Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RDI_SynKnowledge2561

RDI_SynKnowledge2561

Published by rdi, 2019-09-08 23:40:25

Description: RDI_SynKnowledge2561

Keywords: rdi,psru,synthesis,knowledge,thai version

Search

Read the Text Version

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ คำนิยม ก อธกิ ำรบดีมหำวทิ ยำลัยรำชภฏั พิบลู สงครำม ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ขอแสดงความช่ืนชมกับนักวจิ ัยท้ัง 7 คณะ บุคลากรของมหาวิทยาลัยทุกท่าน และสถาบันวิจัยและพัฒนา ที่มีส่วนร่วมมือให้ได้มาเป็นหนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้ จากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์เล่มน้ี ซึ่งได้ดาเนินตามโครงการพัฒนาบุคลากร ด้านการวจิ ยั ตามแผนพฒั นางานวจิ ัยของสถาบันวจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราช ภัฏพิบูลสงคราม งานวิจัยของนักวิจัยและบุคลากร ท้ัง 30 เรื่อง ที่สังเคราะห์องค์ ความรู้จากบทความวิชาการ และก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และมีส่วนร่วมในการ สรรค์สร้างความรู้ดา้ นวชิ าการ การถอดบทเรียน ไมเ่ พยี งแต่เป็นการสงั เคราะห์องค์ ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยเท่านั้น แต่ยังเป็นการแสดงถึงความสามารถของนักวิจัย ในการเขียนบทความวิชาการ คุณภาพของงานวิจัยตลอดจนสามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้ ซึ่งเปน็ การแสดงถึงศกั ยภาพด้านงานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ได้อีกทางหนง่ึ ด้วย ขอให้กาลงั ใจแก่ผู้อานวยการสถาบันวจิ ัยและพัฒนาในความตั้งใจขับเคลื่อนและ ดาเนินโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย จนได้มาเป็นหนังสือสังเคราะห์องค์ ความรู้จากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ ขอให้หนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้เล่ม น้ี ได้ถูกนาไปใชป้ ระโยชนส์ มกบั เจตนารมณข์ องคณะผู้จัดทาต่อไป ดร.สาคร สรอ้ ยสังวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค สังเคราะหค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ คำนำ หนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาได้รับความร่วมมืออันดีจาก 7 คณะ ในการส่งเสริมให้ คณาจารย์และนักวิจัยที่ทาวิจัยในแต่ละคณะได้มานาเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบ บทความทีผ่ ่านการสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้แล้ว ทางสถาบันวิจัยและพัฒนา หวังว่าหนังมือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ในการ นาไปใช้กับหน่วยงานของท่าน หากมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหรือแก้ไขทาง สถาบันวจิ ยั และพัฒนา ยินดีน้อมรบั นาไปพัฒนาในอนาคต หนังสือเล่มน้สี าเร็จลงได้ด้วยดจี ากความรว่ มมือของคณาจารย์ทั้ง 7 คณะ และบคุ ลากรที่เกีย่ วข้อง สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาตอ้ งขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี ข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริสุภา เอมหยวก บรรณาธกิ าร

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ค สำรบัญ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค เรื่อง หนำ้ คานิยมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม........................... ก คานา................................................................................................. ข สารบัญ............................................................................................. ค สารบัญภาพ....................................................................................... ซ การศกึ ษาแนวทางการนาอตั ลกั ษณ์ศิลปะการตดั กระดาษแบบไทยประเพณี มาประยุกตใ์ นการออกแบบบรรจุภณั ฑผ์ ลิตภณั ฑก์ ล้วยแปรรูป ปรารถนา ศริ ิสานต์.......................................................................... 1 การใช้น้ากากส่าเป็นตวั ประสานในกระบวนการผลิตถ่านอัดแท่งจาก ซงั ข้าวโพดและเปลอื กข้าวโพด ชัชวนิ ทร์ นวลศรี............................................................................... 4 การเพม่ิ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมเี ทนจากน้ากากส่าด้วยการ หมักร่วมกบั กากนา้ ตาล ชชั วนิ ทร์ นวลศรี............................................................................... 7 การศึกษาพฤติกรรมและแนวทางการจัดการขยะเปลอื กกล้วยเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ต้นแบบการจัดการขยะอย่างยง่ั ยนื ของชุมชนหนองตมู อ.กงไกรลาศ จ.สโุ ขทยั ชัชวนิ ทร์ นวลศรี............................................................................... 10 การประยุกตใ์ ชข้ องเหลอื ทงิ้ จากเหมอื งถา่ นหินโดยนามาใชเ้ ปน็ วัสดุ ปรบั ปรุงดินสาหรับปลกู ข้าวหอมมะลิ ยทุ ธศักด์ิ แช่มมยุ่ ………………………………………………………………………….……..13

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ เรือ่ ง หนำ้ การศึกษาแนวทางการลดปัญหาแมลงศัตรูพชื ในนาขา้ วพ้ืนที่ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท ปิยวดี นอ้ ยนา้ ใส............................................................................... 16 แนวทางการลดใช้สารเคมีในการป้องกนั และกาจดั ศตั รูพชื ของเกษตรกร ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท ปิยวดี นอ้ ยนา้ ใส............................................................................... 18 การศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชน ตาบลเมืองบางขลัง อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ขวัญชนก นัยจรัญ……………………………………………………………………………… 20 เรื่องส้ันรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2545 – 2556 : การวิเคราะห์วิถีชีวิต ประชาธิปไตย ง ขวัญชนก นัยจรัญ………………………………………………………………............. 23 การสารวจรวบรวมและศกึ ษาพันธุ์ขา้ วไร่ที่เหมาะสมสาหรับเพาะปลกู ในพืน้ ที่ราบของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก จักรกฤช ศรีลออ....................................................................... 26 การปรับปรุงดินกรดโดยการคลุมดินด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และวัสดุปูน จักรกฤช ศรีลออ....................................................................... 30 ชนิดตัวประสานที่เหมาะสมต่อการผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าว จักรกฤช ศรีลออ....................................................................... 32

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ จ เรือ่ ง หนำ้ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ทดสอบการทนแลง้ ของพืชอาหารสัตว์ตระกลู หญ้า 4 สายพนั ธ์ุ ตาบลนายาง อาเภอพชิ ยั จงั หวดั อตุ รดิตถ์ จักรกฤช ศรีลออ....................................................................... 35 ประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อพฤติกรรมการป้องกัน โรคไข้เลือดออในตาบลเข็กน้อย อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ นิโลบล ฉา่ แสง………………………………………………………………………………….. 38 การบริหารจัดการทรัพยากรนา้ และระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการป้องกันปัญหาอุทกภัยในพ้ืนที่ลุ่มนา้ ยมตอนล่าง ปิยะดา วชิระวงศกร…………………………………………………………………………. 40 การประเมินความเสี่ยงด้านสขุ ภาพจากการบริโภคผกั ทีป่ นเปื้อนโลหะหนัก ทีจ่ าหนา่ ยในตลาดสด:กรณศี กึ ษาเขตภาคเหนอื ของประเทศไทย ปิยะดา วชิระวงศกร……………………………………………………….................... 45 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจ ตาบลคันโช้ง จังหวัดพิษณุโลกระยะท่ี 2 พรชัย ปานทุ่ง................................................................................... 49 การสร้างสรรค์ใบยางพาราเพ่อื ใชผ้ ลิตภัณฑข์ องตกแต่งและของชารว่ ย พรชัย ปานทุ่ง................................................................................... 51 การศึกษาส่วนผสมของวตั ถดุ บิ จากชานอ้อยและส่วนผสมปูนปลาสเตอร์ ในการผลิตฉนวนกนั ความร้อนเพ่อื ลดการใช้พลงั งานและรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ ขนั แก้ว สมบรู ณ์…………………………………………………………………………………. 53

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค สังเคราะหค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ เรือ่ ง หนำ้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นการผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ บ้านซารงั ต.ชมพู อ.เนนิ มะปราง จ.พษิ ณุโลก อไุ รวรรณ์ รกั ผกาวงศ์....................................................................... 55 ววิ ฒั นาการของบรรจุภัณฑอ์ าหารพ้ืนถิ่นเมอื งพิษณโุ ลกและการพัฒนา บรรจุภณั ฑเ์ พ่อื มูลค่าเพม่ิ พรดรัล จุลกัลป์................................................................................ 57 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสมะขามปรงุ รสสาเร็จรูปจากมะขามหวานตกเกรด พรดรลั จุลกลั ป์................................................................................ 59 การพฒั นาสูตรเน้ือดินป้นั สาหรับผลิตภณั ฑส์ โตนแวร์จากดินบ้านปลักแรด อาเภอบางระกา จงั หวัดพษิ ณโุ ลก วมิ ล ทองดอนกลงิ้ ……………………………………………………………………………… 61 ฉ การพัฒนาผงกลา้ เชอื้ สาหรบั หมกั ข้าวหมากและเคร่อื งดื่มข้าวหมาก ที่มีสารตา้ นอนุมลู อิสระสูง เกตุการ ดาจนั ทา............................................................................. 62 การพัฒนาโลช่ันบารุงผิวขาวจากสารสกดั เปลอื กหมุ้ เมลด็ มะขาม สตู รนาโมอิมัลชัน เกตุการ ดาจนั ทา............................................................................. 64 การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ และออกแบบผลิตภัณฑส์ ินค้าของทีร่ ะลึก เชงิ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ้ืนบ้านจ่าทวี จังหวัดพิษณโุ ลก ปรารถนา ศริ ิสานต์……………………………………………………………………………. 66

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ เรื่อง หนำ้ บรรจภุ ณั ฑก์ ล้วยแปรรปู เพื่อเป็นมติ รตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม ปรารถนา ศริ ิสานต์………………........................................................... 69 ผลิตภณั ฑข์ องทีร่ ะลึกจากภมู ปิ ัญญามดั ยอ้ มครามธรรมชาติ ปรารถนา ศริ ิสานต์………………........................................................... 71 โครงการพฒั นาบรรจุภณั ฑก์ ลมุ่ ผลิตภณั ฑ์แปรรปู ตาบลคนั โช้ง อาเภอวดั โบสถ์ จังหวดั พิษณุโลก ปรารถนา ศริ ิสานต์………………........................................................... 73 การสร้างมูลคา่ เพิ่มและการพัฒนาภมู ปิ ญั ญาการทากระยาสารทสมนุ ไพร ปรุงรสของกลมุ่ แมบ่ ้านใน นา้ ทพิ ย์ วงษป์ ระทปี ……………………………………………………………………………. 75 ช ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค สังเคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ สำรบญั ภำพ ภำพ หนำ้ การศึกษาแนวทางการนาอัตลักษณ์ศิลปะการตัดกระดาษ แบบไทยประเพณีมาประยุกตใ์ นการออกแบบบรรจภุ ัณฑผ์ ลิตภณั ฑ์ กล้วยแปรรูป……………………………………………………………………………………….. 2 การใช้น้ากากส่าเปน็ ตวั ประสานในกระบวนการผลิตถา่ นอดั แท่งจาก ซงั ข้าวโพดและเปลอื กข้าวโพด........................................................... 6 การเพ่มิ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมเี ทนจากน้ากากส่าด้วยการ หมกั ร่วมกับกากนา้ ตาล..................................................................... 9 การประยุกตใ์ ชข้ องเหลอื ทงิ้ จากเหมอื งถา่ นหินโดยนามาใชเ้ ป็นวสั ดุ ปรบั ปรงุ ดินสาหรับปลูกข้าวหอมมะลิ………………………………………….…….. 13 การศึกษาแนวทางการลดปัญหาแมลงศตั รพู ชื ในนาขา้ วพ้ืนทีต่ าบลตลกุ ซ อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท........................................................... 17 แนวทางการลดใช้สารเคมีในการป้องกันและกาจัดศตั รพู ชื ของเกษตรกร ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท.......................................... 19 การศึกษาภูมนิ ามโดยเครอื ขา่ ยชุมชน ตาบลเมอื งบางขลงั อาเภอสวรรคโลก จังหวดั สโุ ขทัย……………………………………………............. 22 การสารวจรวบรวมและศกึ ษาพันธ์ุขา้ วไร่ที่เหมาะสมสาหรบั เพาะปลกู ในพืน้ ที่ราบของจงั หวัดพษิ ณุโลก........................................................ 27 ชนิดตัวประสานที่เหมาะสมต่อการผลิตถ่านอัดแท่ง จากกะลามะพร้าว............................................................................ 33

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ฌ เรื่อง หนำ้ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ทดสอบการทนแลง้ ของพืชอาหารสตั ว์ตระกูลหญ้า 4 สายพนั ธ์ุ ตาบลนายาง อาเภอพชิ ยั จังหวดั อุตรดิตถ์.......................................... 36 การบริหารจัดการทรัพยากรนา้ และระดบั การมสี ่วนร่วมของชุมชน ในการป้องกนั ปญั หาอทุ กภัยในพ้ืนทีล่ มุ่ นา้ ยมตอนล่าง…………………….... 41 การสร้างสรรค์ใบยางพาราเพ่ือใช้ผลิตภัณฑ์ของตกแต่ง และของชาร่วย.................................................................................. 52 การศึกษาส่วนผสมของวตั ถดุ บิ จากชานอ้อยและส่วนผสมปูนปลาสเตอร์ ในการผลิตฉนวนกนั ความร้อนเพ่อื ลดการใช้พลังงานและรักษาสิง่ แวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ………………………………………………....................................... 54 ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ดา้ นการผลิตผ้ายอ้ มสีธรรมชาติบ้านซารัง ต.ชมพู อ.เนนิ มะปราง จ.พษิ ณุโลก.................................................................56 ววิ ัฒนาการของบรรจภุ ณั ฑอ์ าหารพ้ืนถิ่นเมอื งพิษณโุ ลกและการพัฒนา บรรจภุ ัณฑเ์ พ่อื มูลค่าเพ่มิ ................................................................... 58 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสมะขามปรุงรสสาเร็จรูปจาก มะขามหวานตกเกรด........................................................................ 60 การพฒั นาสตู รเน้อื ดินปน้ั สาหรับผลิตภณั ฑส์ โตนแวร์จากดินบ้านปลักแรด อาเภอบางระกา จงั หวดั พษิ ณุโลก………………………………………………………. 61 การพัฒนาผงกลา้ เชอื้ สาหรับหมกั ข้าวหมากและเคร่อื งดืม่ ข้าวหมาก ทีม่ ีสารตา้ นอนุมูลอิสระสูง................................................................. 63

สังเคราะหค์ วามรู้จากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ เรื่อง หนำ้ การพฒั นาโลชนั่ บารงุ ผิวขาวจากสารสกัดเปลอื กหมุ้ เมลด็ มะขาม สตู รนาโมอิมลั ชัน............................................................................... 65 การพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ และออกแบบผลิตภณั ฑส์ ินค้าของทีร่ ะลึก เชงิ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ พิพิธภัณฑพ์ ้ืนบ้านจ่าทวี จงั หวัดพิษณโุ ลก……... 67 บรรจภุ ัณฑก์ ล้วยแปรรปู เพื่อเป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม.......................... 70 ผลิตภัณฑข์ องทีร่ ะลึกจากภมู ปิ ัญญามัดยอ้ มครามธรรมชาติ...............72 โครงการพัฒนาบรรจภุ ณั ฑก์ ลมุ่ ผลิตภัณฑแ์ ปรรปู ตาบลคันโชง้ อาเภอวดั โบสถ์ จงั หวดั พิษณุโลก........................................................ 74 การสร้างมูลคา่ เพิ่มและการพัฒนาภมู ปิ ญั ญาการทากระยาสารทสมนุ ไพร ปรุงรสของกลมุ่ แมบ่ ้านใน.....………………………………………………………………. 76 ญ สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การศึกษาแนวทางการนาอตั ลักษณศ์ ิลปะ การตัดกระดาษแบบไทยประเพณี มาประยุกต์ ในการออกแบบบรรจุภณั ฑผ์ ลิตภณั ฑ์กล้วยแปรรูป ปรารถนา ศริ ิสานต์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ลุ สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ -1- ศลิ ปะการตดั กระดาษเปน็ ลวดลาย หรือลายฉลุ เปน็ ศิลปะภูมปิ ญั ญาของ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ไทย ที่บรรพบุรุษได้ฝากไว้ เป็นสมบัติของชาติ ใช้ตกแต่งสถานที่ในการประกอบ พธิ ีกรรมบญุ หรืองานมงคลต่างๆ เชน่ งานอปุ สมบท งานหม้ัน แตง่ งาน ทาบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ซึ่งนับวันย่ิงจะเลือนหาย ปัจจุบันมักเห็นแต่ใน งานบุญ หรืองานเทศกาลบ้าง พิษณุโลกมีสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญและเป็นหน่ึงใน แหลง่ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ มศี ลิ ปะของพ้นื ถิ่นเป็นเอกลักษณ์แสดงถึง วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในพ้ืนที่ เพ่ือเป็นการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและ ท้องถิ่น ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทาการศึกษาสภาพท่ัวไปของศิลปะการตัด กระดาษแบบไทยประเพณี และนาข้อมูลที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์ ลวดลายบนวัสดุใยกล้วย จากนั้นนามาออกแบบบรรจุภัณฑ์สาหรับผลิตภัณฑ์ ภายในจังหวัดพิษณุโลก เพ่ือเป็นการเพ่ิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชน และเพ่ือเป็น การอนุรักษ์ เผยแพร่ศิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี ให้เห็นถึงคุณค่า ความสาคัญของภูมิปัญญา และเพ่ือให้คนรุ่นหลังเรียนรู้ เห็นคุณค่าได้รู้จักและ รกั ษารปู แบบการตดั กระดาษน้แี ละอนุรกั ษไ์ วส้ บื ตอ่ ไป ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย การถ่ายทอดองค์ความรู้เป็นไปในรูปแบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีกระบวนการบรรยายเร่ืองการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เป็นการสร้างองค์ความรู้

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ พ้ืนฐานเกี่ยวกับการออกแบบเบื้องต้น การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะการตัด กระดาษแบบไทยประเพณี และมีการระดมความคิด สร้างแนวคิดในการออกแบบ ให้สอดคลอ้ งตรงกบั ความต้องการของกลุ่มชุมชนและเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ ของผู้บริโภคหลักของกลุ่ม ร่วมกันวิเคราะห์รูปแบบของบรรจุภัณฑ์เดิมเพ่ือหา แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่ที่ส่งเสริมให้มีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยการยกตวั อย่างให้กลุ่มชุมชนสามารถเห็นภาพได้งา่ ยขนึ้ องค์ความรู้ในกระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แนวคิดในการออกแบบ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ และนามาประยุกต์กับการถอดลวดลายของศิลปะการ ตดั กระดาษแบบไทย และการนาอัตลักษณศ์ ิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี มาประยุกต์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์กล้วยแปรรูป ได้ต้นแบบ ผลิตภัณฑก์ ล้วยแปรรูปของกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนอาเภอบางกระทุ่ม จงั หวัดพษิ ณุโลก ที่มีเอกลักษณ์แตกต่างสามารถเพม่ิ มลู คา่ และดึงดดู ความสนใจแก่ผู้บริโภคได้ ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ได้รูปแบบบรรจุภัณฑ์กล้วยแปรรูป โดยการนาอัตลักษณ์ศิลปะการตัด กระดาษแบบไทยประเพณี มาประยุกต์ในการออกแบบ ที่สร้างเอกลักษณ์ให้แก่ - 2 - ชุมชน เพ่ือเป็นการส่งเสริมการขาย และสามารถเพ่ิมมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ ส่งผล ให้เกิดการเพ่ิมกลุ่มผู้บริโภค เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนอีกทางหน่ึง และ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ เพ่ือการขยายหรือต่อยอด อีกท้ังเป็นการเผยแพร่ให้แก่ชุมชนข้างเคียง หรือผู้ที่ สนใจการออกแบบบรรจภุ ณั ฑเ์ พ่อื ขยายวสิ าหกิจชุมชนในอนาคตต่อไป ➢ ภาพกิจกรรม ภาพที่ 1 ลวดลายจากการประยกุ ต์แบบที่ 1

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 2 ลวดลายจากการประยุกต์แบบที่ 2 ภาพที่ 3 ลวดลายจากการประยุกต์แบบที่ 3 -3- ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรูจ้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ การใช้นากากสา่ เป็นตัวประสานในกระบวนการผลิต ถ่านอดั แท่งจากซงั ข้าวโพดและเปลือกข้าวโพด ชชั วนิ ทร์ นวลศรี* และจักรกฤช ศรีละออ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถปุ ระสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ พลังงานชีวมวลจดั เปน็ หน่งึ ในแหล่งพลังงานทดแทนที่มบี ทบาทสาคัญใน ยุคปัจจุบัน และยังถูกนามาประยุกต์ใช้มากที่สุดในโลก เน่ืองจากชีวมวลสามารถ หาได้ทั่วไปในธรรมชาติ สามารถนามาประยุกตใ์ ช้ได้หลากหลายรูปแบบ สามารถ สร้างขนึ้ ใหม่ทดแทนของเดิมได้ตลอดเวลา และการใชช้ วี มวลเป็นแหลง่ พลังงานยัง ไม่จัดว่าเป็นการเพ่ิมปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับบรรยากาศอีกด้วย (Toklu, 2017) การใช้ชีวมวลเป็นแหล่งพลังงานในรูปแบบของฟืนและถ่านไม้ เป็นสิ่งที่ - 4 - มนุษยค์ ุ้นเคยและมกี ารประยุกตใ์ ชก้ ันมานานแลว้ แตเ่ มอ่ื ฟืนและถ่านไมถ้ ูกนามาใช้ งานมากขึ้น ผู้ผลิตมักถูกมองว่าเป็นการตัดไม้ทาลายป่า และสร้างมลภาวะให้กับ สิง่ แวดลอ้ ม (ศริ ิชัย และคณะ, 2555) ดังนน้ั ในยคุ ตอ่ มาจึงมีการคดิ ค้นผลิตถ่านอดั แท่งข้นึ เพอ่ื ทดแทนถ่านไม้แบบดงั้ เดิม โดยการนาเศษชวี มวลหรือวสั ดุเหลอื ใช้ทาง การเกษตรมาเผาให้เป็นถ่าน บดให้ละเอียดเป็นผง ผสมกับตัวประสานก่อนที่จะ นาเข้าเครื่องอัดออกมาเป็นแท่ง จากนั้นจะนาไปอบหรือตากแดดเพ่ือลดความช้ืน เพ่ือให้ได้ถ่านอัดแท่งที่พร้อมใช้งาน การผลิตถ่านอัดแท่งจึงไม่จดั ว่าเป็นการตัดไม้ ทาลายป่าและยังถือว่าเป็นการนาชีวมวลเหลือทิ้งหมุนเวี ยนกลับมาใ ช้ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ได้อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ตัวประสานในกระบวนการอัดแท่งถ่านที่ นิยมใช้ในปัจจุบันคือแป้งมันสาปะหลัง ซึ่งนอกจากจะเป็นการเพ่ิมต้นทุนในการ ผลิตแล้ว แป้งมันสาปะหลังยังจัดว่าเป็นพืชอาหารที่สาคัญ การนาแป้งมัน สาปะหลังมาใชผ้ ลิตพลังงานจึงจัดว่าเปน็ การขัดแยง้ กบั แนวคิดด้านการสร้างความ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ม่นั คงทางด้านอาหารของประชากรโลก (Paschalidou et al., 2016) ดังน้ัน งานวจิ ัย -5- น้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือหาวัสดุประสานทดแทนแป้งมันสาปะหลังในกระบวนการ ผลิตถ่านชีวมวลอัดแท่งจากซังข้าวโพดและเปลือกข้าวโพด โดยการใช้น้ากากส่า ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ซึ่งเป็นของเสียเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตเอทานอล เน่ืองจากในปัจจุบันน้ี ภาครัฐให้การสนับสนุนการผลิตเช้อื เพลิงเอทานอลในประเทศเพอ่ื ใชท้ ดแทนน้ามัน เ บ น ซิ น ท า ใ ห้ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ อ ท า น อ ล เ ติ บ โ ต ขึ้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง การจัดการของเสียเหลอื ทงิ้ จากกระบวนการผลิตเอทานอลจึงเป็นส่งิ ที่ทุกภาคส่วน ควรให้ความสาคญั และจากการศกึ ษาคุณสมบตั เิ บือ้ งต้นของน้ากากส่า พบวา่ นา้ กากส่ามีลักษณะเหนียวข้น มีค่าพลังงานความร้อนสูง ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ เหมาะสมต่อการนามาใช้เป็นตัวประสาน ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญของการนา นา้ กากส่ามาใชเ้ ป็นตัวประสานในกระบวนการผลิตถ่านชีวมวลอัดแท่ง ซึง่ นอกจาก จะช่วยลดการใช้แป้งมันสาปะหลังลงได้แล้ว ยังเป็นการนาของเสียเหลือทิ้ง หมุนเวียนกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกทางหน่ึง วัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ 1) เพ่ือ ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน้ากากส่าต่อถ่านซังข้าวโพดและถ่านเปลือก ข้าวโพดในกระบวนการผลิตถ่านชีวมวลอัดแท่ง และ 2) เพ่ือศึกษาคุณสมบัติของ ถ่านชีวมวลอัดแท่งที่ได้จากการวิจัยเปรียบเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทถ่านอดั แท่ง (มผช. 238/2547) ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั เป็นงานวิจัยที่สนับสนุนนโยบายด้านการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนของ ภาครัฐในส่วนของพลังงานชีวมวล โดยเป็นการใชช้ ีวมวลเหลอื ทิ้งทางการเกษตรที่ มีศักยภาพสูงภายในประเทศ คือ ซังข้าวโพดและเปลือกข้าวโพด มาประยุกต์ใช้ ร่วมกับของเสียเหลอื ทงิ้ จากอตุ สาหกรรมการผลิตเอทานอลทีม่ ีอตั ราการเตบิ โตสูง ซึ่งนอกจากจะได้ประโยชน์ในด้านพลังงานทดแทนแล้ว ยังเป็นการช่วยลดปัญหา ด้านสิ่งแวดลอ้ มให้กับประเทศได้อีกทางหนึง่ ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า น้ากากส่าสามารถใช้เป็นตัวประสานในกระบวนการผลิตถ่าน อัดแท่งเพ่อื ทดแทนแป้งมนั สาปะหลังได้เป็นอยา่ งดี โดยไม่ทาให้คุณสมบตั ขิ องถ่าน

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามร้จู ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ อดั แท่งทางด้านกายภาพ ค่าความร้อน ความชนื้ และคณุ สมบัตใิ นการใชง้ านลดลง โดยอัตราส่วนที่เหมาะสมของถ่านซังข้าวโพด ถ่านเปลือกข้าวโพด และน้ากากส่า ที่เหมาะสมคือ 3:7:10 (โดยน้าหนัก) ทาให้ถ่านชีวมวลอัดแท่งที่ได้มีค่าความร้อน เท่ากับ 6,415 กิโลแคลอรีต่อกรัม ซึ่งสูงกว่าการใช้แป้งมันสาปะหลังเป็นตัว ประสาน มีค่าความช้ืนเพยี งร้อยละ 4.93 มีลักษณะทางกายภาพและคณุ สมบัตใิ น การใช้งานเป็นไปตามที่กาหนด ซึ่งคุณสมบัติท้ังหมดผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทถ่านอัดแท่ง (มผช.238/2547) ดังนั้น องค์ความรู้ทีไ่ ด้จาก การวจิ ัยน้ีจึงสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับการผลิตพลังงานทดแทนจากชวี มวลและ ของเสียเหลือทิ้งทางการเกษตรได้ เน่ืองจากชีวมวลทางการเกษตรในประเทศไทย มีความหลากหลายและมีปริมาณมาก และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้ จรงิ ในชุมชน นอกจากนี้ การนาชีวมวลและของเสียเหลือทิ้งเหลา่ นน้ั มาประยุกต์ใช้ ในด้านพลังงานทดแทน นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานแล้ว ยังช่วยลด ปริมาณของเหลือทิ้งทางการเกษตรลงได้ ซึ่งส่งผลดีทั้งทางด้านเศรษฐกิจและ สิง่ แวดลอ้ มในภาพรวมของประเทศ -6- ภาพที่ 1 ข้ันตอนการผลติ ถ่านชีวมวล

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การเพิม่ ประสิทธภิ าพกระบวนการผลิตมเี ทน จากนากากส่าด้วยการหมกั ร่วมกับกากนาตาล ชชั วนิ ทร์ นวลศรี* และจักรกฤช ศรีละออ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ -7- อุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลเพ่ือใช้เป็นเช้ือเพลิงภายในประเทศกาลัง ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค เติบโตขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยในปัจจุบันน้ี โรงงานผลิตเอทานอลในประเทศไทยที่ เริ่มดาเนนิ การผลิตแล้ว มมี ากกวา่ 20 โรงงาน มีกาลงั การผลิตรวมกวา่ 4 ล้านลิตร ตอ่ วัน และคาดวา่ ภายในปีพ.ศ. 2565 จะเพม่ิ กาลงั การผลิตขึน้ ไปอกี ถึง 9 ล้านลิตร ต่อวัน (สมาคมการค้าผู้ผลิตเอทานอลไทย, 2559) กระบวนการผลิตเอทานอล จากกระบวนการหมัก ได้กอ่ ให้เกิดนา้ เสียจากกระบวนการผลิตที่เรียกวา่ นา้ กากส่า (vinasse) เป็นจานวนมากตามกาลังการผลิต โดยที่น้ากากส่าเป็นน้าเสียที่มี สารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบหลัก และมีค่าซีโอดี (chemical oxygen demand) สูง ถึง 75 - 110 กรมั ซีโอดี (Moraes et al., 2015) ซึง่ โดยปกตแิ ล้วการผลิตเอทานอล 1 ลิตร จะมีน้ากากส่าที่ออกมาจากกระบวนการผลิตถึง 14 ลิตร (Albanez et al., 2016) ทาให้หลายฝ่ายได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นได้ โรงงานผลิตเอทานอลทุกโรงงานจึงจาเป็นตอ้ งมรี ะบบบาบัดนา้ กากส่าให้เป็นไปตาม ค่ามาตรฐานของน้าทิ้งโรงงานที่กาหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งระบบบาบัดน้า กากส่าที่มีใชก้ ันอยทู่ ัว่ ไปคือ ระบบบาบัดนา้ เสียด้วยกระบวนการหมกั แบบไร้อากาศ (anaerobic digestion) โดยอาศัยการทางานของจุลินทรีย์ ในการย่อยสลาย สารอินทรีย์ในน้ากากส่าภายใต้สภาวะไร้อากาศ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดค่าซีโอดีใน น้าเสียได้แล้ว ยังมีแก๊สมีเทนซึ่งเป็นแก๊สเช้ือเพลิงเป็นผลพลอยได้จากระบบบาบัด อกี ด้วย แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม ประสิทธิภาพในการบาบัดน้ากากส่าด้วยกระบวนการหมัก

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ แบบไร้อากาศโดยท่ัวไปยังมีค่าต่า ทาให้คุณภาพน้าเสียไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ได้ปริมาณแก๊สมีเทนต่าและไม่เหมาะสมต่อการนามาใช้งาน เน่ืองจาก องค์ประกอบของน้ากากส่าส่วนมากเป็นสารอินทรีย์ที่ยากต่อการย่อยสลายด้วย จุลินทรีย์ น้ากากส่าที่ผ่านกระบวนการหมักแบบไร้อากาศมาแล้วจึงจาเป็นต้อง ผ่านระบบบาบัดดว้ ยวธิ ีอืน่ เพ่มิ เตมิ อีก เพอ่ื ให้ได้คุณภาพน้าตรงตามมาตรฐานก่อน ปล่อยออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการเพ่ิมค่าใช้จ่ายให้กับโรงงาน แนวทางหน่ึงที่จะ ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพของกระบวนการหมักแบบไร้อากาศได้คือการใช้วิธีการหมกั ร่วม (co-digestion) โดยใชส้ ับสเตรทชนิดอื่นทีม่ ีความเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ของจุลนิ ทรีย์เข้ามาร่วมในกระบวนการหมัก (Xia et al., 2012) ดังนนั้ งานวจิ ยั น้จี ึง มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมีเทนจากนา้ กากส่าด้วย กระบวนการหมักร่วมกับสับสเตรทชนิดอ่ืน โดยผู้วิจัยได้ให้ความสนใจกับการใช้ กากน้าตาลในกระบวนการหมักร่วม เน่ืองจากกากน้าตาลเป็นวัตถุดิบที่มี องค์ประกอบหลักเป็นน้าตาลซูโครสซึง่ เป็นแหล่งพลังงานสาคัญของจุลินทรีย์ และ ยังประกอบไปด้วยธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์อีกหลาย ชนิด (Mironczuk et al., 2015) นอกจากน้ี กากน้าตาลยังเป็นวัตถุดิบหลักใน - 8 - กระบวนการผลิตเอทานอลของโรงงานอยู่แล้ว การนากากน้าตาลมาใช้เป็น สบั สเตรทสาหรับกระบวนการหมกั ร่วมกับนา้ กากส่าจะชว่ ยให้โรงงานไมจ่ าเป็นต้อง มีต้นทุนค่าขนส่งวัตถุดิบเพ่ิมเติมอีก ผลการวิจัยที่ได้จึงสามารถนาไปใช้เป็นแนว ทางการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน ของระบบบาบัดน้ากากส่าจาก โรงงานผลิตเอทานอล รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนให้สูงขึ้นได้ วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพ่ือศึกษาอัตราส่วนและความเข้มข้นที่เหมาะสมของ น้ากากส่าต่อกากน้าตาลในการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมีเทนด้วย กระบวนการหมักร่วม ➢ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั เป็นงานวิจัยที่สนับสนุนนโยบายของรัฐในด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ทดแทน โดยเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการบาบัดน้ากากส่าจาก โรงงานผลิตเอทานอลและผลิตแก๊สมีเทนเพ่ือใช้เป็นพลังงานทดแทน ซึ่งนอกจาก

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ จะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียให้กับโรงงานได้แล้ว แก๊สมีเทนยัง สามารถหมุนเวยี นกลับมาใชป้ ระโยชนภ์ ายในโรงงาน เปน็ การช่วยลดค่าใชจ้ ่ายดา้ น พลังงานได้ นอกจากน้ียังเป็นการช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของ ประเทศได้อีกทางหนึ่ง ภาพที่ 1 ขั้นตอนการกล่ันเอทานอล -9- ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ผลการวจิ ัยพบวา่ การหมกั ร่วมระหว่างนา้ กากส่ากบั กากน้าตาลสามารถ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนของกระบวนการหมักแบบไร้อากาศให้สูงขึ้น ได้ เม่ือเทียบกับการใช้น้ากากส่าเป็นสับสเตรทเพียงชนิดเดียว โดยที่ความเข้มข้น ของสับสเตรทที่เหมาะสม จัดว่าเป็นปัจจัยสาคัญของกระบวนการ ซึ่งจะต้อง ควบคุมให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพ่ือเป็นการรักษาสมดุลของค่า pH และ เสถียรภาพโดยรวมของกระบวนการหมัก โดยอัตราส่วนของน้ากากส่าต่อ กากน้าตาลที่เหมาะสมที่สุดคือ 3:2 และความเข้มข้นของสับสเตรทเท่ากับ 10 g-VS/L ทาให้ได้ปริมาตรแก๊สมีเทนสะสมและค่าผลได้ของมีเทนสูงที่สุดเท่ากับ 3,847 mL/L และ 385 mL/g-VS ตามลาดบั ซึง่ องคค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการวจิ ยั ในครงั้ น้ี สามารถนาไปใช้เปน็ ขอ้ มลู พ้นื ฐานในการพฒั นาและออกแบบระบบบาบัดน้าเสีย ให้กับโรงงานผลิตเอทานอล เพ่ือเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพของการบาบัดน้าเสีย และผลิตแก๊สมเี ทนไว้ใช้ภายในโรงงานได้

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรู้จากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ การศึกษาพฤติกรรมและแนวทางการจดั การขยะ เปลือกกล้วยเพือ่ ใช้เปน็ ตน้ แบบการจัดการขยะ อยา่ งยง่ั ยืนของชมุ ชนหนองตมู อ.กงไกรลาศ จ.สโุ ขทัย ชัชวนิ ทร์ นวลศรี* และจกั รกฤช ศรีละออ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ ตาบลหนองตูมเป็นตาบลหน่ึงในอาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย มี ประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 1,500 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม อาชพี หลกั อกี อาชพี หน่งึ ของคนในชมุ ชนคือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก กล้วย ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงของชุมชนหนองตมู เชน่ กล้วยฉาบ กล้วยอบเนย - 10 - กล้วยเคลือบคาราเมล เป็นต้น จึงทาให้มีเกษตรกรบางส่วนที่ว่างเว้นจากการทาไร่ นามกี ารรับจ้างปอกเปลือกกล้วย เพ่อื ส่งให้กบั โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ขนาดเล็กท่ี กระจายอยทู่ ั่วชุมชนหนองตูม ปัญหาสาคญั อยา่ งหน่งึ ที่พบในชมุ ชนหนองตูมจึงเป็น ปญั หาด้านการจัดการขยะเปลอื กกล้วย เน่อื งจากขยะเปลอื กกล้วยส่วนมากยงั ไม่ได้ รับการจัดการอย่างถูกต้อง เช่น มีการนาเศษเปลือกกล้วยไปกองทิ้งไว้ในบริเวณ บ้านเพ่ือปล่อยให้ย่อยสลายไปเอง ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับทัศนียภาพ รวมถึงกลิน่ และแมลงรบกวนตา่ งๆ นอกจากน้ยี ังมบี างครัวเรือนที่นาเศษเปลือกกล้วยไปทิ้งรวม ในถังขยะท่ัวไป ทาให้เกิดปัญหาการเน่าเหมน็ และเป็นการเพ่ิมภาระการจัดเกบ็ ขยะ ขององค์การบริหารส่วนตาบล ซึ่งจากข้อมูลการจัดการขยะของชุมชนหนองตูม พบวา่ ปริมาณขยะโดยเฉลีย่ มมี ากถึง 1.24 ตันตอ่ วนั คิดเป็นค่าใชจ้ ่ายในการบริหาร จัดการที่สูงถึงกว่า 800,000 บาทต่อปี ถ้าหากคนในชุมชนมีแนวทางในการจัดการ กับขยะเปลือกกล้วยดังกล่าวได้ จะเป็นการช่วยลดภาระด้านการจัดการขยะและ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ค่าใช้จ่ายขององค์การบริหารส่วนตาบลได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้สภาพแวดล้อมของ - 11 - ชุมชนดีขึ้นอีกด้วย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาพฤติกรรม ปัญหา และความ ต้องการในการจัดการขยะครัวเรือนและขยะเปลือกกล้วยของคนในชุมชน เพ่ือใช้ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค เป็นแนวทางในการจัดการขยะดังกล่าวอย่างเหมาะสมต่อบริบทและความต้องการ ของคนในชมุ ชน และใชเ้ ปน็ ตน้ แบบในการจัดการขยะอยา่ งยงั่ ยืนของชุมชนหนองตูม ต่อไป วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ดังน้ี 1) เพ่ือศึกษาพฤติกรรม ปัญหา และความ ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ใ น ค รั ว เ รื อ น ข อ ง พ้ื น ที่ ศึ ก ษ า 2) เพอ่ื ศกึ ษาปริมาณขยะเปลอื กกล้วย ผลกระทบของชมุ ชน วิธีการจดั การ และร่วม หาแนวทางการใช้ประโยชน์จากขยะเปลือกกล้วยในชุมชน และ 3) เพ่ือนาแนว ทางการใช้ประโยชน์จากขยะเปลือกกล้วยมาใช้เป็นต้นแบบในการจัดการขยะอย่าง ยั่งยนื ของชุมชน ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย เป็นงานวิจัยเชิงพ้ืนที่ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้แนว ทางการแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมของนักวิจยั กับคนในชุมชน ซึ่งผลการวจิ ัยที่ได้รับ ทาให้นักวิจัยเข้าใจในบริบทและความต้องการของชุมชนเกี่ยวกับด้านการจัดการ ขยะ ทาให้ชุมชนได้รับองค์ความรู้ดา้ นการจัดการขยะเปลือกกล้วยอยา่ งถูกวิธีและ แนวทางการนาขยะเปลอื กกล้วยมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ นอกจากนี้ องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิ่นยังได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการนาไปใช้เป็นแนวทางการร่าง นโยบายสาธารณะดา้ นการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มได้อีกดว้ ย ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณขยะเปลือกกล้วยที่เกิดขึ้นในชุมชนมีมากกว่า 16 ตันต่อวัน คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการคัดแยกขยะอยู่ในเกณฑ์ดี ส่วนใหญ่ไมท่ ิง้ เปลอื กกล้วยรวมกับขยะทั่วไป แตม่ กี ารนาเปลอื กกล้วยมากองทงิ้ ไว้ ใกล้กับบริเวณที่อยู่อาศัย โดยมีการนาไปใช้ประโยชน์น้อยมาก แสดงให้เห็นว่า ประชาชนยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการนาเปลือกกล้วยไปใช้ประโยชน์ในด้าน ต่างๆ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐจาเป็นต้องมีการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนอยา่ ง ถูกตอ้ งตอ่ ไป ในด้านการมสี ่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการขยะของประชาชนกับองค์กร

สงั เคราะห์ความรูจ้ ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปกครองส่วนท้องถิ่นยังจัดว่าอยู่ในระดับน้อย ซึ่งเป็นสิ่งที่หน่วยงานภาครัฐควรให้ ความสาคัญและปรับทัศนคติของประชาชนให้เกิดการมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น ในด้าน ความต้องการเกี่ยวกับการจัดการขยะของชุมชน พบว่าประชาชนให้ความสาคัญ และสนใจในองค์ความรู้เกี่ยวกับการนาเปลือกกล้วยมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ให้มากขึ้น ดังน้ัน คณะผู้วิจัยจึงได้ลงพ้นื ที่จัดการประชุมร่วมกับ อบต. และตัวแทน ประชาชน เพ่ือร่วมกันหาแนวทางการใช้ประโยชน์จากขยะเปลือกกล้วย โดยเสนอ แนวทางความเป็นไปได้ในเชิงวิชาการ แล้วให้ชุมชนเป็นผู้เลือกแนวทางที่ตนเอง สนใจและเหมาะสมกับบริบทของชุมชน จากนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ถ่ายทอดองค์ ความรู้เกี่ยวกับการใชป้ ระโยชนจ์ ากเปลือกกล้วยด้วยวิธีต่างๆ ตามความสนใจของ ชุมชน โดยแบ่งออกได้เป็น 4 แนวทางหลัก ได้แก่ ปุ๋ยหมักจากเปลือกกล้วย ถ่าน ชีวมวลอัดแท่งจากเปลือกกล้วย เปลือกกล้วยหมักสาหรับเป็นอาหารสัตว์ และ แก๊สชีวภาพจากเปลือกกล้วย ซึ่งทาง อบต.หนองตูม จะเป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่ สานต่อองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยในครั้งน้ี เพ่ือนาไปปรับใช้เป็นแนวทางการ แก้ปัญหาด้านการจดั การขยะในชุมชน และนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการร่างนโยบาย สาธารณะต่อไป - 12 - สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การประยกุ ตใ์ ชข้ องเหลือทิงจากเหมืองถา่ นหนิ โดยนามาใชเ้ ปน็ วัสดุปรบั ปรงุ ดินสาหรบั ปลกู ข้าวหอมมะลิ ยทุ ธศักด์ิ แชม่ มยุ่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 13 - ปัจจุบันเราพบว่าของเสียจากกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดจากการทา อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เช่น เหมืองแร่ลิกไนท์ ซึ่งประเทศไทยมีการทาเหมืองแร่ ลิกไนต์ขึ้นมาใช้ประโยชน์ โดยแหล่งใหญ่ที่สุดอยู่ที่อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ซึ่งใช้ในการผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากลิกไนท์ ในการขุดหน้าดินเพ่ือที่จะ นาเอาแร่ลกิ ไนท์ออกมาใช้ ก่อนทีจ่ ะถึงชน้ั แร่ลกิ ไนท์พบวา่ เป็นชน้ั มูลดนิ ปนถ่านหิน ซึ่งไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์ในการไปผลิตกระแสไฟฟา้ เน่ืองจากมีค่าความร้อนต่า และ มีแร่ธาตุปนอยู่ในปริมาณสูง ซึ่งในเหมืองแร่ลิกไนท์ถือว่าเป็นกากดินทิ้ง โดยกองทงิ้ ไวภ้ ายในเหมอื งและมปี ริมาณมากขนึ้ ตามปริมาณการขุดลิกไนท์ข้ึนมาใช้ ภาพที่ 1 ชน้ั มูลดินปนถา่ นหนิ ลกิ ไนท์ ภาพที่ 2 แร่ลโี อนาไดต์ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ตา่ งประเทศได้มกี ารทาวจิ ยั เพ่ือทีจ่ ะใช้ประโยชนแ์ ละเพ่ิมมลู ค่าของของเสีย ดังกล่าว และพบว่าในตัวมูลดินปนถ่านหิน ซึ่งภายหลังได้เรียกช่ือใหม่ว่า “ลีโอนา ไดต์ (Leonardite)” มีองค์ประกอบที่เป็นประโยชน์ เช่นสารประกอบอินทรีย์ พบว่ามี 3 ตัวหลัก คือ กรดฮิวมิค (Humic acid) กรดฟูลวิค (Fulvic acid) ฮิวมีน

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ (Humin) และสารประกอบแร่ดิน ฯลฯ ซึ่งมีในปริมาณสัดส่วนต่าง ๆ กัน ในลีโอนา ไดตท์ ีม่ ีสารประกอบอินทรีย์ปริมาณมากกว่า 25% ได้นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการสกดั ทาสารบารุงดิน และสารที่ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช ในขณะเดียวกันลีโอนา ไดต์ที่มีปริมาณสารอินทรีย์ต่ากว่าปริมาณดังกล่าว หรือเรียกว่าลีโอนาไดต์ คุณภาพต่ายังคงถูกกองทิ้งโดยไม่ได้มีการศึกษาใด ๆ ดังน้ันงานวิจัยน้ีจึงได้สนใจที่ จะทาการศกึ ษาการใชป้ ระโยชนก์ ับลโี อนาไดตค์ ณุ ภาพตา่ ดังกลา่ ว ข้าวเป็นธัญพืชที่มีความสาคัญต่อชีวิตและวิถีชีวิตของชาวไทยมายาวนาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ต้องเผชญิ กบั ปญั หาการแปรปรวนของ สภาพภูมิอากาศ ปัญหาดินเส่ือมโทรมเน่ืองจากการปลูกพืชชนิดเดียว ตลอดจน การใช้ปุ๋ยและสารเคมีในการเพาะปลูก ซึ่งปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีมีผลทาให้ผลผลิต ข้าวที่ได้ลดลง ดังน้ันประเทศไทยในฐานะที่เป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าวรายใหญ่ของ โลกจึงต้องมีการพัฒนาด้านปัจจัยการผลิต เพ่ือให้ได้ข้าวที่มีคุณภาพดีและมี ปริมาณมากที่สุดจากการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ภายในประเทศ ดังนั้นลีโอนาไดต์ จึงเป็นวัสดุที่น่าสนใจอย่างมากที่จะประยุกต์ใช้เป็นวัสดุปรับปรุงคุณภา พดิ น สาหรับปลูกข้าว เนอ่ื งจากลีโอนาไดตม์ สี มบัตติ า่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ดนิ และข้าว - 14 - ที่ปลกู เชน่ มปี ริมาณอินทรียวตั ถมุ าก ประกอบไปด้วยสารฮิวมคิ ทม่ี กี รดฮิวมิคเป็น องค์ประกอบ มีความสามารถในการดูดซับประจุบวกได้สูง เป็นต้น นอกจากน้ียัง ถือว่าการใช้ลีโอนาไดต์น้ีเป็นการนาของเหลือทิ้งจากเหมืองแร่ลิกไนท์กลับมาใช้ ประโยชนใ์ หมอ่ กี ด้วย ดงั นน้ั ผู้วจิ ยั จึงสนในการนาลีโอนาไดตม์ าใชเ้ ปน็ วัสดปุ รับปรุง ดินสาหรับปลูกข้าวหอมมะลเิ พอ่ื ศึกษาผลผลิตของข้าวหอมมะลิ ➢ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั จากผลการทดลองปลูกข้าวหอมมะลิโดยใช้ลีโอนาไดต์ในอัตราส่วนต่าง ๆ เพ่ือเป็นวัสดุปรับปรุงดิน จะเห็นได้ว่าในอัตราส่วนที่ผสมของลีโอนาไดต์ต่อดิน เท่ากับ 1:100, 3:100, 5:100, 7:100 และ 10:100 กรัมต่อกรัม ให้ผลผลิตของข้าว ดังน้ี 111, 110, 115, 118 และ 147 กรัม ตามลาดบั ดังแสดงในรปู ที่ 3 และ 4 ซึ่งถอื ได้ว่าการใช้ลีโอนาไดต์ในการปลูกข้าวหรือทางการเกษตรจะช่วยทาให้ปรับปรุง สมบัติทางกายภาพของดิน ทาให้ดินจับตัวกันเป็นก้อน สามารถอุ้มน้าได้ถึง 20

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ เท่าตัวของน้าหนักสารอินทรีย์น้ัน นอกจากนั้นยังปรับปรุงสมบัติทางเคมีของดิน โดยการเพม่ิ ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนบวก ทาให้ดินสามารถจับธาตุ อาหารได้ดีขึ้นและสามารถปรับปรุงพีเอชของดินให้เหมาะสม (วิวัฒน์ และคณะ 2552) การใช้ลีโอนาไดต์เป็นวัสดุปรับปรุงดินนอกจากจะช่วยให้ผลผลิตของข้าว เพม่ิ ข้ึนแลว้ ยังเป็นการทาให้เกษตรกรลดตน้ ทุนในการซือ้ ปุ๋ยเคมีอีกทางหนึ่งด้วย ดิน (control) 1:100 3:100 5:100 7:100 10:100 ภาพที่ 3 รวงของข้าวหอมมะลทิ ี่ปลกู ด้วยลีโอนาไดตเ์ ป็นวัสดุปรับปรุงดิน (จานวน 10 รวง ทกุ อตั ราส่วน) ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ - 15 - การใช้ลโี อนาไดตเ์ ป็นวสั ดปุ รบั ปรงุ ดินสาหรบั ปลูกข้าวหอมมะลิ จะเหน็ ได้ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ว่าลีโอนาไดต์มีศักยภาพสูงมากที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการปลูกข้าวและในทาง การเกษตร เนอ่ื งจากมีปริมาณอินทรียวัตถแุ ละมธี าตุอาหารที่จาเปน็ ต่อการเติบโต ของพืชเป็นองค์ประกอบอยู่หลายธาตุและในปริมาณที่สูงทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุ อาหารรอง ธาตุอาหารเสริม จากผลการทดลองหาปริมาณผลผลิตของข้าวหอม มะลิที่ปลูกโดยใช้ลีโอนาไดต์ส่วนผสมที่อัตราส่วนต่อดินคือ 1:100, 3:100, 5:100, 7:100 และ 10:100 กรัมต่อกรัม ได้ผลผลิตของข้าวดังน้ี 111, 110, 115, 118 และ 147 กรัม ตามลาดับ ซึ่งมีปริมาณเพ่ิมขึ้นจากตัวควบคุมสูงเท่ากับ 9, 8, 13, 16 และ 44 เปอร์เซน็ ต์ อย่างไรก็ตามในการนาลีโอนาไดตม์ าใชใ้ นทางการเกษตร ควร จะมีการปรับค่าพีเอชให้เหมาะสมก่อนประยุกต์ใช้สาหรับการเพาะปลูกและใช้เปน็ สารปรับปรงุ ดิน

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรูจ้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ การศึกษาแนวทางการลดปญั หาแมลงศัตรพู ืชในนาขา้ ว พืนท่ตี าบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท ปิยวดี น้อยน้าใส สถาบันวจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ พ้ืนที่ส่วนใหญ่ในตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เป็นพ้ืนที่ที่ ทาการเกษตรโดยเฉพาะปลูกข้าว จึงเกิดปัญหาแมลงศัตรูพืชในนาข้าว แมลง ศตั รูพชื ในนาขา้ วที่พบมากทส่ี ดุ ในพ้ืนที่ ได้แก่ หนอนกอขา้ ว เพลีย้ กระโดดสีนา้ ตาล หนอนม้วนใบ แมลงบ่ัว จากปัญหาแมลงศัตรูพืชในนาข้าว จึงทาการศึกษาเพ่ือหา แนวทางการลดปัญหาแมลงศัตรูพืชในนาข้าว พ้ืนที่ตาบลตลุก โดยการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแบบสอบถามเกษตรกรทีท่ านาจากการสุ่มกลุ่มตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง จานวน 100 คน - 16 - ➢ ลักษณะเด่นของงานวิจัย เปน็ งานวิจัยเชงิ พ้นื ที่ ซึง่ เป็นโจทยว์ จิ ยั ที่ชมุ ชนต้องการให้แก้ไขปญั หา เรือ่ งของการหาแนวทางการลดใชส้ ารเคมีในการเกษตร ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 62) อายุเฉลี่ย 45.20 ปี ประกอบอาชีพโดยการทานามีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 10.50 ปี และส่วนใหญ่ปลูกข้าวชนิด กข49 และ กข41 มีข้าวหอมมะลิเป็นส่วนน้อย มีพ้ืนที่ในการทานาปลูกข้าวมี ค่าเฉลีย่ อยู่ที่ 25.60 ไร่ต่อครวั เรือน ส่วนใหญ่มแี หลง่ เงินทุนจากการกู้ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ร้อยละ 87) เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและกาจัดศัตรูพืชในนาข้าวจากเพ่ือนบ้าน/บุคคลที่รู้จัก ภายนอก (ร้อยละ 43) รวมไปถึงเกษตรกรที่ปลูกข้าวมีความรู้เกี่ยวกับแมลง ศัตรูพืชและการป้องกันและกาจัดแมลงศัตรูพืชในนาข้าวอยู่ในระดับปานกลาง

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ (ร้อยละ 73.33) เกษตรกรมีส่วนร่วมของเกษตรกรต่อการป้องกันกาจัดแมลง ศัตรูพืชในนาข้าวร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบลอยู่ในระดับมากเฉลี่ยอยู่ที่ (X̅ = 4.36) ซึ่งผลการวิจัยที่ได้น้ีนาไปเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และแนวทาง การลดปัญหาการแพร่ระบาดของแมลงศตั รพู ชื ในนาข้าวของเกษตรกร โดยวิธีการ คืนข้อมูลที่วิเคราะห์ให้กับพ้ืนที่และชุมชนในการป้องกันและลดการแพร่ระบาด แมลงศัตรูข้าวอยา่ งถูกวิธีและลดการใชส้ ารเคมีในการเกษตร เพ่ือชีวิตการเป็นอยู่ ด้านสุขภาพที่ดีข้ึน ด้านผลผลิตที่สงู ขนึ้ ลดค่าใชจ้ ่ายจากการซื้อสารเคมเี พ่อื กาจัด ศัตรูพชื ในนาขา้ วของคนในพ้นื ที่อยา่ งยั่งยืน ภาพที่ 1 การศึกษาแนวทางการลดปัญหาแมลงศัตรพู ชื ในนาขา้ ว - 17 - ภาพที่ 2 การศึกษาแนวทางการลดปญั หาแมลงศัตรพู ชื ในนาขา้ ว ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ แนวทางการลดใชส้ ารเคมีในการป้องกนั และ กาจัดศตั รูพืชของเกษตรกร ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท ปิยวดี น้อยน้าใส สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ ปัญหาการจากการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชประเด็นหน่ึงเกิดจาก พฤติกรรมของเกษตรกรและสภาพแวดล้อมบริบทพ้ืนที่ส่วนใหญ่ใน ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เป็นพ้ืนที่ที่ทาการเกษตรโดยเฉพาะปลูกข้าว เกษตรกรมีการนาสารป้องกันและกาจัดศัตรูพืชหลายชนิดมาใช้ในเกษตรกรรม โครงการวิจัยน้ีได้ทาการศึกษาถึงแนวทางการลดใช้สารเคมีในการป้องกัน และ กาจัดศัตรพู ชื ของเกษตรกร ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เพอ่ื หาแนว - 18 - ทางการลดการใชส้ ารเคมีในการป้องกันและกาจดั ศตั รูพชื ของเกษตรกร ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย เป็นงานวิจัยเชิงพ้ืนที่ ซึ่งเป็นโจทย์วิจัยที่ชุมชนต้องการให้แก้ไขปัญหา เรือ่ งของการหาแนวทางการลดใช้สารเคมีในการเกษตร ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ จากการวิจัย พืชหลักทางการเกษตรส่วนใหญ่คือ ข้าว เกษตรกรส่วน ใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 67) มีความรู้ในภาพรวมของการใช้สารเคมีในการ ป้องกนั และกาจดั ศัตรูพชื อยู่ในระดบั ความรู้สูง (ร้อยละ 87) ส่วนพฤติกรรมการใช้ สารเคมีในการป้องกันและกาจัดศัตรูพืช ส่วนใหญ่มีความรู้ก่อนการใช้สารเคมีใน การป้องกันและกาจัดศัตรูพืชมากที่สุด ค่าคะแนนของระดับความเหมาะสมของ พฤติกรรมการใช้สารเคมีในการกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรอยู่ในระดับเหมาะสม มาก (x̄ = 3.62) เกษตรกรในพ้ืนที่มีส่วนร่วมของเกษตรกรต่อการลดการใช้

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ สารเคมีในการป้องกันและกาจัดศัตรูพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบล ตลุก ในระดับมาก ซึ่งผลการวจิ ัยที่ได้น้นี าไปเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และแนวทาง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมี เพ่ือป้องกันและกาจัดศัตรูพืชของ เกษตรกร โดยวิธีการคนื ขอ้ มูลทีว่ ิเคราะห์ให้กบั พ้ืนที่ และกาหนดแนวทางข้อปฏบิ ตั ิ ตนได้อย่างถูกวิธีและมีความเหมาะสมของเกษตรกรในส่วนของพฤติกรรมการใช้ สารเคมีในการป้องกันและกาจัดศัตรูพืช ด้านพฤติกรรมหลังการใช้สารเคมี และ พฤติกรรมลดผลกระทบจากการใชส้ ารเคมีกาจดั ศัตรูพืช เพ่ือชีวิตการเป็นอยู่ด้าน สุขภาพที่ดีขึ้นของคนในพ้ืนที่ของคนในพ้ืนที่ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัด ชัยนาท - 19 - ภาพที่ 1 นักวจิ ยั ลงพ้นื ที่ร่วมกบั เกษตรกรเพ่อื ศกึ ษาบริบทของพ้ืนที่เกษตร ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ภาพที่ 2 นกั วจิ ยั สัมภาษณผ์ ใู้ ห้ขอ้ มลู ในเรื่องแนวทางการลดการใชส้ ารเคมี

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะหค์ วามรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ การศึกษาภูมนิ ามโดยเครอื ข่ายชุมชน ตาบลเมืองบางขลงั อาเภอสวรรคโลก จังหวดั สุโขทยั ขวญั ชนก นัยจรัญ* กฤษณา ชาญณรงค์ รตั นาวดี ปาแปง และเมศิณี ภัทรมทุ ธา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวัตถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจัยช้ินน้ีถือได้ว่าเป็นงานที่จะต้องใช้ทรัพยากรบุคคลมาร่วม แสวงหาแนวทางในการสร้างพลังความร่วมมือของคนในพ้ืนที่และภาคีที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเป้าหมายของโครงการวิจัยจึงอยู่ที่การสร้างเครือข่ายภายในพ้ืนที่เพ่ือให้ เครือข่ายน้ีมีบทบาทในการร่วมคิด ร่วมกันศึกษาภูมินามที่ปรากฏในพ้ืนที่เพ่ือเป็น ฐานข้อมูลในการท่องเที่ยวหรือการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ และมุ่งให้เกิดการ สร้างงานเชิงวิจัยเพ่ือพัฒนาโดยทีมวิจัยในชุมชนร่วมกับทีมวิจัยส่วนกลาง การ - 20 - เช่ือมโยงกลุ่มบุคคลต่างๆ มาร่วมกันสร้างงานในเชิงวจิ ัยเช่นน้ี ก่อให้เกิดเครือข่าย การเรียนรู้ระหว่างสมาชิกที่เข้ามาร่วมในทีมวิจัย นอกจากน้ีระหว่างดาเนินการ วิจัย ทีมวิจัยจะเข้าไปเช่ือมโยงกับพ้ืนที่ที่จะเก็บข้อมูลภูมินาม และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในพ้ืนที่ด้วย ซึ่งระหว่างการดาเนินการวิจัยจะเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ลักษณะการเช่ือมต่อและขยายวงออกมา จนทาให้เกิดเครือข่ายที่ขยายวงกว้าง มากขึ้น ไปพร้อม ๆ กับได้รู้จักพ้ืนที่ชุมชน ทั้งน้ีสิ่งสาคัญที่สุดที่ได้รับหลังจาก งานวิจัยแล้วเสร็จ คือ คนในพ้ืนที่และผู้มาเยือนมองเห็นคุณค่าของมรดกเชิง วัฒนธรรมและทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่นของตนและของประเทศชาติ สุดท้ายได้ เห็นความสุขบนความภาคภูมิใจของทีมวิจัยชุมชนทุกคนที่ได้เป็นผู้มีส่วนร่วม สร้างสรรค์งานช้ินน้ีขึ้น งานวิจัยเรื่องการศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชนตาบล เมืองบางขลัง อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้าง เครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพ่ือร่วมสารวจและเก็บข้อมูลภูมินามของสถานที่ต่างๆ ที่

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปรากฏในชุมชนโบราณเมืองบางขลัง อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย และ - 21 - 2) ศึกษาและสารวจภูมินามที่ปรากฏในชุมชนโบราณเมืองบางขลัง อาเภอสวรรค โลก จงั หวดั สโุ ขทัย โดยเครอื ขา่ ยนักวจิ ัยชุมชน ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ➢ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั ปัจจุบันงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมได้เข้ามามีบทบาทย่ิงต่อวงการวิจัยของ ประเทศไทย ท้ังน้ีเพ่ือให้ผลการวิจัยก่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งต่อนกั วจิ ยั และต่อพ้ืนที่ งานวิจัยฉบับน้ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการ จึงเลือกใช้ การดาเนินงานวิจัยในลักษณะของ กระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น (CBR : Community Based Research) ที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผล การดาเนินการวิจัยทาให้เกิดภาคีเครือข่าย การทางานเป็นทีมและเกิดการเรียนรู้ ร่วมกันระหว่างชาวบ้าน นักวจิ ยั ชมุ ชน และนกั วิจยั ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ผล ของการวิจัยที่ได้วิเคราะห์คุณค่าของภูมินามสะท้อนลักษณะทางภูมิศาสตร์ความ หลากหลายทางชวี ภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรมในพ้ืนที่ ดงั น้ี 1) ด้านภูมิศาสตร์ ภูมินามแสดงให้เห็นลักษณะภูมิประเทศในพ้ืนที่ว่ามี หลายลกั ษณะ ดงั น้ี แหล่งนา้ ภูเขา หนา้ ผา ถ้า ถนน ดิน หิน แร่ธาตุ และพ้ืนทีร่ ิมนา้ 2) ความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมินามสะท้อนให้เห็นความอุดม สมบูรณ์ คือ การดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันและมี ปฏสิ มั พันธ์กนั โดยความหลากหลายทางชวี ภาพที่ปรากฏจากภมู ินามแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พรรณพชื ประกอบด้วย ไมย้ นื ต้นขนาดใหญ่และขนาดกลาง ไมย้ นื ต้น ขนาดเล็ก ไม้ล้มลุก ไม้ตระกูลไผ่และพรรณไม้พ้ืนเมือง พรรณสัตว์ประกอบด้วย สัตว์ปีก สตั ว์บก สตั ว์เล้ือยคลานและแมลง 3) ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภูมินามสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม และการดารงชีวิตอันเป็นบรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกัน ชาติพันธ์ุที่เข้ามามี อิทธิพลหรือส่วนเกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ภูมิปัญญาของคนในอดีต นิสัยใจคอ และ ความเคารพซึ่งกันและกันของคนในชุมชน โดยความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ ปรากฏผ่านภูมินาม ได้แก่ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องราวและเหตุการณ์ที่เคย เกิดข้ึนในท้องถิ่น ลักษณะการตง้ั ชุมชน กลุ่มชนหรือชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความร้จู ากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ บุคคลสาคัญในประวัตศิ าสตร์ท้องถิ่น ตานานและนิทานพ้ืนบ้าน วถิ ีชีวิต ความเช่ือ และค่านิยม ลกั ษณะการปกครอง และภูมินามบคุ คล ผลการวิจัยเป็นมิติใหม่ของศึกษาภูมินามที่มีการนาเอาสหวิทยาการ คือ ความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวกับ ศึกษาเพ่ือให้เห็นภาพของพ้ืนที่ตั้งแต่อดีตจนถึงการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่ใน ปัจจุบันด้วย นอกจากน้ีงานวิจัยฉบับน้ียังได้รับการคัดเลือกให้เป็นผลงานวิจัย ระดับดีมากแบบบรรยาย กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ในการประชุมใหญ่ โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา คร้ังที่ 4 (HERP CONGRESS IV) เม่ือวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 ด้วย ➢ การนาผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ หลังจากการทาวิจัยแล้วเสร็จ ผู้วิจัยได้มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยใน วารสารวิชาการจานวน 2 ฉบับ และยังได้นาผลการวิจัยมาตีพิมพ์เป็นเล่มองค์ ความรู้ มอบให้กับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา จานวน 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัย นเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม นอกจากน้ียังมอบให้กับชุมชน ตาบลเมืองบางขลัง คือ เทศบาลตาบลเมืองบางขลัง และโรงเรียนที่อยู่ในพ้ืนที่ - 22 - ตาบลเมอื งบางขลังด้วย ภาพที่ 1 หนังสือภูมินามตาบลเมอื งบางขลัง

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ เรือ่ งสนั รางวลั พานแวน่ ฟา้ พ.ศ.2545 – 2556 : การวิเคราะหว์ ิถีชวี ิตประชาธปิ ไตย ขวญั ชนก นยั จรัญ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ - 23 - การศึกษาเรื่องสั้นรางวลั พานแว่นฟา้ พ.ศ.2545-2556 จานวน 152 เรื่อง ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค น้ี ใช้กรอบการวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตย จานวน 3 ด้าน ได้แก่ คารวธรรม ปัญญาธรรม และสามัคคีธรรม มีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์วถิ ีชีวิตประชาธิปไตย ที่ปรากฏในเรื่องส้ันรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ. 2545 – 2556 และเพ่ือศึกษากลวิธี การปลูกฝังวถิ ีชีวิตประชาธิปไตยของนักประพันธ์ ใชว้ ธิ ีดาเนนิ การวิจัยเชิงคุณภาพ และอธิบายผลการวิจัยโดยใชก้ ารพรรณนาวเิ คราะห์ ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย จากผลการวิจัยพบว่าเรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2545 – 2556 จานวน 152 เรื่อง พบวิถีชีวิตประชาธิปไตยที่ปรากฏอยู่ในเน้ือเรื่อง จานวน 494 ครงั้ โดย ภาพสะท้อนวถิ ีชีวิตประชาธิปไตยด้านคารวธรรม ปรากฏมากที่สุด จานวน 260 ครั้ง ภาพสะท้อนวถิ ีชีวิตประชาธิปไตยด้านสามัคคีธรรม ปรากฏรองลงมา จานวน 119 ครั้ง ภาพสะท้อนวถิ ีชีวิตประชาธิปไตยด้านปญั ญาธรรม ปรากฏนอ้ ยทีส่ ดุ จานวน 115 คร้ัง จากผลการวิจัยสามารถตั้งข้อสังเกตเพ่ือถอดบทเรียนได้ว่า วิถีชีวิต ประชาธิปไตยด้านคารวธรรมปรากฏให้เห็นบ่อยครงั้ มากท่สี ุด และมากกวา่ วิถีชีวิต ประชาธิปไตยด้านอ่ืน ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากคนในสังคมไทยมีการปลูกฝังการ เคารพซึ่งกันและกันของคนในสังคม การแสดงความเคารพในสถาบัน พระมหากษัตริย์ คนไทยถูกปลูกฝงั ให้มีความเคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์มา ตั้งแต่อดีตสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี และค่านิยมการเคารพในสถาบัน

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ พระมหากษัตริย์ดังกล่าวน้ีก็ถูกปลูกฝังให้อยู่ในจิตสานึกของคนไทยมาจนถึง ปัจจุบัน การแสดงเคารพผู้อาวุโส อันเป็นวัฒนธรรมที่มีมาช้านาน เห็นได้จาก ประเพณีสงกรานต์ ที่มีการจัดพธิ ีรดน้าดาหัว ขอพรจากผู้อาวุโส และประเพณนี ้ีก็ ยงั คงจัดมาจนถึงปจั จุบัน ส่วนผลการวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยด้านปัญญาธรรม เป็นคุณลักษณะที่ปรากฏภาพสะท้อนน้อยที่สุด อาจเน่ืองมาจากปัจจุบันเป็นยคุ ท่ี มคี วามเจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยอี ยา่ งตอ่ เน่ือง การแสดงความคิดเห็นของคน ผ่านช่องทางต่าง ๆ เป็นไปได้อย่างเสรี ทาให้ผู้เขียนไม่ค่อยใส่ใจในส่วนน้ีมากนัก อีกท้ังโดยธรรมชาติของคนไทยมักไม่ค่อยเปิดใจกว้างยอมรับการวิพากษ์วิจารณ์ จากผู้อื่น ผู้เขียนจึงไม่ค่อยแทรกวิถีชีวิตประชาธิปไตยด้านปัญญาธรรมชดั เจนมาก นกั แต่อยา่ งไรกต็ ามคุณลกั ษณะดา้ นปัญญาธรรมที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดมากที่สุด คือ การพิจารณาคัดเลือกบุคคล โดยผู้เขียนมักเลือกใช้ฉากหรือสถานการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งและการเลือกตั้ง โดยใช้ภาพการแสดงความ คาดหวังของประชาชนที่มีต่อผู้แทน ส่งผลให้เกิดการคิดพิจารณาคัดเลือกเพ่ือ ลงคะแนนเสียงให้กับผู้ที่ลงสมคั รรับเลอื กตง้ั คนใดคนหนง่ึ - 24 - จากผลของงานวิจัยทาให้เห็นว่าเรื่องส้ันรางวัลพานแว่นฟ้าปรากฏภาพ สะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยในด้านคารวธรรม ปัญญาธรรมและสามัคคีธรรม โดยสะท้อนผ่านพฤติกรรม ความคิดและบทสนทนาของตัวละคร โดยผู้แต่งได้มี การปลูกฝังวิถีชีวิตประชาธิปไตยโดยผ่านตัวละครในระดับต่าง ๆ คือ ระดับ ครอบครัว ชุมชน/สังคมท้องถิน่ และระดับประเทศ นอกจากนี้ยังพบวา่ เหตกุ ารณ์ ในสังคมในช่วงขณะนั้นถูกนามาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบสร้างเรื่องสั้นด้วย เช่น เรื่องส้ันที่ได้รับรางวัลหลังจากปี พ.ศ.2549 ปรากฏภาพความขัดแย้งของคน ในสังคม ภาพการแบ่งสี แบ่งฝ่าย และสถานการณ์ความรุนแรงทางการเมืองช่วง นั้น ซึ่งตรงกับเหตุการณ์ในสังคมหลังช่วงรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ที่คนใน ประเทศไทยแบ่งออกเป็นสองฝ่าย และมีการต่อสู้ ปะทะกันอย่างรุนแรงจน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน นอกจากน้ียังพบการสร้างอุดมคติ ของผู้เขียนที่มีต่อการเมืองไทย คือ ต้องการให้นักการเมืองมีจิตสานึกและทาเพ่ือ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ประชาชน โดยการแสดงความคิดของผู้เขียนจะแสดงออกมาหลายลักษณะ เช่น ประชดประชันนักการเมืองที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน สร้างจุดจบของเรื่องให้ นักการเมอื งที่คอร์รัปชัน่ พบกบั ความหายนะ เปน็ ต้น ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ผู้วิจัยได้เผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปแบบบทความวิจัยจานวน 2 ฉบับ เพ่ือ เผยแพร่องค์ความรู้และให้ขอ้ สังเกตในการทาวิจยั ครั้งต่อไปดังน้ี คือ 1) บทความวิจัย เรื่อง เรื่องส้ันรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2554-2556 : การวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตย ได้รับการตีพิมพ์แบบรายงานสืบเน่ืองจากการ ประชมุ วิชาการระดับชาติ “พะเยาวจิ ยั ครง้ั ที่ 6”และ 2) บทความวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยใน เรื่องส้ันรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2545-2556 : ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ฉบับปีที่ 15 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธนั วาคม 2561 - 25 - ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์ การสารวจรวบรวมและศึกษาพนั ธุข์ า้ วไร่ทเี่ หมาะสม สาหรบั เพาะปลูกในพืนทีร่ าบของจังหวดั พิษณโุ ลก จกั รกฤช ศรีลออ* และปณุ ณดา ทะรังศรี คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้ง ปริมาณน้าในเขื่อนและอ่าง เก็บน้าต่างๆ อยู่ในเกณฑ์วิกฤต ส่งผลต่อการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะการเพาะปลูกข้าวที่เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ และเป็นอาหาร หลักที่ใช้ในการบริโภคของประชากรโลก การผลิตข้าวเพ่ือให้เพียงพอต่อความ ต้องการบริโภคจึงเป็นสิ่งสาคัญ แต่ในการเพาะปลูกข้าวน้ันต้องการน้าในการ เพาะปลูกค่อนข้างมาก เม่ือเกิดปัญหาภัยแล้งทาให้เกิดปัญหาข้าวเจริญเติบโตไม่ เต็มที่ และยืนต้นตาย และที่สาคัญคือรัฐบาลมีนโยบายไม่สนับสนุนการเพาะปลกู - 26 - ข้าวนาปรัง โดยให้เกษตรกรหันไปเพาะปลูกพืชที่ใช้น้าน้อยแทน ทาให้พ้ืนที่การ ปลูกข้าวนาปรังลดลงเป็นจานวนมาก ทางผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาสาย พันธ์ุข้าวไร่ของจังหวัดพิษณุโลก เพ่ือเป็นข้อมูลแนวทางให้เกษตรกรหรือผู้ที่สนใจ ในการเพาะปลูกข้าวไร่ และเป็นการอนุรักษ์ไปสู่ชนรุ่นหลัง แม้ว่าจะเคยมี ผู้ทาการวิจัยมาก่อนแล้วในบางพ้ืนที่ก็ตาม แต่การเก็บข้อมูลบางคร้ังอาจมี ข้อผิดพลาดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นขอบเขตพ้ืนที่ การตกหล่นของข้อมูล และลักษณะ ทางพันธุกรรมมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา นอกจากนั้นยังสนใจที่จะคัดเลอื ก พันธุ์ข้าวไร่ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูงสุดในเขตพ้ืนที่ราบ และมี คุณค่าทางโภชนาการที่สูงเพ่อื เปน็ ทางเลือกของเกษตรกรผู้เพาะปลูกขา้ วในสภาวะ ภัยแล้ง ที่สาคัญที่สุดคือการได้สายพนั ธ์ุข้าวไร่ที่มลี ักษณะเด่นโดยสามารถปลูกใน พ้ืนที่ราบได้และให้ผลผลิตได้ดี สามารถส่งเสริมทางการค้าได้เป็นเอกลักษณ์ของ จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ของงานวิจยั 1) เพ่ือสารวจและรวบรวมพันธุ์ข้าวไร่ พันธ์ุต่างๆ ในเขตจังหวัดพิษณุโลก 2) เพ่ือศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา และ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ผลผลิตของข้าวไร่พันธุ์ต่างๆ ที่เพาะปลูกในพ้ืนที่ราบ 3) เพ่ือศึกษาพันธ์ุข้าวไร่ที่ เหมาะสาหรับเพาะปลูกในพ้ืนที่ราบ 4) เพ่ือเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรในการ เพาะปลูกข้าวในภาวะภัยแสง 5) เพ่ือตรวจสอบคุณภาพเมล็ดข้าวทางกายภาพ เคมี และคุณค่าทางโภชนาการของข้าวไร่พันธุ์พ้ืนเมืองของจังหวัดพิษณุโลกที่ เพาะปลูกได้บนพ้ืนที่ราบ 6) เพ่ือเป็นฐานข้อมูลงานวิจัย และแหล่งอ้างอิงข้อมูล เกี่ยวกบั สายพนั ธ์ุขา้ วไร่ในเขตจงั หวัดพิษณุโลก ➢ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั เปน็ งานวิจยั ทีม่ ีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาการเพาะปลูกขา้ วของ ประเทศ และสนองตอ่ นโยบายของทางรฐั บาล - 27 - ภาพที่ 1 การเตรียมแปลงปลูก ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ภาพที่ 2 การหยอดเมล็ด

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 3 การบ่มเมลด็ พันธ์ุ - 28 - ภาพที่ 4 ข้าวไร่ระยะตน้ กล้า ภาพที่ 5 ข้าวไร่ระยะใหผ้ ลผลติ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 6 การเก็บเกี่ยว - 29 - ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยผลชผนล์ ิต ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ผลจากงานวิจัยพบว่ามีข้าวไร่พันธ์ุพ้ืนเมืองของจังหวัดพิษณุโลกที่ สามารถเจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูงในการเพาะปลูกบนพ้ืนที่ราบจานวน 8 สายพันธุ์ โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มข้าวเจ้าจานวน 5 สายพันธุ์ คือ ข้าวเจ้าแดง ข้าวมะลิแดง ข้าวหอมลูกรัง ข้าวแดง และข้าวหอมงอ กลุ่มที่ 2 กลุ่มข้าวเหนียวจานวน 3 พันธุ์ คือ ข้าวเหนียวแดง ข้าวเหนียวดา และข้าวเหนียว ลืมผัว ซึ่งในแต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และคุณค่าทาง โภชนาการที่แตกตา่ งกนั ทาให้สามารถใช้ประโยชน์จากความแตกต่างนี้ ได้แก่ข้าว ที่มีปริมาณน้าตาลต่า ข้าวที่มีกลิ่นหอม ข้าวที่มีธาตุเหล็กสูง ข้าวที่มีปริมาณสาร ต้านอนุมูลอิสระสูง และข้าวที่มีปริมาณวิตามินสูง ทาให้ผู้ประกอบการด้านการ จ า ห น่ า ย ข้ า ว ส า ร ส า ม า ร ถ จ า ห น่ า ย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท า ง เ ลื อ ก ใ ห้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภ ค ไ ด้ นอกจากน้ันยงั สามารถมารถนาผลการวจิ ยั ไปใช้ประโยชนใ์ นการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ จากข้าวไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหาร ยารักษาโรค และเครื่องสาอางได้ และที่สาคัญที่สุดทาให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้นหลังจากการปรับเปลี่ยนจากการ ปลูกข้าวทางการค้ามาเป็นสายพันธุ์ขา้ วไร่พนั ธุ์พืน้ เมอื ง

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ การปรับปรงุ ดินกรดโดยการคลมุ ดนิ ด้วยวสั ดเุ หลือใช้ ทางการเกษตรและวสั ดุปูน จักรกฤช ศรีละออ* และชุติมา แย้มคล้าย คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวัตถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ พ้ืนที่ที่ประสบปัญหาดินกรดกระจายอยู่ทั่วภูมิภาคของประเทศไทยทาให้ เกษตรกรประสบกับปัญหาผลผลิตตกต่า มีการลงทุนในการผลิตสูงทาให้เกิด ปัญหาหน้ีสินตามมา จึงได้มีการแก้ปัญหาดินกรดหลายวิธี ได้แก่ การเลือกใช้ ระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม เช่น การปลูกพืชหมุนเวียน การเลือกพืชที่ชอบดิน กรดมาปลกู เชน่ แตงโม ข้าวโพด เปน็ ต้น การใส่อนิ ทรียวตั ถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เป็นต้น การคลุมดิน เช่น การใช้เศษพืชหรือปลูกพืชตระกูลถ่ัวคลุมดิน และการ เพม่ิ ธาตอุ าหารในดนิ เชน่ การใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมี เกษตรกรยุคใหม่ใน - 30 - ปัจจุบันได้หาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยทาตามแนวทางตามพระราชดาริ เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรแบบย่ังยืน เพ่ือลดต้นทุนในการผลิต ลดการใช้สารเคมีอัน ทาให้เกิดปัญหาดินกรด ประกอบกับการใช้วัสดุปูนทางการเกษตร เช่น ปูนขาว และแร่โดโลไมท์ ในการปรับค่าความเป็นกรด-ด่างในดิน ในการทาการเกษตรใน ปัจจุบันมีเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรค่อนข้างมาก เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด และชานอ้อย แต่มีการนาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์ค่อนข้าง น้อย ดังน้ันหน่วยงานของภาครัฐจึงมีการส่งเสริมการใช้เศษวัสดุเหลือใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เพ่ือเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกรในด้านการ แก้ปัญหาดินขาดความอุดมสมบรู ณ์ โดยการนาเศษวสั ดุเหลอื ใชท้ างการเกษตรมา คลุมดิน ดังน้ันผู้วิจัยจึงดาเนินการศึกษาการใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร จานวน 3 ชนดิ ได้แก่ ฟางข้าวแหง้ ผักตบชวาแห้ง และใบจามจรุ แี ห้งเปน็ วสั ดุคลุม ดินเพ่ือแก้ปัญหาดินกรดเพ่ือทดสอบ ประสิทธิภาพในการคลุมดิน และช่วยปรับ

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ สภาพความเป็นกรด-ด่างในดินให้เป็นกลางเพ่ือให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต - 31 - ของพืชได้ดีทีส่ ดุ วัตถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัย 1) เพ่อื ศึกษาวิธีที่เหมาะสมต่อการปรับ สภาพดินกรดให้เหมาะสมกับการเจริญเตบิ โตของพชื 2) เพ่อื เป็นการนาวสั ดุเหลือ ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ใชท้ างการเกษตรมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ งู สุด ➢ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหา ดินกรดที่ส่งผลให้ผล ผลิตทางการเกษตรตกต่าอันเน่ืองมาจากการใช้ปุ๋ยเคมีติดต่อกันเป็นระยะ เวลานาน เม่ือสามารถปรับปรุงดินที่เป็นกรดให้มีความเหมาะสมต่อการ เจรญิ เตบิ โตของพชื แล้ว จะทาให้เกษตรกรได้ผลผลิตทีส่ ูงข้นึ ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ จากการศึกษาวิจัยการแก้ปัญหาดินกรดโดยการปรับปรุงดินด้วยการ คลุมดินด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และวัสดุปูน เพ่ือเปลี่ยนแปลงค่าความ เป็นกรด-ด่างให้เป็นกลาง คือ 7.0 พบว่าการคลุมดินด้วยฟางข้าวแห้งและ ผักตบชวาแห้ง+ใบจามจุรีแห้ง สามารถเปลี่ยนแปลงค่าความเป็นกรด-ด่างให้เปน็ กลางเรว็ ทีส่ ดุ ใชเ้ วลา 50 วัน เน่อื งจากอินทรียวัตถุในดินมปี ระจุลบสามารถดูดซับ แคตไอออนจากกรดในดินได้ อินทรียวัตถุมีคุณสมบัติในการต่อต้านการ เปลี่ยนแปลงระดับสารเคมีหรือปฏิกิริยาเคมีในดิน ทาให้ดินมีไอออนดูดซับไว้ โดยรอบอนภุ าคไอออนที่ถกู ดูดซบั น้จี ะสมดลุ กับไอออนชนดิ เดียวกันในสารละลาย ดิน เช่น มีการดูดซับไอออนที่เป็นธาตุอาหารพืช (ดูดซับไอออนจากส่วนที่มีอยู่ใน สารละลายดิน) ไอออนที่ถูกดูดซับจะออกมาแทนที่ไอออนชนิดเดียวกันที่ถูกดูดไป จากสารละลายดิน ดังนน้ั เมอ่ื มกี ารเพม่ิ สารที่มีคณุ สมบัตเิ ปน็ กรด-ด่างลงไปในดินทา ให้เกิดการรกั ษาสมดุลของกรดและด่างในดิน และได้มีการนาผลการวจิ ัยไปถ่ายทอด ให้กับเกษตรกรที่ประสบปัญหาดินกรดในตาบลท่าตาล อาเภอบางกระทุ่ม จังหวัด พิษณุโลก เพ่ือนาองค์ความรู้จากงานวิจัยไปใช้การแก้ปัญหาดินกรดให้กับเกษตรกร ซึ่งเป็นวธิ ีทีใ่ ชต่ น้ ทุนตา่ และไมท่ าให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะห์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ชนิดตวั ประสานทเ่ี หมาะสมต่อการผลิตถา่ นอดั แท่ง จากกะลามะพรา้ ว จักรกฤช ศรีละออ* และดวงพร สาเหม คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ ถ่านอัดแท่ง เป็นถ่านที่ผลิตจากวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ เช่น ซัง ข้าวโพด ชานอ้อย กะลามะพรา้ ว กะลาปาล์ม และแกลบ เป็นต้น มะพร้าว จัดเป็น พืชที่มีอยู่ในประเทศไทยมากมายหลายสายพันธ์ุ สามารถนามาใช้ประโยชน์จาก ส่วนต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า ต้ังแต่ ใบ ก้าน ลาต้น กะลา ผล รกมะพร้าว กาบ มะพร้าว และราก ในส่วนของกะลามะพร้าวได้มีการนามาใช้ประโยชน์อยู่บ้าง ได้แก่ เครื่องประดับ กระปุกออมสิน กระเป๋า และโคมไฟ เป็นต้น แต่ยังมี กะลามะพร้าวอีกจานวน มากที่ยังไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ ดังน้ันผู้วิจัยจึงมีความ - 32 - สนใจที่จะนากะลามะพร้าวมาใช้ประโยชน์ในการทาเช้ือเพลิง โดยนามาผลิตถ่าน อัดแท่งจากกะลามะพร้าว ซึ่งมีคุณสมบัติให้ความร้อนสูง.ไม่ประทุเหมือนถ่าน ท่ัวไป ไม่มีกลิ่น ให้ความร้อนสม่าเสมอ และที่สาคัญไม่มีควันขณะเผาไหม้ ซึ่งใน การผลิตถ่านอัดแท่งน้ันจาเปน็ ต้องใชต้ ัวประสาน แตต่ ัวประสานบางชนดิ อาจทาให้ เกิดควันขึ้นมาได้ ดังน้ันทางผู้วิจัยจึงศึกษาชนิดของตัวประสานที่เหมาะสมที่มี คุณสมบัติให้ควันน้อยที่สุด ได้แก่ แป้งมันสาปะหลัง แป้งข้าวโพด แป้งข้าวเหนียว และแป้งข้าวเจ้า ซึ่งนอกจากจะได้ประโยชน์ทางด้านพลังงานจากวัสดุเหลอื ใชแ้ ลว้ ยังเป็นการช่วยลดปญั หาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย วัตถุประสงค์ของงานวจิ ัย เพ่ือศึกษา ชนิดของตัวประสานที่เหมาะสมต่อการผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าว ได้แก่ การเกิดควัน ความยากง่ายในการติดไฟ ระยะเวลาในการตดิ ไฟ และการปะทุของ ถ่านขณะเผาไหม้ เพ่ือให้ได้ถ่านอัดแท่งที่มีคุณสมบัติตามความต้องการของ ผู้ประกอบการอาหารปิ้งย่าง

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั - 33 - เป็นงานวิจยั ทีม่ ีวตั ถปุ ระสงค์ในการพฒั นาคุณภาพของถ่านอดั แท่ง ให้มี ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค คุณภาพที่สงู ข้นึ และตรงความตอ้ งการของผู้ประกอบการอาหารปิ้งย่าง ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ จากการศึกษาชนิดตัวประสานที่เหมาะสมต่อการผลิตถ่านอัดแท่งจาก กะลามะพร้าว พบว่าถ่านอัดแท่งที่ใช้แป้งข้าวโพดเป็นตัวประสาน มีลักษณะทาง กายภาพดีที่สุด เพราะว่าแป้งข้าวโพดมีเน้ือแป้งเนียนละเอียด เม่ือโดนความร้อน ตัวแป้งมีความเหนียวข้นไม่คืนตัวง่าย เม่ือนามาเป็นตัวประสานจึงทาให้ถ่านอัด แท่ง มีรูปทรงที่แข็งแกร่งคงทน ไม่แตกหักง่าย ไม่มีรอยแตกร้าวบนแท่งถ่าน และ ลักษณะผิวสัมผัสบนแท่งถ่านมีความเรียบเนียน จากการนาถ่านอัดแท่งจาก กะลามะพร้าวที่ใช้แป้งข้าวโพดเป็นตัวประสานไปให้ผู้ประกอบการด้านอาหารปิ้ง ย่างทดลองใช้จานวน 50 ราย พบว่า มีคะแนนความพึงพอใจมากที่สุดในทุกด้าน คือ ด้านการเกิดควัน ความยากง่ายในการติดไฟ ระยะเวลาในการติดไฟ และการ ปะทุของถ่านขณะเผาไหม้ แมว้ า่ การใช้แป้งขา้ วโพดเป็นตัวประสานจะมีต้นทุนที่สูง กว่าการใช้แป้งมันสาปะหลัง แต่คุณสมบัติของถ่านอัดแท่งที่ได้มีคุณภาพมากกวา่ ในทุกๆ ด้าน จึงสามารถนาผลวิจัยที่ได้ไปส่งเสริมให้ผู้ประกอบการด้านการผลิต ถ่านอัดแท่งนาไปประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื ผลิตถ่านอัดแท่งต่อไป ภาพที่ 1 กะลามะพรา้ ว ภาพที่ 2 เตาเผาถ่านขนาด 200 ลิตร

สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 3 กะลามะพรา้ วที่ผา่ นการเผา ภาพที่ 4 เคร่อื งบดถ่าน สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค- 34 - ภาพที่ 5 เคร่อื งอัดแท่งถ่าน ภาพที่ 6 ถ่านอัดแท่งที่ใชแ้ ป้งขา้ วโพดเปน็ ตวั ประสาน

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ทดสอบการทนแล้งของพืชอาหารสตั วต์ ระกูลหญ้า 4 สายพันธุ์ ตาบลนายาง อาเภอพิชัย จงั หวดั อตุ รดิตถ์ จักรกฤช ศรีละออ* และสนุ สิ า บวั ทอง คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม *E-mail: [email protected] ➢ แนวคดิ หรือวตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ - 35 - ปัจจุบันประเทศไทยกาลังประสบกับปัญหาวิกฤติภัยแล้ง และมีแนวโน้ม ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค ว่าจะมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งผลกระทบจากปัญหาวิกฤติภัยแล้งน้ีได้ส่งผล กระทบต่อด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมของประเทศอย่างมาก ที่สาคัญประเทศ ไทยเป็นประเทศที่มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัญหาภัย แล้งน้ีจึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อเกษตรกร ทั้งเกษตรกรผู้เพาะปลูกพืช และเลี้ยง สัตว์ ซึ่งได้รับผลกระทบจากปริมาณน้าที่ลดลงส่งผลกระทบต่อคุณภาพของ ผลผลิตโดยเฉพาะเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชอาหารสตั ว์ ทาให้เกิดการขาดแคลนพืช อาหารสัตว์ ด้วยเหตุน้ีจึงทาให้พืชอาหารสัตว์ไม่เพียงพอและมีความต้องการเพ่ิม มากขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้ราคาพชื อาหารสตั วม์ แี นวโนม้ สูงข้นึ ซึง่ จากข้อมูลสถิติศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกรมปศุสัตว์ ได้รายงานว่าสถิติจานวนสัตว์ และพ้ืนที่เลี้ยงสัตว์ในปี พ.ศ. 2559 - 2560 มีปริมาณของสัตว์และจานวนของ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์เพ่ิมมากขึ้น แต่ข้อมูลพ้ืนเลี้ยงสัตว์และพ้ืนที่ผลิตพืชอาหาร สัตว์กลับมีแนวโน้มที่ลดลง ซึ่งหากไม่มีการแก้ไขอาจส่งผลให้มีการขาดแคลนพืช อาหารสตั ว์โดยเฉพาะพชื อาหารสัตวต์ ระกูลหญ้าในอนาคตได้ คณะผู้วิจัยจึงสนใจ ศึกษาสายพันธ์ุของพืชอาหารตระกลู หญ้า โดยศึกษาความสามารถในการทนแลง้ และการตอบสนองทางสรีรวิทยาของพืชที่เกี่ยวข้องกับความต้านทานต่อการแล้ง หรือสภาวะของการแหง้ แลง้ เพอ่ื เป็นขอ้ มลู สาหรับการคัดเลอื กสายพนั ธ์ุทีท่ นแล้งดี ที่สุด โดยการนาสายพันธุ์พืชอาหารสัตว์ตระกูลหญ้า 4 สายพันธุ์ มาทดลองปลูก ในพ้ืนที่ ซึ่งสถานที่ดาเนนิ โครงการเพ่ือใช้เป็นกรณีศึกษา คือ ตาบลนายาง อาเภอ พิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เน่ืองจากเป็นพ้ืนที่ที่มีการเลี้ยงโคเน้ือเป็นจานวนมาก และ

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสังเคราะหค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ สภาพพ้ืนที่เป็นพ้ืนที่แห้งแล้ง วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1) เพ่ือคัดเลือกสายพันธ์ุ พืชอาหารสัตว์ตระกลู หญ้าที่เจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูงในสภาวะแล้ง และ 2) เพ่ือศึกษาการตอบสนองทางสรีรวิทยาของพืชอาหารสัตว์ตระกลู หญ้า 4 สาย พันธ์ุในสภาวะของการกระทบแลง้ ➢ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพืชอาหาร สัตว์ในสภาวะภัยแล้ง และคัดเลือกพืชอาหารสัตว์ที่ใช้ปริมาณน้าในการ เจรญิ เตบิ โตน้อย เพ่อื ตอบสนองนโยบายในด้านการเพาะปลกู พชื ทีใ่ ชน้ า้ น้อย ➢ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ จากการทดลองพบว่า สายพันธุ์หญ้าที่มีลักษณะของการทนต่อสภาพ แล้งได้ดีทีส่ ุด คือ สายพันธุ์หญ้ารูซี่ รองลงมาคือ สายพันธุ์หญ้าเนเปียร์ปากชอ่ ง 1 ถัดไปคือ สายพันธุ์หญ้ากินนีสีม่วง และสายพันธ์ุหญ้าอะตราตั้ม คือสายพันธุ์ที่มี ลักษณะของการทนต่อสภาพแล้งได้น้อยที่สุด หากเกษตรกรมีความประสงค์ที่จะ เพาะปลูกพืชอาหารสัตว์ตระกูลหญ้า ผู้วิจัยแนะนาให้เกษตรกรเลือกสายพันธุ์ หญ้ารูซี่ เน่ืองจากผลการวิจัยนั้น แสดงให้เห็นว่า หญ้ารูซี่ เป็นสายพันธุ์หญ้าที่มี - 36 - ลักษณะทนต่อสภาวะแล้งได้ดีที่สุด ทาให้ปริมาณในการใชน้ ้าเพ่อื การเจริญเตบิ โต นอ้ ย มีอายุหลายปีและในแต่ละปสี ามารถเกบ็ เกีย่ วผลผลิตได้หลายคร้ัง ภาพที่ 1 การเตรียมแปลงปลูก ภาพที่ 2 การกาหนดระยะแปลงย่อย

สงั เคราะห์ความรู้จากงานวจิ ัยและผลงานสร้างสรรค์ ภาพที่ 3 การวางระบบนา้ ภาพที่ 4 การปลูกด้วยเมล็ด - 37 - ภาพที่ 5 หญา้ อาหารสัตวใ์ นระยะเก็บ ภาพที่ 6 การบันทึกข้อมลู ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค เกี่ยว

สังเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์คสงั เคราะห์ความรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชมุ ชน ตอ่ พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออใน ตาบลเขก็ นอ้ ย อาเภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบูรณ์ นโิ ลบล ฉา่ แสง* และวิรัชฎากร ปรารมถ์ สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] ➢ แนวคิดหรือวัตถปุ ระสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ ในพืน้ ทีต่ าบลเข็กน้อย มกี ารระบาดของโรคไข้เลอื ดออกอยา่ งมาก ซึ่งโรค ไข้เลือดออกเป็นโรคที่สามารถป้องกันและควบคุมได้ จึงเกิดงานวิจัยที่จะศึกษา ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของบุคคลในชุมชน และศึกษา ประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค ไข้เลอื ดออก ในตาบลเข็กน้อย อาเภอเขาค้อ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ➢ ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย - 38 - เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง ซึ่งเป็นงานที่ต้องการทดลองใช้โปรแกรมการมี ส่วนร่วมกับชุมชน และศึกษาระดับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของ บคุ คลในชุมชนเพอ่ื ลดค่าดัชนขี องโรคไข้เลอื ดออก ➢ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ กลุ่มทดลองส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 53.3 และเพศหญิง ร้อยละ 46.7 กลุ่มควบคุมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 63.3 และเพศชาย ร้อยละ 36.7 ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p<.05) คะแนน พฤตกิ รรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชมุ ชนของกลุ่มควบคุม ท้ังก่อนทดลอง และภายหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน คะแนนพฤติกรรมในการป้องกันโรค ไข้เลือดออกในชุมชนก่อนการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่ แตกต่างกัน คะแนนพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนหลังการ

สังเคราะห์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ทดลอง กลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 (p<.05) ภายหลังการทดลองให้โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อพฤติกรรมการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกในกลุ่มทดลอง ตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของ Cohen and Uphof ทาให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม มกี ารปรบั เปลี่ยน พฤติกรรมเพอ่ื ป้องกนั การเกิดโรค จึงส่งผลให้คะแนนพฤติกรรมในกลุ่มทดลองสูง กว่ากลุ่มควบคุม ซึ่งผลงานวิจัยน้ีได้นาข้อมูลที่วิเคราะห์แล้วคืนสู่ชุมชน เพ่ือสร้าง กาลงั ใจในการปฏบิ ัติ และการป้องกันโรคไข้เลอื ดออกตอ่ ไป - 39 - ัสงเคราะ ์หความ ู้รจากงาน ิว ัจยและผลงานส ้รางสรร ์ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook