Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RDI_SynKnowledge2560

RDI_SynKnowledge2560

Published by rdi, 2019-09-08 23:34:10

Description: RDI_SynKnowledge2560

Keywords: rdi,psru,synthesis,knowledge,thai version

Search

Read the Text Version

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม ก คำนิยม อธกิ ำรบดีมหำวทิ ยำลยั รำชภฏั พิบลู สงครำม ขอแสดงความช่ืนชมกับนักวิจัยท้ัง 6 คณะ บุคลากรของ มหาวทิ ยาลัยทุกท่านและสถาบันวจิ ยั และพัฒนา ที่มีส่วนร่วมมือให้ได้มาซึ่ง เอกสาร “ถอดบทเรียนองค์ความรู้จากงานวิจัย” เล่มน้ี ซึ่งได้ดาเนินตาม โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยตามแผนพัฒนางานวิจัยของ สถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม งานวิจัยของ นักวิจัยและบุคลากร ท้ัง 30 เรื่อง ที่ถอดบทเรียนเป็นบทความวิชาการ ได้กอ่ ให้เกิดองคค์ วามรู้ใหม่และมีส่วนร่วมในการสรรค์สร้างความรู้ด้าน วชิ าการ การถอดบทเรียน ไมเ่ พยี งแต่เปน็ การสงั เคราะห์องค์ความรู้ที่ได้ จากงานวิจัยเท่านั้น แต่ยังเป็นการแสดงถึงความสามารถของนักวิจัย ในการเขียนบทความวิชาการ คุณภาพของงานวิจัยตลอดจนสามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งเป็นการแสดงถึงศักยภาพด้านงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยได้อีกทางหน่ึงด้วย ขอให้กาลังใจแก่ผู้อานวยการสถาบันวิจัย และพัฒนาในความต้ังใจขับเคล่ือนและดาเนินโครงการพัฒนาบุคลากร ด้านการวิจัย จนได้มาซึ่งเอกสารน้ี ขอให้เอกสาร “ถอดบทเรียนองค์ ความรู้จากงานวิจัย” น้ี ได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์สมกับเจตนารมณ์ของ คณะผู้จัดทาต่อไป ดร.สาคร สรอ้ ยสังวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม ข คำนำ หนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัย โดยสถาบันวิจัย และพัฒนาได้รับความร่วมมืออันดีจาก 6 คณะ ในการส่งเสริมให้ คณาจารย์และนักวิจัยที่ทาวิจัยในแต่ละคณะได้มานาเสนอผลงานวิจัย ในรูปแบบบทความที่ผ่านการสงั เคราะห์เป็นองค์ความรู้แล้ว ทางสถาบันวิจัยฯ หวังว่าหนังมือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ในการ นาไปใช้กับหน่วยงานของท่าน หากมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงทาง สถาบันวจิ ยั ฯ ยนิ ดนี อ้ มรับนาไปพัฒนาในอนาคต หนังสือเล่มน้สี าเร็จลงได้ด้วยดจี ากความรว่ มมือของคณาจารย์ ทั้ง 6 คณะ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สถาบันวิจัยและพัฒนาต้อง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริสภุ า เอมหยวก บรรณาธกิ าร

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม ค สำรบญั เรือ่ ง หนำ้ คานิยมอธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม.........................ก คานา..............................................................................................ข สารบญั ..........................................................................................ค ความหลากชนดิ ของรา Microfungi ทีม่ ีฟรุตบอดี ขนาดใหญใ่ นเขตพ้นื ทีส่ ถานวี จิ ยั สิง่ แวดลอ้ มสะแกราช ดร.ราไพ โกฏสืบ.............................................................................1 ดนตรีมงั คละในศตวรรษที่ 21 : จากมิติแหง่ อดีตสู่ปจั จุบัน ดร.กมลธรรม เกือ้ บตุ ร....................................................................4 การเตรียมและการหาลกั ษณะเฉพาะของแผ่นฟิล์ม เส้นใยนาโนพอลิคาโปรแลคโตน/พอลิไวนลิ แอลกอฮอล์ ผสมสารสกดั จากมะหาดสาหรบั ประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ แผ่นปิดแผล ดร.กฤษ สจุ รติ ตั้งธรรม....................................................................7 การประเมนิ องค์ประกอบทางเคมขี องสารสกดั ตา่ งๆ จากผกั มะไห่ และคณุ สมบัตกิ ารออกฤทธิท์ างชวี ภาพ ดร.กีรติ ตนั เรือน............................................................................9

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม ง เรือ่ ง หนำ้ ความพงึ พอใจและผลสะทอ้ นจากการเรียนรู้กิจกรรมใน วชิ าจิตตปญั ญาศึกษา ดร.ณริ ดา เวชญาลักษณ์................................................................14 การพฒั นาขนมปงั ที่มีใยอาหารและแคลเซียมสงู จากแปง้ ถ่ัวเหลอื งหมักโดยใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดร.พรดรลั จุลกลั ป.์ .......................................................................17 การพฒั นาผงปรงุ รสจากถวั่ เหลอื งหมักโดย ใชภ้ มู ิปญั ญาท้องถิน่ ภาคเหนอื เพ่อื ผู้บริโภคคนไทย ดร.พรดรัล จลุ กัลป…์ ……………………………………………………………………..….19 การพฒั นาผลิตภัณฑข์ นมขบเคยี้ วเสริมโปรตนี จากถั่วเหลือหมักโดยใชภ้ มู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ดร.พรดรัล จุลกัลป…์ ……………………………………………………………..………..22 ผลิตภณั ฑอ์ าหารเชา้ สาเรจ็ รปู แบบผสมเสริมโปรตนี จากถั่วเหลืองหมักโดยใชภ้ มู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดร.พรดรลั จลุ กัลป…์ …………………………………………………………………..……24 การสารวจและการใชป้ ระโยชนจ์ ากเชอื้ ราไมคอร์ไรซา จากกล้วยไมข้ องไทยบางชนิดเพ่อื การอนุรกั ษแ์ ละเกษตรกรรม ดร.เรืองวุฒิ ชตุ มิ า..........................................................................26

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม จ เรือ่ ง หนำ้ การพฒั นาไมโครเจลจากสารสกดั ใบบัวบก นางสาวศิริรัตน์ พนั ธ์เรือง..............................................................30 การพฒั นากูลโคสเซนเซอร์ทางเคมไี ฟฟา้ โดยใชอ้ นภุ าคโลหะ เป็นคะตะลิสต์เพ่อื วิเคราะห์หากูลโคสในปัสสาวะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลวดี ปนิ่ วัฒนะ........................................33 การสร้างแบบฝึกชว่ ยจาคาศัพท์ภาษาญีป่ ุ่นสาหรับนกั ศึกษา วชิ าเอกภาษาญีป่ ุ่น มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฏั ฐิรา ทบั ทิม………………………………….……….35 การสร้างฐานข้อมูลภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ด้านวัดในจงั หวัดพิษณโุ ลก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริสภุ า เอมหยวก......................................37 วัฒนธรรมอาหารพ้นื ถิ่นพิษณุโลกสู่อาเซียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ ศภุ วทิ ิตพฒั นา.............................39 การสร้างมลู คา่ เพิม่ และการพฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ การทาข้าวทอดกรอบปรงุ รสสมุนไพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้าทิพย์ วงษป์ ระทปี ...................................42 ปจั จัยทีม่ ีอิทธิพลตอ่ ความหลากหลายของลักษณะ ภายนอกของไก่พ้ืนเมอื ง ในพืน้ ทีจ่ ังหวดั พิษณโุ ลก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี แหยมคง.......................................45

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม ฉ เรื่อง หนำ้ สารสกัดดอกดาวเรืองจากภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ สู่นวตั กรรมลดรวิ้ รอย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ ศรีโสภา...........................................47 การวเิ คราะห์การดารงอยู่ของพิธีกรรมเย้อื งของชาวไทยทรงดา บ้านบัวยาง อาเภอวชิรบารมี จังหวดั พิจิตร นางสาวธญั ญาพร มาบวบ.............................................................50 การสอ่ื สารแบบมสี ่วนร่วมเพ่อื โน้มนา้ วใจให้ชาวนาใชห้ ลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาปลกู ขา้ วแบบเปียกสลบั แห้ง กรณศี กึ ษา: บ้านหนองกรับ ต.หนองกุลา อ.บางระกา จ.พษิ ณุโลก ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุษบา หินเธาว์.................................................52 การพัฒนาความสามารถดา้ นการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม จังหวดั พิษณโุ ลก รองศาสตราจารย์ ดร.สขุ แกว้ คาสอน............................................54 การจดั การและพฒั นาองค์ความรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การทาผ้าหมอ้ หอ้ มของชาวไทยพวน เพอ่ื พัฒนาวิสาหกิจชุมชน จงั หวดั แพร่ อาจารย์จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง.........................................................57

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม ช เรือ่ ง หนำ้ ความหลากหลายทางรากวฒั นธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ เพอ่ื การพัฒนาการท่องเทีย่ วเชงิ ประวัตศิ าสตร์สกู่ ารอนุรักษ์ อย่างย่งั ยนื อาจารย์สภุ าวดี น้อยน้าใส..............................................................60 การสารวจชนดิ และคดั เลือกราอาร์บัสคลู าร์ไมคอร์ไรซาทีส่ ัมพันธ์ กบั ขา้ วฟ่างหวาน ดร.สพุ ตั รา บดีรัฐ………………………………………………………………………….….62 ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน เรื่อง ปัญหาสงั คมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถ ในการคดิ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และความพงึ พอใจของนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม อาจารย์ธัญญาพร ก่องขนั ธ…์ …………………………………………………………..65 การศึกษาและการอนรุ กั ษเ์ พลงพืน้ บ้านตาบลพลายชมุ พล อาเภอเมอื ง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก อาจารย์ธิปไตย สุนทร……………………………………………………………….……..68 งานการประยกุ ตใ์ ชป้ นู ปลาสเตอร์เสอ่ื มสภาพ จากการผลิตเซรามิกสม์ าพฒั นารปู แบบผลิตภัณฑอ์ ฐิ ประดบั ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรชัย ปานทุ่ง……………………………………………………71

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม ซ เรื่อง หนำ้ การพฒั นาเครอ่ื งอัดแก๊สชีวภาพขนาดเลก็ สาหรบั ใชใ้ นครวั เรือน อาจารย์สริ ิเดช กลุ หริ ัญบวร...........................................................74 องคป์ ระกอบทางเคมขี องน้ามันหอมระเหยของใบกระดกู ไก่ดา อาจารย์สุวิมล ทองแกมแก้ว.........................................................77 รปู แบบการดาเนนิ ชีวิตกบั พฤติกรรมการใชน้ วตั กรรม การส่อื สารผ่าน Application : Line ทางโทรศพั ท์ อาจารย์เอกรงค์ ปนั้ พงษ์................................................................80 ภาคผนวก........................................................................................83 คณะผจู้ ดั ทา....................................................................................101

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 1 ดร.ราไพ โกฏสบื คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง ความหลากชนดิ ของรา Microfungi ทีม่ ีฟรุตบอดขี นาดใหญ่ ในเขตพ้นื ที่สถานวี จิ ยั สง่ิ แวดลอ้ มสะแกราช แนวคิดหรือวัตถุประสงค์ เนอ่ื งจากในพนื้ ที่สถานวี จิ ยั สง่ิ แวดลอ้ มสะแกราชซึ่งถือเป็นหนึง่ ในพ้ืนที่แหล่งสงวนชีวมณฑลแต่กลับพบมีการศึกษาและการรายงาน เกี่ยวกับรากลุ่ม microfungi อยู่น้อยมาก และด้วยทางสถานีฯ มีความ ต้องการรวบรวมข้อมูลความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่พบในพ้ืนที่ งานวิจัยน้ีจึงช่วยให้สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชมีข้อมูลเบื้องต้น/ พ้ืนฐานเกี่ยวกับความหลากหลายของราในกลุ่มน้ีที่พบในเขตพ้ืนที่ของ สถานีฯเพ่ิมขึ้น และผู้ที่อยู่ในแวดวงที่เกี่ยวข้องยังสามารถนาข้อมูลที่ได้ จากงานวิจยั นีไ้ ปใชใ้ นการศึกษาวิจัยต่อยอดได้อกี ด้วย รูปที่ 1 ชนิดของรา Cookeina speciosa SK010 (แก่)

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 2 รูปที่ 2 ชนดิ ของรา Cookeina tricholoma SK013 ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั เ ป็ น ง า น วิ จั ย พ้ื น ฐ า น ที่ เ น้ น ศึ ก ษ า ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ อนุกรมวิธานของรากลุ่ม microfungi ที่ผลของงานวิจัยสามารถช่วยเติม เต็มข้อมูลด้านความหลากหลายของรากลุ่มน้ีที่ยังขาดหายไปของสถานี วจิ ัยสง่ิ แวดลอ้ มสะแกราชให้สมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ขณะเดียวกันก็มีราที่พบ จากงานวิจัยบางชนิดที่หากได้รับการตรวจสอบยืนยันข้อมูลทาง อนกุ รมวิธานที่ชัดเจนแล้วคาดว่าเป็นราที่ไม่เคยพบมีรายงานในพ้ืนที่มา ก่อนหรืออาจเป็นราชนิดใหม่ที่ยังไมถ่ ูกค้นพบ รูปที่ 3 ชนิดของรา Cookeina speciosa (ออ่ น)

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 3 การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ทางสถานวี จิ ยั ส่งิ แวดล้อมสะแกราชสามารถนาข้อมูลที่ได้จาก งานวิจัยไปเผยแพร่แก่สาธารณชนเพ่ือการใช้ประโยชน์ในแง่ของการ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้แก่ผู้ที่มีใจรักในการศึกษา ธรรมชาติในเขตพ้ืนที่ของสถานีฯ เน่ืองจากรากลุ่มน้ีสามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า อีกทั้งมีสีสันและรูปร่างที่มีความหลากหลายสูง นอกจากนี้ รา microfungi ในกลุ่มผู้ย่อยสลายซากที่พบบางชนิดที่สามารถแยกเชื้อ บริสทุ ธิ์ได้ยังสามารถนาไปทดสอบใช้ในการเพ่ิมอัตราการย่อยสลายของ เศษซากอินทรียวัตถุในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์หรือการวิเคราะห์หาสารที่มี ประโยชนท์ ีร่ าขึ้นสร้างในระหวา่ งการเพาะเลยี้ งได้อีกดว้ ย รปู ที่ 4 ชนิดของรา Xylaria sp. SK021

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 4 ดร.กมลธรรม เกือ้ บุตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ E-mail: [email protected] เรือ่ ง ดนตรีมงั คละในศตวรรษที่ 21 : จากมิติแหง่ อดีตสู่ปัจจบุ นั แนวคดิ หรือวัตถปุ ระสงค์ ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการสร้างกิจกรรมเพ่ือการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของจังหวัดพิษณุโลก ที่เคล่ือนตัวภายใต้พลวัต ทางสังคมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคที่มีวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี รวมถึงนวัตกรรมที่ก้าวกระโดด ทาให้เยาวชนรุ่นใหม่ หรือแม้กระทั่งคน ทั่วไปในยุคปัจจุบันดารงอยู่ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะวฒั นธรรมดนตรีตะวันตกที่หลง่ั ไหลเข้ามาสู่ประเทศไทยอย่าง ต่อเน่ือง การศึกษาแนวทางและปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมให้วัฒนธรรม ดนตรีมงั คละเป็นสว่ นหน่งึ ของยุคปัจจุบัน และไม่เส่ือมสลายไป ส่งเสริม ให้ทกุ คนรว่ มเปน็ เจ้าของวฒั นธรรมดังกลา่ วน้ี ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย เป็นการวิจัยพ้ืนฐานมุ่งเน้นการหาความสัมพันธ์การดารงอยู่ของ ดนตรีมังคละในสังคมชาวพิษณุโลกจากอดีตสู่ปัจจุบัน เพ่ือหาแนวทาง ในการประยุกต์องค์ความรู้ด้านดนตรีมังคละให้สามารถดารงอยู่ภายใต้ สภาพสงั คมปจั จบุ ันโดยไม่ขดั กบั ค่านยิ มของสงั คม

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 5 รปู ที่ 1 บริเวณปะราพธิ ีไหว้ครูมงั คละ รปู ที่ 2 การบรรเลงคนตรีมังคละขณะประกอบพิธีไหว้ครู การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ นาองค์ความรู้จากผลการวิจัยในด้านประวัติและพัฒนาการ ของมังคละในจังหวัดพิษณุโลกมาประยุกต์ให้อยู่ในรูปแบบโปรแกรม สาเร็จรูปที่สามารถเผยแพร่ในหลากหลายระบบปฏิบัติการ ซึ่งเป็น งานวจิ ยั เชงิ ประยกุ ตต์ อ่ เนอ่ื งในอนาคตต่อไป สร้างแผนกิจกรรมในการ อนุรักษ์ดนตรีมังคละโดยมุ่งเน้นไปที่เยาวชนให้ตระหนักถึงวัฒนธรรม

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 6 ท้องถิ่น โดยอาจผสมผสานในกระบวนการสอนดนตรีแบบตะวันตกเพ่ือ สร้างความนา่ สนใจ ให้เหมาะสมกับยุคที่มีค่านิยมเอนเอียงไปทางดนตรี ของชาติตะวนั ตก รูปที่ 3 พธิ ีเจิมหน้าผากเพ่อื ความเป็นสริ ิมงคล รูปที่ 4 การจบั มือต่อเพลงมังคละ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 7 ดร.กฤษ สจุ รติ ตั้งธรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง การเตรียมและการหาลักษณะเฉพาะของแผ่นฟิล์มเส้นใยนาโน พอลิคาโปรแลคโตน/พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ผสมสารสกัดจากมะหาด สาหรับประยุกตใ์ ชเ้ ป็นแผ่นปิดแผล แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์ งานวจิ ยั น้เี ป็นการนาสารสกัดของมะหาดมาผสมกับพอลิเมอร์ แล้วทาการขึ้นรูปเป็นแผ่นฟิล์ม เพ่ือนามาใช้สาหรับเป็นแผ่นปิดแผลที่ สามารถป้องกัน และยบั ยงั้ แบคทเี รียก่อโรค รปู ที่ 1 ภาพการผลิตแผ่นฟิล์มเส้นใยนาโนจากเครื่อง อเิ ลก็ โทนสปินนิง

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 8 ลักษณะเด่นของงานวิจยั ปัจจุบันการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติสาหรับการรักษา หรือป้องกนั การเจบ็ ป่วยเป็นทางเลือกหนึ่งทีก่ าลงั เป็นที่สนใจ ซึ่งพืชหรือ สารสกัดจากพืชหลายชนดิ มคี ุณสมบัตทิ ีน่ ่าสนใจสาหรับการศึกษาเพ่ือดู ถึงแนวทางในการนามาประยุกต์ใช้ตัวอย่างเช่น พืชบางชนิดสามารถ ออกฤทธิ์ในการยับย้ังจุลชีพก่อโรคได้ เป็นต้น มะหาดเป็นพืชชนิดหน่ึงที่ มคี ุณสมบัติดังกล่าวและกาลังเป็นที่น่าสนใจของนักวิจัยในหลายๆ ที่ซึ่ง ในงานวิจัยน้ีเป็นการนาสารสกัดจากแก่นมะหาดมาผสมกับพอลิเมอร์ ทางชวี ภาพแลว้ ทาการขนึ้ รูปเปน็ แผ่นฟิลม์ ที่มีลกั ษณะเด่น คือ แผ่นฟิล์ม ดังกล่าวเกิดจากการทับถมของเส้นใยที่มีขนาดนาโนเมตร ซึ่งจะทาให้มี ผิวสมั ผสั ทม่ี าก และมีช่องวา่ งท่อี ากาศสามารถถ่ายเทได้ และนอกจากน้ี แผ่นฟลิ ์มดังกล่าวยงั มฤี ทธิใ์ นการยบั ยง้ั และปอ้ งการแบคทเี รียก่อโรคได้ อกี ด้วย จึงนา่ จะเหมาะสาหรบั การนามาประยกุ ตเ์ ป็นแผ่นปิดแผล การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ ในงานวิจัยน้ีเป็นการศึกษาถึงคุณสมบัติของสารสกัดจากพืช และนาสารสกัดที่ได้มาประยุกต์ร่วมกับงานทางด้านวัสดุศาสตร์ เพ่ือที่จะพัฒนาต่อไปสาหรับเป็นผลิตภัณฑ์ในการช่วยรักษาแผลของ ผู้ป่วยและได้องค์ความรู้ที่จะกระตุ้นให้นักวิจัย หรือคนในท้องถิ่นแต่ละ ท้องถิ่นหันมาสนใจและให้ความสาคัญต่อพืชและสมุนไพรที่มีอยู่ใน ท้องถิน่ มากขึ้น

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 9 ดร.กีรติ ตนั เรือน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง การประเมนิ องค์ประกอบทางเคมขี องสารสกดั ตา่ งๆ จากผักมะไห่ และคุณสมบตั กิ ารออกฤทธิท์ างชวี ภาพ แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ ปัจจุบันการใช้พืชและผลิตภัณฑ์จากพืชได้รับความนิยมจาก ผู้บริโภคเป็นอย่างมาก และมีแนวโน้มว่าจะเพ่ิมมากขึ้น เน่ืองจาก ผู้บริโภคตระหนักถึงอันตรายและผลข้างเคียงจากการใช้สารเคมี ดังนั้น การศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพ ต่าง ๆ ของพืชจึงมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการใช้ประโยชน์และการ พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะพืชกินได้ (Edible plant) ที่หลายชนิดเป็นพืช พ้ืนบ้านซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักและยังไม่มีการศึกษาถึงความสามารถในการ ออกฤทธิ์ทางชวี ภาพ การศึกษาในครั้งเป็นการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ ทางชีวภาพของ“ผักมะไห่” ซึ่งเป็นผักพ้ืนบ้านมีลักษณะเป็นเถา-เครือ คล้ายกับมะระขี้นก แต่ผักมะไห่มีใบที่ใหญ่และหนาขยายพันธ์ุด้วยหัว หรือเหง้าส่วนที่นามารับประทานคือยอดซึ่งมีรสขม อย่างไรก็ตามจาก การสบื ค้นขอ้ มลู ไม่พบสรรพคุณทางยาและองค์ประกอบทางเคมีของผัก มะไห่ดงั นนั้ ผลจากการวจิ ยั น้จี ะทาให้ทราบถึงชนิดขององค์ประกอบทาง เคมีของผักมะไห่ โดยเฉพาะปริมาณของสารประกอบฟีนอลิกและฟลา โวนอยด์ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สาคัญรวมถึงผลการตรวจสอบ

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 10 สมบัติทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านเช้ือจุลินทรีย์ ซึ่งข้อมูลที่ได้สามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษา พัฒนาและใช้ ประโยชนต์ อ่ ไป รปู ที่ 1 ลักษณะของผกั มะไห่ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั งานวิจัยน้ีเป็นการศึกษาถึงองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทาง ชีวภาพของผักมะไห่ซึ่งเป็นพืชที่ยังไม่มีการรายงานถึงองค์ประกอบทาง เคมีและสรรพคณุ อ่นื ๆ นอกจากการใชเ้ ปน็ อาหาร โดยจากการวเิ คราะห์ องค์ประกอบทางเคมีของน้ามันหอมระเหยจากผักมะไห่ ด้วยเทคนิค แก๊สโครมาโทกราฟี–แมสสเปกโทรเมทรีพบว่าน้ามันหอมระเหยจากผัก ไห่มี anethole เป็นองค์ประกอบหลักโดยมีค่า Relative peak area สูงถึง 66.74 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งในทางอุตสาหกรรมใช้ anethole เปน็ สารให้กลิ่นอีก ทั้งยังมีการรายงานว่า anethole มีฤทธิ์เป็นยากระตุ้น (Stimulant) ยา ขับลม (Carmination) และมีฤทธิ์ทางชีวภาพหลายประการ อาทิ ฤทธิ์

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 11 ตา้ นเช้อื จลุ ินทรีย์และฤทธิ์ฆ่าแมลง เป็นต้น นอกจากน้ีน้ามันหอมระเหย ของผักมะไห่มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโว นอยดท์ ั้งหมดสูงทีส่ ดุ คือ 65.6 มลิ ลกิ รมั สมมลู กรดแกลลิกตอ่ กรัมสาร สกัดและ 42.6 มิลลิกรัม สมมูลเคอเซทินต่อกรัมสารสกัด ตามลาดับ และจากการศึกษาฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค ได้แก่ Bacillus cereus, B. subtilis, Candida albicans, Escherichia coli, Pseudomonas fluorescens และ Salmonella typhi พบว่าสารสกัดจากผักมะไห่มีความสามารถใน การยับยง้ั เช้อื จุลินทรีย์ทดสอบได้ทกุ ชนิด โดยน้ามันหอมระเหยมีฤทธิ์ยับยง้ั จลุ ินทรีย์ทดสอบได้ดีกว่าสารสกัด จากตัวทาละลายชนิดอ่ืนและเม่ือนาสารสกัดจากผักมะไห่มาทดสอบ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่าสารสกัดเอทิลอะซิเตทมีฤทธิ์ต้านอนุมูล อิสระสูงที่สุดโดยมีค่าความเข้มข้นในการยับย้ังที่ 50 เปอร์เซ็นต์เท่ากับ 0.95 มลิ ลกิ รมั ตอ่ มิลลิลติ ร รปู ที่ 2 การสกัดนา้ มันหอมระเหยจากผกั มะไห่

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 12 การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ข้อมลู ทีไ่ ด้จากการศึกษาท้ังองค์ประกอบทางเคมี ปริมาณของ สารประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวมถึงฤทธิ์ต้านสารอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านเช้อื จุลินทรีย์จะผ่านการนาเสนอในรูปแบบของผลงานทาง วชิ าการซึ่งสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลของพืชชนิดน้ีรวมถึงสามารถใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาเพื่อใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไปได้ รปู ที่ 3 โครมาโทแกรมของน้ามนั หอมระเหยจากผกั มะไห่ รูปที่ 4 การวเิ คราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ท้ังหมดดว้ ย Folin-Ciocalteu method

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 13 รปู ที่ 5 การวเิ คราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกท้ังหมดดว้ ย Aluminium chloride colorimetric method รูปที่ 6 การวเิ คราะห์หาฤทธิ์ต้านอนุมลู อสิ ระด้วย DPPH free radical scavenging method

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 14 ดร.ณริ ดา เวชญาลักษณ์ คณะครศุ าสตร์ E-mail: [email protected] เรื่อง ความพึงพอใจและผลสะท้อนจากการเรียนรู้กิจกรรมใน วชิ าจิตตปญั ญาศึกษา แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ การศกึ ษาโดยกระบวนการจิตตปัญญา เป็นการศึกษาที่ต้องการ พัฒนามนุษย์อย่างเป็นองค์รวม เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและส่งผล ต่อชีวิตด้านในของผู้เรียน สร้างความรู้เชิงประจักษ์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน จากประสบการณ์ตรงด้วยการทาสมาธิและวิปัสสนาในรูปแบบต่างๆ อาทิ การเรียนรู้ผ่านการฝึกฝนทางกาย เช่น ช่ีกง โยคะ การเคล่ือนไหว ร่างกายแบบตา่ งๆ การเรียนรู้ผ่านการทางานศิลปะ รูปแบบต่างๆ การ ใคร่ครวญทางความคิดโดยอาศัยประสบการณ์ที่ผ่านมาเป็นบทเรียน ตลอดจนการเข้าร่วมในประสบการณ์ตา่ งๆ ทางสงั คมและในชุมชน เป็น วิธีการเรียนรู้ที่นาผู้เรียนไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในตนเองอย่างลึกซึ้ง และเชอ่ื มโยงไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก จากรากฐานของ การปฏบิ ตั แิ ละฝึกฝนจริง ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ แ ล ะ ผ ล ส ะ ท้ อ น จ า ก ก า ร เ รี ย น รู้ กิจกรรมในวิชาจิตตปัญญาศึกษา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้ (เตือนใจ เกียวซี, 2553,หน้า 5) ในการจัดการเรียนรู้ให้กับ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ด้วยรูปแบบ ส.ค.ส คือ

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 15 ส. สมาธิ คือ การทาสมาธิ ก่อน และ/หรือหลังเรียน หรือสวดมนต์แผ่ เมตตาและอุทิศส่วนกุศล ค. คิดใคร่ครวญ คือ การคิดใคร่ครวญอย่าง เงียบๆ และกล่ันกรองออกเป็นถ้อยคาแสดงออก ด้วยคาพูด หรือ ข้อเขียน และ ส. สรุปและสะท้อนแนวความคิด คือ การนาสาระที่ได้จาก การคิดใคร่ครวญมาสะท้อนในแนวคิดของตน อันจะส่งผลให้ผู้เรียนมี พฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสม เปน็ ผู้มสี ตสิ ามารถคิดใคร่ครวญและเป็นพลเมือง ทีด่ ขี องสงั คมและประเทศชาติต่อไป ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ แ ล ะ ผ ล ส ะ ท้ อ น จ า ก ก า ร เ รี ย น รู้ กิจกรรมในวิชาจิตตปัญญา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม สามารถนาไปปรับปรุง กิจกรรมการเรียนการสอนที่จะส่งผลให้นักศกึ ษา มีจิตสานึกที่ดี มีสมาธิ ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ สามารถคิด ใคร่ครวญ และสามารถสะท้อน ผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้แก่ผู้อ่ืนอันจะทาให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัวและสังคมภายนอก เป็นพลเมืองที่ดีของ ประเทศชาตติ อ่ ไปในอนาคต การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจและผลสะท้อนจากการ เรียนรู้กิจกรรมในวิชาจิตตปัญญาศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม ตามกระบวนการ ส.ค.ส. (สมาธิ ใคร่ครวญ และสะท้อน) พบว่า ในภาพรวมนักศึกษามีความพึง พอใจอยใู่ นระดับมาก กิจกรรมฐานทม่ี ีค่าเฉลี่ยสงู สดุ คือ ฐานกาย

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 16 ( X = 4.37) รองลงมาคือฐานคิด ( X = 4.28) และฐานจิต ( X = 4.28) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับผลสะท้อน จากการเรียนรู้กิจกรรมในวิชาจิตตปัญญา พบว่า นักศึกษาได้แสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ทุกฐานและทุกกิจกรรมว่าทาให้เกิด สมาธิ ได้ใคร่ครวญ คิดทบทวนตนเอง และนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ ปรับปรุงตนเองได้ โดย ฐานคิด นักศึกษาให้ความคิดเห็นว่ากิจกรรมใน ฐานน้ีทาให้เกิดการเรียนรู้การแก้ปัญหา ฐานจิต นักศึกษาให้ความ คิดเห็นว่ากิจกรรมในฐานน้ีทาให้รู้จักตนเองมากขึ้น มีสติมากขึ้น ส่วน ฐานกาย นักศึกษาได้ให้ความคิดเห็นว่ากิจกรรมในฐานน้ีทาให้เข้า ใจความเปน็ จิตตปัญญามากขนึ้ รปู ที่ 1 กจิ กรรมการเรียนการสอนจิตตปัญญา รูปที่ 2 กจิ กรรมการคดิ ใครค่ รวญ คิดทบทวนตนเอง

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 17 ดร.พรดรลั จุลกัลป*์ , อ.กนกวรรณ พรมจีน, และ อ.เปรมนภา สีโสภา คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร *E-mail: [email protected] เรื่อง การพัฒนาขนมปังที่มีใยอาหารและแคลเซียมสูงจากแปง้ ถ่ัว เหลอื งหมักโดยใชภ้ มู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น แนวคดิ หรือวตั ถุประสงค์ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาองค์ความรู้และต่อ ยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของผู้บริโภค โดยการนาแป้งถั่วเหลืองที่หมักที่ได้จากการ แปรรูปซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูง โดยเฉพาะโปรตีน ไขมันที่เป็น ประโยชน์ และเส้นใยอาหารสูง มาพัฒนาเป็นขนมปังจากแป้งถ่ัวเหลือง ห มั ก ที่ มี แ ค ล เ ซี ย ม แ ล ะ ใ ย อ า ห า ร สู ง ท ด แ ท น ก า ร ใ ช้ แ ป้ ง ส า ลี เ พ่ื อ ใ ห้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เป็นทางเลือกใหม่สาหรับผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพและ ผู้สูงอายุ รปู ที่ 1 ขนมปงั จากแปง้ ถั่วเหลอื งหมัก

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 18 ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย ขนมปังจากถั่วเหลอื งหมกั เป็นผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากการพัฒนาตอ่ ยอดการนาแป้งถ่ัวเหลืองหมักมาใช้ทดแทนแป้งสาสี โดยผลการศึกษา พบวา่ สามารถใช้แป้งถ่วั เหลอื งหมักทดแทนแป้งสาสีได้ร้อยละ 30 โดยที่ ผลิตภัณฑ์มีลักษณะเน้ือสัมผัสไม่แตกต่างกับขนมปังจากแป้งสาสี นอกจากนั้นยังพบว่าผลิตภัณฑ์จะมีโปรตีน ใยอาหาร และแคลเซียม มากกว่าขนมปังจากแป้งสาลี ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่ได้จะเป็นทางเลือกใหม่ สาหรับผู้บริโภคยุคใหม่ ผู้สูงอายุ และผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพ การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ คณะนักวิจัยได้นาองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอดสู่ผู้ประกอบการ กลุ่มแปรรูปผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและผู้สนใจท่ัวไปในลักษณะโครงการอบรม เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในพ้ืนทีจ่ งั หวัดพิษณุโลก รปู ที่ 2 เน้ือด้านในของขนมปังจากแปง้ ถวั่ เหลอื งหมัก

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 19 ดร.พรดรลั จลุ กลั ป*์ และ อ.ธนพล กิจพจน์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร *E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนาผงปรุงรสจากถั่วเหลืองหมักโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคเหนอื เพ่อื ผู้บริโภคคนไทย แนวคดิ หรือวัตถปุ ระสงค์ ถั่วเหลืองที่หมักด้วยเช้ือรา หรือ เทมเป้ (tempeh) เป็นอาหาร หมักพ้ืนเมืองของประเทศอินโดนีเซีย จัดเป็นอาหารหมักที่มีคุณค่าทาง โภชนาการสูงและอุดมด้วยโปรตีน ไขมัน ใยอาหาร วิตามิน เกลือแร่ และ สารต้านอนุมูลอิสระ จึงมีการนามาใช้ทดแทนเน้ือสัตว์ในอาหารมังสวิรัติ เทมเป้เปน็ ผลิตภัณฑ์ถวั่ เหลอื งหมักทีม่ ีคุณสมบตั พิ เิ ศษ คือ มีรสชาติ กลิ่น รสและลักษณะเนือ้ สัมผัสคล้ายเน้ือสัตว์ ดงั นน้ั การนาผงเทมเป้ถ่ัวเหลอื ง มาใช้ทดแทนเน้ือสัตว์ในผลิตภัณฑ์ผงปรุงรสอาหารจึงน่าจะเป็นแหล่ง โปรตนี ทีด่ แี ละเปน็ ทางเลือกใหมส่ าหรบั ผู้บริโภคคนไทย ลักษณะเด่นของงานวิจยั ผงปรุงรสจากถั่วเหลืองหมัก เป็นผลิตภัณฑ์ปรุงรสอาหารที่ได้ จากการนาถั่วเหลืองที่หมักด้วยผงกล้าเช้ือ Rhizopus oligosporus มาใช้ ท ด แ ท น เ น้ื อ สั ต ว์ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ผ ง แ ห้ ง ไ ม่ จั บ ตั ว เ ป็ น ก้ อ น มี ก า ร เ ติ ม ส่วนประกอบอ่ืนๆ คือ น้าตาลทราย เกลือบริสุทธิ์ กระเทียมผง โมโน โซเดียม-แอล-กลูตาเมต (ผงชูรส) ไม่ใช้วัตถุกันเสียและวัตถุปรุงแต่ง อาหาร มีสีเหลืองตามธรรมชาติของวัตถุดิบ มีค่ามาตรฐานตาม

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 20 ข้อกาหนด บรรจุในถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ สาหรับใช้เติมลงในผลิตภัณฑ์ อาหารในเมนตู ้ม ผัด และทอด รปู ที่ 1 ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ คณะนักวิจัยได้นาองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอดสู่ผู้ประกอบการ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑช์ มุ ชนและผู้สนใจทั่วไปในลักษณะโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการในพ้ืนที่จังหวัดเชียงราย, แพร่, พิษณุโลก และลาปาง จานวนมากกวา่ 200 คน รปู ที่ 2 บรรจภุ ณั ฑข์ องผงปรงุ รสจากถั่วเหลอื งหมกั

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 21 รปู ที่ 3 กจิ กรรมถ่ายทอดเทคโนโลยกี ลุ่มผู้ประกอบการ อ.แมจ่ นั จ.เชยี งราย

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 22 ดร.พรดรลั จุลกลั ป์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเสริมโปรตีนจากถั่วเหลือง หมักโดยใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ งานวจิ ัยน้เี ปน็ การศึกษาทม่ี ุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ของถั่วเหลือง หมักจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับวัตถุดิบในท้องถิ่น เพ่มิ ความหลากหลายให้กับผลิตภณั ฑ์ โดยการนามาพัฒนาตอ่ ยอดเป็นขนม ขบเคีย้ วเสริมโปรตีนโดยใช้ถั่วเหลืองหมักเป็นวัตถุดิบหลักร่วมกับส่วนผสม อ่ืนๆ เช่น ข้าว ธัญพืช ผักและผลไม้อบแห้งเป็นวัตถุดิบเสริม สาหรับ ผู้บริโภคทุกเพศทุกวัยและผู้บริโภคยคุ ใหม่ที่สนใจสขุ ภาพ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย ผลิตภัณฑข์ นมขบเคีย้ วเสริมโปรตีนจากถั่วเหลืองหมักจะใช้ถ่ัว เหลอื งหมักจากภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และทาการศึกษาโดยใช้โปรแกรมเชิง เส้นตรงซึง่ กาหนดให้ผลิตภัณฑม์ นี า้ หนกั 50 กรมั และต้องมสี ดั สว่ นของ สารอาหารที่สาคัญคือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เส้นใย แคลเซียม เหล็ก และพลังงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของสารอาหารที่แนะนาให้ บริโภคประจาวัน สาหรับคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป (Thai RDI) ผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้มมี าตรฐานตาม มีคณุ ค่าทางโภชนาการเหมาะกบั วัยและเป็นไปตาม ขอ้ กาหนด ซึ่งจะเป็นทางเลือกใหมท่ ี่ดใี ห้กับผู้บริโภคยุคใหม่

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 23 รปู ที่ 1 ส่วนผสมของผลิตภณั ฑ์ รปู ที่ 2 ขนมขบเคีย้ วจากถั่วเหลอื งหมกั การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ คณะนักวิจัยได้นาองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอดสู่ผู้ประกอบการ กลุ่มแปรรปู ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและผู้สนใจทั่วไปในลักษณะโครงการอบรม เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในพ้ืนทีจ่ งั หวัดแพร่ รูปที่ 3 บรรจุภัณฑข์ องขนมขบเคีย้ วจากถัว่ เหลืองหมกั

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 24 ดร.พรดรัล จุลกลั ป์*, และ อ.กนกวรรณ พรมจีน *คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร *E-mail: [email protected] เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารเช้าสาเร็จรูปแบบผสมเสริมโปรตีนจากถั่ว เหลอื งหมักโดยใชภ้ มู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ งานวิจัยน้ีมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากถั่วเหลืองหมักด้วยภูมิ ปัญญาท้องถิ่นเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับวัตถุดิบในท้องถิ่น เพ่ิมความ หลากหลายและเปน็ ทางเลือกใหมข่ องผู้บริโภค ผลการศกึ ษาพบวา่ การใช้ เช้ือรา Rhizopus oligosporus ในกระบวนการหมักถั่วเหลืองจะมีผลให้ถั่ว เหลอื งมีคณุ ค่าทางโภชนาการเพ่ิมขึ้นโดยเฉพาะโปรตีน กรดไขมันอิสระ วิตามิน และเกลือแร่ ดังนั้นคณะนักวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะนาถ่ัวเหลืองหมัก มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเช้าสาเร็จรูปเสริมโปรตีน โดยใช้แป้งข้าว หอมมะลิแทนการใช้แป้งสาลีและผลไม้อบแห้งเพ่ือเพ่ิมเส้นใยอาหาร เหมาะกบั ผู้บริโภคกลุ่มแพ้กลเู ตน ลักษณะเด่นของงานวิจยั ผลิตภัณฑ์อาหารเช้าสาเร็จรูปเสริมโปรตีนจากถั่วเหลืองหมัก จะใช้ถ่ัวเหลืองหมักเป็นส่วนประกอบรวมกับวัตถุดิบอ่ืนๆ เช่น แป้งข้าว หอมมะลิ แป้งข้าวโพด ผักและผลไม้อบแห้ง โดยใช้เครื่องมือพ้ืนฐาน กระบวนการผลิตไม่ยุ่งยากและสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้ง่าย ผลิตภณั ฑ์มีคณุ ค่าทางโภชนาการครบถ้วนตามเกณฑ์บรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 25 ปลอดภัยและมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ ของผู้บริโภค รปู ที่ 1 บรรจภุ ัณฑอ์ าหารเชา้ สาเรจ็ รปู แบบผสมจากถั่วเหลอื งหมกั การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ คณะนักวิจัยได้นาองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอดสู่กลุ่มแปรรูป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ช น แ ล ะ ผู้ ส น ใ จ ท่ั ว ไ ป ใ น ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง ก า ร อ บ ร ม เ ชิ ง ปฏบิ ัตกิ ารในพื้นที่จังหวดั พิษณโุ ลก รปู ที่ 2 บรรจุภัณฑอ์ าหารเชา้ สาเร็จรูปแบบผสมจากถั่วเหลอื งหมกั

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 26 ดร.เรืองวฒุ ิ ชุติมา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรื่อง การสารวจและการใช้ประโยชน์จากเช้ือราไมคอร์ไรซาจาก กล้วยไมข้ องไทยบางชนิดเพอ่ื การอนรุ ักษแ์ ละเกษตรกรรม แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ งานวิจัยน้ีเป็นการวิจัยพ้ืนฐานเพ่ือให้ทราบถึงคุณสมบัติ และ ประโยชนข์ องเช้อื ราไมคอร์ไรซากล้วยไมเ้ พ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลและแนวทางใน การพัฒนานวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมการเจริญของกล้วยไม้ทั้งในด้านการ อนรุ ักษ์ และเกษตรกรรมตอ่ ไป ลกั ษณะเด่นงานวิจัย สารวจเช้ือราไมคอร์ไรซาในกล้วยไม้ และศึกษากลไกในการ ส่งเสริมการเจริญของเช้ือราต่อกล้วยไม้โดยเฉพาะการผลิตฮอร์โมนที่ ส่งเสริมการเจริญของพืช (plant growth hormone) ในกลุ่มของ indole- 3-acetic acid (IAA) การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ งานวจิ ยั น้ที าให้ทราบถึงคุณสมบัติ และประโยชน์ของเช้ือราไม คอร์ไรซากล้วยไม้ รวมถึงการผลิตฮอร์โมนพืชในกลุ่มของ indole-3- acetic acid (IAA) ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนา นวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมการเจริญของกล้วยไม้ทั้งในด้านการอนุรักษ์และ เกษตรกรรมตอ่ ไป ซึ่งกล่าวสรุปได้พอสังเขปดังตอ่ ไปนี้ ไมคอร์ไรซา (Mycorrhiza)

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 27 ไมคอร์ไรซา คือ ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างเช้ือรา รากพืช และดิน หรือธาตุอาหารในดิน โดยที่เช้ือราจะอาศัยร่วมกับรากพืชโดยที่ พืชจะได้รับสารอาหารจากรามากขึ้นผ่านทางเส้นใยของเช้ือราที่มี ความสามารถแผ่ขยาย และแทรกเข้าถึงอนุภาคของดินได้ดีกว่ารากพืช และเช้ือราจะได้สารอาหารจากการสังเคราะห์แสงของพืช ดังนั้นเราจึง เรียกเช้ือรากลุ่มที่มีความสัมพันธ์ในรูปแบบน้ีว่า “เช้ือราไมคอร์ไรซา” สาหรับเช้ือราไมคอร์ไรซากล้วยไม้น้ันจะมีความสัมพันธ์เฉพาะในกลุ่ม ของพืชดอกที่อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) เท่านั้น และมักพบใน กล้วยไมด้ ินมากกวา่ กล้วยไมอ้ ิงอาศัย เช้ือราไมคอร์ไรซา ที่พบในกลุ่มน้ีเป็น เช้ือราช้ันสูงซึ่งส่วนมากจะอยู่ในกลุ่มของ Basidiomycetes และบางชนิด จะอยูในกลุ่มของ Ascomycetes ไมคอร์ไรซาชนิดน้ีจะสร้างโครงสร้างที่ สาคัญที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนสารอาหารกับพืช คือ peloton (รูปที่ 1 และ 2) ซึ่งจะมีลักษณะขดรวมกันของเส้นใยเป็นก้อนอยู่ภายในเซลล์ราก กล้วยไมใ้ นชั้น cortex ความสัมพนั ธ์ของเช้อื ราไมคอร์ไรซาในกล้วยไม้นั้น จะมีความชัดเจน และโดดเด่นในช่วงแรกของการงอกเมล็ด และการ เจรญิ เตบิ โตของตน้ อ่อน เนอ่ื งจากเมล็ดกล้วยไมน้ ั้นมขี นาดเล็กมาก และ ไม่มีอาหารสะสมภายในสาหรับต้นอ่อนที่เรียกว่า endosperm จึงทาให้ ต้นอ่อนไม่สามารถงอก และเจริญได้เองจาเป็นจะต้องอาศัยเช้ือรา ไมคอร์ไรซา ช่วยในการหาอาหารจากภายนอกให้แก่ต้นอ่อน ดังน้ัน เมลด็ กลว้ ยไมส้ ่วนใหญ่จะไมง่ อกจนกว่าจะเกิดความสมั พนั ธ์กับเช้อื ราไม คอร์ไรซาเท่านนั้ สาหรบั งานวจิ ยั น้ไี ด้ตรวจพบโครงสร้าง peloton ในราก กล้วยไม้ Dendrobium lindleyi, Dendrobium chysotoxum, Dendrobium thyrsiflorum และ Vanda densisoniana จึงสามารถระบุได้ว่ากล้วยไม้มี

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม 28 ความสมั พันธ์แบบไมคอร์ไรซา และมีความเปน็ ไปได้ในการนาเช้อื ราน้ีมา ใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป การผลิตฮอรโ์ มนพืชในกลมุ่ ของ indole-3-acetic acid (IAA) ในพืชน้ันจะมีฮอร์โมนที่ส่งเสริมการเจริญซึ่งเรียกว่า “plant growth hormone” ซึ่งฮอร์โมนน้ีมีความสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิงใน การเจรญิ ของพืช ในที่นจี้ ะกล่าวถึงฮอร์โมนทีส่ าคัญชนิดหน่ึงคือ indole- 3-acetic acid (IAA) ซึ่งถือว่าเป็นฮอร์โมนพ้ืนฐานที่พืชต้องใช้ในการ เจรญิ เตบิ โต สาหรบั เช้อื ราไมคอร์ไรซากล้วยไม้นั้นมีรายงานว่าเช้ือราไม คอร์ไรซาบางชนิดสามารถผลิต IAA ได้ ซึ่งงานวิจัยน้ีได้ตรวจพบและ รายงานการผลิต IAA จากเชือ้ ราท่แี ยกได้จากรากกล้วยไม้ Dendrobium lindleyi, Dendrobium chysotoxum, Dendrobium thyrsiflorum และ Vanda densisoniana ซึ่ง IAA ที่ผลิตได้น้ีสามารถส่งเสริมการงอก เพ่ิม ความยาวราก และการเจริญของต้นอ่อนข้าวโพดได้เช่นเดียวกับสารละลาย IAA มาตรฐาน ดังน้ันจึงมีความเป็นไปได้ว่าการผลิต IAA ของเช้ือราไม คอร์ซานน้ั อาจเปน็ ส่วนหน่ึงในการส่งเสริมการเจริญของพืชได้อีกทางหนง่ึ รปู ที่ 1 กล้วยไม้ Vanda densisoniana (A) และโครงสร้าง peloton ภายในเซลล์รากกล้วยไมท้ ีย่ ้อมดว้ ย 0.05% (W/V) tryplanblue ใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์กาลังขยาย 400 เท่า (B และ C)

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 29 ประโยชน์ของไมคอรไ์ รซากลว้ ยไม้ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าไมคอร์ไรซาน้ันมีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงในแง่ของการส่งเสริมการเจริญของพืช ซึ่งสามารถ กล่าวได้วา่ หากพืชขาดไมคอร์ไรซานั้นก็ยากที่จะอยู่รอดได้ ปัจจุบันจึงมี การพัฒนาไมคอร์ไรซาเพ่ือผลิตเป็นหัวเช้ือ และปุ๋ยชีวภาพเพ่ือใช้ในการ เกษตรกรรม และฟื้นฟูป่าไม้กันอย่างแพร่หลาย สาหรับกล้วยไม้เอง ปจั จุบันมกี ารรณรงค์อยา่ งต่อเน่อื งสาหรบั การฟ้ืนฟูและอนุรักษ์กล้วยไม้ ป่าหลายชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ลง ซึ่งในการอนุรักษ์กล้วยไม้น้ีเองที่จาเป็น จะต้องนากล้วยไม้มาเพาะเลี้ยงและเพ่ิมจานวนก่อนนากลับคืนสู่ ธรรมชาติ ดังนั้นไมคอร์ไรซาจึงมีบทบาทสาคัญในการช่วยส่งเสริมการ เจริญ และการอยู่รอดของกล้วยไม้ ดังนั้นไมคอร์ไรซาจึงบทบาทที่ สาคัญอย่างย่ิงที่จะที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศร่วมไปกับการ อนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ มอย่างยัง่ ยนื ต่อไป รปู ที่ 2 กล้วยไม้ Dendrobium lindleyi (A) และโครงสร้าง peloton ภายใน เซลล์รากกล้วยไม้ทีย่ ้อมดว้ ย 0.05% (W/V) tryplanblue ใตก้ ล้อง จลุ ทรรศน์กาลงั ขยาย 400 เท่า (B และ C)

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 30 นางสาวศิริรัตน์ พันธ์เรือง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนาไมโครเจลจากสารสกัดใบบวั บก แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อทดสอบฤทธิข์ องสารสกัดใบบวั บก 1.1 ทดสอบฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH scavenging assay 1.2 ทดสอบฤทธิ์การยับย้ังเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Modified Dopachrome 2. พฒั นาตารับไมโครเจลจากสารสกัดใบบัวบก 3. เพ่อื ประเมินคุณสมบตั ิทางกายภาพ ทางเคมีและความคง ตวั ของไมโครเจลจากสารสกัดใบบวั บก รูปที่ 1 ใบบัวบกสด

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 31 ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย เป็นงานวิจัยที่พัฒนาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์เจลสมุนไพร โดยในตารับใช้สมุนไพรทดแทนสารเคมี และใช้สารสกัดใบบัวบกที่มีฤทธิ์ยับย้ังเอนไซม์ไทโรซิเนส และฤทธิ์การ ต้านอนุมูลอิสระสูง สามารถถ่ายทอดงานวิจัยให้แก่ชุมชนและท้องถิ่นได้ เน่ืองจากในตารับเป็นพืชสมุนไพรในครัวเรือน สามารถทาใช้เองหรือ จาหนา่ ยได้ รูปที่ 2 สกดั ด้วยเทคนิคเคร่อื งเสียงความถี่สูง รปู ที่ 3 กรองสารสกัด

สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม 32 การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ 1. ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบไมโครเจลจากสารสกดั ใบบวั บก 2. ได้เผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติ 3. ได้องค์ความรู้ใหม่ สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดให้แก่ ชุมชนท้องถิน่ ได้ รูปที่ 4 กรองสารสกดั รูปที่ 5 สารสกัดใบบัวบกสด

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม 33 ผศ.ดร.กลุ วดี ปิ่นวฒั นะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี E-mail: [email protected] เรือ่ ง การพัฒนากลโู คสเซนเซอร์ทางเคมไี ฟฟา้ โดยใชอ้ นุภาคโลหะ เปน็ คะตะลิสต์เพอ่ื วิเคราะห์หากลโู คสในปสั สาวะ แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ เน่อื งมาจากในปัจจบุ ันน้ีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่พบในประเทศไทยมี ประมาณ 4.5 ล้านคน ปี 2010 พบผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานท้ังหมด 6,855 คน หรอื วนั ละ 19 คน ทง้ั น้เี พราะผู้ป่วยเบาหวานเสีย่ งตอ่ การเกิด โรคหลอดเลอื ดหวั ใจและสมองสูง 2-4 เท่า เมือ่ เทียบกับคนปกติและจัด อยู่ในอันดับที่ 5 ของโรคทีค่ ุกคามคนไทย สาหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานนั้น จึงมีความจาเป็นต้องมีการวัดระดับน้าตาลในเลือดอยู่สม่าเสมอ เป็นประจาทุกวันโดยบางรายน้ันจะต้องได้รับการวัด 4-5 ครั้งต่อวัน เพ่ือติดตามระดับน้าตาลอย่างใกล้ชิด เพ่ือให้ได้รับการรักษาอย่างทัน ถ่วงที งานวิจัยน้ีจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนากลูโคสเซนเซอร์โดยใช้อนุภาค โลหะทีม่ ีความสามารถเปน็ คะตะลิสต์แทนการใชเ้ อนไซม์ ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย กลูโคสเซนเซอร์ที่ใช้วัดระดับน้าตาลในผู้ป่วยโรคเบาหวานน้ัน ได้รับการพฒั นาและมีการวางจาหนา่ ยตามท้องตลาดเป็นจานวนมากซึ่ง ผู้ป่วยสามารถวัดได้ด้วยตัวเอง แต่ยังคงมีราคาแพงเน่ืองจากต้องใช้ หัววัดที่มีลักษณะเป็นแถบสตริปที่มีเอนไซม์ติดไว้ที่ผิวหน้า โดยแถบ สตริปที่มีเอนไซม์ติดอยู่น้ีจะวัดได้เพียงคร้ังเดียวและต้องมีการเปลี่ยน

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 34 ใหมท่ ุกครงั้ ทีว่ ดั และเนื่องจากมีการใช้เอนไซม์ติดบนแถบสตริปด้วย จึง ทาให้แถบสตริปมีราคาที่ค่อนข้างแพง นอกจากน้ียังเกี่ยวข้องกับอายุ การใช้งานอีกด้วย เพราะเอนไซม์น้ันเป็นสารชีวโมเลกุลจึงมีการ เสอ่ื มสภาพได้งา่ ย เมื่อมสี ภาพความร้อนและความเปน็ กรดหรือเบสมาก เกินไปจะทาให้เอนไซม์นนั้ เสียสภาพได้ การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ งานวิจัยน้ีจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนากลูโคสเซนเซอร์โดยใช้ อนุภาคโลหะที่มีความสามารถเป็นคะตะลิสต์แทนการใช้เอนไซม์ ซึ่งจะ ชว่ ยทาให้หัววัดหรือแถบสตริปมรี าคาทีถ่ กู ลงได้ นอกจากนี้อนภุ าคโลหะ ยังมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าและสามารถนามาวัดซ้าได้ และใน งานวิจัยน้ีจะใช้อนุภาคโลหะติดลงบนข้ัวไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอนโดยใช้ เทคนิคทางเคมีไฟฟ้าเป็นตัวตรวจวัด เพราะเป็นเทคนิคที่ใช้งานง่าย มี ราคาไมแ่ พง วัดได้ในสารละลายที่ขุ่น จึงเหมาะกับการวัดตัวอย่างที่เป็น เลือด ซีรั่มหรือปัสสาวะ และใช้เวลาในการวิเคราะห์ส้ันเหมาะสาหรับ เป็นตวั ตรวจวดั ของเซนเซอร์ รูปที่ 1 รูปแสดงขว้ั ไฟฟา้ ท่ใี ชอ้ นภุ าคโลหะในการวิเคราะห์กลโู คส

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 35 ผศ.ดร.ณฏั ฐิรา ทับทิม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ E-mail: [email protected] เรื่อง การสร้างแบบฝึกช่วยจาคาศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสาหรับนักศึกษา วชิ าเอกภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม แนวคิดหรือวตั ถุประสงค์ เพ่ือสร้างส่ือการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนในการจดจาคาศัพท์ โดยเปน็ ส่อื การสอนทีผ่ ่านกระบวนวจิ ัยและทดลองใช้ ลักษณะเด่นของงานวิจยั เป็นงานวิจัยและพัฒนาส่ือการสอนที่เน้นการจาภาพหรือ ลักษณะที่เป็นรูปธรรมเช่ือมโยงกับคาศัพท์ที่ใช้ในการเรียน ก า ร ส อ น คาศัพท์เป้าหมายคือคาศัพท์ระดับ N3 ในข้อสอบวัดระดับความสามารถ ทางภาษาญีป่ ุ่น โดยแบ่งเน้อื หาของแบบฝึกออกเปน็ 4 แบบฝึก คือ 1. แบบฝึกเขียนคาศัพท์ 2. แบบฝึกการจบั คู่คาศพั ท์ทีม่ ีความหมายเหมอื นกนั 3. แบบฝึกเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างคาศัพท์กับ ความหมาย 4. แบบฝึกการนาไปใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ความหมาย การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ นาไปใชส้ อนในรายวชิ าภาษาญีป่ ุ่น 1-4 และในกรณีภาษาอ่ืน ๆ ก็สามารถนาขั้นตอนการพัฒนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดทาแบบฝึกช่วย

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 36 จาในภาษาต่าง ๆ ท้ังน้ีแบบฝึกช่วยจาคาศัพท์น้ีสร้างโดยยึดหลัก จิตวิทยา เช่น กฎแห่งผล การสร้างแรงจูงใจและการสร้างสิ่งเร้าซึ่งเป็น ทฤษฎีทีช่ ่วยให้ผู้เรียนจาได้งา่ ยมากขึน้ สามารถนาไปปรับใช้ในการสร้าง บทเรียนออนไลนห์ รือ E-learning รูปที่ 1 แบบฝึกหัดที่สร้างจากหลกั การเข้ารหสั คือ การให้ความหมาย กบั ส่งิ ที่ต้องการจดจาผ่านสญั ลักษณ์ รปู ที่ 2 แบบฝึกหัดที่สร้างจากหลักการการใชค้ าใกลเ้ คียงเพ่อื เสริม ความจา

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 37 ผศ.ดร.ศิริสภุ า เอมหยวก* และนายเจนต์ คันทะ *คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ *E-mail: [email protected] เรือ่ ง การสร้างฐานข้อมลู ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ด้านวัดในจงั หวัดพษิ ณุโลก แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ วัด เป็นสถาบันสาคัญของสังคมไทยนับแต่อดีตมาที่ทาหน้าที่ รับใช้ชุมชน ทั้งในรูปของพิธีกรรมและการเป็นพ้ืนที่สาธารณะที่ซึ่ง ชา ว บ้ า น มี สิ ท ธิ์ ใ นก า ร เ ข้ า ไ ป ใ ช้ พ้ื นที่ แ ล ะ อ า ค า ร ส าหรั บการประกอบ กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ ที่ประชุมหมบู่ ้าน จัดงานรื่นเริง งานบุญประจาปี ฯลฯ ดงั นนั้ สถานภาพของวดั จึงข้ึนอยู่กบั คณุ ลกั ษณะของชุมชน สะท้อนถึงวิถี ชีวิตในอดีตจนถึงปัจจุบันของคนในชุมชน และจากการที่พิษณุโลกเป็น เมืองสาคัญในอดีตที่มีหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุที่ล้าค่าและมี สถานที่สวยงามหลายแหง่ อีกท้ังมีวัดโบราณท่มี คี วามสาคัญและมีความ เก่าแก่อยู่เป็นจานวนมาก อาทิเช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร วัดจุฬามณี วัดนางพญา และวดั อรัญญิก เปน็ ต้น จึงสมควรที่จะได้มีการ รวบรวมจัดทาเป็นฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านวัดในอาเภอเมือง จังหวดั พษิ ณโุ ลกไวใ้ ห้คนรุ่นหลังได้ศึกษา ค้นควา้ ต่อไป ลกั ษณะเด่นของงานวิจัย ง า น วิ จั ย น้ี เ ป็ น ง า น วิ จั ย ที่ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล โ ด ย ก า ร ด้ ว ย ก า ร สัมภาษณ์พูดคุยของนักวิจัยกับพระภิกษุ ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และชาวบ้านในชุมชนอาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เกี่ยวกับภาพวัด

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 38 ประวตั วิ ดั บริเวณที่ต้ัง โบราณสถาน โบราณวัตถขุ องวดั ศาลา กุฏิ วัตถุ มงคล วัตถุบูชา จานวน 108 แห่ง แล้วนามาออกแบบพัฒนาเป็น ฐา น ข้ อมู ล ภู มิปั ญ ญ า ท้อ ง ถิ่ นโ ด ย ใ ช้โ ปรแก รม โอ เพ น ซอ ร์ ส จุ ม ล า ซึ่ ง นับเป็นการรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกิดจากการเรียนรู้ และ สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน โดยการเช่ือมโยงชุมชนเพ่ือส่งเสริม การท่องเที่ยว และสร้างอาชีพให้กับชุมชน อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นวัดอีกดว้ ย การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจัยฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านวัดในอาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นต้นทุนที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่ เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยว และผู้สนใจวัดวาอารามที่สาคัญๆในประวัติศาสตร์ในเมืองพิษณุโลก วัตถมุ งคล วตั ถบุ ูชา ทาให้ชุมชนมอี าชีพและมีรายได้ รูปที่ 1 รปู แสดงหน้าเว็บไซตฐ์ านขอ้ มูลภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ด้านวัดในจังหวดั พิษณโุ ลก

สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม 39 ผศ.ดร.ปิยวรรณ ศุภวทิ ิตพัฒนา*, ผศ.ดร.จกั รกฤช ศรีลออ, ผศ.ดร.ณัฏฐิรา ทบั ทิม, ผศ.ประภาศริ ิ ใจผ่อง, ดร.พรดรลั จุลกัลป์, อาจารย์ ดร.สุพัตรา บดีรฐั และอาจารย์ผกาวดี เอี่ยมกาแพง *คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร *E-mail : [email protected] เรือ่ ง วัฒนธรรมอาหารพ้นื ถิน่ พิษณโุ ลกสู่อาเซียน แนวคิดหรือวตั ถปุ ระสงค์ แผนงานวิจัยน้ีได้มุ่งเน้นการศึกษาสารวจเก็บข้อมูลวัฒนธรรม อาหารพ้ืนถิน่ เมอื งพิษณุโลกครอบคลุมทุกมิติ คือ สูตรตารับ เทคนิคการ ปรุงอาหารพ้ืนถิ่น ตานานและตารับอาหาร วิวัฒนาการของบรรจุภัณฑ์ ความหลากหลายทางด้านพืชอาหาร ปลาแม่น้าน่านและวัฒนธรรมการ บริโภคอาหาร ของคนเมอื งพษิ ณุโลกและกลุ่มประเทศอาเซียน ตลอดจน การตรวจวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหารพ้ืนถิ่น การสืบทอด และฟื้นฟูสูตรตารับและสารับอาหารพ้ืนถิ่น การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และ การศึกษารูปแบบในการนาเสนอการถ่ายทอดมิติทางวัฒนธรรมการ บริโภคอาหารพ้ืนถิ่นพิษณุโลกสู่สาธารณะ ข้อมูลจากแผนงานวิจัยน้ี สามารถนาไปใช้ในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับอาหารพ้ืนบ้านด้วย วัฒนธรรมของชุมชน และจะก่อให้เกิดการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การบริโภคของคนในชมุ ชนไว้ให้กับเยาวชนรุ่นหลงั ได้อย่างยั่งยนื

สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม 40 ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจยั แผนงานวิจัยสามารถถ่ายทอดตารับและสารับอาหารท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมการบริโภคกับการใช้ประโยชน์จากพืชและ ปลาในแม่น้าน่าน การพัฒนาบรรจุภัณฑ์อาหารพ้ืนถิ่นพร้อมทั้ง วัฒนธรรมการบริโภคอาหารพ้ืนถิ่น ที่เช่ือมโยงกับวัฒนธรรมการ บริโภคของคนในจังหวัดพิษณุโลกและในกลุ่มประเทศอาเซียน ก่อให้เกิด การถ่ายทอดวฒั นธรรมการบริโภคอาหารพ้ืนถิน่ พิษณุโลกสู่สาธารณะ รปู ที่ 1 สารบั อาหารพ้ืนถิ่นจงั หวัดพิษณุโลก รปู ที่ 2 บรรจภุ ัณฑอ์ าหารพ้ืนที่พิษณุโลก

สถาบนั วิจยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม 41 การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ผลงานวจิ ยั จากแผนงานวิจยั วฒั นธรรมอาหารพ้นื ถิ่นพิษณุโลก สู่อาเซียนนาไปใช้ประโยชน์หลายประเด็น ได้แก่ การตีพิมพ์เผยแพร่ บทความวิจัย การนาเสนอข้อมูลแก่ สภาวัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก เพอ่ื เผยแพร่สสู่ าธารณชน รปู ที่ 3 การนาเสนอการถ่ายทอดมิติทางวฒั นธรรมการบริโภคอาหาร พ้ืนถิน่ พิษณโุ ลกสาธารณะ รูปที่ 4 การถา่ ยทอดผลงานวจิ ยั และเสวนาการจดั สารับอาหารพ้ืนถิ่น พษิ ณุโลกรว่ มกับสภาวัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook