Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การจัดการอาชีพ

เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การจัดการอาชีพ

Published by nannaphass12, 2020-12-16 12:23:36

Description: เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การจัดการอาชีพ

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อ การจดั การอาชีพ

จัดทาํ โดย นางสาวนนั ทน ภสั เอื้อศรธี นากร รหัส 63302010015 1สบช1

หนว ยที่ 3 เทคโนโลยีที่ใชในการทําธรุ กรรม โดยไมต องผา นบคุ คลทส่ี าม

ความหมายของบลอ็ กเชน (Blockchain) เทคโนโลยกี ารจดั เกบ็ ขอมลู แบบ shared Database หรือที่รจู กั กนั ในชือ่ Distributed Ledger Technology โดยเปนรูปแบบการบนั ทกึ ขอมลู ทรี่ ับประกนั ความ ปลอดภัยวาขอ มูลท่ีถูกบนั ทกึ ไปกอ นหนา นั้น ไมส ามารถ ที่จะเปลยี่ นแปลงหรือแกไขได ซ่ึงผใู ชง านทุกคนจะไดเหน็ ขอ มลู ชดุ เดียวกัน

ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน จุดเร่ิมตนของเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เกิดข้ึนคร้ังแรกในป ค.ศ. 2008 โดยการนําเสนอของ \"Satoshi Nakamoto\" เปนการนําเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการสรางแพลตฟอรม ท่ีสามารถสรางความปลอดภัยในการ แลกเปลี่ยนเงินสกุลดิจิทัลทีม่ ีช่อื วา บติ คอยน \"Bitcoin\"

หลกั การทาํ งานของเทคโนโลยีบลอ็ กเชน หลักการทํางานของเทคโนโลยีบล็อกเชน คือ ฐานขอมูลจะถูกแชรใหกับทุก Node ที่อยูในเครือขายและการทํางานของเทคโนโลยีบล็อกเชน จะไมมีเคร่ืองใด เครื่องหน่ึงเปนศูนยกลางหรือเคร่ืองแมขาย ซึ่งการทํางานแบบกระจายศูนยน้ีจะ ไมถกู ควบคมุ โดยคนเพียงคนเดยี ว

เพ่อื เปนการปองกันและรบั ประกนั ความปลอดภยั ของขอ มลู โดยแตล ะ เครอื ขา ยบลอ็ กเชนจะมกี ารกาํ หนดกฎเกณฑใ นการตรวจสอบหรือท่ี เรยี กวา \"Consensus Protocol\" ข้นึ มาเพื่อใชในเครือขา ย

หลักการทํางานพื้นฐานที่สาํ คัญของเทคโนโลยีบล็อกเชน ข้ันตอนที่ 1 Create คือ การสราง Block ทบ่ี รรจคุ าํ ส่งั ขอทาํ รายการธุรกรรม ข้ันตอนท่ี 2 Broadcast คือ กระจาย Block ใหมน้ีใหกับทุก Node ในระบบ และบันทึกรายการธุรกรรมลง Ledger ใหกับทุก Node เพื่ออัปเดตวามี Block ใหมเกิดขึ้นมา

ข้ันตอนที่ 3 Validation คือ Node อื่น ๆ ในระบบยืนยันและตรวจสอบขอมูล ของ Block น้นั วาถกู ตองตามเงอื่ นไข Validation ข้นั ตอนที่ 4 Add to chain คอื นํา Block ดังกลาวมาเรียงตอจาก Block กอน หนาน้ี การออกแบบข้ันตอนการทํางานอาจแตกตางไปจากน้ีก็ได ขึ้นอยูกับการ ออกแบบของแตละแพลตฟอรม แตอยางนอยจะตองมี 4 ข้ันตอนหลักนี้ ซึ่งถือได วาเปน หวั ใจสําคญั ของการทํางาน

องคป ระกอบของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Blockchain) ประกอบดว ย 4 องคป ระกอบสําคญั คือ 1. Block การจดั เก็บขอ มลู ของเทคโนโลยีบลอ็ กเชน จะถกู จัดเกบ็ ในรูปแบบของ Block โดยแตล ะ Block จะเช่อื มโยงเขาหา Block กอ นหนา ดวยคา Hash Function ของ Block กอ นหนา นเ้ี สมอ และจะเรียบเรียงตอกนั เปน ทาํ ใหยากตอ การปลอมแปลง และแกไ ข

ดังนั้น Block คอื ชุดบรรจุขอ มลู แบง ออกเปน 2 สว น คือ สวนของ Block Header เพือ่ ใชบ อกใหผูอื่นทราบวาภายในบรรจขุ อมูลอะไรไวแ ละสว นทใ่ี สเ ขา ไปใน Block Data ทีเ่ รยี กวา Item เพื่อใชใ นการบรรจขุ อ มูลตา ง ๆ ตัวอยา งเชน ขอมลู จาํ นวนเงนิ ขอ มูลการโอนเงิน หรือขอ มลู อนื่ ๆ

สว นประกอบของ Block ท่ปี ระกอบดวย 3 สวนหลกั ไดแ ก สวน Header ประกอบดว ย 1) Version Info เปนสวนที่บง บอกถงึ Version ของขอ มูลใน Block 2) Nonce คือ คาของตัวเลขแบบสุมที่จะถูกเปลี่ยนคาไปเร่ือย ๆ จนไดคาแฮช (Hash) ท่เี หมาะสม 3) Previous Block เปนคาแฮช ของ Block กอนหนาทําใหผูใชรูวา Block น้ี ตอ มาจา Block ใด 4) Timestamp คอื เวลาท่ี Block นี้ ถกู สรา งขึน้ มา 5) Merkle คือ การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล เพ่ือใหมั่นใจวาไมมีผูใด แกไ ขขอ มูล

สวน Transaction’s ID List ใน Block 1) ID ประจํา Block ซ่ึงเปนตัวเลขแบบสุมท่ี เขา รหัสแฮช (Hash) ไว 2) ID ของ Block กอนหนา ซึ่งเขารหัสแฮช (Hash) ไวเ ชนกนั 3) ขอมูลรายการธุรกรรม อาจจะมีเพียง 1 รายการ ธุรกรรมหรอื มากกวา นั้นก็ได 4) คียสาธารณะ (Public Key) ที่บอกวา Block นี้ เปน ของใคร ใครเปน ผสู ง และใครเปนผรู บั

สวนแฮช (Hash) คือ สว นของกระบวนการ Proof of Work ซึ่งเปน รหัสเขา ทางเดียว โดยจะสรา งลายเซ็นดจิ ทิ ลั (Digital Signature) ของขอมูลข้นึ มา ทําใหไมส ามารถ ถอดรหสั ขอมูลนั้นกลบั มาได โดยใชห ลักการของคียสว นตวั และคยี สาธารณะ

Chain คือ วิธีการจดจําขอมูลทุกๆธุรกรรมของผูมีสวนเก่ียวของทุกๆฝายในระบบ และบันทกึ ขอ มลู พรอ มจดั ทาํ เปน จาํ แนกแจกจายใหก ับทกุ คนในระบบ โดยสาํ เนานั้น จะถูกกระจายสงตอไปใหทุก ๆNode ในระบบเพื่อใหทุกคนรับทราบวามีธุรกรรม อะไรเกิดขึน้ ตัง้ แตปดระบบบล็อกเชน

Consensus กําหนดขอ ตกลงและความเห็นชอบรว มกนั ระหวางสมาชิกใน เครือขา ยบลอ็ กเชนโดยสมาชกิ ตอ งยอมรับกฎระเบียบรวมกัน ดว ยกลไกใน การควบคมุ ความถกู ตองของขอมลู ในทุก node ผานอลั กอรทิ มึ ตา ง ๆ เพื่อให ขอมลู มคี วามถกู ตองเที่ยงตรงและเปนขอมลู ชุดเดียวกนั

กระบวนการทาํ Consensus มอี ยู 4 วธิ ีหลัก Proof-of-Work คือ กระบวนการทํา Consensus โดยใชการแกปญหาทาง คณิตศาสตรซึ่งมีความซับซอนและตองใชเวลาในการแกปญหานั้นๆจาก Nodes ตาง ๆ ท่ีอยูในเครือขายหรือเรียกวา \"Miners\" เพื่อยืนยันความเชื่อถือของขอมูล ทจี่ ะถูกบันทกึ เขามาในเครือขาย

Proof-of-Stake คอื กระบวนการทํา Consensus โดยใชห ลักการวาง \"สนิ ทรพั ย\" ของผูต รวจสอบในการยนื ยันธรุ กรรม ผูตรวจสอบทวี่ างสนิ ทรพั ยจ าํ นวนมากจึงมี โอกาสที่จะไดร บั สทิ ธ์ิโนการเขียนขอ มลู ธุรกรรมบน Block ถดั ไป

Practical Byzantine Fault Tolerance คอื กระบวนการทํา Consensus โดยใชหลกั การเสยี ง ขา งมาก ซ่ึงตอ งมจี าํ นวนผูตรวจสอบ ทัง้ ส้นิ จํานวน 3f+1 Node เพ่ือรับประกนั ความถกู ตอ งของระบบ Proof-of-Authority คอื กระบวนการ Consensus โดยใชก ารทําขอ ตกลงรวมกนั ในการ กําหนดสทิ ธผิ ใู ชง านหรือองคกรทเ่ี ช่อื ถอื ได ทํา หนาทใ่ี นการรักษาความปลอดภัยโดยใชรปู แบบ การหมนุ เวียนสิทธเิ พอ่ื กระจายความรบั ผิดชอบ

Validation คือ การตรวจสอบความถูกตองแบบทบทวนทั้งระบบและทุก Node ใน ระบบบล็อกเชน หลกั การและการทาํ Validation น้ันมีจดุ ประสงคอ ยู 3 ประการคอื 1 วิธกี ารในการยอมรับ/ปฏิเสธ รายการใน Block นั้น ๆ 2 วิธีการตรวจสอบท่ที กุ คนในระบบยอมรบั รวมกนั 3 วิธกี ารตรวจสอบความถกู ตอ งของแตละ Block

ประเภทของบล็อกเชน (Blockchain) Public Blockchain เปน บลอ็ กเชน ทีถ่ ูกนําไปใชงานจรงิ กบั บติ คอยน(Bitcoin) ปจ จุบนั มีการใชง านจรงิ กบั คนทั่วโลก เปน แพลตฟอรม ท่ที าํ ใหท กุ คนสามารถสรา ง และใชงานแอปพลเิ คชัน่ แบบกระจายขอมูลและไมม ผี ใู ดสามารถควบคมุ หรือเปน เจา ของได

Private Blockchain ประเภทนี้เปนการสรางวงบล็อกเชนขึ้นมาใชงานกันเอง ภายในองคกร ลดปญหาในเรื่องของการเปดเผยขอมูลที่อาจจะพบในวง Public Blockchain แตอาจจะมีปญหามากข้ึนโดยเฉพาะในเรื่องคาใชจาย เพราะองคกร ตองลงทุนในการสรางระบบข้ึนมาใหรองรับการทํางานภายในองคกร ซึ่งก็มี ปญหาในการดแู ลรกั ษา และเมด็ เงิน

Consortium Blockchain บลอ็ กเชน (Blockchain) ประเภทที่ 3 นี้ คอื การรวมกัน ของ 2 แนวคิดแรกเขาดว ยกัน เปน การผสาน Public-Private เขาดวยกนั และเหมือนจะ เปน การรวมขอดเี ขา มาดวยกนั ซึ่งแนวคิดน้ีไดรบั ความนยิ มอยางสงู ในปจจบุ นั นัน่ คือ การทอี่ งคกรตาง ๆ ที่มลี กั ษณะธุรกจิ เหมอื นกันและตองรับสงแลกเปลยี่ นขอมลู กนั อยู แลว มารวมกนั ตัง้ สง่ิ ทีเ่ รียกวา Consortium Blockchain

รปู แบบของเครอื ขายบล็อกเชน Non-Permissioned Public Ledgers เปนบล็อกเชนที่ไมมีผูใดมีสิทธ์ิอนุญาต หามบุคคลอ่ืน ๆ สามารถอนขอมูลหรือสงรายการธุรกรรมขอมูลไดเปน บล็อกเชนท่ี เปดใหทุกคนสามารถมีสวนรวมในกระบวนการ ตัวอยางเชน กลุมของสกุลดิจิทัล อยางบิตคอยน (Bitcoin) และ Ethereum โดยไมจํากัดอยูแคสกุลเงิน แตเปนระบบ ประมวลผลแบบไรศ ูนยกลาง

Permissioned public ledgers เปน Distributed ledger ที่มีการถกู คัดเลือกผูท่ี เขามาเก่ียวของไวกอน เครือขายน้ันอาจจะมีเจาของ ซึ่งเหมาะกับแอปฯ ที่ตองการ ความรวดเร็ว และมีความโปรงใส ตัวอยางเชน Ripple ซ่ึงเปนระบบแลกเปลี่ยน หนว ยเงินและการโอนเงนิ ขา มประเทศ

Permissioned private ledgers เปน Private Blockchain อยางเต็มรูปแบบ ท้งั การเขาถงึ ขอ มลู และการ submit transaction ถูกจํากดั ใหกับกลุมที่ถูกกําหนดไว กอน ตัวอยางเชน Bankchain ซึ่งเปนระบบ Clearing และ Settlement ท่ีทํางาน บน Blockchain

คุณลกั ษณะพน้ื ฐานทีส่ าํ คญั ของเทคโนโลยีบล็อกเชน ความถกู ตองเทีย่ งตรงของขอ มลู (Data Integrity) เน่ืองจากการเช่ือมโยง Block ปจจุบันและBlock กอน หนาดวย HashFunction และกระจายใหทุกๆNodeเก็บ ทํา ใหขอมูลท่ีถูกบันทึกลงในบล็อกเชน แลวไมสามารถแกไข ดังนั้น หากมีความพยายามในการแกไขหรือเปล่ียนแปลง ขอ มูลท่ถี ูกบันทึกลงใน Blockแลวจะทําใหท ราบไดท ันที

ความโปรง ใสในการเขาถงึ ขอ มลู (Data Transparency) เนอื่ งจาก node ในระบบบล็อกเชนจะเกบ็ ขอมลู เดยี วกนั ทงั้ หมด โดยไมมี node ใด node หนึ่งเปน ตัวกลางทม่ี ีอาํ นาจแตเ พยี งผเู ดียวในการจัดเกบ็ ขอมลู โดยไม จําเปน ตองขอขอ มูลจากตัวกลาง จงึ เรียกวา เปนระบบทม่ี ีโปรงใสในการเขา ถงึ ขอ มูล สูงที่สดุ

ความสามารถในการทาํ งานไดอยา งตอเนื่องของระบบ (Availability) เนอ่ื งจาก node ในระบบบล็อกเชนจะเกบ็ ขอ มลู เดยี วกนั ทง้ั หมด จงึ สามารถ ทาํ งานทดแทนกนั ไดเมื่อมี node ทไ่ี มสามารถใหบรกิ ารไดในขณะน้ัน โดยระบบจะ ทาํ การคัดลอกสาํ เนาขอมลู ใหเปนขอ มลู ชุดเดียวกันเม่อื node กลบั ขนึ้ มาใหบ รกิ าร ไดอ กี ครัง้

ประโยชนของเทคโนโลยบี ล็อกเชน บล็อกเชน เปนเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทํา ธุรกรรมในชีวิตประจําวัน โดยไมไดจํากัดเพียงแคธุรกรรมทางการเงินเทาน้ัน แตบล็อกเชน สามารถนํามาประยุกตใชในอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดอีกดวย จากความรวมมือของไอบีเอ็ม (IBM) กับหางคาปลีกรายใหญสัญชาติอเมริกันอยาง(วอลมารท (Wamart) และมหาวิทยาลัย ชิงหวา (Tsinghua) ซ่ึงเปนสถาบันการศึกษาช้ันนําของจีน ไดรวมกันพัฒนาระบบบบ ตรวจสอบยอนกลบั และหว งโซอปุ ทาน

ขณะที่ไอบเี อม็ (IBM) จะสนบั สนนุ IBMBlock-chain มาเปน แพลตฟอรม ใน การพัฒนาระบบดงั กลาว โดยมีมหาวิทยาลยั ชงิ หวา(Tsinghua) ทาํ หนา ทว่ี ิเคราะห ความปลอดภัยในการทําธุรกรรมรวมทงั้ ระบบทจี่ ะมารองรบั การใชบ ลอ็ กเชน ในการ พฒั นาระบบตรวจสอบยอ นกลับ

การนําบลอ็ กเชนไปประยกุ ตใชใ นกระบวนการหวงโซอุปทาน กระบวนการหวงโซอุปทานเปนกระบวนการสําคัญตั้งแตการจัดหาวัตถุดิบ สําหรับนําไปผลิต จนกระท่ังจัดสงสินคาไปยังผูบริโภคโดยหน่ึงในปญหาสําคัญของ กระบวนการหวงโซอ ุปทาน คือ ยังไมมีเทคโนโลยที ดี่ ีพอทจี่ ะคอยตดิ ตามสนิ คา และ ตรวจสอบท่ีมาท่ีไปของสินคาดังนั้น การนําบล็อกเชนเขามาใชในกระบวนการหวง โซอ ปุ ทานจะชว ยใหขอมลู ตางๆสามารถระบุที่มาท่ไี ปได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook