Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา ปีที่ 9 ฉบับที่ 3

จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา ปีที่ 9 ฉบับที่ 3

Published by rdi, 2020-01-07 04:27:46

Description: RDI Brochure Vol. 9 No.3

Keywords: RDI,Brochure,PSRU,Vol.9,No.3

Search

Read the Text Version

สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม (สวนทะเลแกว ) จลุ สาร สถาบันวิจัยและพัฒนา Research and Development Institute Pibulsongkram Rajabhat University ปท ่ี 9 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2562

บทบรรณาธิการ บรรณาธิการ จลุ สารสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ผชู วยศาสตราจารย ดร.ศิรสิ ภุ า เอมหยวก เปนจุลสารที่นำเสนอองคความรูทางดานงานวิจัยและองคความรู ทางดานบริการวิชาการ ของคณาจารย นักวิชาการ นักวิจัย กองบรรณาธิการ ในสาขาตา งๆ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เผยแพรอ งคค วามรู ดา นงานวจิ ยั และองคความรูดานบริการวิชาการอันเปนประโยชนรวมกัน อาจารย ดร.พงษพ นั ธุ พุทธิวศิ ิษฎ ในการสรางสรรคความรูสูสังคม ซึ่งฉบับนี้ไดจัดทำขึ้นเปน ปที่ 9 ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จติ ศิริน กอนคง ฉบับที่ 3 โดยประกอบไปดวยองคความรูทางดานการวิจัยและ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ยุวดี ตรงตอ กจิ การบรกิ ารวชิ าการทม่ี คี วามนา สนใจ ไดแ ก โครงการพฒั นาคณุ ภาพ นางดาญาวี ภคู ง การศกึ ษาโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน ประจำปง บประมาณ 2562 รวมถึงการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการสบูเหลวน้ำมันรำขาว เผยแพรโ ดย ไรซเบอรรี่งอกผสมสารละลายจากฝาง สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา กองบรรณาธิการจุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ฝา ยบรกิ ารวชิ าการ ราชภฏั พบิ ลู สงคราม หวงั เปน อยา งยง่ิ วา จลุ สารสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม ฉบับนี้ จะเปนประโยชนสำหรับผูอานทุกทานและขอขอบคุณทาน โทรศพั ท 055-267000 ตอ 7217 ผูอานที่ไดใหความสนใจติดตามจุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา อยางตอ เน่ือง ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศิรสิ ุภา เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม ตดิ ตอ ขาวสารเกย่ี วกับสถาบันวิจัยและพฒั นา http://research.psru.ac.th rdi PSRU

สารบัญ เรอ่ื ง หนา บทบรรณาธิการ ................................................................................................................... ก สารบญั ................................................................................................................................ ข ขาวสารความเคล่อื นไหว ...................................................................................................... 1 องคค วามรูจ ากการบริการวิชาการ เรอ่ื งที่ 1 สง เสรมิ นสิ ยั รกั การอานแกโ รงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน โดย นางรัตนพา พันธศรี ................................................................................... 5 เรอ่ื งที่ 2 การสรางชนิ้ งาน 3 มติ ิ และการใชง านเครอื่ ง 3D Printer และ การใชงาน บอรด KidBright และการประยกุ ตใชง าน โดย นายโสภณ พินิจกจิ เจรญิ กลุ ....................................................................... 7 เรื่องที่ 3 การขยายพันธพุ ชื และเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนิคอยา งงายเพอ่ื อาหารกลางวนั ในโรงเรียนตามวิถีพอเพียง โดย ผชู ว ยศาสตราจารยอ รพิน เสละคร ............................................................ 9 เร่ืองที่ 4 การอบรมใหความรเู ชงิ ปฏิบัติการสบูเหลวน้ำมนั รำขา วไรซเ บอรงี่ อกผสม สารละลายจากฝาง โดย ผชู วยศาสตราจารย ดร.วิษณุ ธงไชย ........................................................ 13 เรอ่ื งที่ 5 การยกระดับผลติ ภณั ฑช ุมชนสมนุ ไพรไลย ุง โดย ผูชว ยศาสตราจารยเอกภพ จนั ทรส คุ นธ .................................................. 16 ประชาสัมพนั ธหลกั สูตรฝก อบรม ....................................................................................... 18 หลกั สูตรท่ี 1 การทำแหนมเหด็ โดย ผชู วยศาสตราจารยอ รพิน เสละคร หลักสตู รท่ี 2 การทำขนมจบี ซาลาเปา โดย อาจารยวิรัชยา อินทะกณั ฑ หลกั สตู รท่ี 3 การทำเตา ฮวยนมสด โดย คณุ นริ ชั ดา หงษเ กิด

1 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม รว มตอนรับคณะกรรมการและรบั การตรวจประเมินประกนั คุณภาพศึกษา ภายในระดบั มหาวทิ ยาลัย ปการศกึ ษา 2561 เมอ่ื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2562 สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม รวมตอนรับคณะกรรมการฯ และรับการตรวจประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2561 โดยมีผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะผูบริหารและบุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา รว มตอบขอ ซกั ถามจากคณะกรรมการผปู ระเมนิ ฯ และเมอ่ื วนั ท่ี 30 ตลุ าคม 2562 คณะกรรมการ ผปู ระเมนิ ฯ เขา เยย่ี มชมสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา โดยมผี ชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศริ สิ ภุ า เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา คณะผบู รหิ ารและบคุ ลากรสถาบนั วจิ ยั และพฒั นารว มตอ นรบั โดยไดจ ดั นทิ รรศการดา นงานวจิ ยั แสดงผลงานอนสุ ทิ ธบิ ตั ร/สทิ ธบิ ตั รทไ่ี ดร บั การขน้ึ ทะเบยี นจาก กรมทรพั ยส นิ ทางปญ ญา เขา สกู ระบวนการ Licensing เลม สงั เคราะหอ งคค วามรจู ากงานวจิ ยั และงานสรา งสรรค วารสาร Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, วารสารมนษุ ยศาสตรบ ณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม และดา นงานบรกิ ารวชิ าการ แสดงผลติ ภณั ฑจ งั หวดั พษิ ณโุ ลกและจงั หวดั สโุ ขทยั ทไ่ี ดร บั การพฒั นาภายใตโ ครงการยกระดบั ผลติ ภณั ฑช มุ ชน ตามยทุ ธศาสตรม หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 เพอ่ื การพฒั นาทอ งถน่ิ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2562 อยา งตอ เนื่อง

2 สถาบนั วิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม รว มตอนรับคณะกรรมการและรบั การตรวจประเมิน ประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวทิ ยาลยั เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 ณ หองประชุมราชาวดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตอนรับคณะกรรมการและรับการตรวจติดตาม และประเมินผล โครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา พรอมดวย ผูบริหารและบุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนารวมตอนรับ และตอบขอซักถาม โดยไดรับเกียรติจากคณะกรรมการ ไดแก รองศาสตราจารย ดร.ธันวดี ศรีธาวิรัตน, ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรกฤช ศรีละออ, ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราวลัย มีทรัพย, นางสาวธนาภัทรรัญ เฟองมณี, นางเอมอร กมลวรเดช และเจาหนาที่จากกองนโยบายและแผน โดยผลการติดตามและประเมินผลโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวนทั้งหมด 14 โครงการ พบวามีโครงการที่ผานเกณฑ 3 ใน 4 ตัวชี้วัด จำนวน 14 โครงการ เปน โครงการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจำนวน 14 โครงการ พรอ มใหข อ เสนอแนะ ทง้ั น้ี สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ขอขอบพระคณุ คณะกรรมการ และจะนำขอ เสนอแนะเปน แนวทางดำเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 ตอไป

3 สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เขาพบพัฒนาการจังหวัดพษิ ณุโลกและจังหวดั สโุ ขทยั เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา นำโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริสุภา เอมหยวก ผูอำนวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา อาจารย ดร.พงษพันธุ พุทธิวิศิษฎ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คุณกัลนิกา พูลผล หัวหนา สำนักงานผูอำนวยการ สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา พรอมดว ย บุคลากรสถาบันวิจัยและพัฒนา เขาพบ นางศุภลักษณ แกวมณี พฒั นาการจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ณ สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั พษิ ณโุ ลก และเมอ่ื วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2562 อาจารย ดร.พงษพ นั ธุ พทุ ธวิ ศิ ษิ ฎ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา พรอมดวยบุคลากร สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา เขา พบ นายสวุ นิ พง่ึ เงนิ พฒั นาการจงั หวดั สโุ ขทยั ณ สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั สโุ ขทยั เพอ่ื หารอื เปา หมาย ในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑชุมชน และแกไขปญหา ความยากจน ของประชาชนทม่ี รี ายไดต ำ่ กวา เกณฑ เพอ่ื นำขอ มลู ดงั กลา ว ไปจดั ทำแผนบริการวิชาการเพื่อพัฒนาทองถิน่ ตอ ไป

4 การเสวนาแลกเปล่ยี นเรยี นรู Talent Mobility วันศุกรที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ หองประชุมราชาวดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ไดจ ดั การเสวนาและแลกเปลย่ี นเรยี นรู เรอ่ื ง “แนวทางการบรหิ าร จัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน ในภาคอตุ สาหกรรม (Talent Mobility) และการเขยี นขอ เสนอขอทนุ วจิ ยั ในรปู แบบ Talent Mobility” โดยไดร บั เกยี รตจิ ากผชู ว ยศาสตราจารย ดร. ศริ สิ ภุ า เอมหยวก ผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา เปน ประธานในพธิ เี ปด ผชู ว ยศาสตราจารยไ ชยยนั ต ชนะพรมมา ผอู ำนวยการสำนกั งาน Talent Mobility มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ และ ผูชวยศาสตราจารยศิวัฒม กมลคุณานนท ผูอำนวยการ สำนกั วชิ าศกึ ษาทว่ั ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ เปน วทิ ยากร โดยหลงั จากทม่ี กี ารชแ้ี จงแนวทาง การบริหารจัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถ การแขงขันในภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) สถาบันวิจัยและพัฒนาจะดำเนินการจัดตั้ง คณะกรรมการบริหารจัดการกำลังคนในมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่ม ขีดความสามารถการแขงขันในภาคอุตสาหกรรม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Talent Mobility PSRU) เพื่อดำเนินงานตามบันทึกขอตกลงความรวมมือ ในการเปน หนวยประสานงานสงเสริมและสนับสนุนขับเคลื่อนงานเครือขาย Talent Mobility ของ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงครามตอไป

5 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ʧ‹ àÊÃÔÁ¹ÊÔ ÑÂÃÑ¡¡ÒÃ͋ҹᡋâçàÃÂÕ ¹µÓÃǨµÃÐàǹªÒÂá´¹ ผูรับผิดชอบโครงการ : นางรตั นพา พนั ธศ รี ชื่อหนว ยงาน : สำนกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารนเทศ ที่มาและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เปนสถานศึกษาที่ดำเนินงานโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเปน พันธกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม คือ การเปนพี่เลี้ยงในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน รวมถงึ งานพฒั นาหอ งสมดุ ของโรงเรยี นตระเวนชายแดน เปน ประจำทกุ ป เพราะหอ งสมดุ จดั เปน แหลง เรยี นรพู น้ื ฐาน เพื่อปลูกฝงใหเด็กนักเรียนมีนิสัยรักการอาน การคนควา และการใฝรูอยางตอเนื่อง การพัฒนาหองสมุดใหสามารถ ตอบสนองตอผูใช เปนแหลงเรียนรูที่ดี และสามารถเขาถึงไดงายจึงเปนสิ่งสำคัญ ในปงบประมาณ 2562 นี้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงไดรวมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน และปรบั ปรงุ หอ งสมดุ เพอ่ื พฒั นาหอ งสมดุ ของโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนทง้ั 4 แหง ในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั พษิ ณโุ ลก ประกอบดวย โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานลาดเรือ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนบานนุชเทียน โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นรกั ไทย อำเภอชาติตระการ และโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนอาทรอุทิศ อำเภอนครไทย ใหเกิดการดำเนินงานอยางตอเนื่อง และใหหองสมุดของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เปนแหลง เรียนรูของเด็กนกั เรยี น บุคลากรของโรงเรยี น ตลอดจนประชาชนในชุมชนตอไป กระบวนการทใี่ ชใ นการถายทอดองคค วามรู 1. เก็บขอมูลและรวมวางแผนการดำเนินงานกับครูใหญ และครูผูดูแลหองสมุดโรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนบา นลาดเรอื โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นนชุ เทยี น โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา นรกั ไทย อำเภอชาติตระการ และ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนอาทรอุทศิ อำเภอนครไทย 2. กำหนดวนั จดั กจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ยั รกั การอา น โดย ทมี บรรณารกั ษ สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม วันที่ 4 - 7 มนี าคม พ.ศ. 2562 3. อบรมถา ยทอดองคค วามรใู หก บั ครผู รู บั ผดิ ชอบในดา นการบรหิ ารและจดั การหอ งสมดุ ใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน หลักบรรณารกั ษศาสตร 4. จัดกจิ กรรมสงเสรมิ นสิ ยั รกั การอา นแกน กั เรยี นโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน เพือ่ ใหมีบรรยากาศ ทเี่ ออ้ื ตอ การเรียนรขู องนกั เรยี นสนับสนนุ ใหนกั เรียนเขาใชบรกิ ารหองสมุดมากยิ่งขึ้น

6 องคความรทู ี่ใชใ นการบริการวิชาการ 1. องคความรูดานบรรณารักษ ผูเขารับการอบรม สามารถนำความรูไปจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศไดอยาง ถูกตองตามหลักบรรณารักษศาสตร 2. องคค วามรคู วามรเู กย่ี วกบั การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การใชหองสมุด และการอนุรักษทรัพยากรสารสนเทศ สามารถ นำความรูที่ไดรับไปถายทอดตอได รวมทั้งสามารถจัดกิจกรรม สงเสริมการใชหองสมุด และมีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ของผูเรียน การนำไปใชป ระโยชนของชุมชน 1. ชวยกระตุน ใหนกั เรยี นเยาวชนและคนไทยเพ่มิ อตั ราการอา นใหมากขึ้นกวาเดิม 2. นักเรียนมีนิสัยรักการอาน มีทักษะในการใชภาษาไทย สามารถศึกษาคนควาได ดวยตนเอง และเรยี นรูก ารใชห อ งสมุดไดถูกตอ ง 3. โรงเรียน/ชุมชน มีแหลงเรียนรูที่ใกลบาน สะดวกในการเขาถึง เปนแหลงที่สามารถใชเวลาวาง ใหเกดิ ประโยชน ไมมคี าใชจ าย 4. บุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ไดใช ความเชีย่ วชาญในวชิ าชีพใหเกดิ ประโยชนตอ สังคม นบั เปนการมีสวนรว มในการพฒั นาประเทศ แนวทางการใหบริการวิชาการในอนาคต สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาแหลงเรียนรู ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่องและทำใหเกิดประโยชนสูงสุดตอนักเรียน ชุมชน จึงมีแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพหองสมุดโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ใหมีมาตรฐาน สงผลใหนกั เรียน ครู และประชาชนในชุมชน รกั การอา นและการเรียนรูอยางตอ เนอ่ื งและย่ังยืน

7 ͧ¤¤ ÇÒÁÌ٨ҡ¡ÒÃã˺Œ ÃÔ¡ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á “¡ÒÃÊÃÒŒ §ªÔ鹧ҹ 3 ÁµÔ Ô áÅСÒÃ㪧Œ Ò¹à¤Ãè×ͧ 3D Printer” áÅÐ “¡ÒÃ㪧Œ Ò¹ºÍô KidBright áÅСÒûÃÐÂØ¡µãª§Œ Ò¹” ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ : นายโสภณ พนิ ิจกิจเจริญกลุ ช่ือหนวยงาน : โครงการจดั ต้ังศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีม่ าและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงตระหนกั ถงึ ประโยชน และศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที (Information Technology: IT) ในการพัฒนาประเทศและชีวิต ความเปนอยูของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกผูดอยโอกาส ทรงมพี ระราชดำรวิ า ความเจรญิ กา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยขี น้ึ อยกู บั คณุ ภาพของคนเปน สำคญั เมอ่ื ป พ.ศ. 2558 ไดมีการจัดตั้ง “มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี” ซง่ึ มงุ เนน สนบั สนนุ ใหบ คุ ลากรทกุ ระดบั ตง้ั แตน กั เรยี น นกั ศกึ ษา ครอู าจารย นกั วจิ ยั ใหม โี อกาสไดไ ปเพม่ิ พนู ความรแู ละ ประสบการณทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในกิจกรรมตางๆ ตั้งแตการดูงาน การเขารับการอบรม การทำวจิ ยั ตลอดจนการศกึ ษาตอ ในระดบั สงู ตามศกั ยภาพและความสนใจของแตล ะคน เพอ่ื จะไดน ำความรแู ละประสบการณ ทไ่ี ดร บั มาใชป ระโยชนใ นการพฒั นาประเทศตอ ไป โดยมงุ เนน ทค่ี รแู ละนกั เรยี นในทอ งถน่ิ ซง่ึ มโี อกาสเขา ถงึ เทคโนโลยนี อ ย เพื่อใหเด็กนักเรียนในทองถิ่นและพื้นที่หางไกลไดมีโอกาสแขงขันกับโรงเรียนที่มีโอกาสไดมากขึ้น เนื่องดวยเครือขาย มหาวิทยาลัยสนองพระราชดำริฯ ไอซีทีสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มีวัตถุประสงคที่จะขยายผลใหนักศึกษา ครูและนกั เรียนจากโรงเรยี นในทอ งถนิ่ ใหสามารถประยุกตใ ชไ อซีทจี ัดการเรียนรใู นหองเรียนไดน ้นั ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จึงจัดอบรมหลักสูตรใหแกนักศึกษา ครู และนักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาดว ยตองการใหเขา ใจถงึ กระบวนการการบรู ณาการศาสตรแ ขนงตา งๆ ซง่ึ ประกอบดวย 2 หลกั สตู ร คอื 1. หลกั สตู ร “การสรา้ งชน้ิ งาน 3 มติ ิ และการใชง้ านเครอ่ื ง 3D Printer” เพอ่ื เรยี นรทู้ กั ษะการออกแบบชน้ิ งาน ใหส ามารถนำมาใชง านไดจ รงิ รวมถงึ เขา ใจหลกั การ และ การทำงานของเครอ่ื งพมิ พ 3 มติ ิ ตลอดจนสามารถประกอบ และ แกไขปญหาเบื้องตน ในการใชง านเคร่อื งพิมพ 3 มติ ไิ ด 2. หลักสูตร “การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน” เพื่อเรียนรูการเขียนโปรแกรม เชิงตรรกะเบื้องตนโดยการใชบล็อค และเรียนรูการใชงานอุปกรณเซ็นเซอรตางๆ รวมกับ KidBright ตลอดจน สามารถนำความรทู ไ่ี ดร บั ไปประยกุ ตใ ช จนเกดิ ชน้ิ งานจรงิ ได และ สามารถตอ ยอดไดจ นถงึ ระดบั Internet of Things อันเปนการกระตุนใหนักศึกษา ครู และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาไดมีโอกาสพัฒนาทักษะการเรียนรู และนำความรู ที่ไดรับจากการอบรม ทำการประดิษฐคิดคนเพื่อประยุกตใชงานตางๆ ดวยตนเอง และยังเปนการพัฒนาความรู สกู ารเปนนักวิจัยระดับอาชพี ตอไปได

8 กระบวนการทใี่ ชใ นการถายทอดองคค วามรู การบรรยาย หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer อธิบายถึงความเปนมา หลักการ ทฤษฎีตางๆ เพื่อใหผูเขารวมอบรมเขาใจ แลวลงมือฝกปฏิบัติในการออกแบบสรางชิ้นงาน แลกเปลี่ยน แนะนำ ชน้ิ งานตา งๆทอ่ี อกแบบ เพอ่ื ใหผ เู ขา รว มเขา ใจถงึ หลกั การออกแบบทถ่ี กู ตอ ง เมอ่ื ผอู บรมเขา ใจและออกแบบชน้ิ งาน ไดถ กู ตอ งแลว จงึ ทำการสรา งชน้ิ งานจรงิ และการใหค ำแนะนำการแกไ ขปญ หาตา งๆ ทผ่ี รู ว มอบรมพบ โดยหลกั สตู ร การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน ใชการบรรยายรวมกับการลงมือปฏิบัติและการตั้งโจทยปญหา เพือ่ ใหผ เู ขา รว มอบรมไดคดิ วเิ คราะห และสรา งโปรแกรมเพอ่ื แกไ ขโจทยปญหาตางๆ องคค วามรทู ใ่ี ชในการบรกิ ารวชิ าการ หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer เปนการถายทอดความรู เรื่อง หลักการออกแบบ สรางชิ้นงานสามมิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer ผานการบรรยายและปฏิบัติ เพื่อใหผูเขารวมอบรมเขาใจถึง หลักการของการออกแบบและการสรางชิ้นงานผานเครื่อง 3D Printer โดยหลักสูตร การใชงานบอรด KidBright และการประยุกตใชงาน เปนการถายทอดความรู ประสบการณ และนำตัวอยางการใชงาน KidBright ดานตางๆ มาแสดง ใหผูเขารับการฝกอบรม เพื่อใหเกิดการคิด วิเคราะหและ นำไปใชป ระโยชน การนำไปใชป ระโยชนข องชุมชน หลักสูตร การสรางชิ้นงาน 3 มิติ และการใชงานเครื่อง 3D Printer ผูเขารวมอบรมสามารถนำความรู เรอ่ื ง การออกแบบชน้ิ งานสามมติ ทิ ไ่ี ดจ ากการอบรม มาออกแบบชน้ิ งานแบบตา งๆ เพอ่ื สรา งเปน อปุ กรณใ นการทำงาน เรียนรู หรือการสรางตนแบบผลงานที่เปนรูแบบ 3 มิติ รวมถึงการนำมาประยุกตแกไขปญหาหรือสรางอุปกรณ เครอ่ื งมอื ทห่ี าซอ้ื ไดย าก หรอื เปน สง่ิ เฉพาะทไ่ี มม จี ำหนา ย สว นหลกั สตู ร การใชง านบอรด KidBright และการประยกุ ตใ ชง าน ผูเขาอบรมจะไดรูถึงหลักการเขียนโปรแกรม เรียนรูการคิด วิเคราะห การประยุกตใชงานบอรด KidBright เพ่อื นำไปใชป ระโยชนใ นดานตา งๆ แนวทางการใหบรกิ ารวชิ าการในอนาคต การจัดตั้งกลุมผานทางสื่อสังคมออนไลน Facebook เพื่อใชในการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู รวมถึงใหคำแนะนำสำหรับผูสนใจ หรือจัดอบรมเพื่อถายทอดความรูแกผูสนใจ

9 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃÇÔªÒ¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø¾ª× áÅÐà¾ÒжÑÇè §Í¡´ÇŒ Âà·¤¹¤Ô Í‹ҧ§‹Ò à¾èÍ× ÍÒËÒáÅÒ§Çѹ ã¹âçàÃÕ¹µÒÁÇÔ¶Õ¾Íà¾Õ§ ผูร ับผิดชอบโครงการ : ผูชว ยศาสตราจารยอรพิน เสละคร ช่ือหนว ยงาน : หลกั สตู รสาขาวิชาเกษตรศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร ท่มี าและความสำคัญของโครงการ/กจิ กรรม ในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนใดๆ ก็ตามตองอยูบนวิถีของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะเปนแนวทาง ในการพัฒนาที่นำไปสูความสามารถในการพึ่งพาตนเองในระดับตางๆ การเสริมทักษะอาชีพดวยวิถีพอเพียง โดยการจดั ฝก อบรมถา ยทอดความรดู า นการขยายพนั ธพุ ชื และการเพาะถว่ั งอกอยา งงา ยเพอ่ื เปน อาหารกลางวนั ในโรงเรยี น ใหแกนักเรียน ครู โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนทั่วไป โดยใหสามารถขยายพันธุพืชเพิ่มมากขึ้น และเพาะถั่วงอกรับประทานไดเองไมตองไปหาซื้อจากแหลงอื่น ซึ่งจะเปนการลดรายจายทั้งของโรงเรียน และของประชาชนที่อยูในชุมชน และสิ่งสำคัญคือ นักเรียน ครู และประชาชน มีทักษะในการขยายพันธุพืช และการเพาะถั่วงอกดวยเทคนิคอยางงาย โดยสามารถนำความรูไปประกอบอาชีพ และสรางรายไดเสริมใหแก ครอบครวั ได ซง่ึ เปน การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของ นกั เรยี น ครแู ละประชาชนไดใ นระดบั ทพ่ี ออยู พอกนิ พอใช และพอเพยี ง ดังนั้น คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร จึงไดจัดกิจกรรมเสริมทักษะอาชีพดวยวิถีพอเพียง ในการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหแก นักเรียน ครู ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนทวั่ ไป อำเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก เพอื่ ใหส ามารถพ่ึงพาตนเองไดต อ ไปในอนาคต กระบวนการทใ่ี ชใ นการถา ยทอดองคความรู 1. มีการวางแผน (Plan) โดยประชุมวางแผนการดำเนินงานกับคณะทำงาน และ ติดตอประสานกับกลุมเปาหมายเพื่อ รบั ทราบแผนการดำเนนิ กิจกรรม 2. การดำเนนิ งาน (Do) 2.1 จัดหาวัสดุอปุ กรณการเกษตรเพ่ือใชใ นการดำเนนิ งาน 2.2 ถา ยทอดองคค วามรใู หแ ก ครู นกั เรยี น และชมุ ชน เรอ่ื ง การขยายพนั ธพุ ชื และการเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนคิ อยางงาย เพื่ออาหารกลางวัน ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานรักไทย อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก 2.3 ฝกปฏิบัติการขยายพันธุพืชโดยการเสียบยอดขนุนแบบเสียบลิ่ม การตอนกิ่งฝรั่งแบบควั่นกิ่ง และการเพาะถว่ั งอกดว ยเทคนคิ อยา งงา ย เพอ่ื เสรมิ ทกั ษะอาชพี ใหแ ก ครู นกั เรยี น และชมุ ชน โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน บานรักไทย อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

10 2.4 ติดตามผลโครงการ ใหคำแนะนำแก ครู นักเรียนและชุมชน หลังจากฝกอบรมขยายพันธุพืช และเพาะถั่วงอกดวยเทคนิคอยางงายเพื่อรับทราบปญหา 3. สรุปและประเมินผล (Chek) มีการประเมินและสรุปผลการดำเนินงานหลังสิ้นสุดโครงการ 4. การปรับปรุงและพัฒนา (Action) โดยนำผลการประเมิน และสรุปผลการดำเนินงานไปพัฒนา และปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งตอไป องคค วามรทู ่ีใชในการบรกิ ารวชิ าการ ในการใหบริการวิชาการแกชุมชนในครั้งนี้ไดนำองคความรูไปถายทอดให ครู นักเรียน และชุมชน ใหสามารถนำไปใชในชีวิตประจำวันไดหรือพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพได ในเรื่องการขยายพันธุพืช ไดแก การเสียบยอดขนุน การตอนกิ่งฝรั่ง และการเพาะถั่วงอกอยางงาย 1. การเสียบยอดขนุนแบบเสียบลิ่ม 1.1 อุปกรณที่ใช 1) ตนตอขนุน 2) ยอดขนุนพันธุดี 3) มีดขยายพันธุพืชหรือคัตเตอร 4) กรรไกรตัดกิ่ง 5) เทปพลาสติกพันกิ่ง 6) ถุงพลาสติกใส 7) ยางรัด 1.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) เลอื กตน ตอขนนุ ทส่ี มบรู ณ ไดจ ากการเพาะเมลด็ อายุไมเกิน 3 เดือน 2) ตัดยอดขนุนดวยกรรไกรใหสูงจากโคนตนประมาณ 5 นิ้ว 3) ใชมีดผากึ่งกลางตนตอใหเปนแผลลงลึกประมาณ 1 นิ้ว 4) ตดั ยอดขนนุ จากตน แมย าวประมาณ 3 นว้ิ และตดั ใบออกครง่ึ ใบ จากนน้ั เฉอื นโคนกง่ิ ขนนุ พนั ธดุ ี เฉยี งลงใหเปน รปู ลิ่มยาวเทากบั แผลตนตอ 5) นำกงิ่ พนั ธดุ ีสอดลงในแผลตน ตอ ใหรอยแผลแนบชดิ กนั 6) พันเทปพลาสติกรอบแผลตนตอและกิ่งขนุนพันธุดีจากดานลางขึ้นดานบนใหแนนเพื่อให รอยแผลเชอ่ื มประสานกนั ดี 7) นำตน เสยี บยอดไปอบในถงุ พลาสตกิ ตง้ั ไวใ นทร่ี ม เปน เวลา 1 เดอื น เมอ่ื กง่ิ เสยี บยอดตดิ กนั ดแี ลว จะเรม่ิ แตกตาใหม 8) นำตน เสยี บยอดออกจากถงุ พลาสตกิ แลว เลย้ี งอนบุ าลจนกง่ิ ทแ่ี ตกใหมเ จรญิ เตบิ โตและแขง็ แรง จงึ นำไปปลกู ในแปลง

11 2. การขยายพันธุพืชโดยการตอนกิ่งฝรั่ง 2.1 อุปกรณที่ใช 1) ตนแมพันธุฝรั่ง 2) มีดขยายพันธุพืช หรือคัตเตอร 3) กรรไกรตัดกิ่ง 4) ถุงพลาสติกใสขนาด 3x5 นิ้ว 5) ยางรัด 6) เชือกฟาง 7) ขุยมะพราว 2.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) เลือกกิ่งฝรั่งบนตนแมที่มีสีเขียวปนน้ำตาล โดยเลือกกิ่งที่ไมออนและไมแกเกินไป ขนาดเสนผา ศูนยกลาง 1-2 เซนตเิ มตร 2) บรรจุขุยมะพราวที่แชน้ำจนอิ่มตัวแลวบีบน้ำออกใหหมาดจากนั้นอัดขุยมะพราวใน ถงุ พลาสตกิ ใสใหแ นนพอดี และใชเชือกฟางมดั ปากถงุ ใหแ นน 3) ใชม ดี หรอื คัตเตอร คว่ันกง่ิ ฝรง่ั 2 รอยยาวประมาณ 1-1/2 นิ้ว บริเวณใตข อ เล็กนอย 4) กรีดเปลอื กบรเิ วณรอยควั่น แลว ใชปลายคัตเตอรแ กะเปลอื กและลอกออก 5) ใชสันมีดหรือคัตเตอรขูดเนื้อเยื่อเบาๆ ระวังไมใหเขาไปในแกนไม โดยขูดจาก รอยควั่นบนลงสูดานลาง 6) ในกรณีที่พืชออกรากยากใหทาฮอรโมนชวยเรงรากบริเวณรอยควั่นดานบนซึ่งเปน สว นทก่ี ง่ิ ตอนจะออกราก 7) ใชมีดกรีดถุงขุยมะพราวที่เตรียมไวตามยาวลึกประมาณครึ่งถุง แลวนำไปหุมบริเวณ กึ่งกลางรอยแผลที่ควัน่ ไวใชย างรัดถงุ ซอนกัน 8) ใชเชือกฟางมัดถุงกิ่งตอนหัวทายใหแนนไมใหถุงเคลื่อนหรือหมุนไปมา คอยดูแลกิ่งตอน ใหมคี วามชืน้ ภายในขยุ มะพราวอยูเสมอ 9) หลงั จากตอนกง่ิ แลว ประมาณ 1 เดอื น จะเรม่ิ ออกรากรอใหร ากเจรญิ มสี นี ำ้ ตาลออ น จากนน้ั ทำการบากเตือน โดยใชมดี บากก่ิงตอนใตถงุ ขุยมะพรา วลึกประมาณ 1 ใน 3 ของกงิ่ 10) หลงั จากบากเตือนแลว ประมาณ 1-2 สปั ดาห จงึ ตัดกิง่ ตอนไปชำ ใหแ กะถงุ พลาสตกิ ออก ระวงั ไมใ หรากขาดแลวนำไปชำในถุงพลาสตกิ ดำ ประมาณ 1 เดอื น เม่อื ตน แขง็ แรงดีจึงนำไปปลูกหรอื จำหนา ย

12 3. การเพาะถั่วงอกอยางงาย 3.1 อุปกรณที่ใช 1) ถังน้ำสีดำขนาด 20 แกลลอน หรือ 66 ลิตร 2) ตะกราพลาสติกแบบมีรูสามารถสวมเขาในถังน้ำได 3) สายยางขนาด 5/8 นิ้ว และเข็มกลัดรัด 4) ปมน้ำตูปลาขนาด 2,000 ลิตรตอชั่วโมง 5) ตะแกรงพลาสติกขนาด 2 และ 5 มิลลิเมตร 6) ตัวควบคุมการรดน้ำ 7) หัวบัวรดน้ำขนาด 120 มิลลิเมตร 8) ขอตองอ 90 องศา แบบเกลียวนอกขนาด ½ นิ้ว 9) เมล็ดถั่วเขียว 3.2 ขั้นตอนและวิธีการ 1) แชถั่วเขียวในน้ำสะอาดปริมาณตามที่ตองการเปนเวลาประมาณ 8 ชั่วโมง 2) เติมน้ำสะอาดในถังเพาะที่มีตะกราสำหรับรองเมล็ดถั่วอยูในถัง โดยใหระดับน้ำต่ำกวา กนตะกราประมาณ 1 นิ้ว 3) จัดวางเมล็ดถั่วบนตะแกรง 5 ชั้นในถังเพาะ โดยทำชั้นละ 1 ขีด 4) ปด ฝาถังทต่ี อ กบั ตวั ต้ังเวลาและมฝี กบวั สำหรบั รดน้ำถ่ัวงอกเปน ระยะตามท่ีตั้งเวลาไว 5) หลงั จากเพาะใชเวลา 2-3 วนั สามารถเก็บถ่ัวงอกรบั ประทานได การนำไปใชประโยชนของชมุ ชน ชมุ ชนสามารถนำความรทู ไ่ี ดร บั จากการถา ยทอดองคค วามรู และจากการฝก ทกั ษะในการปฏบิ ตั กิ ารเสยี บยอดขนนุ การตอนกิ่งฝรั่ง และการเพาะถั่วงอกอยางงาย โดยทำใชประโยชนในครอบครัวตนเองกอน จากนั้นจึงขยาย และพฒั นาไปสกู ารสรา งอาชพี ใหก ับครอบครวั ได แนวทางการใหบ รกิ ารวิชาการในอนาคต เนนการฝกทักษะที่สามารถสรางอาชีพใหเกิดรายไดแกชุมชน โดยใชวัตถุดิบที่มีอยูในทองถิ่น ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกคนในชุมชน และขยายพื้นที่ใหบริการวิชาการแกชุมชนเพิ่มมากขึ้น เพื่อชวยแกปญหา ความยากจนของชมุ ชนตอ ไป

13 ͧ¤¤ ÇÒÁÌ٨ҡ¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃÇªÔ Ò¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á ¡ÒÃͺÃÁãˤŒ ÇÒÁÃàÙŒ ªÔ§»¯ÔºÑµ¡Ô ÒÃʺ‹àÙ ËÅÇ ¹éÓÁѹÃÓ¢ŒÒÇäëàºÍÃÕè§Í¡¼ÊÁÊÒÃÅÐÅÒ¨ҡ½Ò§ ผูร ับผิดชอบโครงการ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วิษณุ ธงไชย ช่ือหนวยงาน : หลักสตู รสาขาวชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ที่มาและความสำคัญของโครงการ/กจิ กรรม กลมุ พชื สมนุ ไพรวงั ทอง ตง้ั อยทู ่ี 70/4 หมู 4 บา นบางสะพาน ตำบลวงั ทอง อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เรม่ิ จดั ตง้ั กลมุ ขน้ึ เมอ่ื ป พ.ศ. 2543 จดั ตง้ั โดยกลมุ ผวู า งงาน และตกงานในยคุ เศรษฐกจิ ตกตำ่ โดยไดร บั ความชว ยเหลอื ครง้ั แรกจากกรมประชาสงเคราะห ไดใ หเ งนิ ทนุ โดยการใหเ ปลา กบั เกษตรกรเพอ่ื ชว ยในดา นอปุ กรณ และพฒั นาชมุ ชน ชว ยเหลอื ในดา นการตลาด มจี ำนวนสมาชกิ ทง้ั สน้ิ 45 คน ไดผ ลติ สนิ คา OTOP ทส่ี ง จำหนา ย คอื ทองกวาวเครอื ครมี หนา เดง สมุนไพรเกลือขัดผิว อโรมาเธอราปออยด และแปงฝุนผสมสมุนไพร ซึ่งหลังจากหาขอมูลและสอบถามไปยัง กลมุ ดงั กลา ว ทำใหท ราบวา ทางกลมุ ตอ งการทจ่ี ะพฒั นาผลติ ภณั ฑใ หค วามหลากหลาย และสามารถใชว สั ดทุ เ่ี หลอื ใช จากการทท่ี ำผลติ ภณั ฑห ลกั ใหเ ปน ผลติ ภณั ฑใ หมโ ดยไมป ลอ ยใหว สั ดเุ หลา นน้ั เหลอื ทง้ิ นอกจากนย้ี งั พบวา สมาชกิ กลมุ สวนใหญยังขาดทักษะและความรูในกระบวนการผลิตตามหลักการทางวิทยาศาสตร ทางกลุมจึงตองการใหมี การจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการนำสมุนไพรและการประยุกตใชทางเครื่องสำอาง ใหกับสมาชิกในพื้นที่ ตำบลวังทองที่มีความสนใจ เพื่อเปนทางเลือกในอาชีพและเปนรายไดเสริมใหกับชุมชน ดวยเหตุนี้จึงไดจัดโครงการ บริการการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การถายทอดองคความรูจากงานวิจัยทางดานสมุนไพรและการประยุกตใช ทางเครอ่ื งสำอาง” เพอ่ื เปน การบรู ณาการงานบรกิ ารวชิ าการแกส งั คมกบั การเรยี นการสอนในรายวชิ า เคมเี ครอ่ื งสำอาง และเพื่อสรางทักษะอาชีพใหกับประชาชนในชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังเปนการสงเสริมการสรางงาน ใหกับชมุ ชนเพือ่ ความย่งั ยืนของชมุ ชนตอไป

14 กระบวนการทีใ่ ชใ นการถา ยทอดองคความรู เปนการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการ โดยมีกำหนดการโครงการการถายทอดองคความรูจากงานวิจัย ทางดานสมนุ ไพร และการประยกุ ตใ ชทางเครอ่ื งสำอางใหกับกลุมพืชสมุนไพรวงั ทอง วันท่ี 15 กุมภาพันธ 2562 ถึง 1 มนี าคม 2562 ณ กลมุ ผลติ สมนุ ไพรครมี ลา งหนา ตำบลวงั นกแอน อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ดงั น้ี 15 กุมภาพนั ธ 2562 บรรยายเรอ่ื ง เทคนคิ การสกดั พชื นาํ้ มันเพ่อื ใชในงานเคร่อื งสาํ อาง 22 กุมภาพนั ธ 2562 1 มนี าคม 2562 การฝกปฏิบัติการทาํ สบเู หลวจากพชื น้ํามัน บรรยายเรือ่ ง เทคนิคการสกัดพืชสมนุ ไพรเพ่ือใชในงานเครื่องสาํ อาง การฝกปฏิบัติการทําสบูกอนจากสารสกัดพืชสมนุ ไพร บรรยายเรอื่ ง การทดสอบเบอ้ื งตน ในงานเครอ่ื งสาํ อาง การฝกปฏิบัติการทดสอบคุณสมบัติทางเคมีตาม มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน (มผช.) องคความรูท ใี่ ชใ นการบริการวิชาการ สบูเหลวน้ำมันรำขาวไรซเบอรี่งอกผสมสารละลายจากฝาง ตามการประดิษฐนี้มีการเตรียมโดยนำ ขาวไรซเบอรี่ที่ผานการงอก มาบีบน้ำมันดวยเครื่องบีบเย็นและเตรียมสังเคราะหสารละลายจากฝาง โดยการชั่ง ผงแกน ฝางมารอ ยละ 0.1-1 โดยนำ้ หนกั จนไดส ารละลายฝาง หลงั จากนน้ั นำนำ้ มนั ขา วไรซเ บอรง่ี อกและสารละลายจากฝาง มาพฒั นาผลติ ภณั ฑส บเู หลวโดยมสี ว นประกอบ ดงั น้ี แอมโมเนยี ม ลอรลิ ซลั เฟต โคคามโิ ดโพรพลิ บเี ทน คารโ บพอลอะควา โพรพลิ ีน ไกลคอล น้ำมันรำขา วไรซเ บอรงี่ อก สารกนั เสยี น้ำหอม เกลอื แกง ไดโซเดยี ม อีดีทเี อ สารละลายจากฝาง น้ำบรสิ ุทธ์ิ สวนที่ 1 ชั่งแอมโมเนียม ลอริล ซัลเฟตผสมกับโคคามิโด โพรพิล บีเทน กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 200 รอบตอนาที เปนเวลา 2-3 นาที เพื่อใหสารเขากัน สวนที่ 2 ชง่ั คารโ บพอล อะควา แลว คอ ย ๆ เทลงในสว นท่ี 1 กวนดว ยเครอ่ื งกวน ใชค วามเรว็ 200 รอบตอ นาที เปนเวลา 2-3 นาที เพื่อใหสารเขากัน สวนที่ 3 ชั่งโพรพิลีน ไกลคอล, น้ำมันรำขาวไรซเบอรี่งอก, สารกันเสีย และน้ำหอม คนใหเขากัน เปนเวลา 1-2 นาที แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 300 รอบตอนาทีเปนเวลา 2-3 นาที เพ่ือใหส ารเขา กนั

15 องคค วามรทู ใี่ ชในการบรกิ ารวิชาการ สว นที่ 4 ชั่งเกลือ และไดโซเดียม อีดีทีเอ เติมน้ำบริสุทธิ์ คนใหละลาย แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดว ยเคร่อื งกวน ใชค วามเรว็ 300 รอบตอนาทีเปนเวลา 2-3 นาที เพือ่ ใหสารเขากัน สวนที่ 5 ชั่งสารละลายเงินนาโนจากฝาง แลวคอย ๆ เทลงในสวนที่ 1 กวนดวยเครื่องกวน ใชความเร็ว 300 รอบตอ นาทเี ปน เวลา 2-3 นาที เมอ่ื สารเขา กนั ปรบั ปรมิ าตรดว ยนำ้ บรสิ ทุ ธ์ิ ใหม ปี รมิ าตรครบ 100 โดยนำ้ หนกั แลวกวนดวยเครื่องกวนใชความเร็ว 600 รอบตอนาทีเปนเวลา 5-10 นาที เพื่อใหสวนประกอบเขากันดี หลังจากเตรียมสบูเหลวตามขั้นตอนแลวนำสบูเหลวมาทดสอบคุณสมบัติทางเคมี โดยการวัดคาความเปน กรด-ดาง ไดป ระมาณพีเอช 5.3-5.5 มีปริมาณฟองท่ี 85-90 มิลลลิ ติ ร การนำไปใชป ระโยชนข องชุมชน เชงิ สังคม เพ่ือสรา งความเขมแข็งใหกับชุมชน เชิงเศรษฐกิจ เพอ่ื สรา งงานและการหารายไดใ หก บั ชาวบา นในทอ งถน่ิ เชิงวฒั นธรรม เพือ่ นำภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ มาตอ ยอดเปนผลติ ภัณฑ แนวทางการใหบรกิ ารวชิ าการในอนาคต ศึกษาความตองการของกลุมชุมชนที่สนใจที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ ทางดานเครื่องสำอางที่มีสวนผสมของพืชทองถิ่น จากนั้นนำองคความรูที่ได จากงานวิจัยเขาไปแกปญหารวมมือกับชุมชนในการสรางนวัตกรรมรวมกัน เพื่อสรางงานและการหารายไดใหกับชาวบานในทองถิ่นเกิดความเขมแข็ง ใหกบั ชุมชน

16 ͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃÇÔªÒ¡ÒÃá¡Ê‹ ѧ¤Á การยกระดับผลิตภัณฑช มุ ชนสมุนไพรไลยงุ ผูร บั ผิดชอบโครงการ : ผชู วยศาสตราจารยเ อกภพ จนั ทรส ุคนธ ชอ่ื หนวยงาน : หลกั สูตรสาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทม่ี าและความสำคัญของโครงการ/กิจกรรม ในพื้นที่อำเภอบานดานลานหอยมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ สมุนไพร ซึ่งประชาชนสามารถนำมา ใชประโยชนในหลายดาน เชน ใชประกอบอาหาร ใชเปนสมุนไพรในการรักษาโรค ตลอดจนนำมาไลแมลงตางๆ แตการนำสมุนไพรมาไลแมลงยังขาดคุณภาพ และขอมูลทางวิชาการในการพัฒนาเปนผลิตภัณฑที่ไดรับการรับรอง ทม่ี ีคุณภาพและไดมาตรฐาน ปจจุบัน มีการศึกษาวิจัยแลววามีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใชประโยชนในการกำจัดยุงไดดี คือ ตะไครหอม นำมาผลิตสเปรยกันยุง นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรชนิดอื่นๆ ไดแก กะเพรา ดาวเรือง ขมิ้น พืชตระกูลสม มะกรูด หนอนตายอยาก เปนตน ซึ่งเปนสมุนไพรในทองถิ่นของตำบลบานดานลานหอย และหาไดง า ย มาผลติ เปน สมนุ ไพรไลย งุ นอกจากจะชว ยลดการใชส ารเคมสี งั เคราะหแ ลว นน้ั สมนุ ไพรยงั มคี วามปลอดภยั มากกวาการใชสารเคมีที่มีขายตามทองตลาด และมีราคาตนทุนต่ำ ดวยเหตุนี้ผูจัดทำโครงการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนายกระดับผลิตภัณฑที่ใชกำจัดยุงในรูปแบบที่ไมอันตรายตอคนและสิ่งแวดลอม โดยการนำสมุนไพรพื้นบาน หลายชนิดมาเปนวัตถุดิบหลัก ในการผลิตเปนน้ำมันหอมระเหย จากนั้นจึงนำน้ำมันหอมระเหยที่ไดมาผลิต ตามกระบวนการเพื่อเปนผลิตภัณฑ ซึ่งการนำสมุนไพรพื้นบานมาใชนั้นนอกจากจะเปนการชวยลดปญหา การใชสารเคมีกำจัดแมลงทำใหชุมชนตระหนักและเห็นคุณคาของสมุนไพรใกลตัวที่เปนผลิตภัณฑธรรมชาติ ที่ถกู ช้แี นะไวโดยบรรพบรุ ษุ ของการวจิ ัย คอื ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ กระบวนการทใ่ี ชใ นการถา ยทอดองคความรู เปนการอบรมใหความรูเชิงปฏิบัติการ โดยมีกำหนดการโครงการการถายทอดองคความรูจากงานวิจัย ทางดานสมุนไพร และการประยุกตใชทางเคร่อื งสำอางใหก ับกลุม พืชสมุนไพรวังทอง วนั ที่ 15 กุมภาพันธ 2562 ถึง 1 มนี าคม 2562 ณ กลมุ ผลติ สมนุ ไพรครมี ลา งหนา ตำบลวงั นกแอน อำเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก โดยการบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสกัดพืชน้ำมันเพื่อใชในงานเครื่องสำอาง การฝกปฏิบัติการทำสบูเหลวจากพืชน้ำมัน การฝกปฏิบัติ การทำสบกู อ นจากสารสกดั พชื สมนุ ไพร และการฝก ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบคณุ สมบตั ทิ างเคมตี ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชน

17 กระบวนการที่ใชในการถา ยทอดองคค วามรู การลงพื้นที่สำรวจบริบทชุมชนและศักยภาพความตองการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อขอยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑเปนหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) โดยการถายทอดองคความรูผาน การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ และการสังเคราะหองคความรู องคค วามรทู ี่ใชใ นการบรกิ ารวชิ าการ 1. ความรูดานสมุนไพรที่มีฤทธิ์ไลยุง 2. การพัฒนาเทคนิคการถายทอดความรูใหกับ กลุมชาวบานชุมชนลานหอยรวมใจพัฒนา ใหมีความรู และความเขาใจในการทำธูปสมุนไพรไลยุง และผลิตภัณฑ อื่นๆจากสมุนไพรที่มีฤทธิ์ไลยุง โดยใชภาษาที่เขาใจงาย และชัดเจน 3. การพัฒนาเทคนิคการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยเนนการสาธิตวิธีการทำใหผูเขารวมรับการอบรม ไดเห็นและลงมือปฏิบัติจริง เพื่อสามารถนำความรูที่ได ไปตอยอด เพื่อเพิ่มมูลคาสมุนไพรในทองถิ่นหลังเสร็จสิ้น การอบรม การนำไปใชประโยชนของชมุ ชน ชมุ ชนสามารถนำองคค วามรทู ไ่ี ดจ ากการบรกิ ารวชิ าการ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสมนุ ไพรไลย งุ ไปพฒั นาเปน ตำรบั ธปู หอมไลยุง สามารถนำไปประกอบอาชีพมรี ายได และไดรบั การรับรองมาตรฐานหน่ึงตำบลหนง่ึ ผลิตภัณฑ (OTOP) แนวทางการใหบ ริการวชิ าการในอนาคต เพิ่มเติมกระบวนการวิจัยในหองทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพ ของธูปหอมตอ ยงุ ลายบา น ยุงรำคาญ เพือ่ พัฒนาตอยอดใหก บั ชุมชนตอ ไป

เชญิ สมคั ร 18 เขา รบั การฝก อบรม หลกั สตู รฝก อบรม โดย วทิ ยากรมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม หลกั สตู รท่ี 1 การถกั โครเชต วิทยากร คุณกัณฑรีรัตน ศรเี บญจมาศ เจาหนา ทบ่ี ริหารงานทั่วไป สถาบันวจิ ัยและพัฒนา หลกั สตู รท่ี 2 การทำสรอ ยขอ มอื วิทยากร คณุ ดาญาวี ภคู ง เจาหนาที่บริหารงานทัว่ ไป สถาบันวิจัยและพัฒนา หลกั สตู รท่ี 3 การทำเตา ฮวยนมสด วิทยากร คุณนิรัชดา หงษเกดิ ผูประกอบการธุรกิจรานอาหารเพ่อื สขุ ภาพ ตดิ ตอ สอบถามเพม่ิ เตมิ ท่ี ... 095-3572228 คณุ ดาญาวี ภคู ง งานบรกิ ารวชิ าการ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม



ขอความกรณุ าแสกน QR COED เพื่อตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ปท ี่ 9 ฉบบั ท่ี 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook