Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11.เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี (ส่งคัดเลือก)

11.เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี (ส่งคัดเลือก)

Published by sono_ploynapat, 2021-11-25 01:33:16

Description: 11.เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี (ส่งคัดเลือก)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสริมและคัดเลือกนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสรมิ และคัดเลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (คนละไม่เกิน 30 หน้า) ชอ่ื ผลงาน “กจิ กรรมบูรณาการสร้างสรรค์คนดี มปี ญั ญา พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ พิชติ ดว้ ย DOKCARE Model” สอดคล้องกบั คุณลกั ษณะ  ความพอเพียง  ความกตัญญู  ความซอื่ สตั ยส์ ุจริต  ความรับผดิ ชอบ  อดุ มการณ์คุณธรรม คุณธรรมอัตลักษณ์ (โปรดระบุ)................................................................................ ชอ่ื ผู้พัฒนานวัตกรรม นางสาวพลอยนภัส ทัศนพงษ์ โรงเรยี น/หน่วยงาน สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 เลขที่ ๕๓๐ หมู่ ๕ ถนนเด่ือเจรญิ ตำบลวานรนวิ าส อำเภอวานรนวิ าส จงั หวดั สกลนคร รหสั ไปรษณยี ์ ๔๗๑๒๐ สังกดั สพป./สพม. สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 โทรศพั ท์ ๐๔๒ ๗๙๒ ๑๓๑-๑๓๕ ตอ่ ๑๐๖ โทรสาร ๐๔๒ ๗๙๑ ๒๐๕ E-mail [email protected] โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี ๐๖๕ ๘๕๐ ๐๙๕๘

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอียดการนำเสนอนวัตกรรม 1. ความสำคญั ของนวตั กรรม จากพระราชกระแสรับสั่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีต่อ ประชาชนชาวไทยให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง” พร้อมทั้งพระราชทานหลัก 3 ประการที่เกี่ยวกับครูและ นักเรียนไว้ว่า ประการที่ ๑ “ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู” ประการที่ ๒ “ให้ครูสอนให้เด็กมีน้ำใจต่อเพื่อนไม่ให้ แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองและให้เด็กที่เรียนเก่งช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า” และประการที่ ๓ “ให้ครู จัดกจิ กรรมให้นักเรียนทำรว่ มกันเพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี” และนอ้ มนำศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” สู่การปฏิบัติ จากพระราชกระแสรับสั่งข้างต้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูรทรง พระราชทานพระบรมราโชวาท ดา้ นการศึกษาเพ่ือสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ว่า การศกึ ษาต้องมงุ่ สร้างพื้นฐานให้แกผ่ ้เู รียน 4 ด้าน ดังน้ี 1) มที ัศนคติท่ีถกู ตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง 2) มีพืน้ ฐาน ชีวิตท่ีมั่นคง-มคี ุณธรรม 3) มงี านทำ-มอี าชพี 4) เปน็ พลเมอื งดี เพื่อเป็นการสืบสานศาสตร์พระราชา สนองพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิรา ลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีจุดหมายที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุขโดยจุดหมาย คือ ข้อที่ 1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ เหน็ คณุ คา่ ของตนเองมวี นิ ัยและปฏบิ ัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และข้อที่ 2 คือ มีความรู้ ความสามารถในการ สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต (กรมวิชาการ, 2551 : 3) ตลอดจนเพื่อ สนองจุดเน้น ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ โดยมีเป้าหมาย “นักเรียนดี นักเรยี นเกง่ นกั เรยี นมีความสุข” นอกจากนี้ ผู้พฒั นานวัตกรรมมีความศรัทธาในแนวคิดจติ ศึกษา อนั เปน็ เปา้ หมาย แท้จริงของการศึกษา จิตศึกษากับการพัฒนาปัญญาภายในหรือความฉลาดด้านใน หมายรวมถึงความฉลาด ทางด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Quotient : SQ) และความฉลาดทางด้านอารมณ์ (Emotional Quotient : EQ) ซึ่งได้แก่ การรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง (รู้ตัว) และผู้อื่น การเห็นคุณคา่ ในตวั เอง คนอื่น และ สิ่งต่าง ๆ เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีเป้าหมายและมีความหมาย การอยู่ด้วยกันอย่างภารดรภาพ ยอมรับใน ความแตกต่าง เคารพและใหเ้ กียรติกัน การมวี นิ ัย มีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสว่ นรวม อย่อู ย่างพอดีและ พอใจได้ง่าย การมีสติอยู่เสมอ รู้เท่าทันอารมณ์เพื่อให้รู้ว่าต้องหยุดหรือไปต่อกับสิ่งที่กำลังเปน็ อยู่ มีความคิด สามารถจัดการอารมณต์ นเองได้ การเห็นความสมั พนั ธเ์ ชื่อมโยงระหว่างตนเองกับส่ิงตา่ ง ๆ นอบน้อมต่อสรรพ สิ่งที่เกื้อกูลกันอยู่และการมีจิตใหญ่ มีความรักความเมตตามหาศาล (วิเชียร ไชยบัง. 2554) โรงเรียนที่จัด การศึกษาในระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ได้มีการนำกระบวนการ “จิตศึกษา” มาพัฒนาขึน้ เพือ่ มุง่ ที่จะพัฒนา ผูเ้ รยี นทกุ คนให้เต็มตามศักยภาพ และใหค้ ุณคา่ ความเป็นมนุษย์ทีเ่ ทา่ เทียมกัน โดยไมป่ ลอ่ ยให้ผู้เรียนล้มเหลว แม้แต่คนเดียว นอกจากนี้ แนวคิดจิตศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาทั้งครูและเด็ก เมื่อครูใช้กระบวนการจิต ศึกษา เพื่อขัดเกลาเด็ก ในขณะเดียวกันนั้น ครู ก็ได้ขัดเกลาความฉลาดด้านในของตัวเองไปดว้ ย “จิตศึกษา” จึงกลายเป็นส่วนสำคัญ เพื่อยกระดับจิตวิญญาณของครูให้มี “หัวใจของความเป็นครู” อย่างแท้จริง ส่วนใน ตัวเด็กกระบวนการจิตศึกษาได้ยกระดับความฉลาดด้านจิตวิญญาณ และความฉลาด ด้านอารมณ์ ให้เห็น

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 คุณค่าของสรรพสิ่ง การน้อมนำสิ่งที่ดีงามเข้าไปสู่จิตใต้สำนกึ ทั้งยงั เป็นการเตรยี มความพร้อมของนักเรียนให้ อย่ใู นภาวะคลนื่ สมองต่ำเพ่อื ใหพ้ รอ้ มสำหรบั การเรียนรู้ (วเิ ชียร ไชยบัง. 2555) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของ “การสร้างนักเรียนดีให้บ้านเมือง” ตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และโรงเรียนในสังกัด จำนวน ๑๘๒ โรง ได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ร้อยละ ๑๐๐ และตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษา จะต้องเริ่มต้นด้วยการพัฒนาคนอย่างมีคุณภาพ ให้สามารถ ดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง และวฒั นธรรมทีเ่ ผชญิ อยไู่ ด้อยา่ งมคี วามสุขทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต การพัฒนาการศึกษาจงึ ต้องมุ่ง พัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกายจิตใจ ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ นอกจากนี้ ยังคำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของครูผู้สอน เพื่อให้เกิดความ ยั่งยืนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะเห็นได้จากการประเมินคุณภาพผู้เรียน ด้านการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่ยังมีบางตัวชี้วัดในโครงสร้างข้อสอบอยู่ในระดับ “ปรบั ปรงุ ” เพื่อให้การดำเนนิ งานให้สอดคล้องกับ “ปัญหาท่อี ยากแก้ ความดีทีอ่ ยากทำ” เพอื่ “สรา้ งคนดีให้ บ้านเมือง” จึงได้มอบหมายใหก้ ลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ในการขับเคลื่อนการพัฒนา คุณภาพการศึกษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามแนวทาง กรอบแนวคิด และจุดเน้นดังกล่าว ในการนี้ ผู้พัฒนา นวัตกรรม ในฐานะศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา จึงได้กำหนดแนวทางการ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน คือ “ส่งเสริมกิจกรรมดีที่อยากทำ นำสู่การ ลดปัญหาที่อยากแก้” โดย การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการสร้างสรรค์คนดี ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดคุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ได้แก่ ความพอเพียง ความ กตัญญู ความซื่อสัตย์สจุ รติ ความรับผิดชอบ ได้รับการบ่มเพาะและปลูกฝังผ่านการทำงาน การทำกิจกรรมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ และเหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของผู้เรียน โดยได้คิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการ ดำเนนิ งาน “กิจกรรมสร้างสรรคค์ นดี มปี ญั ญา พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ พชิ ติ ดว้ ย DOKCARE Model” เพือ่ กระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูผู้สอนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสร้างสรรค์คนดี เมื่อนักเรียนเป็นคนดี ย่อมมีปัญญา ไตร่ตรอง คัดกรองสิ่งดีงามให้แก่ตนเอง โดย การใฝ่เรียนรู้ในวิชาการต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และนำไปสู่การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในการประเมินคุณภาพผู้เรียนของแต่ละปีการศึกษา ซึ่งเป็นผลสะท้อนที่เกิดจากการปฏบิ ัติงาน พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามบทบาท หนา้ ท่ี เกิดความภาคภูมใิ จอยา่ งเปน็ รูปธรรม ทั้ง ต่อสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังให้เป็น ทรัพยากรมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา สู่การประกอบสัมมาอาชีพ ตลอดจน เปน็ กำลงั สำคญั ในการพฒั นาบ้านเมอื ง ใหเ้ กดิ ความเจริญและสันตสิ ขุ ต่อไป

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของนวตั กรรม 2.1 จดุ ประสงค์ ๒.๑.๑ เพอ่ื ให้ผู้เรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาตอนต้น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ในสงั กัด สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ ไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ีพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงคต์ ามกรอบ แนวคดิ โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการและคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ๒.๑.๒ เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธกิ์ ารประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒.๑.๓ เพือ่ พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน“กิจกรรมบูรณาการสรา้ งสรรค์คนดี มี ปัญญา พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ พิชติ ด้วย DOKCARE Model” 2.2 เป้าหมาย ๒.๑.๑ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาตอนตน้ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ในสงั กดั สำนักงานเขต พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ ได้รบั การพัฒนาให้มีพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ตามกรอบแนวคิดโรงเรยี น คุณธรรม สพฐ. ๕ ประการและคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น ร้อยละ ๑๐๐ ๒.๑.๒ ผลสมั ฤทธก์ิ ารประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ในการประเมิน ความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ สงู ข้ึน ๒.๑.๓ รูปแบบการดำเนินงาน“กจิ กรรมบรู ณาการสรา้ งสรรคค์ นดี มีปญั ญา พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ พิชติ ด้วย DOKCARE Model” ไดร้ ับการพฒั นาต่อยอด ให้สามารถปรบั ประยุกต์ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ เพ่อื ใช้ไดก้ บั การปฏบิ ัติงานอน่ื ในด้านการพัฒนาการนเิ ทศการศึกษา 3. กระบวนการพัฒนานวตั กรรมหรอื ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน จากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ และชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีการวางแผนการปฏิบัติงาน สะท้อนผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน ที่ได้จากการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ด้านการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษาทผ่ี า่ นมา โดยใชก้ รอบแนวคดิ ทฤษฎี ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การพัฒนาคุณธรรมพื้นฐาน เพ่อื สร้างสรรค์คนดใี ห้บา้ นเมือง โดยคิดค้นกจิ กรรมที่ง่ายต่อการปฏิบัติ เอื้อตอ่ การเรยี นร้แู ละเหมาะสมตามวัยของ ผู้เรียน ที่ต้องการให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝังคุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ คือ ความพอเพียง ความกตญั ญู ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต ความรบั ผดิ ชอบ อุดมการณ์คุณธรรม มเี ป้าหมายเพอ่ื “สร้างคนดี ให้บ้านเมือง” ซึ่งคุณธรรมทั้ง ๕ ประการ จะเกิดขึ้นได้ต้องเรียนรู้และฝึกฝนผ่านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณา การ ซึ่งผู้พัฒนานวัตกรรม มีความมุ่งมั่นต้ังใจ “ส่งเสริมกิจกรรมดีที่อยากทำ นำสู่การลดปัญหาที่อยากแก้” และ จากที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมายและผู้เชี่ยวชาญ ทำให้ได้แนวคิด ทฤษฎี ที่เหมาะสมกับกระบวนการ ดำเนินงานนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี คอื “กจิ กรรมบูรณาการสร้างสรรค์คนดี มีปญั ญา พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ พิชิต ด้วย DOKCARE Model”

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยนำแนวคิดจิตศึกษาพัฒนาปัญญาภายใน ทฤษฎีเชิงระบบ (Input Process Output) มาใช้ใน กระบวนการพัฒนานวัตกรรม และใช้หลักการทำงานด้วยกระบวนการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA Deming Cycle) ในทกุ ระยะ ทุกขั้นตอนการทำงาน มขี น้ั ตอนการดำเนนิ งานดว้ ยรูปแบบ DOKCARE Model อธิบายได้ดงั นี้ รูปแบบการดำเนนิ งาน“กจิ กรรมสรา้ งสรรค์คนดี มปี ญั ญา พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ พชิ ติ ด้วย DOKCARE Model” ภาพท่ี ๑ การแสดงรปู แบบการดำเนนิ งาน“กจิ กรรมสร้างสรรคค์ นดี มีปญั ญา พฒั นาผลสัมฤทธิ์ พชิ ติ ดว้ ย DOKCARE Model”

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคัดเลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 Input (ปจั จัยนำเขา้ ) ภาพที่ ๒ การแสดงปจั จัยนำเขา้ (Input) การพฒั นานวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี จากรูปภาพที่ ๒ ผู้พัฒนานวัตกรรมได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) โดยการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ และชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีการวางแผนการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ หลกั สตู ร วิเคราะหข์ อ้ มูลพนื้ ฐานของผเู้ รียน และได้กำหนดปจั จัยนำเขา้ (Input) ดงั นี้ ๑. ผลการประเมนิ คณุ ธรรมตามกรอบแนวคดิ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ๒. ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๓. ผลการประเมินการอ่าน เขียน คิดวเิ คราะห์ ๔. ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๕. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ที่ได้จากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) ผู้พัฒนานวัตกรรมได้ เสนอ รูปแบบการดำเนินงานที่เคยนำเสนอต่อคณะกรรมการประเมินสัมฤทธ์ิผลการปฏบิ ตั ิงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เป็นการนำเสนอแนวทางการดำเนินงาน “การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไสรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)” ซึ่งผู้พัฒนานวัตกรรมมีความห่วงใยโรงเรียนในสถานการณ์ ดังกล่าว จึงมีรูปแบบการดำเนินงาน ด้วยแนวทางท่ีแสดงออกถึงความห่วงใย คือ DOKCARE Model จากจุดนี้ ที่ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) มีความเห็นสอดคลอ้ งที่ใหน้ ำ DOKCARE Model มาปรับประยุกต์ ให้สอดคลอ้ ง กับการสร้างนักเรียนดีให้บา้ นเมือง ให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝัง คุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ คือ ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ อุดมการณ์คุณธรรม จึงเกิด กระบวนการพัฒนานวตั กรรม โดยใช้ช้ันตอนการดำเนินงานดว้ ยรปู แบบ DOKCARE Model Process (กระบวนการพัฒนานวัตกรรม) ภาพที่ ๓ การแสดงกระบวนการ (Process) การพัฒนานวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี ขนั้ ตอนที่ ๑ D : Design การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการ ผา่ นเวทแี ลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากการจดั ประชมุ เชิงปฏิบัติการครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ร่วมวางแผนการดำเนินงาน วิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรยี น ที่ได้จากการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ การประเมนิ การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ด้านการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ การประเมินคุณภาพผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ (NT) ปีการศึกษาที่ผ่านมา โดยออกแบบกิจกรรมที่ง่ายต่อการ ปฏิบัติ เอื้อต่อการเรียนรู้และเหมาะสมตามวัยของผู้เรียน เพื่อให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝังคุณธรรมตามตามกรอบ แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ คือ ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ อุดมการณ์คุณธรรม ซึ่งคุณธรรมทั้ง ๕ ประการ จะเกิดขึ้นได้ต้องเรียนรู้และฝึกฝนผ่านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคัดเลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 บูรณาการที่ผู้พัฒนานวัตกรรมร่วมคิด ร่วมออกแบบมี ๕ กิจกรรมประจำวัน ได้แก่ ฝึกอ่านเขียนเรียนจากนิทาน เบิกบานสร้างสรรคง์ านศิลปะ จติ สาธารณะจติ อาสา นำพาวัสดเุ หลือใช้ผลิตส่อื ฝึกปรอื การเรียนรู้จากโครงงาน ขั้นตอนที่ ๒ O : Object กำหนดขอบข่าย ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายการพัฒนา ได้แก่ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษา ตอนต้น กำหนดกิจกรรมสร้างสรรค์คนดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ โดยผ่านการปฏิบัติกิจกรรม ๕ กิจกรรม ได้แก่ ฝกึ อ่านเขียนเรียนจากนิทาน เบิกบานสร้างสรรค์งานศิลปะ จิตสาธารณะจิตอาสา นำพาวัสดเุ หลือใชผ้ ลิตส่ือ ฝึกปรือการ เรียนรู้จากโครงงาน โดยครูผู้สอนสามารถนำไปจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการ ให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝัง คุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ได้แก่ ความพอเพียง ความกตัญญู ความ ซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ อุดมการณ์คุณธรรม และเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา และขอบข่าย ระยะเวลา ในภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ขนั้ ตอนที่ ๓ K : Knowledge รวบรวม นยิ ามความรู้ ร่วมคิด รว่ มสร้างสรรค์กิจกรรม กิจกรรมการเรยี นรู้บูรณาการ สรา้ งสรรค์คนดี มกี จิ กรรม ๕ กิจกรรมประจำวนั ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั คิ รผู สู้ อน สามารถบรู ณาการข้ามกิจกรรม ข้ามวัน ข้ามสปั ดาห์ ตามความสอดคล้องและเหมาะสม ดังน้ี กิจกรรมที่ ๑ ฝึกอ่านเขียนเรียนจากนิทาน เป็นการทำกิจกรรมที่คู่ควรและเหมาะสมกับ พัฒนาการเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นเป็นอย่างดี เมื่อเด็กได้ฝึกอ่านนิทาน แล้วฝึกเขียนตามคำบอก หรือทำ กิจกรรมเล่าเรื่องจากนิทานที่อ่าน ทำให้ได้รับการปลูกฝัง ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์สุจริต ความ รบั ผิดชอบ และอุดมการณค์ ณุ ธรรม ทไี่ ด้จากนิทานที่อา่ น และการฝึกอ่าน ฝึกเขียน กิจกรรมที่ ๒ เบกิ บานสรา้ งสรรค์งานศิลปะ เปน็ การนำกจิ กรรมศลิ ปะท่บี ูรณาการกบั ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย อาจใหผ้ เู้ รยี นฝกึ วาดภาพระบายสแี ล้วเลา่ เรื่องประกอบ ภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ อาจให้ทำวาดภาพรูปทรงต่าง ๆ หรือวาดภาพตามชอบให้ครบตามจำนวนที่ กำหนด กิจกรรมดังกล่าว สามารถปลูกฝังคุณธรรมด้านความพอเพียง ความกตัญญู ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ สจุ รติ และอดุ มการณ์คณุ ธรรม กจิ กรรมท่ี ๓ จิตสาธารณะ จิตอาสา เปน็ กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น การทำความ สะอาดห้องเรียน การเก็บขยะรอบบริเวณโรงเรียน การรดน้ำต้นไม้รอบอาคารเรียน โดยแบ่งเขตรับผิดชอบ หรือ แม้แต่ กิจกรรมเพื่อนสอนเพื่อน พี่สอนน้อง เล่านิทานให้เพื่อนพ้องน้องฟัง การจัดเก็บชั้นวางหนังสือในห้องสมุด ในมุมหนังสือภายในห้องเรียน การบีบนวดให้คุณครู ให้ญาติผู้ใหญ่ที่บ้าน เป็นต้น ทำให้ได้รับการบ่มเพาะ ปลูกฝงั คุณธรรม ทงั้ ๕ ประการ กิจกรรมที่ ๔ นำพาวัสดุเหลือใช้ผลิตสื่อ กิจกรรมนี้ ครูมอบหมายให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม เพื่อเตรียมวัสดุเหลือใช้ที่มีใกล้ตัว เช่น กล่องกระดาษใส่ของ ขวดพลาสติก ฝาขวด แก้วพลาสติก ถุงนม กล่องนม กิ่งไม้แห้งรูปทรงตา่ ง ๆ เปลือกไข่ ฯลฯ แล้วนำมารวมกัน เพื่อช่วยกันคิดผลติ ส่ือการเรยี นการสอนในกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ ตามทค่ี รผู ู้สอนไดว้ างแผนไว้ ทงั้ น้ี มีความยากง่ายตามวัยของผ้เู รียน ใหเ้ กิดเจตคติที่ดี ได้รับ การกระตุ้นส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้คู่คุณธรรม สามารถปลูกฝังคุณธรรมด้านความพอเพียง ความกตัญญู ความ รับผดิ ชอบ ความซอื่ สัตยส์ ุจริต และอุดมการณค์ ณุ ธรรม

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสริมและคัดเลอื กนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมที่ ๕ ฝึกปรือการเรียนรู้จากโครงงาน เป็นกิจกรรมท่ีกระตุ้น ส่งเสริม พัฒนา ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในลักษณะการทำงานเดี่ยว กลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ ด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลาย เชน่ โครงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์จากอาหาร โครงงานการผลิตสื่อการเรียนการสอน มีความยากง่ายเท่าที่เด็กนักเรียนจะ สามารถทำได้ ทั้งนี้ ทุกกิจกรรมโครงงาน เน้นที่ได้ฝึกการทำงานเป็นทีม เกิดทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะการสื่อสาร เกิดการเรียนรู้ รวบรวมองค์ความรู้ด้วยตนเอง ส่วนชิ้นงานหรือผลงานนั้น ให้เด็กได้แข่งขันกับตัวเอง ให้เขาได้เห็น พัฒนาการการทำงานของตนเองเป็นลำดับ กิจกรรมดังกล่าว สามารถปลูกฝังคุณธรรมด้านความพอเพียง ความ กตญั ญู ความรบั ผิดชอบ ความซือ่ สัตย์สุจรติ และอุดมการณ์คุณธรรม จากทุกกิจกรรมที่นำเสนอ ครูผู้สอน สามารถนำไปบูรณาการได้ทุกรายละเอียด เช่น เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เนื้อหา เทคนิควิธีการต่าง ๆ ทั้งนี้ ให้มีความพร้อมทั้งตัวครูผู้สอน ตัวผู้เรียน บริบทของสถานศึกษา ขอให้เริ่มจากสิ่งใกล้ตัว สิ่งเล็กน้อย แล้วค่อยขยาย นอกจากคุณลักษณะคุณธรรม ๕ ประการ ที่อยากให้เกิดแก่ ผู้เรียน ปญั ญาภายในตวั ผเู้ รยี นกม็ ีความสำคัญทีส่ มควรได้รับการบม่ เพาะ เช่นกนั ขั้นตอนที่ ๔ C : Communication การส่ือสาร สร้างความรู้ความเขา้ ใจ ระหวา่ งผู้พัฒนานวัตกรรม กับผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผูส้ อน และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อทราบวัตถุประสงค์การดำเนินงานในครั้งนี้ และทราบความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้พัฒนา นวัตกรรมที่ประสงค์ “ส่งเสริมกิจกรรมดีที่อยากทำ นำสู่การลดปัญหาที่อยากแก้” ด้วยรูปแบบการดำเนินงาน “กิจกรรมบรู ณาการสร้างสรรคค์ นดี มีปัญญา พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ พชิ ติ ดว้ ย DOKCARE Model” ขัน้ ตอนท่ี ๕ A : Action ลงมือปฏิบัติ สถานศึกษาดำเนินงานตามแผนที่ร่วมกันกำหนดไว้ โดยให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ นำกิจกรรม ๕ กิจกรรม ไปบูรณาการกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ ตามความสอดคล้องและเหมาะสม และสามารถขยายผลสู่ครูผู้สอนในระดับชั้นอื่น ๆ ที่มีความสนใจ ต้องการใช้รูปแบบการดำเนินงานนี้ จากนั้น ผู้พัฒนานวัตกรรมร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษา นิเทศ ติดตาม ให้ ข้อเสนอแนะ และประเมินการปฏิบัติงาน อย่างเป็นกัลยาณมิตร เดือนละ ๒ ครั้ง โดยใช้หลักการทำงานด้วย กระบวนการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA Deming Cycle) ในทุกขั้นตอน ทุกกิจกรรมการทำงานของการจัด กิจกรรม เพื่อให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝังคุณลักษณะตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ได้แก่ ความพอเพียง ความกตญั ญู ความซือ่ สัตย์สุจริต ความรับผดิ ชอบ และอุดมการณ์คุณธรรม ข้ันตอนท่ี ๖ R : Report รายงานผลและประชาสัมพันธ์ ผู้พัฒนานวัตกรรม รวบรวมข้อมูลผลการบ่มเพาะ ปลูกฝัง คุณธรรมให้เกิดคุณลักษณะตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ตามรูปแบบการดำเนินงาน “กิจกรรมบูรณาการสร้างสรรค์คนดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ พิชิตด้วย DOKCARE Model” ที่เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน และผลสัมฤทธ์ิการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน ในการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ ๑ และการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สรุปรายงาน ผลการดำเนนิ งาน จัดทำขอ้ มูลสารสนเทศ เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ตอ่ สาธารณะ

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขั้นตอนท่ี ๗ E : Empowerment การสร้างพลังด้านบวก จากการดำเนินงานดว้ ย รปู แบบ “กจิ กรรมสร้างสรรคค์ นดี มปี ญั ญา พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ พิชติ ด้วย DOKCARE Model” มผี ลการพัฒนาทสี่ ำคญั คอื เกดิ ปญั ญาภายใน ทั้งตวั บคุ คลและ สถานศึกษา ทำให้ตัวบุคคลและสถานศกึ ษา รบั รูศ้ ักยภาพของตนเอง สง่ ผลให้เกิดพลังภายนอก ทต่ี อ่ ยอดเปน็ รางวัล เปน็ การสรา้ งขวญั และกำลงั ใจ ทง้ั แกต่ ัวผเู้ รยี น ครู ผู้บริหาร และสถานศึกษา ดังนี้ ผเู้ รียน ไดร้ ับการปลกู ฝังให้เกดิ คณุ ลักษณะคุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ๕ ประการ (ความพอเพยี ง ความกตัญญู ความซือ่ สัตย์สุจริต ความรับผดิ ชอบ อุดมการณค์ ณุ ธรรม) เปน็ คนดี มปี ญั ญา สง่ ผลให้ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามวตั ถุประสงค์สงู ขึ้น ผูบ้ รหิ าร ครูผ้สู อน ไดร้ ับรางวลั การสง่ ผลการปฏบิ ัติงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ด้านคณุ ธรรม เข้ารบั การคดั เลือก เปน็ ตัวแทนระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ระดบั ภูมิภาค และระดับประเทศ ไดแ้ ก่ คุรุชนคนคณุ ธรรม นวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี ภาพยนตร์ส้ัน สถานศึกษา ไดร้ บั รางวลั การสง่ ผลงานด้านคุณธรรม เข้ารับการคดั เลอื ก เปน็ ตวั แทนระดบั เขต พืน้ ท่กี ารศกึ ษา ระดบั ภมู ิภาค และระดับประเทศ ได้แก่ โรงเรยี นดมี ที ่ียนื โครงงานคุณธรรม”ทำความดีถวาย ในหลวง” และทำใหโ้ รงเรียน “สง่ เสริมกจิ กรรมดีท่ีอยากทำ นำสู่การลดปัญหาที่อยากแก้” เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา มคี วามภาคภมู ิใจท่ีไดพ้ ัฒนา “นวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนด”ี โดยรูปแบบ การดำเนินงาน “กจิ กรรมบรู ณาการสร้างสรรคค์ นดี มีปญั ญา พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ พชิ ิตดว้ ย DOKCARE Model” และได้ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ Output (ผลผลิต) ภาพท่ี ๔ การแสดงผลผลติ (Output) การพัฒนานวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 4. ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชน์ทไี่ ด้รบั รปู แบบการดำเนินงาน “กิจกรรมบรู ณาการสรา้ งสรรคค์ นดี มีปัญญา พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ พชิ ติ ดว้ ย DOKCARE Model” มผี ลการพฒั นาทส่ี ำคญั คือ เกิดปญั ญาภายใน ทง้ั ตัวบคุ คลและสถานศกึ ษา ทำให้ตวั บุคคลและสถานศึกษา รบั รศู้ ักยภาพของตนเอง ส่งผลใหเ้ กดิ พลงั ภายนอก ท่ตี อ่ ยอดเปน็ รางวลั เปน็ การสร้างขวัญ และกำลงั ใจ ทั้งแก่ตวั ผ้เู รยี น ครู ผู้บรหิ าร และสถานศึกษา ดังนี้ ผ้เู รียน ไดร้ บั การปลกู ฝังให้เกดิ คณุ ธรรมตามกรอบแนวคิดคณุ ธรรม ๕ ประการ (พอเพยี ง กตัญญู ซื่อสัตย์สุจรติ รบั ผิดชอบ อุดมการณค์ ณุ ธรรม) เป็นคนดี มปี ญั ญา ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามวตั ถุประสงค์สูงขนึ้ ผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอน ไดร้ ับรางวลั การสง่ ผลการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice) ด้านคณุ ธรรม เขา้ รบั การคัดเลือก เปน็ ตวั แทนระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ระดับภมู ภิ าค และระดับประเทศ ได้แก่ คุรุชนคนคณุ ธรรม นวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี ภาพยนตร์สน้ั สถานศกึ ษา ไดร้ ับรางวัลการส่งผลงานด้านคุณธรรม เข้ารบั การคัดเลอื ก เป็นตวั แทนระดบั เขต พ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ระดบั ภูมิภาค และระดบั ประเทศ ได้แก่ โรงเรยี นดีมที ย่ี นื โครงงานคณุ ธรรม”ทำความดถี วาย ในหลวง” และทำใหโ้ รงเรียนได้รับการ “สง่ เสริมกิจกรรมดีที่อยากทำ นำสู่การลดปัญหาที่อยากแก้” เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา มีความภาคภูมใิ จทไ่ี ด้พัฒนา “นวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี” โดยรูปแบบ การดำเนินงาน “กจิ กรรมบูรณาการสรา้ งสรรค์คนดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ พชิ ิตดว้ ย DOKCARE Model” รว่ มสรา้ งสรรคค์ นดใี หบ้ า้ นเมือง และได้ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการประเมินคุณภาพผู้เรยี น การประเมินความสามารถ ด้านการอา่ น (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ และ การประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ 5. ปัจจัยความสำเรจ็ การพฒั นานวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี ด้วยรปู แบบการดำเนนิ งาน “กจิ กรรมบูรณาการสรา้ งสรรค์ คนดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ พิชิตด้วย DOKCARE Model” สิ่งสำคัญที่ช่วยให้งานประสบผลสำเร็จตาม จุดประสงค์ การดำเนนิ งานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและส่งผลตอ่ คุณภาพของนวัตกรรม คือ ๑. การส่งเสริมให้เกิดโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เขตพื้นที่การศึกษา สถานศกึ ษาเกดิ ความตระหนกั และเหน็ ความสำคัญในการ “สร้างนักเรียนดีให้บา้ นเมอื ง” ทำให้มีความกระตือรือร้น ท่ีจะสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการ พัฒนาคุณธรรม ตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ ได้แก่ ความพอพียง ความกตัญญู ความ ซ่อื สัตย์สจุ ริต ความรบั ผิดชอบ และอุดมการณค์ ณุ ธรรม ๒. การส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานตามกิจกรรม/โครงการ จาก หน่วยงานต้นสังกดั ๓. การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมนำไปใช้ ของกลุ่มเปา้ หมาย คือ สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา ทำให้การดำเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์ เกิดประโยชน์โดยองคร์ วม มีระบบ ระเบียบ รปู แบบการทำงานท่ีชัดเจน เป็นรปู ธรรมเกดิ ความเข้มแขง็ และยง่ั ยืน

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสรมิ และคดั เลอื กนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 6. บทเรียนทไ่ี ดร้ บั (Lesson Learned) สิ่งที่ค้นพบในการพัฒนาผลงานนวัตกรรม ด้วยรูปแบบการดำเนินงาน “กิจกรรมบูรณาการ สร้างสรรค์คนดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ พิชิตด้วย DOKCARE Model” ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาองค์รวม ในระดบั ทน่ี ่าพอใจ ดงั น้ี ครูผู้สอน ได้รับการพัฒนา กระตุ้น ส่งเสริมให้มีโอกาสปรับวธิ ีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ให้สอดคลอ้ ง กับการสถานการณ์ปจั จบุ ัน ผู้เรยี น ไดร้ บั การพฒั นาการเรียนรทู้ ักษะสำคญั และจำเปน็ ในการดำเนินชวี ติ ในศตวรรษท่ี ๒๑ สถานศึกษา มแี นวทางพัฒนาการศกึ ษาอย่างเปน็ รูปธรรมและเกิดความยัง่ ยืน เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ได้ข้อมูล สารสนเทศ เพอ่ื นำมาวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ใหม้ ีการเรียนร้รู อบด้านอย่างเข้มแขง็ และย่งั ยนื 7. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ทไ่ี ด้รบั การเผยแพร่นวัตกรรมและรางวัลที่ได้รับ ข้าพเจ้า นางสาวพลอยนภัส ทัศนพงษ์ ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ไดรับมอบหมายให้รับผิดชอบกลุ่มงานวดั และประเมินผลการศึกษา รับผิดชอบกล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ และได้รับมอบหมายให้รับผดิ ชอบงานนโยบาย คือ งานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. งานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ จากการปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ การปฏบิ ัติงานเปน็ ระบบ มีแบบแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนา งาน จึงทำใหผ้ ู้พัฒนานวตั กรรม คดิ คน้ รูปแบบการดำเนนิ งานดา้ นการนิเทศการศึกษา ด้วย DOKCARE Model โดย ได้ใช้ในการพัฒนางานตามภาระหนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย อยา่ งเตม็ กำลงั ความสามารถ ได้พัฒนาการนเิ ทศการศึกษา เชิงบูรณาการในศูนย์เครือข่ายที่รับผิดชอบ และได้เผยแพร่นวัตกรรมการดำเนินงาน การพัฒนาการนิเทศ ใน กจิ กรรมของโรงเรียนวถิ ีพุทธ โดยรปู แบบการดำเนินงาน ดว้ ย DOKCARE Model ไดแ้ ก่ กิจกรรมท่ี ๑ หมนั่ สวดมนตท์ ำวตั รเย็น เป็นนิจ จติ แจ่มใส หา่ งไกลอบายมขุ กจิ กรรมท่ี ๒ ศิลปะธรรมนอ้ มนำจิต พิชิตกาย หา่ งไกลอบายมขุ กิจกรรมที่ ๓ โครงงานคุณธรรม นำพาลด ละ เลกิ อบายมขุ นเิ ทศเชงิ รุกด้วย DOKCARE Model จากการเผยแพร่ การนำนวัตกรรมรูปแบบการดำเนนิ งานการนิเทศ ด้วย DOKCARE Model ในกจิ กรรม ตามโครงการโรงเรยี นวิถีพทุ ธ ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาท่ีไดร้ ับผิดชอบ จึงส่งผลงานเขา้ รบั การคดั เลอื กโครงการ “ครดู ีไม่มอี บายมุข” และส่งรายงานผลการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เพอ่ื รบั เคร่อื งหมายเชิดชูเกียรติ “คุรสุ ดุดี” จนไดร้ บั ทีภ่ าคภมู ิใจ คือ รางวลั “โล่ประกาศเกยี รติคณุ ครดุ ไี มม่ ีอบายมขุ ” ปีท่ี ๙ ประเภท บคุ ลากรทางการศกึ ษา รางวลั เครอ่ื งหมายเชิดชูเกยี รติ “ครุ ุสดดุ ี” ประจำปี ๒๕๖๒ จากผลการเผยแพร่และเป็นที่ยอมรับ ผู้พัฒนานวัตกรรมได้นำรูปแบบการดำเนินงานการนิเทศ ด้วย DOKCARE Model มาปรับปรุง ประยุกต์ ริเริ่มสร้างสรรค์ นำมาใช้ในงานวัดและประเมินผลการศึกษา โดย นำเสนอต่อคณะกรรมการประเมินสัมฤทธิ์ผลการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการนำเสนอแนวทางการ ดำเนินงาน “การวัดและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้ ในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไสรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)” ซึ่งผู้พัฒนานวตั กรรมมคี วามหว่ งใยโรงเรยี นในสถานการณ์ดงั กล่าว จึงมีรูปแบบการดำเนินงาน ด้วย

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แนวทางที่แสดงออกถึงความห่วงใย คือ DOKCARE Model จากจุดนี้ ผู้พัฒนานวัตกรรมได้นำเสนอในที่ประชุม แลกเปล่ียนเรียนรู้ (PLC) มีความเห็นสอดคล้องที่ให้นำ DOKCARE Model มาปรับประยุกต์ ริเริ่มสร้างสรรค์ ให้ สอดคล้องกับ “การสร้างนักเรียนดีให้บ้านเมือง” ให้เกิดการบ่มเพาะ ปลูกฝัง คุณธรรมตามกรอบแนวคิดโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ คือ ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ อุดมการณ์ คุณธรรม จงึ เกิดกระบวนการพฒั นานวตั กรรม สร้างสรรค์คนดี ดว้ ย “กิจกรรมบูรณาการสรา้ งสรรค์คนดี มปี ัญญา พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ พิชติ ด้วย DOKCARE Model” นอกจากน้ี การดำเนนิ งานรูปแบบการนิเทศ ด้วย “กจิ กรรมบูรณาการสร้างสรรคค์ นดี มีปัญญา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ พิชิตด้วย DOKCARE Model” ไปใช้ในบ่มเพาะ ปลูกฝังคุณธรรม ให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ ตามกรอบแนวคดิ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ๕ ประการ คือ ความพอเพียง ความกตัญญู ความซือ่ สตั ย์สุจรติ ความรับผิดชอบ และอุดมการณ์คุณธรรม ทำให้โรงเรียนมีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ที่สามารถ ตอบโจทย์การปฏิบตั ิงานเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรียน คณุ ภาพการศกึ ษา ต่อสาธารณะได้อย่างม่นั ใจ 8. เง่ือนไขความสำเรจ็ ด้วยความมุ่งม่ันต้ังใจ ทุ่มเท เสียสละ และอุดมการณ์ การดำเนินงานการพัฒนารูปแบบการนเิ ทศ คอื เงือ่ นไขความสำเร็จ ผพู้ ัฒนานวัตกรรม มีความมงุ่ ม่ันพฒั นางานการนิเทศการศึกษา ใหเ้ ป็นระบบ มีรูปแบบการ ดำเนนิ งานทชี่ ดั เจน ตรวจสอบได้ และสามารถพฒั นาตนเองให้เกดิ สมรรถนะตามสายงาน พรอ้ มท่ีจะพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนการสอน คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาที่ตนรับผิดชอบ พร้อมนี้ ผู้พัฒนานวัตกรรมได้มีแนวคิด แนวทาง นำกรอบแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาปรับปรุง ประยุกต์ ริเริ่ม สร้างสรรค์ ต่อยอดนวัตกรรม ให้ เกิดประสิทธิภาพนด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม โดยใช้แนวทางดำเนินงานด้วยรูปแบบ “DOKCARE Model” เช่น “การพัฒนารูปแบบการนิเทศ เพื่อส่งเสริมการการจัดการเรียนรู้ สู่การพัฒนาทักษะชีวิต เป็น กลั ยาณมิตรด้วย DOKCARE Model” “การส่งเสริมจัดการศึกษาแนวพุทธด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แอบอิง การนิเทศรูปแบบ DOKCARE Model”

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564