Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PressMETASPAM_PISA2018_Final

PressMETASPAM_PISA2018_Final

Published by sono_ploynapat, 2021-05-29 02:11:28

Description: PressMETASPAM_PISA2018_Final

Search

Read the Text Version

Focus ประเดน็ จาก PISA ฉบับที่ 58 (เดือนพฤษภาคม 2564) “FAKE News” กบั ความฉลาดรูดา นการอานของ PISA ดาํ เนนิ งานโดย ศนู ย PISA แหงชาติ สาขาการวดั และประเมนิ ผลระดบั นานาชาติ สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

“FAKE News” กับความฉลาดรูดา นการอา นของ PISA ศูนย PISA แหง ชาติ สาขาการวดั และประเมนิ ผลระดบั นานาชาติ โลกยุคดิจิทัลในปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี จึงทําใหธรรมชาติของการอาน ไดเปลี่ยนแปลงตามไปดวย การอานในปจจุบันจึงไมเพียงเก่ียวของกับสื่อส่ิงพิมพบนหนากระดาษแตยัง เกี่ยวของกับการอานจากส่ือดิจิทัล ในอดีตหากนักเรียนตองการหาขอมูลหรือหาคําตอบใด ๆ ก็จะคนควาหา อานตามหนังสือหรือสารานุกรมและมักจะเชื่อวาคําตอบท่ีพบนั้นถูกตองแลว แตในทุกวันนี้ หากนักเรียน สืบคนขอมูลบนส่ือออนไลนก็จะไดคําตอบนับลา นคําตอบซง่ึ แลว แตวานักเรียนจะเลือกเช่ือวาคําตอบใดถกู ตอ ง เปนจริง และขอมูลใดใชไดหรือใชไมได ดังน้ัน การอานในโลกดิจิทัลจึงเปนส่ิงที่ทาทายยิ่งข้ึนเน่ืองจากมีทั้งสื่อ และการบริโภคเน้ือหาจากสื่อตาง ๆ ที่เพ่ิมข้ึน บางคร้ังจึงดูเหมือนวาความรวดเร็วในการเผยแพรขอมูลจะมา กอนคุณภาพของขอมูล ส่ิงนี้จึงกอใหเกิด “ขาวปลอม” (FAKE News) หรือขอมูลท่ีอาจจะบิดเบือนจากความ เปนจริง ซ่ึงสะทอนถึงสิ่งที่กําลังเกิดข้ึนในสังคมปจจุบัน ท่ีความเชื่อหรือความคิดเห็นสวนบุคคลมีอิทธิพลใน การกําหนดความเหน็ ของสาธารณชน จากท่ีกลาวมาขางตน PISA จึงไดปรับวิธีการวัดความสามารถทางการอานหรือความฉลาดรูดานการอา น ใหเขากับการเปล่ียนแปลงเหลาน้ี ซ่ึงจากผลการประเมินของ PISA 2018 พบวา นักเรียนจากประเทศ สมาชกิ OECD มเี พียง 9% ท่มี ีระดับความสามารถดา นการอา นมากพอในการแยกแยะระหวางขอเท็จจริง และความคิดเห็น สําหรับประเทศไทยมีนักเรียนไมถึง 1% ที่มีความสามารถในการวิเคราะหหรือแยกแยะ ระหวางขอเท็จจริงและความคิดเห็นได ดังนั้น การสอนของครูในปจจุบันจึงไมใชเพียงแคการสอนนักเรียน เพ่ือใหความรูอีกตอไป แตควรเปนการชวยใหนักเรียนพัฒนาทักษะและความสามารถในการวิเคราะหขอมูล ตาง ๆ เชน การวิเคราะหขอมูลจากหลายแหลงขอ มูล การทําความเขาใจอยางลกึ ซ้ึง และการแยกแยะระหวาง ขอเท็จจริงและความคดิ เห็น เปนตน ประสบการณก ารเรยี นรูทักษะความฉลาดรดู า นดิจิทลั ในโรงเรียน ใน PISA 2018 ไดมีการสอบถามนักเรียนถึงประสบการณที่นักเรียนเคยไดรับการสอนทักษะตาง ๆ ท่ี เก่ยี วของกบั การคนหาหรือใชขอ มูลจากส่ือออนไลน พบวา นกั เรียนไทยท่รี ายงานวาเคยไดรับการสอนเกี่ยวกับ เร่ืองดังกลาวมีสัดสวนมากกวาคาเฉล่ียประเทศสมาชิก OECD ถือไดวานักเรียนไทยเคยไดรับการสอนทักษะ ตาง ๆ มาพอสมควร เชน วิธีการใชคําสําคัญเมอ่ื ตองใชเครอื่ งมือสืบคนขอมูล และวิธีการตัดสินใจวาขอมูลจาก อินเทอรเน็ตเช่ือถือไดหรือไม ซึ่งมีนักเรียนไทยประมาณ 88% เคยไดเรียนเรื่องดังกลาว ในขณะท่ีประเทศ สมาชิก OECD มีนักเรียนประมาณ 56% และ 69% ตามลําดับ แตสําหรับทักษะในการตรวจสอบอีเมล หลอกลวงหรืออีเมลขยะพบวา เปนเร่ืองที่นักเรียนไทยและนักเรียนจากประเทศสมาชิก OECD เคยไดรับ การสอนนอ ยทีส่ ุด ดังรปู 1 2|PISA 2018

รูป 1 รอยละของนักเรยี นทร่ี ายงานวาในโรงเรียนนกั เรยี นเคยไดรบั การสอนทักษะตา ง ๆ ทเี่ ก่ยี วของกับการสืบคนขอมูลหรอื การใชขอมลู ทางส่อื ออนไลน OECD ไทย % ของนักเรยี น 100 80 60 40 20 0 วิธกี ารใช วิธีการตรวจสอบ วิธกี ารตรวจสอบ วิธกี ารใชคําสําคัญ วิธกี ารตดั สินใจวา วิธกี ารเปรียบเทยี บ การสรางความ เมื่อตองใช ขอมลู จาก เว็บเพจตางๆ และ เขาใจเกีย่ วกบั คาํ อธิบายสั้นๆ ท่ี วาขอมูลท่ไี ดเ ปน อีเมลหลอกลวง เครือ่ งมือสบื คน อินเทอรเนต็ ตดั สินใจวาขอมูลใด ผลท่ีตามมาจาก อยใู ตลงิ ก ความคิดเห็นสวน หรอื อีเมลขยะ ขอ มลู เชอื่ ถือไดหรือไม ตรงกบั งานท่ีเก่ียวกับ การนําขอ มูลไป ในรายการผลลพั ธ บคุ คลหรือมีความ การเรียนของนกั เรียน เผยแพรส ูส าธารณะ ทไ่ี ดจากการคนหา เอนเอยี งหรอื ไม มากกวา กัน ทางออนไลน การรูถ ึงวิธใี นการประเมนิ ความนา เช่อื ถอื ของแหลงขอ มลู จากสอื่ ออนไลน จากขอมูลขางตน สอดคลองกับดัชนีการรูถึงวิธีในการประเมินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล ที่ไดจาก การสอบถามนักเรียนโดยใหนักเรียนพิจารณาสถานการณจําลองวา “นักเรียนไดรับอีเมลจากผูใหบริการสัญญาณ โทรศัพทมือถือทมี่ ีชอ่ื เสียง ซึ่งแจงวา นักเรียนเปนผโู ชคดีไดรับสมารท โฟน โดยผูสงขอความขอใหน กั เรียน คลิกท่ีลิงกเพื่อกรอกขอมูลของนักเรียนลงในแบบฟอรม แลวพวกเขาจะสงสมารทโฟนมาใหนักเรียน” แลวใหนักเรียนวิเคราะหวาวิธีปฏิบัติแตละวิธีตอไปน้ีมีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด ไดแก 1) ตรวจสอบท่ีอยู อเี มลของผสู งขอความ 2) ลบอีเมลโดยไมคลิกทล่ี งิ ก 3) ตรวจสอบเวป็ ไซตของผูใหบ รกิ ารสญั ญาณโทรศพั ทม ือถอื เพอื่ ดวู า มกี ารแจกสมารท โฟนหรือไม 4) ตอบกลบั อเี มลและขอขอ มูลเพิม่ เตมิ เก่ียวกับสมารทโฟน และ 5) คลิกท่ี ลิงกเพ่ือกรอกแบบฟอรมโดยเร็ว จากนั้นนําคําตอบของนักเรียนมาสรางเปนดัชนีการรูถึงวิธีในการประเมิน ความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล (Index of knowledge of strategies for assessing the credibility of sources) เม่ือพิจารณาถึงวธิ ีปฏิบัติในการตอบสนองตออีเมลในสถานการณข างตน จากการรายงานของนกั เรียน พบวา นักเรียนประมาณ 40% ของประเทศสมาชิก OECD รายงานวา การคลิกท่ีลิงกเพ่ือกรอกแบบฟอรม โดยเร็วเปนวิธีที่เหมาะสมพอสมควรหรือเหมาะสมอยางย่ิงในการตอบสนองตออีเมลลักษณะนี้ สําหรับ นักเรียนไทยมีนักเรียนที่รายงานเชนน้ีถึง 67% ทั้งท่ีความเปนจริงแลววิธีดังกลาวเปนวิธีที่ไมเหมาะสมอยางย่ิง ในการตอบสนองตออีเมลลักษณะดังกลาว ซึ่งแสดงใหเห็นวา นักเรียนไทยสวนใหญยังไมรูวาวิธีปฏิบัติใดเปน วิธีท่ีไมเหมาะสม อยางไรก็ตาม สําหรับวิธีปฏิบัติที่เหมาะสม เชน ตรวจสอบท่ีอยูอีเมลของผูสงขอความ ตรวจสอบเว็ปไซตของผูใหบริการสัญญาณโทรศัพทมือถือเพื่อดูวามีการแจกสมารทโฟนหรือไม และลบอีเมล โดยไมคลิกที่ลิงก พบวา ในประเทศสมาชิก OECD มีนักเรียนประมาณ 60 – 80% ที่รายงานวาวิธีเหลาน้ีมี 3|PISA 2018

ความเหมาะสม สําหรบั นักเรยี นไทยมปี ระมาณ 55 – 76% ซึ่งแสดงใหเ หน็ วา นกั เรียนไทยสว นหนงึ่ ยงั ไมส ามารถ แยกแยะไดวาวธิ ีปฏบิ ตั ใิ ดเปน วิธที เี่ หมาะสม หรอื ไมท ราบถงึ วิธที ี่ถูกตอ งในการประเมินความนา เชื่อถอื ของส่ิงที่อา น นั่นคือ การตรวจสอบแหลง ทม่ี าและความนา เชื่อถอื ของสงิ่ ท่ีอา น เม่ือพิจารณาท่ีคาดัชนีการรูถึงวิธีในการประเมินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูล พบวา ประเทศสวน ใหญท่ีเขารวมการประเมินมีคาดัชนีการรูถึงวิธีในการประเมินความนาเชื่อถือของแหลงขอมูลต่ํากวาคาเฉลี่ย OECD (-0.01) รวมทั้งประเทศไทยซ่ึงถือวามีคาดัชนีคอนขางต่ํามากเม่ือเทียบกับประเทศอื่น ๆ (-0.71) นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาตามสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียนแลว พบวา ในประเทศท่ีมีคาดัชนีนี้ ตํ่ากวาคาเฉลี่ย OECD นักเรียนในทุกกลุมสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมจะมีคาดัชนีดังกลาวต่ํา เชนเดียวกนั แมว านักเรยี นจะมาจากครอบครวั ทม่ี สี ถานะทางเศรษฐกิจและสงั คมไดเปรยี บกต็ าม ดงั รปู 2 รปู 2 คา ดัชนกี ารรถู งึ วิธใี นการประเมนิ ความนาเชือ่ ถอื ของแหลง ขอมูลของประเทศตาง ๆ จาํ แนกตามสถานะทางเศรษฐกิจและสงั คม นักเรยี นทกุ คน นักเรยี นทมี่ ีสถานะทางเศรษฐกิจและสงั คมดอ ยเปรียบ นกั เรยี นท่มี ีสถานะทางเศรษฐกจิ และสงั คมไดเปรยี บ คา เฉลย่ี ดัชนี ท่มี า: OECD, 4 May 2021 4|PISA 2018

เม่ือทําการวิเคราะหเพ่ือหาวาการรูถึงวิธีในการประเมินความนาเชื่อถือสงผลตอผลการประเมินดาน การอานของนักเรียนไทยมากนอยเพียงใด พบวา เมื่อคาดัชนีน้ีเพ่ิมขึ้น 1 หนวย จะสงผลใหคะแนนการอาน ของนักเรียนไทยเพิ่มขึ้น 17 คะแนน โดยหากนักเรียนรูถึงวิธีปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในการตรวจสอบความ นา เชอื่ ถือเม่ือไดรบั ขอ มลู ทางอีเมลกอนทีต่ อบสนองตอขอมูลนั้น กลมุ นกั เรยี นเหลานก้ี ็จะมีคะแนนการอาน มากกวากลุมนักเรียนที่ไมไดคํานึงถึงการตรวจสอบความนาเชื่อถือดวยเชนกัน โดยนักเรียนท่ีรายงานวา “การตรวจสอบอีเมลของผูสง” เปนวิธีท่ีเหมาะสมจะมีคะแนนการอานมากกวานักเรียนท่ีรายงานวาวิธี การปฏิบัติเชนนั้นไมเหมาะสมถึง 60 คะแนน ซ่ึงแสดงใหเห็นวานักเรียนท่ีรูถึงวิธีที่ถูกตองในการตรวจสอบ ความนาเช่ือถือจะสามารถทําคะแนนการอา นไดดีกวา นักเรยี นท่คี ิดวาวิธเี หลานี้ไมเหมาะสม ในขณะที่ “การลบ อีเมลโดยไมคลิกที่ลิงก” ซึ่งเปนวิธีที่เหมาะสมในการตอบสนองกับอีเมลลักษณะนี้ หรือ “การคลิกลิงกเพื่อ กรอกขอมูลแบบฟอรมโดยเร็ว” ซึ่งเปนวิธีที่ไมเหมาะสมอยางย่ิง แตกลับพบวา ในท้ังสองวิธีปฏิบัติน้ีไมพบ ความแตกตางของคะแนนการอานระหวางนักเรียนท่ีรายงานวาเหมาะสมหรือไมเหมาะสม น่ันแสดงใหเห็นวา นกั เรยี นสวนใหญไ มทราบวา สองวธิ ีนม้ี ีความเหมาะสมหรือไมใ นการจดั การกบั อเี มลหลอกลวง จากขอคนพบจะเห็นไดวา นักเรียนไทยยังมีความรูที่ไมเพียงพอหรือไมทราบถึงวิธีที่ ถกู ตอ งในการประเมินความนาเชือ่ ถือของสิง่ ทอ่ี า น ในขณะทส่ี ง่ิ เหลา น้ถี ือเปน ทกั ษะท่จี าํ เปน มากตอการดํารงชีวิตในโลกปจจุบันท่ีเต็มไปดวยขอมูลขาวสารจํานวนมากท่ีเพิ่มจํานวนข้ึน ตลอดเวลา ดังนั้น จึงควรมีกิจกรรมหรือการเรียนการสอนท่ีชวยสงเสริมการรูถึงวิธีปฏิบัติหรือวิธี ตอบสนองตอขอมูลทไี่ ดมาจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพิ่มเติมเขาไปในหองเรียนดวย เพ่ือใหนักเรียน ไดทราบและฝกฝนกลยุทธหรือวิธีการอานในดานตาง ๆ ใหครอบคลุมและมีประสิทธิภาพมาก ยง่ิ ข้ึนโดยเฉพาะดา นการประเมนิ ความนา เชอื่ ถอื เชน การสอนใหน กั เรียนทราบถึงแนวทางในการ ประเมินความนา เช่ือถือสิ่งที่อา นอยางถกู ตอ ง น่ันคือ การตรวจสอบแหลงทม่ี าและความนา เช่อื ถือ ของส่ิงท่อี านเพือ่ ใหก ารอานของนักเรียนมปี ระสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น อา นเพิ่มเตมิ OECD (2021), 21st-Century Readers: Developing Literacy Skills in a Digital World, PISA, OECD Publishing, Paris, (Online), https://doi.org/10.1787/a83d84cb-en, Retrieved May 28, 2021. OECD (4 May 2021), Are 15-year-olds prepared to deal with fake news and misinformation?, PISA in Focus, No. 113, OECD Publishing, Paris, (Online), https://doi.org/10.1787/6ad5395e-en, Retrieved May 28, 2021. ศึกษาขอ มลู เพมิ่ เติมไดจาก http://www.ipst.ac.th/ และ https://pisathailand.ipst.ac.th/ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) [email protected] 5|PISA 2018


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook