ 2562 บรรยายเรอ่ื ง เทคนคิ การสกดั พชื นาํ้ มันเพ่อื ใชในงานเคร่อื งสาํ อาง 22 กุมภาพนั ธ 2562 1 มนี าคม 2562 การฝกปฏิบัติการทาํ สบเู หลวจากพชื น้ํามัน บรรยายเรือ่ ง เทคนิคการสกัดพืชสมนุ ไพรเพ่ือใชในงานเครื่องสาํ อาง การฝกปฏิบัติการทําสบูกอนจากสารสกัดพืชสมนุ ไพร บรรยายเรอื่ ง การทดสอบเบอ้ื งตน ในงานเครอ่ื งสาํ อาง การฝกปฏิบัติการทดสอบคุณสมบัติทางเคมีตาม มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน (มผช.) องคความรูท ใี่ ชใ นการบริการวิชาการ สบูเหลวน้ำมันรำขาวไรซเบอรี่งอกผสมสารละลายจากฝาง ตามการประดิษฐนี้มีการเตรียมโดยนำ ขาวไรซเบอรี่ที่ผานการงอก มาบีบน้ำมันดวยเครื่องบีบเย็นและเตรียมสังเคราะหสารละลายจากฝาง โดยการชั่ง ผงแกน ฝางมารอ ยละ 0.1-1 โดยนำ้ หนกั จนไดส ารละลายฝาง หลงั จากนน้ั นำนำ้ มนั ขา วไรซเ บอรง่ี อกและสารละลายจากฝาง มาพฒั นาผลติ ภณั ฑส บเู หลวโดยมสี ว นประกอบ ดงั น้ี แอมโมเนยี ม ลอรลิ ซลั เฟต โคคามโิ ดโพรพลิ บเี ทน คารโ บพอลอะควา โพรพลิ ีน ไกลคอล น้ำมันรำขา วไรซเ บอรงี่ อก สารกนั เสยี น้ำหอม เกลอื แกง ไดโซเดยี ม อีดีทเี อ สารละลายจากฝาง น้ำบรสิ ุทธ์ิ สวนที่ 1 ชั่งแอมโมเนียม ลอริล ซัลเฟตผสมกับโคคามิโด โพรพิล บีเทน กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 200 รอบตอนาที เปนเวลา 2-3 นาที เพื่อใหสารเขากัน สวนที่ 2 ชง่ั คารโ บพอล อะควา แลว คอ ย ๆ เทลงในสว นท่ี 1 กวนดว ยเครอ่ื งกวน ใชค วามเรว็ 200 รอบตอ นาที เปนเวลา 2-3 นาที เพื่อใหสารเขากัน สวนที่ 3 ชั่งโพรพิลีน ไกลคอล, น้ำมันรำขาวไรซเบอรี่งอก, สารกันเสีย และน้ำหอม คนใหเขากัน เปนเวลา 1-2 นาที แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 300 รอบตอนาทีเปนเวลา 2-3 นาที เพ่ือใหส ารเขา กนั
15 องคค วามรทู ใี่ ชในการบรกิ ารวิชาการ สว นที่ 4 ชั่งเกลือ และไดโซเดียม อีดีทีเอ เติมน้ำบริสุทธิ์ คนใหละลาย แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดว ยเคร่อื งกวน ใชค วามเรว็ 300 รอบตอนาทีเปนเวลา 2-3 นาที เพือ่ ใหสารเขากัน สวนที่ 5 ชั่งสารละลายเงินนาโนจากฝาง แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 300 รอบตอ นาทเี ปน เวลา 2-3 นาที เมอ่ื สารเขา กนั ปรบั ปรมิ าตรดว ยนำ้ บรสิ ทุ ธ์ิ ใหม ปี รมิ าตรครบ 100 โดยนำ้ หนกั แลวกวนดวยเครื่องกวนใชความเร็ว 600 รอบตอนาทีเปนเวลา 5-10 นาที เพื่อใหสวนประกอบเขากันดี หลังจากเตรียมสบูเหลวตามขั้นตอนแลวนำสบูเหลวมาทดสอบคุณสมบัติทางเคมี โดยการวัดคาความเปน กรด-ดาง ไดป ระมาณพีเอช 5.3-5.5 มีปริมาณฟองท่ี 85-90 มิลลลิ ติ ร การนำไปใชป ระโยชนข องชุมชน เชงิ สังคม เพ่ือสรา งความเขมแข็งใหกับชุมชน เชิงเศรษฐกิจ เพอ่ื สรา งงานและการหารายไดใ หก บั ชาวบา นในทอ งถน่ิ เชิงวฒั นธรรม เพือ่ นำภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ มาตอ ยอดเปนผลติ ภัณฑ แนวทางการใหบรกิ ารวชิ าการในอนาคต ศึกษาความตองการของกลุมชุมชนที่สนใจที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ ทางดานเครื่องสำอางที่มีสวนผสมของพืชทองถิ่น จากนั้นนำองคความรูที่ได จากงานวิจัยเขาไปแกปญหารวมมือกับชุมชนในการสรางนวัตกรรมรวมกัน เพื่อสรางงานและการหารายไดใหกับชาวบานในทองถิ่นเกิดความเขมแข็ง ใหกบั ชุมชน
16 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÇÔªÒ¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á การยกระดับผลิตภัณฑช มุ ชนสมุนไพรไลยงุ ผูร บั ผิดชอบโครงการ : ผชู วยศาสตราจารยเ อกภพ จนั ทรส ุคนธ ชอ่ื หนวยงาน : หลกั สูตรสาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทม่ี าและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม ในพื้นที่อำเภอบานดานลานหอยมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ สมุนไพร ซึ่งประชาชนสามารถนำมา ใชประโยชนในหลายดาน เชน ใชประกอบอาหาร ใชเปนสมุนไพรในการรักษาโรค ตลอดจนนำมาไลแมลงตางๆ แตการนำสมุนไพรมาไลแมลงยังขาดคุณภาพ และขอมูลทางวิชาการในการพัฒนาเปนผลิตภัณฑที่ไดรับการรับรอง ทม่ี ีคุณภาพและไดมาตรฐาน ปจจุบัน มีการศึกษาวิจัยแลววามีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใชประโยชนในการกำจัดยุงไดดี คือ ตะไครหอม นำมาผลิตสเปรยกันยุง นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรชนิดอื่นๆ ไดแก กะเพรา ดาวเรือง ขมิ้น พืชตระกูลสม มะกรูด หนอนตายอยาก เปนตน ซึ่งเปนสมุนไพรในทองถิ่นของตำบลบานดานลานหอย และหาไดง า ย มาผลติ เปน สมนุ ไพรไลย งุ นอกจากจะชว ยลดการใชส ารเคมสี งั เคราะหแ ลว นน้ั สมนุ ไพรยงั มคี วามปลอดภยั มากกวาการใชสารเคมีที่มีขายตามทองตลาด และมีราคาตนทุนต่ำ ดวยเหตุนี้ผูจัดทำโครงการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนายกระดับผลิตภัณฑที่ใชกำจัดยุงในรูปแบบที่ไมอันตรายตอคนและสิ่งแวดลอม โดยการนำสมุนไพรพื้นบาน หลายชนิดมาเปนวัตถุดิบหลัก ในการผลิตเปนน้ำมันหอมระเหย จากนั้นจึงนำน้ำมันหอมระเหยที่ไดมาผลิต ตามกระบวนการเพื่อเปนผลิตภัณฑ ซึ่งการนำสมุนไพรพื้นบานมาใชนั้นนอกจากจะเปนการชวยลดปญหา การใชสารเคมีกำจัดแมลงทำใหชุมชนตระหนักและเห็นคุณคาของสมุนไพรใกลตัวที่เปนผลิตภัณฑธรรมชาติ ที่ถกู ช้แี นะไวโดยบรรพบรุ ษุ ของการวจิ ัย คอื ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ กระบวนการทใ่ี ชใ นการถา ยทอดองคความรู เปนการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการ โดยมีกำหนดการโครงการการถายทอดองคความรูจากงานวิจัย ทางดานสมุนไพร และการประยุกตใชทางเคร่อื งสำอางใหก ับกลุม พืชสมุนไพรวังทอง วนั ที่ 15 กุมภาพันธ 2562 ถึง 1 มนี าคม 2562 ณ กลมุ ผลติ สมนุ ไพรครมี ลา งหนา ตำบลวงั นกแอน อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก โดยการบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสกัดพืชน้ำมันเพื่อใชในงานเครื่องสำอาง การฝกปฏิบัติการทำสบูเหลวจากพืชน้ำมัน การฝกปฏิบัติ การทำสบกู อ นจากสารสกดั พชื สมนุ ไพร และการฝก ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบคณุ สมบตั ทิ างเคมตี ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชน
17 กระบวนการที่ใชในการถา ยทอดองคค วามรู การลงพื้นที่สำรวจบริบทชุมชนและศักยภาพความตองการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อขอยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑเปนหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) โดยการถายทอดองคความรูผาน การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ และการสังเคราะหองคความรู องคค วามรทู ี่ใชใ นการบรกิ ารวชิ าการ 1. ความรูดานสมุนไพรที่มีฤทธิ์ไลยุง 2. การพัฒนาเทคนิคการถายทอดความรูใหกับ กลุมชาวบานชุมชนลานหอยรวมใจพัฒนา ใหมีความรู และความเขาใจในการทำธูปสมุนไพรไลยุง และผลิตภัณฑ อื่นๆจากสมุนไพรที่มีฤทธิ์ไลยุง โดยใชภาษาที่เขาใจงาย และชัดเจน 3. การพัฒนาเทคนิคการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยเนนการสาธิตวิธีการทำใหผูเขารวมรับการอบรม ไดเห็นและลงมือปฏิบัติจริง เพื่อสามารถนำความรูที่ได ไปตอยอด เพื่อเพิ่มมูลคาสมุนไพรในทองถิ่นหลังเสร็จสิ้น การอบรม การนำไปใชประโยชนของชมุ ชน ชมุ ชนสามารถนำองคค วามรทู ไ่ี ดจ ากการบรกิ ารวชิ าการ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสมนุ ไพรไลย งุ ไปพฒั นาเปน ตำรบั ธปู หอมไลยุง สามารถนำไปประกอบอาชีพมรี ายได และไดรบั การรับรองมาตรฐานหน่ึงตำบลหนง่ึ ผลิตภัณฑ (OTOP) แนวทางการใหบ ริการวชิ าการในอนาคต เพิ่มเติมกระบวนการวิจัยในหองทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพ ของธูปหอมตอ ยงุ ลายบา น ยุงรำคาญ เพือ่ พัฒนาตอยอดใหก บั ชุมชนตอ ไป
เชญิ สมคั ร 18 เขา รบั การฝก อบรม หลกั สตู รฝก อบรม โดย วทิ ยากรมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม หลกั สตู รท่ี 1 การถกั โครเชต วิทยากร คุณกัณฑรีรัตน ศรเี บญจมาศ เจาหนา ทบ่ี ริหารงานทั่วไป สถาบันวจิ ัยและพัฒนา หลกั สตู รท่ี 2 การทำสรอ ยขอ มอื วิทยากร คณุ ดาญาวี ภคู ง เจาหนาที่บริหารงานทัว่ ไป สถาบันวิจัยและพัฒนา หลกั สตู รท่ี 3 การทำเตา ฮวยนมสด วิทยากร คุณนิรัชดา หงษเกดิ ผูประกอบการธุรกิจรานอาหารเพ่อื สขุ ภาพ ตดิ ตอ สอบถามเพม่ิ เตมิ ท่ี ... 095-3572228 คณุ ดาญาวี ภคู ง งานบรกิ ารวชิ าการ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม
ขอความกรณุ าแสกน QR COED เพื่อตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ปท ี่ 9 ฉบบั ท่ี 3
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: