Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RDI_SynKnowledge2562

RDI_SynKnowledge2562

Published by rdi, 2019-09-08 23:42:14

Description: RDI_SynKnowledge2562

Keywords: rdi,psru,synthesis,knowledge,thai version

Search

Read the Text Version

สงั เคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 คานิยม ก อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม ขอแสดงความชื่นชมกับนักวิจัยทั้ง 8 คณะ บุคลากรของมหาวิทยาลัยทุกท่าน และสถาบันวิจัยและพัฒนา ท่ีมีส่วนร่วมมือให้ได้มาเป็นหนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้ จากงานวจิ ัยและผลงานสรา้ งสรรค์เลม่ นี้ ซง่ึ ได้ดาเนินตามโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน การวิจัยตามแผนพัฒนางานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม งานวิจัยของนักวิจัยและบุคลากร ท้ัง 20 เร่ือง ที่สังเคราะห์องค์ความรู้ จากบทความวิชาการ และก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และมีส่วนร่วมในการสรรค์สร้าง ความรู้ดา้ นวิชาการ การถอดบทเรียน ไมเ่ พยี งแต่เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีได้จาก งานวิจยั เทา่ นัน้ แต่ยังเป็นการแสดงถึงความสามารถของนักวิจัย ในการเขียนบทความ วิชาการ คุณภาพของงานวจิ ยั ตลอดจนสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ซ่ึงเป็นการแสดงถึง ศักยภาพด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยได้อีกทางหน่ึงด้วย ขอให้กาลังใจแก่ผู้อานวยการ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนาในความตั้งใจขับเคล่ือนและดาเนินโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน การวิจัย จนได้มาเป็นหนังสือสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ ขอให้หนังสอื สังเคราะห์องค์ความรู้เล่มน้ี ได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์สมกับเจตนารมณ์ของ คณะผู้จัดทาต่อไป ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อษุ ณยี ์ เส็งพานิช อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 คานา ห นั ง สื อ สั ง เ ค ร า ะ ห์ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย แ ล ะ ผ ล ง า น ส ร้ า ง ส ร ร ค์ โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาได้รับความร่วมมืออันดีจาก 8 คณะ ในการส่งเสริมให้ คณาจารย์และนักวิจัยท่ีทาวิจัยในแต่ละคณะได้มานาเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบ บทความที่ผ่านการสังเคราะห์เปน็ องคค์ วามรแู้ ล้ว ทางสถาบันวิจัยและพัฒนา หวังว่าหนังมือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ในการ นาไปใช้กับหน่วยงานของท่าน หากมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหรือแก้ไขทาง สถาบนั วิจยั และพัฒนา ยนิ ดีน้อมรับนาไปพัฒนาในอนาคต หนังสือเล่มนี้สาเร็จลงได้ด้วยดีจากความร่วมมือของคณาจารย์ท้ัง 8 คณะ และบคุ ลากรที่เกี่ยวข้อง สถาบนั วจิ ัยและพัฒนาตอ้ งขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศริ สิ ภุ า เอมหยวก บรรณาธิการ ข

สงั เคราะห์องค์ความร้จู ากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ที่ 1 ค สารบัญ เร่อื ง หนา้ คานิยมโดยอธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม……………………......... ก คานา............................................................................................................ ข สารบัญ......................................................................................................... ค การออกแบบและสร้างแมพ่ มิ พ์กมั มี่เยลลี่ ธวัลรตั น์ สมั ฤทธิ์.......................................................................................... 1 ระบบแขนกลเพ่ือการบาบดั ฟ้ืนฟสู มรรถภาพผปู้ ว่ ยอมั พาตคร่ึงซกี วสุ พันไพศาล.............................................................................................. 3 ผลของคล่ืนเสียงความถี่สูง คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากเคร่อื งไมโครเวฟ และอุณหภูมทิ มี่ ผี ลต่อการติดสขี องเสน้ ใยไหมทีย่ ้อมด้วยสีย้อมสเตรปโตมัยซสี นฤมล เถอ่ื นกูล............................................................................................ 6 การวิเคราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณเพ่ือการจดั การโซ่อุปทานอตุ สาหกรรมอ้อยและน้าตาล: กรณศี ึกษา โรงงานอ้อยและนา้ ตาล จังหวดั อตุ รดิตถ์ อลงกรณ์ เมืองไหว....................................................................................... 9 การประยกุ ต์ใช้การถดถอยโลจสิ ตคิ เชงิ พหสุ าหรบั สมการความสมั พนั ธ์ ของการดื่มแอลกอฮอลก์ ับปจั จยั ตา่ งๆ กรณศี ึกษาประชากรในจงั หวดั พิษณโุ ลก ศรญั ญา ทองสุข.......................................................................................... 11 การใชแ้ บคทเี รยี จากดนิ เพ่ือย่อยสลายขนไก่ เรอื งวฒุ ิ ชตุ มิ า.............................................................................................. 13 การจัดการลดตน้ ทุนดา้ นโลจสิ ติกสเ์ พือ่ ใหเ้ กดิ ค่าใชจ้ ่ายทต่ี ่าทส่ี ดุ ด้วยวธิ กี ารฮิวรสิ ตกิ ส:์ กรณศี ึกษา อ.ส.ค. จังหวัดสโุ ขทัย ธณิดา โขนงนุช............................................................................................. 15 ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเลอื กใชป้ ระโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน: กรณศี ึกษาชุมชนบ้านดง อาเภอชาตติ ระการ จังหวดั พิษณโุ ลก ศุภนิช เจริญสขุ ............................................................................................ 17

สังเคราะหอ์ งค์ความรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบบั ที่ 1 สารบญั (ตอ่ ) เรอ่ื ง หน้า การพฒั นาสบูก่ ้อนจากสารสกดั ฟกั ขา้ ว ศริ ิรัตน์ พนั ธ์เรือง………………………………………………………………………….…….. 19 การพฒั นาหัววดั ทางเคมไี ฟฟ้าสาหรบั ตรวจวดั สารประกอบฟีนอลิก บนข้ัวไฟฟ้าต้นทนุ ต่า ในตัวอย่างสมุนไพรไทย อญั ชนา ปรีชาวรพันธ.์ .................................................................................. 21 การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพกระบวนการผลติ มเี ทน จากนา้ กากสา่ ดว้ ยการหมัก ร่วมกบั กากน้าตาล ชัชวนิ ทร์ นวลศร.ี ........................................................................................ 23 การพัฒนาชดุ ควบคมุ อุปกรณไ์ ฟฟ้าแสงสว่างผา่ นเครอื ข่ายไรส้ ายสาหรบั ผสู้ งู อายุ กติ ตศิ ักดิ์ คงสไี พร และอภิรักษ์ ทัดสอน.................................................... 25 การวเิ คราะหล์ วดลายผา้ พ้นื เมอื งของบา้ นมว่ งหอม อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เพอื่ พัฒนาลายทอและผลิตภณั ฑส์ งิ่ ทอที่สะท้อนอัตลกั ษณพ์ น้ื ถน่ิ ง พรชยั ปานท่งุ ............................................................................................... 27 พฒั นาการเตรยี มเม็ดไมโครบีดและการปลดปลอ่ ยวติ ามินอี เครือ่ งสาอางบรรจุนา้ มนั อะโวกาโด วิษณุ ธงไชย………………………………………………………………………………………. 29 ผลของการออกแบบอนิ โฟกราฟิกทีม่ ีต่อการรับรู้เสน้ ทางสายเคร่อื งเงนิ โบราณ อาเภอศรสี ัชนาลยั จังหวัดสุโขทยั อุษา อินทรป์ ระสทิ ธิ์…………………………………………………………………………….. 31 รเู้ ทา่ ทันส่ือดจิ ิทลั กับบทบาทของผบู้ รโิ ภค พิชญาพร ประครองใจ.................................................................................. 34 การศึกษามรดกวฒั นธรรม ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพษิ ณุโลก ขวัญชนก นัยจรัญ และกฤษณา ชาญณรงค์………………………………………….. 36 ทนุ ทางสังคมกบั การพัฒนาเปน็ ชุมชนพ่งึ ตนเองของกล่มุ กองทุนสวัสดกิ ารผสู้ ูงอายุ เทศบาลตาบลนาเฉลียง อาเภอหนองไผ่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ สเุ ทพ คาเมฆ................................................................................................ 39

สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 สารบัญ (ตอ่ ) เรอื่ ง หน้า กระบวนการสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือด้านการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ 41 การทาบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ดา้ นมาตรฐานความปลอดภัย 43 หอ้ งปฏิบตั กิ าร เจตนน์ ที ราชเมืองมูล………………………………………………………………….………. การพฒั นาแผนทที่ ิศทางการวิจยั ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม ปยิ วดี น้อยนาใส........................................................................................... จ

สังเคราะหอ์ งค์ความร้จู ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีที่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การออกแบบและสร้างแม่พิมพก์ ัมมเี่ ยลลี่ ธวลั รัตน์ สัมฤทธิ์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรือวัตถุประสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาและออกแบบสร้างแม่พิมพ์กัมมี่เยลลี่ ต้นแบบ ให้ได้แม่พิมพ์แปูงสาหรับทากัมมี่เยลล่ีท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือทดแทนวิธีการ ทางานแบบเดิมซ่ึงใช้มอื ในการกดพมิ พล์ งในถาดแปงู ข้าวโพดซ่ึงแปูงข้าวโพดเป็นวัตถุดิบ สาหรับนามากดพิมพ์เป็นหลุมและหยอดส่วนผสมลงไปเพ่ือทากัมม่ีเยลลี่ โดยแม่พิมพ์ ต้นแบบจะช่วยลดระยะเวลาในการเตรยี มแมพ่ ิมพ์แปงู และลดเวลารอคอยงานเพื่อทาให้ ขนั้ ตอนการทากัมม่ีเยลล่ีมคี วามสะดวกและเสร็จเร็วขึ้น ส่งผลให้ได้ผลิตภัณฑ์กัมม่ีเยลล่ี ท่ีมีรูปร่างเป็นไปตามท่ีต้องการ นอกจากน้ันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติทาง กายภาพของกัมมี่เยลลจี่ ากแม่พิมพ์แบบเดมิ และแบบใหม่ 1 ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย การออกแบบและสร้างแม่พิมพ์กัมม่ีเยลล่ีต้นแบบใช้หลักการทางานแบบ ก่ึงอัตโนมัติโดยผู้ใช้งาน แม่พิมพ์ต้นแบบประกอบด้วยชุดโครงสร้างเครื่องทาจาก สแตนเลส และแท่นกดแม่พิมพ์เป็นรูปวงกลมทาจากแผ่นอะคริลิคใสแบบ food grade ชนดิ สมั ผัสกบั อาหารได้ขนาด 15 มิลลิเมตร จานวน 96 ชิ้น มีระยะห่างแต่ละหลุมพิมพ์ สาหรับหยอดส่วนผสม 30 มิลลิเมตร ความลึกในการกดพิมพ์ 10 มิลลิเมตรซึ่งเท่ากับ ความหนาของช้ินกัมม่ีเยลลี่ แม่พิมพ์ต้นแบบสามารถกดพิมพ์เพ่ือผลิตกัมมี่เยลลี่ได้มาก ที่สุด 96 ช้ินต่อการพิมพ์หน่ึงคร้ังและต่อ 1 ถาดมาตรฐาน โดยถาดมาตรฐานมีขนาด 475 x 345 x 50 มิลลิเมตร แตกต่างจากวิธีการแบบเดิมต้องใช้มือในการกดหลุมพิมพ์ ทีละหลุมต่อครั้งสาหรับเตรียมแม่พิมพ์แปูงซ่ึงใช้เวลานานกว่าการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบท่ี สร้างขึ้นโดยสามารถกดพิมพ์เพียง 1 ครั้ง แต่ได้จานวนหลุมกดในปริมาณท่ีมากกว่า

สังเคราะหอ์ งค์ความร้จู ากงานวจิ ยั และผลงานสรรค์สร้าง ปที ี่ 3 ฉบบั ท่ี 1 ผล การดาเนินงานการผ ลิตกัมม่ีเยล ล่ีโดยใช้แม่พิมพ์ ต้นแบบช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การทางานเปรียบเทียบกับการทางานแบบเดิมคิดเป็นร้อยละ 91.80 หรือลดเวลา มาตรฐานการทางานเฉล่ียจาก จาก 273.19 วินาที เหลือ 22.40 วินาที ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางและความหนาของกัมม่ีเยลลี่ท่ีได้จากการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบมีขนาดเป็น วงกลมท่สี ม่าเสมอ และไมเ่ ปลยี่ นรปู ซึ่งดีกว่าวิธกี ารแบบเดิม การนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ แม่พิมพ์กัมม่ีเยลล่ีต้นแบบท่ีได้จากงานวิจัยน้ี สามารถนาไปใช้กับการเรียน การสอน การสาธิตบทปฏิบัติการข้ันตอนและวิธีการทากัมม่ีเยลล่ี รวมถึงเพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั รายวิชาท่ีเกย่ี วกับการออกแบบเคร่ืองมือและอุปกรณ์สาหรับอุตสาหกรรม อาหารแก่นักเรียนหรือนักศึกษา นอกจากนั้นยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับผู้ท่ีสนใจ ทากัมม่ีเยลล่ีทั้งในวิสาหกิจชุมชน หรือผู้ประกอบการระดับครัวเรือน หรือผู้ที่สนใจใน การทากัมม่ีเยลลเี่ พอ่ื สรา้ งรายได้ใหแ้ กต่ นเองอกี ด้วย 2 ภาพที่ 2 แทน่ กดพมิ พ์กมั ม่เี ยลลี่ ภาพท่ี 1 แมพ่ มิ พก์ ัมม่ีเยลล่ีต้นแบบ ภาพที่ 3 การหยอดส่วนผสมกัมม่เี ยลล่ี ภาพท่ี 4 กมั ม่เี ยลลจ่ี ากการใชแ้ ม่พมิ พ์ต้นแบบ

สังเคราะห์องค์ความรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 ระบบแขนกลเพ่ือการบาบัดฟนื้ ฟสู มรรถภาพ ผปู้ ว่ ยอัมพาตคร่งึ ซกี วสุ พันไพศาล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ ประเทศไทยต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2541-2547 พบวา่ โรคหลอดเลอื ดสมอง เปน็ สาเหตุ ของการเสียชีวิต เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2548-2551 มีแนวโน้ม การเสียชีวิตจากโรคน้ีชะลอตัวลดลง สาหรับในปี 2552 พบคนไทยเสียชีวิตด้วยโรค หลอดเลอื ดสมองจานวน 13,353 คน เฉล่ีย วันละ 36 คน หรือประมาณ 3 คน ในทุก ๆ 2 ช่ัวโมง และปัจจุบันผู้ท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ประมาณ 751,350 คน และในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551-2561) พบผู้ปุวยนอนรักษาตัวท่ี โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศไทย ด้วยโรคหลอดเลือดสมอง เพิ่มขึ้น 2.45 เท่า และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นับได้ว่าโรคหลอดเลือดสมอง 3 เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ สาหรับผู้ปุวยอัมพาตครึ่งซีกที่รอดชีวิตส่วนใหญ่มักมี ความพิการหลงเหลืออยู่ การใหก้ ารรักษาทางการฟืน้ ฟสู มรรถภาพเป็นการช่วยให้ผู้ปุวย ที่รอดชีวิต การบาบัดที่ต้องอาศัยความชานาญและความรู้เฉพาะทางกายภาพบาบัด ในการรักษาและฟ้ืนฟูผู้ปุวย ซ่ึงระยะเวลาในการรักษาของนักกายภาพบาบัดต่อผู้ปุวย นั้นมีนอ้ ยมาก การรักษาจะเน้นเรื่องของการเคลอ่ื นไหวสว่ นลา่ งเป็นหลกั ระยะเวลาของ การรักษาท่ีเน้นส่วนรยางค์แขนจึงน้อยลงตามไปด้วย จึงเกิดแนวความคิดในการสร้าง เคร่ืองมอื โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน คิดค้นอุปกรณ์เสริมในการใช้รักษา ผปู้ ุวยเพ่อื ส่งเสริมการฟ้นื ฟูและปูองกันภาวะแทรกซอ้ นสาหรบั รยางค์แขนข้นึ

สังเคราะห์องคค์ วามรูจ้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปที ่ี 3 ฉบับท่ี 1 ลักษณะเด่นของงานวิจยั งานวจิ ัยนท้ี าการออกแบบและสรา้ งนวตั กรรมเพื่อช่วยในการทากายภาพฟื้นฟู ผู้ปุวย และกลุ่มผู้มีแนวโน้มปุวยเป็นโรคหลอดเลือดสมองให้มีสุขภาวะท่ีดีข้ึน โดยการบูรณาการองค์ความรู้ ด้านฟิสิกส์ และอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสร้างอุปกรณ์ที่ สามารถช่วยการทากายภาพฟ้ืนฟูผู้ปุวย ด้วยการใช้เทคโนโลยีสมองกลฝังตัวในการวัด และควบคมุ การทางานของแขนกลกายภาพ นอกจากนี้ระบบการสั่งงานการทางานของ แขนกลกายภาพจะถูกสั่งงานผ่านระบบไร้สายบนแอปพลิเคช่ันโทรศัพท์มือถือ ท้ังน้ี เพื่อให้ง่ายและสะดวกในการใช้งาน เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการสร้างและออกแบบ ดังน้นั ในงานวิจยั นจ้ี งึ เลือกใช้อุปกรณ์ที่สามารถหาได้ง่ายราคาถูก และมีภายในประเทศ ส่งผลทาให้สามารถผลิตหุ่นยนต์กายภาพให้กับสถานพยาบาลได้ใช้มากขึ้นเนื่องจากมี ราคาถูก ซึง่ จะทาให้คุณภาพชวี ิตของผู้ปวุ ยดขี นึ้ ตามไปดว้ ย การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ โรงพยาบาล หรือหนว่ ยงานทางด้านสาธารณสุขสามารถนาระบบแขนกลเพื่อ 4 การบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ปุวยอัมพาตคร่ึงซีกไปใช้งาน เพ่ือช่วยในการรักษาฟ้ืนฟู สมรรถภาพของอวัยวะส่วนแขนให้สามารถกลับมาใช้งานได้ปกติ ซ่ึงจะส่งผลทาให้ คณุ ภาพชีวิตของผูป้ วุ ยดขี ึ้น ภาพที่ 1 การทางานของระบบแขนกลเพื่อการบาบัดฟืน้ ฟสู มรรถภาพผู้ปวุ ยอมั พาตคร่ึงซกี

สงั เคราะห์องคค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีที่ 3 ฉบับท่ี 1 ภาพท่ี 2 ระบบแขนกลเพอื่ การบาบัดฟนื้ ฟู ภาพที่ 3 แอพพลเิ คชัน่ บนโทรศพั ทม์ อื ถือ สมรรถภาพผู้ปุวยอมั พาตคร่งึ ซกี สาหรับควบคุมการทางานของ ระบบแขนกลเพ่อื การบาบัด ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผปู้ วุ ยอมั พาต ครึง่ ซกี 5 ภาพท่ี 4 ลกั ษณะการใชง้ านระบบแขนกลเพอ่ื การบาบัดฟ้ืนฟสู มรรถภาพผปู้ วุ ยอัมพาตครึ่งซกี

สงั เคราะห์องคค์ วามรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรค์สร้าง ปีที่ 3 ฉบบั ท่ี 1 ผลของคลืน่ เสยี งความถ่ีสูง คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากเคร่อื งไมโครเวฟ และอุณหภูมทิ ่ีมีผลต่อ การตดิ สีของเส้นใยไหมท่ีย้อมดว้ ยสยี ้อมสเตรปโตมยั ซสี นฤมล เถื่อนกูล คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรือวัตถปุ ระสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ สีย้อมสเตรปโตมัยซีสเป็นสีของแบคทีเรียกลุ่มสเตรปโตมัยซีส (Streptomyces sp.) ใชใ้ นการยอ้ มเสน้ ใยธรรมชาติ เช่น เสน้ ใยไหม เสน้ ใยฝูาย และเส้นใยขนแกะ พบว่า สีย้อมสเตรปโตมัยซีสย้อมติดเส้นใยไหมได้ดีที่สุดซึ่งเส้นใยไหมท่ีย้อมด้วยสารสีจาก สเตรปโตมัยซีสดังกล่าวยังให้สีจานวนน้อยและเฉดสีท่ีได้ไม่เข้มเท่าท่ีควร จากงานวิจัย ของ Hashem et al. (2013) ได้พัฒนาคล่ืนไมโครเวฟมาใช้ในกระบวนการย้อมสี และ Mansour & Heffernan (2010) ได้ใชค้ ล่ืนเสียงความถี่สูง (ultrasonic) พฒั นาการยอ้ ม 6 เส้นใยไหมทาให้การติดสีมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน และจากภูมิปัญญาชาวบ้านใน การย้อมผ้าโดยวิธีการย้อมร้อนหรือต้มเปลือกไม้พร้อมย้อมสีเส้นใยธรรมชาติช่วยให้มี การติดสยี ้อมดีข้ึน ดงั น้ันงานวิจัยเรื่องนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือทาให้การติดสีย้อมสเตรป โตมัยซีสของเส้นใยไหมเข้มขึ้น โดยนากรรมวิธีการย้อมท้ัง 3 วิธี คือ การใช้คล่ืน ไมโครเวฟ คล่นื เสยี งความถ่ีสูง และการใช้อุณหภมู ิสงู มาใช้ในการพฒั นากระบวนการใน การย้อมสสี เตรปโตมัยซสี ของเสน้ ใยไหมใหไ้ ดเ้ ฉดสที ี่มีความเขม้ ขึ้นมากกวา่ เดมิ และเป็น การพัฒนาคุณภาพของเฉดสีที่ย้อมได้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนรวมถึงความคงทนใน การตดิ สีของเสน้ ใยไหม ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั การใช้คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟูาจากเคร่ืองไมโครเวฟมาเป็นตัวช่วยในการย้อมสีเส้น ใยไหม ทาให้เฉดสีท่ีได้มีความเข้มข้ึน โดยใช้เวลาเพียง 10 ถึง 15 นาที ซ่ึงแตกต่างจาก การย้อมแบบปกติที่จะต้องใช้ระยะเวลาในการย้อม 4 ชั่วโมง โดยการย้อมเส้นใยไหม

สังเคราะห์องค์ความรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 โดยใช้คล่ืนแม่เหล็กไฟฟูาจากเคร่ืองไมโครเวฟ สามารถทาให้เส้นใยไหมกับสีย้อม ย้อม ตดิ กันได้เขม้ ขน้ึ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ถือไดว้ ่าเปน็ การลดระยะเวลาในการย้อมเส้นใยไหม ไดอ้ กี ดว้ ย ผลการวเิ คราะหท์ ดสอบสง่ิ ทอของเส้นใยไหมท่ยี ้อมด้วย Streptomyces K10 โดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาจากเครื่องไมโครเวฟให้ผลการติดสีเข้มขึ้นดีท่ีสุด ความคงทน ต่อแสงปานกลาง มีค่าการทดสอบอยู่ระหว่างระดับ 3-4 ความคงทนของสีต่อการซักดี มีคา่ การทดสอบอย่รู ะหว่างระดบั 3-4 การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ สามารถนาการใช้คล่ืนแม่เหล็กไฟฟูาจากเคร่ืองไมโครเวฟมาเป็นตัวช่วยใน การย้อมสีเส้นใยไหม ทาให้เฉดสีที่ได้มีความเข้มข้ึน โดยใช้เวลาเพียง 10 ถึง 15 นาที ลดระยะเวลาในการย้อมเส้นใยไหม 7 ภาพท่ี 1 การเพาะเล้ียงสเตรปโตมัยซีสลงบนปลายขา้ ว ภาพท่ี 2 ผงสยี อ้ มจากสเตรปโตมัยซีส

สงั เคราะหอ์ งค์ความรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 Control K10 5 นาที 10 นาที (สีเหลือง) 15 นาที Microwave ภาพที่ 3 การติดสีย้อม Streptomyces sp. K10 ด้วยวิธีการย้อมโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาจาก เครอื่ งไมโครเวฟ 8 ภาพที่ 4 ผ้าทอตน้ แบบจากเสน้ ใยไหมย้อมสสี เตรปโตมยั ซีส

สงั เคราะห์องคค์ วามรู้จากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีที่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การวเิ คราะห์เชิงปริมาณเพ่อื การจัดการโซอ่ ปุ ทาน อตุ สาหกรรมอ้อยและนา้ ตาล: กรณศี ึกษา โรงงานออ้ ยและน้าตาล จงั หวัดอตุ รดิตถ์ อลงกรณ์ เมืองไหว คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ การศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการโซ่อุปทานท่ีสามารถประยุกต์ใช้กับ อุตสาหกรรมต่างๆ ทีม่ ีลักษณะคลา้ ยคลึงกันได้ เช่น อุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ลักษณะเด่นของงานวจิ ยั 9 ช่วยพัฒนาและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการรวมไปถึงเทคนิคในการจัดการ โลจสิ ติกส์และโซ่อปุ ทานท่ีกาลงั เป็นประเด็นในยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศในปัจจุบัน อีกท้ังยังช่วยให้ผู้ประกอบการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับตุ้นทุนด้านโลจิสติกส์ และโซอ่ ุปทานท่กี าลังจะเกิดขึน้ ในอนาคต เช่น ตน้ ทุนการขนส่ง ต้นทนุ สนิ ค้าคงคลงั และ คลงั สินคา้ เปน็ ตน้ การนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ เพื่อให้เจ้าของกิจการตระหนักและทราบถึงต้นทุนท่ีเกิดข้ึนจากกระบวน การผลิตผลิตภัณฑ์จากสถานประกอบการของตนเองต้ังแต่ต้นน้าถึงปลายน้า และ เตรยี มการรบั มอื กบั ต้นทุนท่มี แี นวโนม้ ทจ่ี ะเพมิ่ มากขน้ึ ในอนาคตตลอดโซอ่ ุปทาน

สังเคราะห์องคค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรรค์สร้าง ปีท่ี 3 ฉบบั ที่ 1 ภาพที่ 1 การชั่งน้าหนกั ออ้ ย ภาพที่ 2 อ้อยถกู เทลงส่สู ะพานเสื่อ ภาพท่ี 3 การบรรจนุ า้ ตาลทรายขาว ภาพท่ี 4 โกดังเก็บนา้ ตาลทรายขาว 10

สงั เคราะห์องคค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 การประยกุ ต์ใชก้ ารถดถอยโลจิสตคิ เชงิ พหุ สาหรบั สมการความสัมพนั ธข์ องการด่ืมแอลกอฮอล์ กบั ปจั จยั ต่างๆ กรณีศึกษาประชากรในจังหวดั พษิ ณุโลก ศรญั ญา ทองสุข คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฎั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรือวตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ สานักงานสถิติแห่งชาติจะมีการรายงานผลการศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหร่ี และการด่มื สุรา เปน็ ประจาทกุ ๆ 3 ปี การรายงานผลการศึกษาดังกล่าวจะเป็นเพียงการ นาเสนอข้อมูลในรูปของสถิติเชิงพรรณเท่าน้ัน ซึ่งแสดงในรูปของตารางอัตราส่วน ร้อยละของการด่ืมสุราของประชากรจาแนกตามปัจจัยต่างๆ ซึ่งยังไม่ได้แสดงผลของ ความเก่ยี วขอ้ งหรือความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ให้เห็นอย่างชัดเจน ดังนั้นการศึกษา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสภาวะการดม่ื แอลกอฮอล์ (ความถ่ีของการดื่มสรุ า) ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ผู้ท่ีไม่ดื่มและผู้ท่ีด่ืมสุราหรือเครื่องด่ืมที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์กับ 11 ปัจจัยด้านข้อมูลท่ัวไป โดยการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) จงึ มปี ระโยชน์ที่สามารถนามาออกมาตรการปอู งกันและแก้ไขได้ เฉพาะเจาะจงและชัดเจนมากย่ิงขึน้ จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะการดื่มแอลกอฮอล์ (ความถ่ีของ การด่ืมสรุ า) กบั ปัจจัยด้านขอ้ มูลทัว่ ไป, ปจั จัยด้านพฤติกรรมการดมื่ , ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการ ดื่มและปัจจัยด้านผลกระทบที่เกิดจากการด่ืมสุราหรือเคร่ืองดื่มท่ีมีส่วนผสมของ แอลกอฮอล์ พบว่า เพศและระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับสภาวะการด่ืมแอลกอฮอล์ (ความถีข่ องการด่ืมสรุ า) ซึ่งสามารถเขียนเปน็ สมการความสมั พันธ์ดงั แสดงไว้ในสมการท่ี 1 และ 2 นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยด้านพฤติกรรมการดื่ม ซ่ึงประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย โดยเฉลี่ยสาหรับการด่ืมที่บ้าน, ปริมาณท่ีด่ืมไม่เกิน 330 ซีซี และสาเหตุที่เริ่มดื่มสุรา หรอื เครื่องด่มื ท่มี ีส่วนผสมของแอลกอฮอล์มคี วามสมั พันธ์กบั สภาวะการดม่ื แอลกอฮอล์

สงั เคราะหอ์ งค์ความร้จู ากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปที ี่ 3 ฉบับที่ 1 ลกั ษณะเดน่ ของงานวิจัย สามารถนามาออกมาตรการปูองและแก้ไขได้เฉพาะเจาะจงและชัดเจนมาก ย่ิงข้ึน เช่น เพิ่มราคาภาษีสุราหรือเคร่ืองดื่มท่ีมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ให้มากข้ึนเพื่อ ลดจานวนคนท่ีดื่ม หรือจากัดขนาดบรรจุภัณฑ์ของสุราหรือเครื่องด่ืมท่ีมีส่วนผสมของ แอลกอฮอล์ให้มีปริมาณเกิน 330 ซีซี ข้ึนไป เพ่ือทาให้โอกาสของการด่ืมลดลง เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วการนาข้อมูลท่ีมีอยู่มาพัฒนาเป็นสมการพยากรณ์นี้ยังเป็นการพัฒนา ฐานข้อมูลที่มีอยูใ่ หถ้ ูกใชป้ ระโยชน์ใหม้ ากขน้ึ โดยการใช้การวิเคราะหส์ ถิตขิ ้ันสงู การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ เผยแพรผ่ ลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการระดบั ชาติ : ศรญั ญา ทองสุข (2561) สมการความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคแอลกอฮอล์ (ความถ่ีในการดื่ม) กับปัจจัยพื้นฐาน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา คร้ังท่ี 9 “วิจัยและ นวตั กรรมเพือ่ สังคม”: 1-14. 12 ภาพท่ี 1 เก็บรวบรวมข้อมลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง

สังเคราะหอ์ งคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 การใชแ้ บคทเี รยี จากดินเพ่อื ย่อยสลายขนไก่ เรอื งวฒุ ิ ชุติมา และกรี ติ ตันเรือน คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฎพบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถปุ ระสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ ปัจจบุ ันมีการนาขนไก่ที่เปน็ ของเสยี จากอตุ สาหกรรมแปรรูปไกม่ าใช้เป็นแหล่ง โปรตีนทดแทนในอาหารสัตว์ แต่เนื่องจากขนไก่มีองค์ประกอบหลักเป็นเคราตินที่ไม่ สามารถย่อยสลายดว้ ยเอนไซม์ย่อยโปรตนี ในกระเพาะสตั ว์ไดโ้ ดยตรงจึงจาเป็นตอ้ งมีการ แปรรูปขนไก่ซ่ึงมีท้ังวิธีการทางเคมี เช่น การต้มขนไก่ด้วยสารผสมของโซเดียมซัลไฟท์ กับแอลกอฮอล์ และวิธีทางกายภาพโดยนาขนไก่มาผ่านกระบวนการใช้ความร้อนสูง ประมาณ 130 ถงึ 150 องศาเซลเซียส และใช้ความดนั สูง 30 ถึง 50 ปอนด์ตอ่ ตารางนิ้ว เปน็ เวลา 30 ถงึ 150 นาที ซ่ึงวิธีเหล่านี้เป็นวิธีท่ีส้ินเปลืองท้ังพลังงานและต้นทุนในการ ผลิต และท่ีสาคัญยังทาลายกรดอะมิโนหลายชนิดโดยเฉพาะกรดอะมิโนท่ีจาเป็น ทาให้ คุณภาพของโปรตนี จากขนไกล่ ดลง ดังนน้ั จงึ มีการพัฒนาการใชว้ ิธที างชีวภาพโดยการใช้ เอนไซม์จากจุลินทรีย์ เช่น Bacillus licheniformis, Pseudomonas aeruginosa, 13 Streptomyces sp., Aspergillus sp. เป็นต้น ในการย่อยสลายเคราตินเนื่องจากเป็นวิธี ทไ่ี ม่ใช้สภาวะรนุ แรง และยังไม่ทาลายกรดอะมิโนในขนไก่อีกด้วย จึงสามารถนาโปรตีน จากขนไก่มาใช้ประโยชน์ไดส้ งู สุด โดยเอนไซมท์ ่ยี อ่ ยสลายเคราตินคือเอนไซม์เคราติเนส ซึ่งเป็นเอนไซม์ในกลุ่มโปรติเอส เอนไซม์นี้สามารถผลิตได้จากจุลินทรีย์ในสภาวะท่ี สบั สเตรทมเี คราตนิ เป็นองคป์ ระกอบโดยจะถกู สร้างและขับออกนอกเซลล์ของจุลินทรีย์ ทั้งน้ีโปรตนี ท่ีเกดิ ขึน้ จากการย่อยขนไก่โดยจุลนิ ทรยี ์นอกจากจะใชเ้ ป็นส่วนผสมในอาหาร สตั ว์แลว้ เอนไซมเ์ คราติเนสทีจ่ ุลินทรยี ส์ ร้างขึ้นกส็ ามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ เชน่ การผลติ ปยุ๋ อุตสาหกรรมเคร่ืองหนัง อุตสาหกรรมผงซักฟอก การผลิตก๊าชชีวภาพ เปน็ ตน้

สังเคราะหอ์ งค์ความรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 ลักษณะเด่นของงานวิจัย งานวิจัยน้ีเป็นการคัดเลือกแบคทีเรียย่อยสลายขนไก่จากดินของฟาร์มไก่ใน จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้การคัดเลือกแบคทีเรียบนอาหารเล้ียงเช้ือ skim milk agar plate และนาแบคทีเรียท่ีสร้างวงใสบนอาหารดังกล่าวมาใช้ในการย่อยสลายขนไก่ และคัดเลือก แบคทีเรียท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายขนไก่มาทดสอบผลของอุณหภูมิ และ คา่ พเี อช ตอ่ ประสทิ ธิภาพในการย่อยสลายขนไก่ ค่าปริมาณโปรตีน จัดจาแนกสายพันธุ์ ของแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายขนไก่โดยใช้วิธีการย้อมสีแกรม ลักษณะทางสัณฐาน วทิ ยา การทดสอบทางชีวเคมีและเทคนิคชวี วทิ ยาระดับโมเลกุล การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ ผลจากงานวิจัยน้ีได้แบคทีเรียสายพันธุ์ Bacillus cereus, B. subtilis และ B. siamensis ท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายขนไก่ อีกทั้งยังทราบถึงปัจจัยต่าง ๆ อาทิ อุณหภูมิ และค่าพีเอชที่มีต่อประสิทธิภาพในการย่อยสลายขนไก่ จึงสามารถใช้ ขอ้ มลู เหลา่ น้เี ป็นแนวทางการลดการกาจัดขนไก่ซึ่งเป็นของเหลือท้ิงและนามาทาให้เกิด 14 ประโยชน์ รวมถึงเป็นการลดต้นทนุ การผลติ อาหารสตั ว์ ภาพท่ี 1 การทาSpread plate บนอาหาร ภาพท่ี 2 การเกิดวงใสรอบโคโลนีของแบคทเี รยี Skim milk agar plate บนอาหาร Skim milk agar plate

สงั เคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 การจดั การลดต้นทุนด้านโลจสิ ติกส์ เพ่อื ใหเ้ กดิ ค่าใช้จ่ายทต่ี ่าที่สดุ ด้วยวิธกี ารฮวิ ริสติกส์: กรณีศึกษา อ.ส.ค. จังหวดั สโุ ขทัย ธณดิ า โขนงนุช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ ศึกษาและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของโรงานผลิตนมขององค์การส่งเสริม กิจการโคนม (อ.ส.ค.) ในจังหวดั สุโขทัยได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั ช่วยพัฒนาและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการรวมไปถึงเทคนิคในการลดต้นทุน ด้านโลจสิ ตกิ สไ์ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เบ้ืองต้นท่ี 15 ใช้เปน็ แนวทางในการหาคาตอบท่เี หมาะสมทส่ี ุดตามปัจจยั ทม่ี อี ยู่ การนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ เพ่ือให้เจ้าของกิจการสามารถลดต้นทุนในการปฏิบัติงานจริงและใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงการผลิต รวมไปถึงการขยายกาลงั การผลติ ในอนาคตต่อไป ภาพที่ 1 นมพรอ้ มด่ืม ยู.เอช.ที. บรรจกุ ลอ่ ง

สงั เคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปีท่ี 3 ฉบบั ที่ 1 ภาพที่ 2 นมพาสเจอรไ์ รส์ บรรจถุ ุง 20T 20T 30T 30T   U.H.T. 1,200 / .  4-8C° 4-8C° 4-8C° 4-8C° 140C° 2 10 /4 7  16    8-10 67C°-69C° 15 Tank 20T 20T Tank 4-8C° 4-8C° U.H.T. Tank   ()    85C° 15 10T 5T 5T  4-8C° 4-8C° 4-8C°  ( 7 )  5C° ภาพท่ี 3 กระบวนการผลิตผลติ ภัณฑ์นมขององคก์ ารสง่ เสริมโคนมแห่งประเทศไทย-อ.ส.ค. (ภาคเหนอื ตอนล่าง)

สงั เคราะห์องค์ความรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการเลอื กใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชวี ภาพของชมุ ชน: กรณีศึกษาชมุ ชนบ้านดง อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก ศภุ นิช เจริญสุข คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฎั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรือวัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ เดิมทีปุาชุมชนบ้านดง อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลกมีความอุดม สมบูรณ์ทั้งปุาไม้ พืชพันธุ์ต่างๆ รวมถึงเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ปุามากมายหลายชนิด ตอ่ มาเรมิ่ มกี ารบุกเบิกปุาท้ังการตัดไม้ขายให้นายทุนต่างถิ่น บุกเบิกเพื่อทาไร่ของคนใน ชุมชน ซง่ึ มกี ารเปลย่ี นมอื ถือครองท่ีดิน ชุมชนประสบภาวะแห้งแล้ง ขาดแคลนแหล่งน้า ทาให้ผู้นาอาวุโสของชุมชนสมัยน้ันเริ่มเห็นความสาคัญของปุาไม้จึงเกิดแนวคิดในการ ดูแลและฟ้ืนฟูปุาให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ เม่ือผืนปุาแห่งน้ีกลับมาอุดมสมบูรณ์อีกคร้ัง 17 จงึ เป็นท่ีตอ้ งการของประชาชนในการเขา้ มาใชป้ ระโยชน์จากแหลง่ ทรัพยากรเป็นจานวน มาก ซึ่งนามาสกู่ ารลดลงของพ้นื ที่ปาุ และการเสือ่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะเด่นของงานวจิ ัย ทราบถงึ ปัจจยั ในดา้ นตา่ งๆ ทมี่ ผี ลต่อการเลอื กใชป้ ระโยชน์จากความหลากหลาย ทางชีวภาพของปุาชุมชนบ้านดง อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก อาทิ ปัจจัย ด้านแหล่งอาหาร ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านนันทนาการ ด้านสุขภาพอนามัย และด้าน อ่ืนๆ และทราบถึงชนิดและปริมาณการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ

สงั เคราะห์องคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสรรค์สรา้ ง ปีที่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ นาข้อมลู ที่ได้จากการสารวจครั้งนี้ไปให้กานัน/ผู้ใหญ่บ้านเพื่อให้ทราบถึง ปจั จยั ทีค่ นในชุมชนหรอื ชมุ ชนใกลเ้ คียงที่เข้าไปใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย ทางชีวภาพของปุาชุมชนบ้านดง อีกทั้งยังชนิดของพืชพันธ์ุและสัตว์ปุาที่อาศัยอยู่ ในปุาชุมชนบ้านดงรวมถึงปริมาณการใช้ประโย ชน์จากความหลากหลายทาง ชวี ภาพในปัจจุบัน เพ่ือจะได้กระตุ้นจติ สานึกของคนในชุมชนถงึ กฏ ระเบียบในการ ใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพของคนในชมุ ชน 18 ภาพท่ี 1 ปาุ ชมุ ชนบา้ นดง ภาพท่ี 2 พชื ผักตามฤดูกาล ภาพที่ 3 ตลาดชมุ ชน ภาพที่ 4 ทท่ี าการผู้ใหญ่บ้าน

สงั เคราะห์องคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีที่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การพฒั นาสบกู่ ้อนจากสารสกดั ฟักขา้ ว ศริ ิรตั น์ พันธเ์ รอื ง คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฎั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ ปจั จบุ นั ผู้ประกอบการผลิตภณั ฑเ์ ครื่องสาอางส่วนใหญ่ในประเทศไทย นิยมนา พืชหรือสมุนไพรไทยมาใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ เนื่องจากสมุนไพรส่วนใหญ่ ค่อนข้างปลอดภัย มีผลข้างเคียงน้อย ราคาถูก ได้รับความนิยมสูง ฟักข้าว เป็นพืช อีกหน่งึ ชนิดท่ีได้รับความสนใจ เนื่องจากเป็นพืชพื้นบ้านท่ีมีมานานในแถบชนบทท่ัวทุก ภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีรายงานวิจัยเก่ียวกับฟักข้าวท่ีมีคุณประโยชน์ กล่าวคือ ในเยอ่ื ห้มุ เมลด็ ท่ีมีสีแดงในผลฟักข้าว มสี ารพฤกษเคมีในกลุม่ แคโรทนี อยดส์ ูง โดยเฉพาะ สารไลโคปนี และสารเบตา้ แคโรทีน โดยเยอ่ื หุม้ เมลด็ ของฟักข้าวมีปริมาณเบต้าแคโรทีน มากกว่าแครอท 10 เท่า มีไลโคปีนมากกว่ามะเขือเทศ 12 เท่า ได้มีการสกัดเอา สารสาคัญเหล่าน้ีเพ่ือใช้เป็นส่วนประกอบสาคัญในการทาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 19 เนื่องจากสารสาคัญเหล่านี้มีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ยับย้ังเอนไซม์ไทโรซิเนสสูง สามารถนามาใช้ทดแทนสารเคมีสังเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยงานวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธ์ิการต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์การยับย้ังเอนไซม์ไทโรซิเนส และพัฒนาสบู่ก้อนจากสารสกัดฟักข้าว เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการ และกลุม่ เกษตรกรที่สนใจพัฒนาผลิตภณั ฑจ์ ากสารสกัดฟักขา้ ว ลักษณะเด่นของงานวิจยั ผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนจากสารสกัดฟักข้าว ที่ได้รับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทาให้ ผลิตภัณฑ์สบู่มีคุณสมบัติโดดเด่นข้ึน คือมีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ (ช่วยลดร้ิวรอย) มีฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส (ช่วยให้ผิวขาว) จุดเด่นของเทคโนโลยีที่ได้รับ คือ มีการ ประยุกต์ใช้นวัตกรรม เครื่องลดขนาดอนุภาค ด้วยคลื่นเสียงความถ่ีสูง (Ultrasonic

สังเคราะห์องคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปีที่ 3 ฉบับท่ี 1 Homogenizer) ลดขนาดอนภุ าคของเนอื้ สารสกัด เพื่อทาให้ส่วนผสมของสารสกัดและ สบู่ มีลักษณะโปร่งใส เพ่ิมความคงตัวของสารสาคัญ และควบคุมการปลดปล่อยกล่ิน ของนา้ หอมได้ดยี ิง่ ข้นึ การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่ก้อน จากสารสกัดฟักข้าว ให้แก่กล่มุ เปาู หมาย คือ สถานประกอบการ ผลิตภัณฑส์ บู่ฟักขา้ ว 2. ถ่ายทอดเทคโนโลยี การทาผลิตภัณฑ์สบู่ฟักข้าว ให้กับกลุ่มส่งเสริมอาชีพ การเกษตรอินทรีย์นเรศวร (สาขาวัดพริก) ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎพบิ ลู สงคราม 20 ภาพที่ 2 สีสารสกัดเยอ่ื หุ้มเมล็ดและเนื้อฟกั ขา้ ว ภาพท่ี 1 ผลฟกั ขา้ ว ภาพที่ 3 การระเหยแห้งสารสกัด ภาพที่ 4 สบกู่ อ้ นกอ่ นพฒั นา (ทาจากเน้ือฟกั ขา้ ว) จากเยอ่ื ห้มุ เมล็ดฟกั ขา้ ว และ สบู่พัฒนาแลว้ (ทาจากเยอื่ ห้มุ เมล็ด)

สังเคราะหอ์ งคค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 การพฒั นาหวั วดั ทางเคมีไฟฟ้า สาหรับตรวจวัดสารประกอบฟีนอลกิ บนข้วั ไฟฟา้ ตน้ ทนุ ตา่ ในตวั อย่างสมุนไพรไทย อญั ชนา ปรชี าวรพนั ธ์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วตั ถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถสร้างเซนเซอร์สาหรับการวิเคราะห์ผลรวมของสารประกอบ ฟีนอลิกด้วยเทคนิคทางเคมีไฟฟูาบนขั้วไฟฟูาต้นทุนต่ากราไฟต์จากไส้ดินสอที่ดัดแปร ด้วยกราฟนี ออกไซด์ 2. สามารถประยุกต์เซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นสาหรับวิเคราะห์ผลรวมของ สารประกอบฟีนอลิกในตัวอย่างสมุนไพรไทยได้ โดยเทียบผลการวิเคราะห์กับวิธี มาตรฐาน ลักษณะเด่นของงานวิจัย 21 งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการตรวจวัดผลรวมของสารประกอบฟินอลิกด้วย เทคนคิ ทางเคมไี ฟฟาู โดยมีเควอซิตินเป็นสารมาตรฐาน ร่วมกับการใช้ขั้วไฟฟูาต้นทุนต่า กราไฟต์จากไส้ดินสอ (PGE) ท่ีดัดแปรด้วยกราฟีนออกไซด์ (GO) เป็นขั้วไฟฟูาทางาน ขั้วไฟฟูา PGE/GO ได้ตรวจสอบคุณลักษณะด้วยเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรี จากการศกึ ษาพบว่าขว้ั ไฟฟาู ท่ดี ัดแปรมคี วามสามารถในการเร่งปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชันทาง เคมีไฟฟาู ได้เปน็ อยา่ งดีโดยใชเ้ ทคนคิ สแควร์-เวฟโวลแทมเมตรี ได้ช่วงของความสัมพันธ์ ที่เป็นเส้นตรงของการตรวจวัด 3 ช่วง คือ 0.060 - 0.27 M 1 - 10 M และ 100 - 900 M ขีดต่าสุดของการตรวจวัดท่ีอยู่ที่ 0.0361 M เมื่อนาไปประยุกต์วัดใน ตัวอย่างพบว่าไม่สามารถวิเคราะห์ผลรวมของสารประกอบฟินอลิกได้เท่ากับวิธี มาตรฐาน Folin-Ciocalteu method เน่ืองจากเทคนิคสแควร์-เวฟโวลแทมเมตรีเป็น เทคนิคท่ีมีความจาเพาะ ดังนั้นจึงปรับวิธีการไปตรวจวัดเป็นเทคนิคแอมเปอโรเมตรี

สงั เคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสรรค์สร้าง ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 สาหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแอมเปอร์โรเมทรีพบว่าศักย์ไฟฟูาท่ีเหมาะสมอยู่ที่ 0.5 V เมือ่ หาประสทิ ธิภาพในการตรวจวดั พบช่วงของความสัมพนั ธ์ทีเ่ ป็นเส้นตรงอยู่ท่ี 0.60 - 23 M และ 23 - 48 M และขีดต่าสุดของการตรวจวัดท่ีอยู่ท่ี 0.2 M เมื่อนาไป ประยุกต์วัดในตัวอย่างสมุนไพรไทยเทียบกับวิธีมาตรฐาน Folin-Ciocalteu method พบแนวโน้มของปริมาณผลรวมฟินอลิกเป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยพบประมาณ ฟินอลิกสูงสุดในใบกระเพรา รองลงมาคือใบโหระพา ใบมะรุม ใบมะกรุด ขิง และข่า ตามลาดบั การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ 22 ภาพที่ 1 ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั ของสารมาตรฐานเควอซิตนิ ทเ่ี กดิ บนเซนเซอรท์ ี่พฒั นาข้นึ ภาพท่ี 2 ช่วงของความสมั พนั ธท์ ี่เปน็ เสน้ ตรง ภาพที่ 3 ช่วงของความสัมพนั ธท์ ี่เปน็ ในการตรวจวัดเควอซิตนิ บนขั้วไฟฟาู เส้นตรงในการตรวจวัดเควอซิตนิ PGE/GO ดว้ ยเทคนิคสแควเวฟโวลแทมเมตรี บนขั้วไฟฟูา PGE/GO ด้วย เทคนคิ แอมเปอรโ์ รเมตรี

สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบบั ที่ 1 การเพ่มิ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมเี ทน จากนา้ กากส่าดว้ ยการหมักร่วมกับกากนา้ ตาล ชัชวนิ ทร์ นวลศรี คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วตั ถปุ ระสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ น้ากากส่า คือ น้าเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตเอทานอล มีลักษณะเป็น ของเหลวข้น สีน้าตาลเข้มจนถึงดา กล่ินคล้ายกากน้าตาล มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น สารอินทรีย์ความเข้มข้นสูง และมักมีสารประกอบในกลุ่มซัลเฟต และฟีนอลเป็น องค์ประกอบ ซึ่งเป็นสารกลุ่มยับย้ังการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ทาให้การบาบัด น้ากากส่าด้วยกระบวนการย่อยแบบไร้อากาศ มักประสบปัญหาด้านประสิทธิภาพ การย่อยสลายทีต่ ่า แนวทางหนง่ึ ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการย่อยแบบไร้ อากาศได้ คอื การใช้วิธีการย่อยร่วม (co-digestion) โดยใช้สับสเตรทชนิดอ่ืนท่ีสามารถ 23 เพ่ิมประสิทธิภาพของกระบวนการยอ่ ยแบบไรอ้ ากาศ ในงานวจิ ัยนีจ้ ึงเลือกใชก้ ากนา้ ตาล เป็นสับสเตรท ในกระบวนการย่อยร่วมกับน้ากากส่าเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของ กระบวนการย่อยสลายสารอนิ ทรยี ์และผลติ แก๊สมีเทน เนื่องจากกากน้าตาลเป็นวัตถุดิบ ท่ีมีองค์ประกอบหลักเป็นน้าตาลซูโครส ซ่ึงเป็นแหล่งพลังงานสาคัญของจุลินทรีย์ใน กระบวนการย่อยแบบไร้อากาศ โดยศึกษาอตั ราส่วนและความเข้มข้นของน้ากากส่าและ กากน้าตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตแก๊สมีเทน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ประสิทธิภาพกระบวนการบาบัดน้ากากส่าจากโรงงานผลิตเอทานอล และผลิตพลังงาน ทดแทนที่สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในเชงิ พาณิชย์ได้ ลกั ษณะเด่นของงานวจิ ัย งานวจิ ยั นี้เป็นงานวจิ ยั เชงิ วิชาการด้านส่งิ แวดล้อมและพลงั งานทดแทน ซึง่ เปน็ หนึ่งในนโยบายสาคัญในการขับเคล่ือนประเทศ ดังน้ัน ทฤษฎีและผลการวิจัยท่ีได้

สงั เคราะห์องคค์ วามรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปที ี่ 3 ฉบบั ท่ี 1 จึงสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย และต่อยอดสู่การใช้งานจริง รวมถึง นาไปใช้ในการอ้างอิงเชิงวิชาการสาหรับนักศึกษา อาจารย์ และนักวิจัยได้ นอกจากนี้ ผูป้ ระกอบการดา้ นพลังงาน ยงั สามารถนาไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้นื ฐาน สาหรับการพฒั นาและ ออกแบบระบบบาบัดน้ากากส่าจากโรงงานผลิตเอทานอลได้ ส่งผลให้เกิดการพัฒนา ด้านพลังงานทดแทนควบคไู่ ปกับการอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจัยน้ีมีการเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ และตีพิมพ์ลงใน วารสารวิชาการระดับชาติ เพ่ือให้ผู้ที่สนใจสามารถนาทฤษฎีและผลการวิจัยที่ได้ ไปใช้ เปน็ แนวทางในการศกึ ษาวจิ ัย และต่อยอดสู่การใช้งานจริง รวมถึงนาไปใช้ในการอ้างอิง เชิงวชิ าการ 24 ภาพท่ี 1 น้ากากสา่ จากโรงงานผลิตเอทานอล ภาพที่ 2 การดาเนนิ งานวจิ ัย

สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ที่ 1 การพฒั นาชุดควบคมุ อุปกรณไ์ ฟฟ้าแสงสว่าง ผา่ นเครอื ขา่ ยไรส้ ายสาหรับผูส้ งู อายุ กติ ตศิ กั ดิ์ คงสีไพร และอภิรกั ษ์ ทดั สอน คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วัตถุประสงค์การนาไปใช้ประโยชน์ เนื่ อ งจ าก ปั ญ ห า กา ร ก ลั้ น ปัส ส า ว ะ ไม่ อ ยู่ ห รื อมี ปั ส ส า วะ เ ล็ ด ร าด ใ น ก ลุ่ ม ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงกลางคืนซ่ึงเป็นช่วงเวลานอนหลับและถ้าเกิดปวด ปัสสาวะข้ึนมาในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้สูงอายุมักจะคลาหาสวิทช์ไม่ค่อยเจอ เน่ืองด้วย สภาพภายในห้องนอนที่มืดหรือมีแค่แสงสว่างสลัว ทาให้มองไม่เห็นหรือไม่ชัดเจน นอกจากนห้ี ้องนอนส่วนใหญ่มกั จะติดตงั้ สวทิ ชไ์ วบ้ รเิ วณผนังตรงประตูก่อนเข้าห้องนอน ทาให้เกิดความไม่สะดวกที่ผูส้ ูงอายุจะต้องลุกจากเตียงเพ่ือเดินไปเปิดสวิทช์ไฟ บางคร้ัง อาจไปสะดุดสิ่งของที่ขวางทางอยู่ ก่อให้เกิดอันตรายได้โดยง่าย ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีล้วน แล้วแต่เกดิ จากสภาพรา่ งกายท่ีเปล่ียนแปลงไปของผู้อายุท้ังส้ิน ดังน้ันวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุดอุปกรณ์ควบคุมการเปิดปิดอุปกรณ์ 25 ไฟฟูาแสงสว่างผ่านเครือข่ายไร้สาย ก็เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการช่วยให้ผู้สูงอายุมี คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขและพึงพอใจ สามารถดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ช่วยเหลือ ตนเองไดต้ ามอตั ภาพ ไมเ่ ปน็ ภาระใหแ้ ก่ผู้อนื่ และดารงไวซ้ ่ึงการมคี ุณค่าในตนเอง ลกั ษณะเด่นของงานวจิ ัย ภายในพรมเช็ดเท้าจะมีเพียโซอิเล็กทริค (Piezoelectric) ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ทาหน้าท่ีเปรียบเสมือนสวิทช์ที่คอยเปิดปิดอุปกรณ์ไฟฟูาแสงสว่างผ่าน อุปกรณ์รับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ซึ่งสัญญาณท่ีใช้ในการส่งและรับข้อมูลนี้จะเป็นระบบ ซิกบี (ZigBee) ซ่ึงเป็นการสื่อสารไร้สายท่ีมีอัตราการรับส่งข้อมูลต่า ด้วยเหตุน้ีจึงไม่มี ความจาเปน็ ตอ้ งเดนิ สายไฟใหย้ ่งุ ยาก อกี ทัง้ ยงั สามารถเคลอื่ นย้ายได้สะดวกอกี ด้วย

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปที ี่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ งานวิจั ยเร่ื องนี้เป็ นการสร้ างนวั ตกรรมเพื่ อน าไปใช้ ปร ะโยชน์ ในการ ช่ วย ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของผูส้ ูงอายุให้สามารถใช้ชีวิตแบบพ่ึงพาตนเองได้ โดยนวัตกรรมนี้ จะช่วยให้ผู้สูงอายุที่มีความจาเป็นต้องเข้าห้องน้าในเวลากลางคืนสามารถเปิดปิดไฟได้ งา่ ยเพียงแคใ่ ชเ้ ท้าเหยียบลงบนพรมเช็ดเท้าทีอ่ ยู่ข้างเตยี ง ภาพท่ี 1 พรมเชด็ เท้าท่ีมีเพียโซอิเลก็ ทริคซอ่ นอยภู่ ายใน ภาพที่ 2 รูปทรงของส่วนภาคสง่ สญั ญาณ 26 ภาพที่ 4 การทดลองใชก้ ับผูส้ งู อายุ

สังเคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 การวเิ คราะห์ลวดลายผา้ พืน้ เมืองของบา้ นม่วงหอม อาเภอวงั ทอง จังหวัดพิษณุโลก เพื่อพัฒนาลายทอ และผลติ ภณั ฑส์ ิ่งทอที่สะทอ้ นอตั ลักษณ์พ้ืนถิ่น พรชยั ปานทงุ่ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ 1. ศึกษาและวิเคราะห์ลายทอผา้ ของบ้านม่วงหอม ตาบลแก่งโสภา อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 2. การพฒั นาลายทอผา้ และผลติ ภัณฑส์ ิ่งทอ ลักษณะเด่นของงานวจิ ยั ประยกุ ตล์ วดลายจากศิลปะในท้องถ่ินจังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ ลวดลายปูนปั้น รอบฐานพระปรางค์ วัดนางพญา และลวดลายเครื่องป้ันดินเผาวัดตาประขาวหาย 27 มานามาเป็นแนวคดิ ในการพัฒนาลวดลายผ้าทอให้เปน็ เอกลกั ษณป์ ะจาจังหวดั พิษณุโลก การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ 1. ลวดลายผา้ สามารถนาไปผลิตเปน็ สินคา้ ของทร่ี ะลกึ ประจาจังหวดั พษิ ณุโลก 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการตอ่ ยอดพฒั นารปู แบบผลิตภัณฑอ์ ่นื ๆ ได้ 3. เป็นแนวทางเลอื กใหก้ ับผบู้ ริโภค

สังเคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวิจยั และผลงานสรรค์สรา้ ง ปที ่ี 3 ฉบบั ที่ 1 ภาพที่ 1 ลายไหใหญ่ ภาพที่ 2 ลายอุนาโลมยกฉัตร 28 ภาพท่ี 3 ลายไหตาประขาว ภาพท่ี 4 ลายอนุ าโลมยกชฎา

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสร้างสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบับที่ 1 พฒั นาการเตรียมเมด็ ไมโครบีดและการปลดปล่อย วติ ามินอีเคร่อื งสาอางบรรจุนา้ มนั อะโวกาโด วษิ ณุ ธงไชย คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วตั ถปุ ระสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ . เครื่องสาอางบารุงผิวรูปแบบเจลและครีมท่ีมีส่วนผสมของเม็ดบีดที่บรรจุ น้ามันอะโวกาโดทมี่ ีฤทธติ์ ้านอนุมูลอสิ ระและมีฤทธ์ิต้านเอนไซม์ไทโรซเิ นสสูง ลกั ษณะเด่นของงานวจิ ัย ผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาการเตรียมผลิตภัณฑ์บารุงผิวที่มีเม็ดไมโครบีดน้ามัน อะโวกาโดบรรจุอยู่ซ่ึงได้เตรียมเม็ดบีดโดยวิธีไอออนิกเจลเลชัน เม็ดบีดมีลักษณะกลม ขนาดอนุภาคเฉล่ียเท่ากับ 3016 นาโนเมตร มีค่าพีเอชเท่ากับ 8.6 ความคงตัวของ วิตามินอีจากผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางโลชันน้ามันอโวกาโดหลังจากเก็บไว้ที่สภาวะเร่งท่ี 29 อณุ หภมู ิ 4, 30 และ 45 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 4 เดือน ซึ่งวิเคราะห์ปริมาณวิตามินอี ด้วยวิธีโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง พบว่าควรเก็บครีมและเม็ดบีดไว้ ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส จะทาให้วิตามินอีมีความคงตัวสูง และเพื่อปูองกันการ สลายตวั ของวิตามินอีในผลิตภัณฑ์ควรกักเก็บวิตามินอีจากน้ามันอะโวคาโดด้วยการทา เป็นเม็ดบดี จากกัมอะคาเซยี และพบคณุ สมบตั ินา้ มนั อะโวกาโดมีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสงู (มีค่า IC50 เท่ากับ 378.62 มิลลิกรัมต่อลิตร) และมีฤทธ์ิต้านเอนไซม์ไทโรซิเนสสูง (ED50 เทา่ กับ 11.66 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ซ่ึงได้นาผลของการวิจัยข้างต้นนามาประยุกต์ใช้ ในการเตรียมเคร่ืองสาอางบารุงผิวรูปแบบครีมและเจลท่ีมีส่วนผสมของเม็ดบีดที่บรรจุ น้ามันอะโวกาโดมาใส่ในสารก่อเจล Methyl cellulose เม็ดบีดมีการลอยตัวอยู่ใน ผลิตภัณฑเ์ จลดที ี่สุด

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรค์สร้าง ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 การนาผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ สามารถนาความรู้ที่ได้จากงานวิจัยนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง รูปแบบเจลและครมี ท่ีมีส่วนผสมเมด็ บดี เพ่ือกกั เกบ็ นา้ มันอะโวกาโด 30 ภาพท่ี 1 การกระจายตวั ของเมด็ บดี ในผลติ ภณั ฑ์เจลและครีมอิมลั ชนั ภาพท่ี 2 รูปแบบกลอ่ งบรรจุภัณฑ์ของเครอื่ งสาอางท่เี ตรียมได้ทั้ง 2 แบบ

สังเคราะหอ์ งคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 ผลของการออกแบบอินโฟกราฟิกท่มี ีต่อการรบั รู้ เสน้ ทางสายเครอ่ื งเงินโบราณ อาเภอศรสี ัชนาลัย จงั หวัดสโุ ขทยั อษุ า อินทร์ประสทิ ธ์ิ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถปุ ระสงค์การนาไปใชป้ ระโยชน์ อินโฟกราฟิก (Infographic) ในปัจจุบันมีบทบาทในชีวิตของคนรุ่นใหม่ เป็น การนาข้อมูลท่ีเข้าใจยากหรือข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือจานวนมาก มานาเสนอในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ท่ีดแู ลว้ เขา้ ใจงา่ ยในเวลารวดเร็วและชดั เจน เข้าใจความหมายของข้อมูลท้ังหมด ได้โดยไม่จาเป็นต้องมีผู้นาเสนอมาช่วยขยายความเข้าใจ อีกท้ังเป็นเคร่ืองมือสื่อสารที่ ทรงประสทิ ธิภาพมากทสี่ ุดอย่างหนงึ่ สามารถเขา้ มาย่นหรือลดเวลาในการรับรู้ และการ ท่องเที่ยว คือการเดินทางเพ่ือพักผ่อนหย่อนใจ ความสนุกสนานต่ืนเต้น หาความรู้ การ ท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมหลักชนิดหน่ึงของประเทศไทย ซ่ึงนารายได้จากประชาชน 31 ชาวไทย และตา่ งชาตเิ ขา้ สปู่ ระเทศ มกี ารเดนิ ทางได้หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นสายการบนิ โรงแรม หรอื บริษทั ทวั ร์ตา่ ง ๆ อย่างอุทยานแห่งชาติศรสี ัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ยังเป็น เขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวมรดกโลกด้านวฒั นธรรมอนั ล้าคา่ และในอาเภอศรสี ัชนาลัยยังมี แหล่งผลิตเครื่องเงินโบราณที่มีช่ือเสียง เป็นงานฝีมือทุกขั้นตอนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อย่างเด่นชัด แต่ยังขาดการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายสู่การรับรู้ในวงกว้าง และ ปัจจุบันความสาคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ มีบทบาทมาพัฒนาให้ กา้ วหน้ายงิ่ ขึ้น บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้สามารถกระตุ้นการรับรู้ ขอ้ มูลและขยายโอกาสการประชาสัมพันธข์ ้อมลู ความน่าสนใจในสว่ นตา่ ง ๆ ของพื้นท่ีไป ยังนักท่องเท่ียวซึ่งเป็นกลุ่มเปูาหมายได้สะดวกรวดเร็ว เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาธุรกิจ ท่องเที่ยวจนสามารถเพิ่มรายได้และสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศได้เป็นอย่างดี หาก ข้อมูลท้ังหมดน้ันถูกรังสรรค์และถ่ายทอดออกมาในรูปแบบอินโฟกราฟิก ท่ีสวยงาม มี คุณค่า มีความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือบอกเล่าเรื่องราว ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวให้ดูโดดเด่น

สงั เคราะห์องค์ความรู้จากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 1 นา่ สนใจ เสริมสร้างสุนทรียภาพดา้ นการท่องเท่ยี ว เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเท่ียว ที่ดี ซง่ึ ประเทศไทยของเรานนั้ ตระหนักและให้ความสาคญั ต่ออตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว ในฐานะที่เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการช่วยรักษาเสถียรภาพและการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยอาศัยข้อได้เปรียบของลักษณะทางภูมิศาสตร์ ความอุดมสมบูรณ์ทาง ทรัพยากรและความหลากหลายของวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึงความเป็นไทยที่เป็นจุดขาย สาคญั ในการสง่ เสรมิ ตลาดการท่องเทยี่ วมาอยา่ งยาวนาน ส่ิงเหลา่ นเ้ี ปน็ ผลลัพธด์ า้ นบวก ที่สามารถผลักดันประเทศไทยสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์ของรัฐบาล โดยใช้การท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือส่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระยะยาว ให้คนใน ชุมชนอยรู่ อดอย่างย่งั ยนื ทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคต ลกั ษณะเด่นของงานวิจยั ผลของการออกแบบอินโฟกราฟิกทม่ี ีต่อการรับรเู้ สน้ ทางสายเครื่องเงินโบราณ อาเภอศรีสชั นาลัย จังหวัดสุโขทัย องค์ความรู้ความรู้จากผลงานวิจัย ผู้วิจัยแบ่งขั้นตอน เปน็ 2 ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1.การออกแบบสอื่ อินโฟกราฟิกและแตป่ ระเภท ตอ้ งคานงึ ถงึ เกณฑ์ ในการออกแบบ คือ 1.1ด้านตัวอักษร 1.2 ด้านภาพประกอบ 1.3 ด้านการจัดวาง 32 องค์ประกอบ 1.4 ด้านเน้ือหา 2.ขั้นตอนประเมินการรับรู้และความเข้าใจส่ืออินโฟ กราฟกิ จากนกั ทอ่ งเทย่ี ว ตอ้ งคานงึ ถึงเกณฑ์การรับรู้ คือ 2.1 สื่อที่นาเสนอสามารถสรุป ภาพรวมทาให้รับรู้ข้อมลู ไดค้ รบถ้วน รวดเร็ว 2.1 ส่ือช่วยให้เข้าใจง่ายต่อการรับรู้ข้อมูล ลาดับเหตุการณไ์ ด้ 2.3 สอื่ มีขนาดเหมาะสม ชัดเจน ง่ายต่อการรับรู้ 2.4 สื่อสร้างความ เพลิดเพลินสามารถกระตุ้นให้เกิดการรับรู้ได้ 2.5 สื่อโดยรวมมีความสวยงามน่าสนใจ และชวนใหน้ า่ ตดิ ตาม การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ 1. นาผลงานวิจัยเผยแพร่ไปสู่กลุ่มเปูาหมายโดยเผยแพร่ในวารสารทาง วิชาการหรอื การนาเสนอผลงานวจิ ยั ในการประชมุ ทางวชิ าการ 2. จดั โครงการฝกึ อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบุคลากรทางด้านเคร่ืองเงิน โบราณ กลมุ่ ครัสเตอร์ทอง-เงนิ สโุ ขทัย อาเภอศรีสชั นาลยั จงั หวัดสุโขทัย และสานักงาน อุตสาหกรรมจงั หวดั สโุ ขทัย บุคลากรสาขาทเี่ กย่ี วขอ้ ง

สงั เคราะห์องค์ความรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 ภาพท่ี 1 อัตลักษณเ์ ครอ่ื งเงินสโุ ขทัย 33 ภาพท่ี 2 การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยใี หก้ ับบคุ ลากรทางดา้ นเครอื่ งเงนิ โบราณ กลุ่มครัสเตอรท์ อง-เงินสุโขทยั อาเภอศรีสชั นาลัย จงั หวดั สโุ ขทัย

สงั เคราะห์องคค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ รา้ ง ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 รู้เทา่ ทันส่ือดจิ ิทลั กับบทบาทของผู้บริโภค พชิ ญาพร ประครองใจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถปุ ระสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ “การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล” เป็นทักษะที่สาคัญสาหรับพลเมืองยุคดิจิทัลที่ จาเป็นต้องใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือการส่ือสาร งานวิจัยนี้จึงทาการศึกษาระดับการรู้เท่าทันส่ือ ดิจิทัลของผู้บริโภคจากนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภาคเหนือ และศึกษากระบวนการเรียนรู้การรู้เท่าทันสื่อตามสิทธิของผู้บริโภคจากผู้ให้ ข้อมูลสาคัญ ได้แก่ ประธานหลักสูตรสาขาวิชานิเทศศาสตร์ เครือข่ายมหาวิทยาลัย ราชภัฏภาคเหนือและภาคีเครือข่ายทางานรู้เท่าทันส่ือประเทศไทย เพื่อประโยชน์ใน การพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันส่ือของเยาวชนและประชาชน ตลอดจนการสร้างสังคม การเรยี นรู้ให้เกดิ การพัฒนาความรู้ความสามารถเกยี่ วกบั การรู้เท่าทนั ส่อื ดิจิทลั 34 ลักษณะเดน่ ของงานวจิ ยั ก า ร ด า เ นิ น ก า ร วิ จั ย ใ ช้ ก า ร วิ จั ย ผ ส ม ผ ส า น เ ชิ ง ป ริ ม า ณ แ ล ะ เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ จากการศกึ ษาพบวา่ ระดบั ความรู้ความเขา้ ใจเรือ่ งการรูเ้ ทา่ ทันสอ่ื ดิจิทัลของนักศึกษาใน ฐานะผู้บริโภคหรือผู้ใช้ส่ืออยู่ในระดับมาก แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีนักศึกษาท่ีมีความ คดิ เห็นว่าเนอื้ หาสารทนี่ าเสนอผ่านสื่อดิจิทัลทุกเรื่องเป็นเร่ืองสร้างสรรค์ ซึ่งแท้จริงแล้ว ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป เน่ืองจากเนื้อหาสารต่างๆ ผ่านกระบวนการประกอบสร้าง จาก ผู้นาเสนอตามเจตนารมณ์ท่ีแตกต่างกันและอาจไม่มีกระบวนการตรวจสอบ คัดกรอง หรือพิจารณาความถูกต้องเหมือนดังเช่นสื่อสารมวลชนที่อยู่ในการกากับดูแลของ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จึงนาไปสู่การศึกษากระบวนการเรียนรู้การรู้เท่าทันสื่อ พบว่า ผู้บริโภคสื่อ ดิจิทัลจะต้องอาศัยทักษะต่างๆ เป็นองค์ประกอบในการรู้เท่าทันส่ือดิจิทัล ได้แก่ 1) ทักษะการเข้าถึงส่ือ (access) หมายถึง ความสามารถในการเข้าถึงสื่อดิจิทัล

สงั เคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 2) ทักษะการวิเคราะห์สื่อ (analysis) หมายถึง สามารถจาแนก แยกแยะสื่อ 3) ทักษะ การประเมิน (evaluate) หมายถึง สามารถประเมินคุณค่าของสื่อได้ และ 4) ทักษะใน การสร้างสรรค์เนื้อหา (create) หมายถงึ มคี วามสามารถในการผลิตเนอื้ หาได้ การนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ สถาบันการศึกษาที่มีบทบาทในการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันส่ือ สามารถนา องค์ความรู้ทางทฤษฎดี า้ นกระบวนการส่งเสรมิ ทักษะการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลไปใช้กาหนด รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ส่ือดิจิทัล ปรับปรุงและพัฒนาสื่อการสอนโดยเพ่ิมเน้ือหาเก่ียวกับหลักการวิเคราะห์เนื้อหาในสื่อ และการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันให้มีความสอดคล้องกับบริบทของสังคม สถาบัน ส่ือสารมวลชนท่ีมีบทบาทในการผลิตส่ือเผยแพร่ สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการ พัฒนากระบวนการเรียนรู้การเท่าทันสื่อดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยกาหนด กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้บริโภคหรือผู้ใช้สื่อมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร สะท้อนความรับผิดชอบท่ีมีต่อสังคม รวมถึงสร้างกระบวนการเรียนรู้การผลิต สอื่ สร้างสรรค์ทั้งในบทบาทของผู้ผลิตและผู้บริโภค และสถาบันครอบครัวที่มีบทบาทใน การส่งเสรมิ ทักษะ สามารถนาผลการวิจยั ไปใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาทักษะการรู้เท่า 35 ทนั ส่ือของเยาวชนและสร้างภมู คิ ุ้มกันร้เู ทา่ ทนั สอ่ื หรือความฉลาดทางดจิ ทิ ัลได้ ภาพท่ี 1 พิธีเปดิ การสมั มนานเิ ทศศาสตร์ “รเู้ ท่าทันส่ือดิจิทัล”

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรูจ้ ากงานวิจยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปที ี่ 3 ฉบบั ท่ี 1 การศกึ ษามรดกวัฒนธรรม ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จงั หวัดพิษณุโลก ขวญั ชนก นัยจรญั และกฤษณา ชาญณรงค์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ . การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน ตาบลหนองกะท้าว และเพ่ือศกึ ษาคณุ ค่าอัตลกั ษณ์มรดกวฒั นธรรมชมุ ชน ตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ผลของการวิจัยมาจากรากฐานที่แท้จริงของชุมชน ผ่านการตรวจสอบความตรงและถูกต้องจากคนในพื้นท่ี อีกท้ังมีการเก็บรวมรวมมรดก วฒั นธรรมดงั กลา่ วในรูปแบบของ pocketbook ทาให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือผู้สนใจ สามารถนาขอ้ มูลไปใช้ตอ่ ยอดในเชงิ ตา่ ง ๆ ได้งา่ ยและสะดวกมากขึน้ 36 ลักษณะเดน่ ของงานวิจยั การวจิ ยั ครัง้ นใ้ี ชแ้ นวคิดกระบวนการงานวิจยั เพือ่ ท้องถ่ิน (CBR: Community Based Research) ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง คือ มหาวิทยาลัย องค์การบริหารส่วนตาบล และชาวบา้ นในตาบลหนองกะท้าว ในการสืบค้นข้อมูลมรดก วัฒนธรรม และร่วมกันตรวจสอบข้อมูลให้มีความเท่ียงตรงกับความเป็นจริง เพ่ือให้ ข้อมูลที่ได้สามารถเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนา อนุรักษ์ สืบสานมรดกวัฒนธรรมชุมชน มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมทัง้ 6 ด้านท่ีพบจากการวิจัย ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ของตาบลหนองกะท้าวที่มีการปฏิบัติสืบทอดกันต่อ ๆ มาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเรื่องราวของวัฒนธรรมที่มีความสัมพันธ์กับการดาเนินชีวิตของชาวหนองกะท้าว กลา่ วคอื ดา้ นวรรณกรรมพ้ืนบ้าน แสดงประวัติศาสตร์ ความเป็นมา การอพยพย้ายถิ่น การต้ังหลักปักฐานของคนในอดีต อันเป็นรากฐานของชุมชนในปัจจุบัน ด้านศลิ ปะการแสดง คือ หมอลาเรื่องต่อกลอนเป็นศิลปะการแสดงที่พบในอดีต เป็นการ

สงั เคราะห์องค์ความรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีที่ 3 ฉบับท่ี 1 แสดงเพื่อสร้างความผ่อนคลายในชุมชน ด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล เปน็ เครอื่ งยึดเหนี่ยวจิตใจให้คนเกดิ ความรักและผกู พันกับท้องถิน่ อกี ท้งั ยัง เปน็ แนวปฏบิ ัตริ ว่ มกนั ของคนทอ่ี าศยั อยูใ่ นตาบล ท่ถี ึงแมว้ า่ จะอพยพหรือย้ายถิ่นมาจาก ภูมิภาคใดก็ตาม ก่อให้เกิดเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน เช่น พิธีกรรม หรืองานเทศกาล ต่าง ๆ อีกทั้งยังพบว่าพิธีกรรม ประเพณีและเทศกาลท่ีปรากฏในตาบลหนองกะท้าว มคี วามสัมพันธ์เกย่ี วข้องกับพระพทุ ธศาสนาทง้ั ส้ิน เช่น การเลี้ยงปถูุ ึงแม้จะเปน็ ความเชือ่ เกี่ยวกับผีหรือส่ิงล้ีลับ แต่ก่อนจะทาพิธีกรรมบูชาปูุดังกล่าว จะต้องทาบุญโดยให้ พระสงฆ์เป็นผู้ประกอบพิธีก่อนเสมอ ด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและ จักรวาล ประกอบด้วย ความเช่ือ โหราศาสตร์ การแพทย์พ้ืนบ้าน และอาหารพ้ืนถิ่น พบวา่ ผู้คนทอี่ พยพมาจากต่างพ้ืนทก่ี ัน มีความเชือ่ แตกต่างกัน และมลี กั ษณะการทานาย ทางโหราศาสตร์ท่ีแตกต่างกันด้วย รวมถึงลักษณะอาหารก็มีความแตกต่างกัน เช่น การกินข้าวเจา้ ในกลุ่มคนนครไทยพ้ืนเมอื ง และการกินข้าวเหนยี วในกลุ่มคนท่อี พยพยา้ ย ถ่ินฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นั่นหมายความว่าผู้คนท่ีอพยพมาจากต่างถิ่น พวกเขาได้นาเอาวิถีชีวิต ความเชื่อ วัฒนธรรมด้ังเดิมมายึดถือปฏิบัติด้วย ด้านงาน ช่างฝีมือด้ังเดิม ท่ีพบคือ งานจักสาน เป็นการจักสานสิ่งของเคร่ืองใช้ในครัวเรือน และงานฝีมือพ้ืนถิ่นท่ีต้องใช้ความประณีต ละเอียดลออในการประดิษฐ์สร้าง และด้าน 37 กีฬาภูมิปัญญา ท่ีพบมีปรากฏเพียงการละเล่นพื้นบ้านเท่าน้ัน เป็นการละเล่นเพื่อ ผ่อนคลาย นิยมเล่นในงานเทศกาลโดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ แต่ในปัจจุบันไม่ค่อย นิยมเล่นแล้ว ส่ิงเหล่านี้ถูกบันทึกเป็นลายลักษณ์ท่ีปรากฏในงานวิจัย ผ่านการสังเกต การลงพ้ืนท่ีภาคสนาม และการสัมภาษณ์โดยใช้เรื่องเล่าจากความทรงจาเป็นส่ือกลาง ทาให้ได้ข้อค้นพบวา่ เร่ืองเลา่ เปน็ สิ่งสาคญั ในการบันทกึ ความทรงจาในอดีต หรือเรียกอีก อย่างหน่ึงวา่ ประวัติศาสตร์บอกเลา่ (Oral history) สามารถสรา้ งคณุ คา่ ใหเ้ กิดอัตลักษณ์ ทางวฒั นธรรมของชุมชนได้ การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ หนังสือ “มรดกวัฒนธรรมตาบลหนองกระท้าว อาเภอนครไทย จังหวัด พิษณุโลก” ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของงานวิจัย ผู้วิจัยได้นาไปเผยแพร่ยังสถาบันอุดมศึกษา และโรงเรียนในพื้นที่ตาบลหนองกะท้าว รวมถึงองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกะท้าว

สงั เคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรรค์สร้าง ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการต่อยอดทางการท่องเที่ยวชุมชน หรือข้อมูลเพื่อต่อยอดทาง วิชาการต่อไป ภาพที่ 1 วัฒนธรรมนั่งแลบวชนาค ภาพท่ี 2 “โพธิเ์ สด็จ” ตานานพนื้ บา้ น 38 ภาพท่ี 3 หนงั สือมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม

สังเคราะหอ์ งคค์ วามรูจ้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปที ี่ 3 ฉบับท่ี 1 ทนุ ทางสังคมกบั การพัฒนาเปน็ ชมุ ชนพึ่งตนเอง ของกล่มุ กองทุนสวัสดิการผูส้ งู อายุ เทศบาลตาบลนาเฉลยี ง อาเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบรู ณ์ สุเทพ คาเมฆ วทิ ยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วัตถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ . การศกึ ษาเรือ่ งทุนทางสงั คมกับการพัฒนาเปน็ ชุมชนพ่ึงตนเองของกลุ่มกองทุน สวสั ดกิ ารผู้สงู อายุเทศบาลตาบลนาเฉลยี ง อาเภอหนองไผ่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ เป็นพน้ื ที่ท่ี มกี ลุม่ กองทนุ สวัสดกิ ารผสู้ ูงอายุที่ประสบความสาเร็จทสี่ ามารถพัฒนาความเข้มแข็งของ กลุ่มให้ย่ังยืนได้ ซ่ึง “กลุ่มกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุเทศบาลตาบลนาเฉลียง” เป็น ลักษณะกลุ่มท่ีเกิดจากการร่วมกลุ่มระดับ “พื้นท่ี” เป็นฐาน (Area-based) ของ ประชาชนภายในชมุ ชน เพ่ือสร้างหลักประกนั ให้กบั ประชาชนในชุมชนให้ครอบคลุมช่วง 39 ก่อนวัยสูงอายุและวัยสูงอายุให้มีศักยภาพ ความม่ันคง และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ได้แก่ การจัดสวัสดิการรักษาพยาบาล สวัสดิการการจัดการศพ การออมเงินเพื่อสูงอายุ ศูนย์บริการผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การรวมกลุ่มสร้างงานของ ผสู้ งู อายุ รวมท้ังสนับสนุนกิจกรรมขององคก์ รทีด่ าเนินงานเกี่ยวกบั การสง่ เสริมสนับสนุน ผสู้ ูงอายใุ หม้ ีความเขม้ แข็งอย่างตอ่ เนือ่ งในทอ้ งถนิ่ ลักษณะเดน่ ของงานวิจัย ลักษณะและแนวทางการใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคมกลุ่มกองทุนสวัสดิการ ผู้สูงอายุเทศบาลตาบลนาเฉลียง หลักการสาคัญท่ีได้เป็นข้อเรียนรู้และข้อเสนอแนะ ใหแ้ ก่ชุมชนอื่นๆ ในการใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคมในการพัฒนาเป็นชุมชนพ่ึงตนเอง ได้ข้อเรียนรู้ให้แก่ชุมชนอ่ืนๆ ได้แก่ หนึ่ง ทุนทางสังคมต้องการผนึกกาลังกับทุนชุมชน

สงั เคราะห์องคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปีท่ี 3 ฉบับที่ 1 อื่นๆ สอง การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน (การมีพ้ืนท่ีและเวทีเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม) สาม การขยายเครอื ข่ายภายในและภายนอกชมุ ชน (การสะสมและเพิ่มข้ึนท้ังเครือข่าย) ส่ี การจัดการและเสริมสร้างองค์ความรู้ (การพัฒนา จัดเก็บ และถ่ายทอดองค์ความรู้) ห้า การเสริมสร้างกิจกรรม (กิจกรรมวิชาการและนวัตกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต) เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดการพฒั นากล่มุ กองทนุ ผู้สูงอายุอยา่ งย่งั ยืนและเขม้ แขง็ ในระยะยาว การนาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ สามารถนาองคค์ วามรู้ (ทนุ ทางสังคม) และรปู แบบ (การจัดสวัสดิการ) ไปเป็น แนวทางในการพฒั นากลุ่มกองทุนสวสั ดิการผู้สูงอายุในชุมชนที่ยังไม่ประสบความสาเร็จ หรอื นารูปแบบไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั การสรา้ งหลักประกนั ให้กบั กลุ่มประชาชนอ่ืนๆ ในสร้าง หลักประกันทางชีวิตให้ครอบคลุมทุกด้าน ไม่ว่าด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่ อาศัย การทางาน การมีรายได้ นันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และการบริการทาง สังคมท่ัวไป โดยคานึงถึงถึงสิทธิและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ท่ีประชาชนต้องได้รับจัด สวัสดิการสงั คมทกุ ระดับให้ประชาชนในชมุ ชนต่อไป 40 ภาพที่ 1 กล่มุ กองทุนสวัสดิการผู้สงู อายุเทศบาลตาบลนาเฉลยี ง อาเภอหนองไผ่ จังหวดั เพชรบูรณ์

สังเคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรา้ งสรรค์ ปีท่ี 3 ฉบบั ท่ี 1 กระบวนการสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือ ด้านการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการการทาบนั ทกึ ขอ้ ตกลง ความร่วมมือด้านมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏิบตั กิ าร เจตนน์ ที ราชเมืองมูล สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคิดหรอื วตั ถุประสงคก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ . 1. เพ่ือสร้างกระบวนการเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยและบริการ วิชาการการทาบนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื ด้านมาตรฐานความปลอดภัยหอ้ งปฏิบตั ิการ 2. เพอ่ื เป็นแนวทางแกผ่ ู้ทสี่ นใจหรอื เกยี่ วข้องกับงานเครือขา่ ยความร่วมมือได้ นาองค์ความรู้จากการสงั เคราะห์ไปใชป้ ระโยชน์ ลักษณะเดน่ ของงานวจิ ัย 41 เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้ในรูปแบบ Info graphics ที่ทาให้ผู้สนใจหรือ ผู้เก่ียวข้องกับงานเครอื ขา่ ยความร่วมมือสามารถเข้าใจกระบวนการได้อย่างง่าย และสามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานในหน่วยงานของตนเองได้ การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ สามารถนาการสังเคราะห์องค์ความรู้ในกระบวนการ ส ร้างเครือข่ายความ รว่ มมือด้านการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการการทาบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื ไปประยกุ ตใ์ ช้ กับงานด้านเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องได้ เพราะได้สรุปวิเคราะห์จากกระบวนการ ข้ันตอน ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจริง จากการทางานจริงกับเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัย และบรกิ ารวชิ าการในสภาพแวดลอ้ มและบริบทของมหาวิทยาลัยในปัจจบุ ัน

สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากงานวิจยั และผลงานสรรค์สร้าง ปที ี่ 3 ฉบบั ท่ี 1 ภาพที่ 1 กระบวนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยและบริการวิชาการการทาบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือดา้ นมาตรฐานความปลอดภยั ห้องปฏิบัตกิ าร 42 ภาพท่ี 2 Safety Day 2019 วันแห่งความปลอดภยั โดยการสนบั สนุนของสานกั งานการวิจยั แหง่ ชาติ (วช.) ใหท้ ุนสนับสนนุ กับแม่ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั นเรศวร

สังเคราะหอ์ งคค์ วามร้จู ากงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ปีที่ 3 ฉบับท่ี 1 การพัฒนาแผนที่ทิศทางการวจิ ัย ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม ปยิ วดี นอ้ ยน้าใส สถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม E-mail: [email protected] แนวคดิ หรอื วัตถุประสงคก์ ารนาไปใช้ประโยชน์ . จากผลกระทบทแี่ หลง่ ทุนมีการสนบั สนนุ งบประมาณด้านการวิจัยปรับเปลี่ยน การสนับสนุนทุนวิจัยไปอย่างรวดเร็ว และมีการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยท่ีต้อง ผ่านการพิจารณาอย่างเข้มงวด จึงเป็นเหตุให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยยังปรับตัวกับ การเปล่ียนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็วไม่ทัน ทาให้การพัฒนาและการยื่นข้อเสนอ โครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนจากแหล่งทุนต่างๆ ไม่โดนใจแหล่งทุนด้วยเหตุท่ีว่า แหล่งทุนท่ีให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยต้องดูความคุ้ มค่าของการลงทุน ทางการวิจัย การจัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการ การติดตามและประเมินผล การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ สอดคล้องกับโครงการวิจัยของมหาวิทยาลัยดาเนิน 43 โครงการวิจัยไม่เป็นไปตามระยะเวลาท่ีแหล่งทุนกาหนด ไม่มีการนาผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ท่ีชัดเจนและไม่มีผู้ที่ได้ประโยชน์จากงานวิจัยที่ชัดเจน พร้อมทั้งไม่เกิดการ บูรณาการหลายศาสตรร์ ว่ มกัน ท่ีเรยี กว่า การทาชดุ โครงการวจิ ัยแบบบูรณาการ และไม่ มีทิศทางหรือแนวทางการทาวิจัยที่ชัดเจนเพื่อที่จะย่ืนเสนอขอแหล่งทุนภายนอก ทาให้งบประมาณที่เสนอขอได้รับการจัดสรรน้อยลง จึงต้องการศึกษาและวิเคราะห์ โครงการวิจัยจากแหลง่ ทุนภายในและภายนอก ตั้งแตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2559 – 2562 จัดทาเป็นแผนท่ีทิศทางการวิจัยและเพื่อแนวทางในการย่ืนเสนอของบประมาณ ทนุ อุดหนนุ การวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม ด้วยวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โครงการวิจยั จากแหล่งทุนภายในและภายนอก ตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – 2562 แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์แยกเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านความคุ้มค่าของการลงทุนทาง การวิจัย ด้านการจัดสรรงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการติดตามและ ประเมินผล ด้านการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ด้านผลกระทบ ด้านผลผลิต

สงั เคราะห์องค์ความรจู้ ากงานวจิ ยั และผลงานสรรคส์ ร้าง ปีที่ 3 ฉบบั ที่ 1 สังเคราะห์ข้อมูลท่ีได้และจัดทาเป็นแผนที่ทิศทางการวิจัยซ่ึงสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบายระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) เพ่ือวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องโครงการวิจัย จาก งบประมาณแผ่นดิน ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559–2562 เพื่อพัฒนาแผนท่ี ทิศทางการวจิ ัย (research mapping) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และเป็น ประโยชนต์ อ่ มหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป ลักษณะเด่นของงานวจิ ยั เป็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์โครงการวิจัยโครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายใน และภายนอก ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2562 และศึกษาข้อมูลยุทธศาสตร์ ด้านการวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เพื่อพฒั นาแผนทีท่ ิศทางการวจิ ยั ทช่ี ดั เจน การนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ เพื่อให้บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยนาไปใช้เป็นกรอบทิศทางการวิจัย ของ 44 มหาวิทยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงครามเพื่อยืน่ เสนอขอแหลง่ ทนุ ตอ่ ไป ภาพท่ี 1 แผนท่ีทศิ ทางการวจิ ยั ของมหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook