Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและทฤษฎีบุคลิกภาพ

เรื่องที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและทฤษฎีบุคลิกภาพ

Published by so.kanthana, 2020-06-13 06:16:15

Description: เรื่องที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและทฤษฎีบุคลิกภาพ

Search

Read the Text Version

วชิ าการพฒั นาบุคลิกภาพนักขาย (20202-2008)



ความรูเ้ กีย่ วกับจิตวทิ ยาและทฤษฎบี คุ ลิกภาพ จติ วิทยา ทฤษฎบี ุคลิกภาพ แนว ิคด (Psychology) (Personality theory)

จติ วิทยา (Psychology) Psyche Logos แนว ิคด วิญญาณ การศกึ ษา หรอื จติ ใจ หรือ การค้นหาความรู้

จิตวิทยา (Psychology) จิตวิทยา แนวคิด การศกึ ษาเกยี่ วกบั สาเหตุทท่ี าให้มนุษยม์ ีพฤตกิ รรมที่แตกต่าง กนั ออกไป เปน็ ลักษณะเฉพาะทีป่ รากฎตัวออกมาใหเ้ หน็ ของแต่ละ บุคคล ร่างกาย พฤติกรรมเกิดจาก การกระทาของรา่ งกาย จติ ใจ การกระทาของจิตใจ เกิดจากการส่งั การของจิต

แนวคิดเก่ยี วกับจติ วทิ ยา จิตวิทยา แนว ิคด จติ วิเคราะห์ โครงสรา้ งนยิ ม หน้าท่นี ิยม พฤติกรรมนิยม เกสตลั ท์

1. จติ วทิ ยากลุ่มโครงสรา้ งนิยม ผนู้ าของกลุ่ม แนว ิคด วิลเฮลม็ แมกซ์ วุนดท์ วลิ เฮลม็ แมกซ์ วนุ ดท์ ได้รับสมญานามวา่ บดิ าแหง่ จติ วิทยาการทดลอง กลมุ่ แรกทท่ี าใหจ้ ิตวทิ ยาเป็น วทิ ยาศาสตร์

1. จิตวทิ ยากลุม่ โครงสรา้ งนิยม การสัมผัส การทางานของ ธาตทุ างจิต ประสาทสัมผัสทัง้ 5 (Mind) จิต ิวทยา ความร้สู กึ การตคี วามหมาย แนวคิด การประมวลผล จินตนาการ การคิดวิเคราะห์ การจดจาจากประสบการณ์

2. จิตวิทยากล่มุ หน้าที่นยิ ม ิจตวิทยา แนว ิคด ผนู้ าของกลมุ่ จอห์น ดวิ อี้ การคิดของมนษุ ยม์ ุ่งเพอ่ื การแกป้ ัญหา เพ่อื ลดความเครียดและความขดั แย้ง ทเี่ กดิ ขึน้ และเชอื่ ว่า ประสบการณ์ จอห์น ดวิ อ้ี เป็นสง่ิ ทท่ี าใหม้ นษุ ยป์ รบั ตัวต่อสงิ่ แวดลอ้ ม

2. จติ วิทยากลุ่มหนา้ ทีน่ ิยม จิตวิทยา ประสบการณ์ปฐมภมู ิ เป็นประสบการณท์ ีย่ งั ไมเ่ ปน็ แนว ิคด ความรู้ เป็นการกระทาทเี่ ปลี่ยนแปลงระหวา่ งอินทรียแ์ ละ สภาพแวดล้อม ประสบการณท์ ุติยภูมิ เปน็ ประสบการณ์ทเี่ ปน็ ความรู้ ท่ผี ่านกระบวนการคิดไตรต่ รองมาแลว้

3. จติ วิทยากลมุ่ พฤตกิ รรมนิยม แนว ิคด ผู้นาของกลมุ่ จอหน์ บี. วัตสนั ได้รบั สมญานามวา่ บิดาแห่งจิตวิทยาอเมริกัน จอหน์ บี วตั สนั บดิ าแหง่ พฤติกรรมศาสตร์ บดิ าแหง่ จิตวทิ ยาสมัยใหม่

3. จิตวิทยากลุม่ พฤติกรรมนยิ ม พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกมานั้น เกิดมาจากการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ แนว ิคด การวางเงอ่ี นไขแบบคลาสสิค ของ อีแวน พี.พาฟลอฟ อีแวน พี.พาฟลอฟ (Ivan P. Pvalov)

3. จิตวิทยากลุ่มพฤตกิ รรมนยิ ม ิจต ิวทยา พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกมานนั้ แนว ิคด เกิดมาจากการตอบสนองต่อสงิ่ เร้า การวางเงีอ่ นไขแบบคลาสสิค ของ อแี วน พ.ี พาฟลอฟ (Ivan P. Pvalov)

3. จิตวทิ ยากลุม่ พฤตกิ รรมนยิ ม การวางเงื่อนไข การลบความกลวั ิจต ิวทยา แนว ิคด

4. จติ วทิ ยากลุ่มเกสตลั ท์ กลุ่มโครงส ้ราง ินยม แมกซ์ เวอรไ์ ทเมอร์ แนว ิคด เคริ ท์ คอฟฟก์ า วอลฟ์ แกง โคเลอร์ เคอรท์ เลอวิน

4. จติ วิทยากล่มุ เกสตัลท์ ิจตวิทยา การเรียนรเู้ กิดได้ 2 ลกั ษณะ แนวคิด 1. การรบั รู้ 2. การหยัง่ เห็น

4. จิตวิทยากลุ่มเกสตลั ท์ กลุ่มโครงส ้ราง ินยม การรับรู้ แนว ิคด เปน็ การแสดงปฎกิ ริ ยิ าตอบสนองออกไป โดยใชป้ ระสบการณเ์ ดมิ ในการตคี วามหมาย

4. จติ วทิ ยากลมุ่ เกสตลั ท์ กลุ่มโครงส ้ราง ินยม การหยง่ั เหน็ แนว ิคด เปน็ การเกดิ ความคิดครั้งแรกแลว้ พบวธิ ีแก้ไขปญั หาอย่าง ฉบั พลนั ในขณะท่ีเจอปญั หาโดยใช้ประสบการณ์ท่ีสง่ั สมไว้

5. จิตวทิ ยากลุม่ จิตวิเคราะห์ จิต ิวทยา แนวคิด ซิกมันด์ ฟรอยด์ บดิ าแหง่ จิตวทิ ยา

5. จิตวทิ ยากลมุ่ จติ วเิ คราะห์ จิต ิวทยา แนวคิด จิตสานึก จติ กง่ึ รู้สานกึ จิตไร้สานกึ ภาวะจติ ท่ีระลึกได้ ภาวะจิตท่รี ะลกึ ได้ ภาวะจิตที่ระลกึ ไมไ่ ด้ และแสดงออก เปน็ สง่ิ ท่รี ูต้ ัว อาจจะ อาจแสดงพฤติกรรม ตามหลกั ความจริง แสดงออกหรอื ไม่ก็ได้ ทีพ่ ล้ังเผลอออกมา

บทสรุป จิตวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างกันซึ่ง พฤติกรรมท่ีแสดงออกมาข้ึนอยู่กับสิ่งเร้าท่ีอยู่รอบข้าง เมื่อมีเหตุการณ์ เกิดข้ึนแล้วก็จะทาให้เกิดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จาก กระบวนการความคิดของแต่ละบุคคล ซ่ึงการศึกษาเหล่าน้ีจะช่วยให้ มนษุ ยเ์ กิดความเขา้ ใจพฤตกิ รรมของบคุ คล

แบบทดสอบ ความรูเ้ กย่ี วกบั จติ วิทยาและ ทฤษฎีบคุ ลิกภาพ คาชี้แจง จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ตอ้ งท่สี ุดเพียงข้อเดียว FGST freegoogleslidestemplates.com

1.ทฤษฎบี คุ ลิกภาพ ข้อใดถกู ตอ้ งทีส่ ุด ก. เพือ่ เป็นประโยชน์ในการแต่งกายใหเ้ หมาะสม ข. บคุ ลกิ ภาพมคี วามสาคญั ต่อการประกอบอาชีพ ค. แนวทางที่นักจิตวิทยาใชใ้ นการอธิบายและปฏบิ ัติ ง. บุคลิกภาพมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตและ กอ่ ให้เกดิ ความสมั พันธท์ ด่ี ี ง. บคุ ลกิ ภาพมีความสาคัญตอ่ การดารงชีวิตและก่อใหเ้ กดิ ความสมั พันธ์ท่ีดี

2. จติ วิทยากลมุ่ พฤติกรรมนิยม เกี่ยวขอ้ งกบั แขนงใด ก. วทิ ยาศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ ค. สงั คมศาสตร์ ง. นเิ ทศศาสตร์ ก. วิทยาศาสตร์

3. องค์ประกอบท่ีสาคัญของจิตในส่วนทีล่ ึกเรียกวา่ อยา่ งไร ก. จติ สานึก ข. จติ ไม่ปกติ ค. จติ ไรส้ านกึ ง. จิตก่งึ รู้สานึก ก. จติ สานกึ

4. ข้อใดเป็นความเช่ือของซกิ มนั ด์ ฟรอยด์ ก. พฤตกิ รรมของมนุษยเ์ ป็นการบรู ณาการ ข. มนษุ ยจ์ ะตอ้ งมกี ารปรบั ตัวให้เขา้ กับสิ่งแวดลอ้ ม ค. มนุษย์มีองค์ประกอบ 2 อย่าง คือ ร่างกายและ จติ ใจ ง. จิตคนเรา มี 3 ส่วน คือ จิตสานึก จิตก่ึงรู้สานึก และจิตไร้สานกึ ง. จติ คนเรา มี 3 ส่วน คอื จิตสานกึ จติ กง่ึ รสู้ านึก และจิตไรส้ านึก

5. การศกึ ษา พฤติกรรมจะตอ้ งศกึ ษาลกั ษณะของบคุ คลเปน็ สว่ นรวม จะศึกษาแยกทีละสว่ นไม่ได้ เกีย่ วขอ้ งกบั จติ วิทยากลมุ่ ใด ก. จิตวทิ ยากลมุ่ เกสตัลท์ ข. จติ วทิ ยากลุม่ หนา้ ทนี่ ยิ ม ค. จิตวิทยากลุ่มโครงสร้างนิยม ง. จติ วทิ ยากล่มุ พฤตกิ รรมนยิ ม ก. จติ วิทยากลุ่มเกสตัลท์

6. ทฤษฎีจิตวทิ ยาบคุ ลิกภาพ (ร้เู รา ร้เู ขา) เปน็ ของใคร ก. ทศิ นา แขมมณี ข. สมบตั ิ กาญจนกิจ ค. ประสทิ ธ์ิ เพยี งเวยี งคา ง. รศ. ดร. ศรเี รอื น แก้วกงั วาล ง. รศ. ดร. ศรเี รือน แกว้ กังวาล

7. Psychology หมายถึงขอ้ ใด ก. จติ วทิ ยา ข. สงั คมศาสตร์ ค. วทิ ยาศาสตร์ ง. นเิ ทศศาสตร์ ก. จิตวทิ ยา

8. ทฤษฎจี ิตวเิ คราะห์เปน็ ของนกั จติ วิทยาขอ้ ใด ก. โรเจอร์ ข. มาสโลว์ ค. อีริค อีรคิ สัน ง. ซกิ มันด์ ฟรอยด์ ง. ซกิ มนั ด์ ฟรอยด์

9. การศึกษาทฤษฎีบุคลิกภาพ ทาให้ทราบเกี่ยวกบั ส่ิงใด ก. บุคลิกภาพของแตล่ ะคนมีความเหมือนกนั ข. บุคลกิ ภาพของแต่ละคนมคี วามแตกต่างกัน ค. บคุ คลไมส่ ามารถพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองได้ ง. บุคลกิ ภาพไมม่ ีความสาคัญตอ่ การประกอบอาชพี ข. บคุ ลกิ ภาพของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน

10. ข้อใดเปน็ ลักษณะที่เนน้ การศึกษาหน้าทที่ ่สี าคัญของจติ เนอ้ื หาทีศ่ กึ ษา ว่าด้วยเรือ่ ง การปรบั ตัว โดยมจี ุดมุ่งหมายสาคัญคือ การปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับ สภาพแวดลอ้ ม มุ่งค้นควา้ ให้พบคาตอบ ก. จติ วทิ ยากลุ่มเกสตัลท์ ข. จติ วทิ ยากลมุ่ หน้าที่นิยม ค. จิตวิทยากลุ่มโครงสร้างนยิ ม ง. จติ วทิ ยากลุม่ พฤตกิ รรมนิยม ข. จิตวทิ ยากลมุ่ หน้าทีน่ ยิ ม

ติดตอ่ กลับครูผู้สอน เบอร์โทร. 064-958-8929 กญั ญณฎั ฐ์ บวั งาม 064-958-8929 [email protected] นางสาวกญั ญณัฎฐ์ บวั งาม ดาวน์โหลดเอกสารไดท้ ี่ Link http://gg.gg/jkrvu หรือแสกน QR Code