Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม

ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม

Published by Guset User, 2021-11-24 08:17:15

Description: ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม

Search

Read the Text Version

ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม จังหวัดยะลา ท่ี รายการผลิตภัณฑ์ / ผูป้ ระกอบการ ภมู หิ ลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภณั ฑ์ ภาพประกอบ ๑. ช่อื ผลิตภณั ฑ์ : บือแนบาตกิ ภูมิหลัง บาติก เป็นภาษาชวา ซึ่งแปลว่า ผ้าท่ี วัสดุและอุปกรณ์ : ผ้าขาว จันติ้ง บล็อกไม้ สถานท่ผี ลิต : ๑๒/๔ ม.๔ ต.บดุ ี มีลวดเป็นจุด ๆ การนำเอาเทคนิคดั้งเดิมของ พกู นั นำ้ ยาโซเดยี ม ซิลเิ กต เฟรมไม้ เทียนขาว อ.เมือง จ.ยะลา ๙๕๐๐๐ อินโดนีเซียมาพัฒนาเป็นบาติกที่มีความ ขั้นตอนในการทำ : นำเทียนท่ีเตรียมไว้ไปต้ม ผู้ดำเนนิ งาน : นายปรญิ ญา ยอื ราน หลากหลายของเทคนิค ที่มีสีสันงดงาม โดยมี ให้ละลาย ให้มีความร้อนพอเหมาะ ขึงผ้าท่ี Phone on : ๐๘๙-๔๖๓-๒๔๐๘ จุดเด่นคือใช้สีจากธรรมชาติ เช่น ใบมังคุด ใบ เตรียมไว้กับโต๊ะบล็อกไมห้ รือเฟรมไม้ นำจันต้ิง Line id : ๐๘๙๔๖๓๒๔๐๘ หูกวาง ใบคราม เป็นต้น มาสกัดให้เป็นสีเพื่อ ไปจุ่มตักเทียนแล้วเขียนวาดพิมพ์ ตามแบบท่ี Facebook : prinya yaran แต่งแต้มลงบนผืนผ้า เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ตอ้ งการ เม่ือเทยี นแหง้ แล้วจากนัน้ มาลงสี เมื่อ เพจ : บือแนบาตกิ ดีต่อสขุ ภาพผูส้ วมใส่ และทสี่ ำคัญคือใช้วัตถุดิบ สีแห้งนำมาเคลือบด้วยน้ำยาโซเดียมซิลิเกต ที่มีในชุมชน จึงเป็นการแปรรูปที่เป็นมิตรต่อ ประมาณ ๓-๔ ชั่วโมง แล้วนำมาล้างและต้ม สิ่งแวดล้อมถ่ายทอดความงดงาม บนผืนผ้า เพื่อให้เทียนออก จากนั้นนำไปตากแดดผึ่งให้ ผา่ นกลุ่มมอื แนบาติก จากรุน่ สูร่ ุ่นตอ่ ไป แห้งเป็นอันว่าเสร็จ สามารถนำไปแปรรูปได้ แรงบันดาลใจ อันสืบเนื่องมาจากสภาพชุมชน ตามต้องการ มีที่อยู่อาศัยตามเขตชายป่าธรรมชาติ มีต้นไม้ ประโยชน์ใชส้ อย : ใช้ทำเป็นเครื่องแต่งกาย มากมายหลายชนิด โดยเฉพาะต้นมังคุดที่อยู่ เชน่ นำไปตัดเป็นเสอ้ื เชิ้ต ตดั ชดุ เดรส กระโปรง หลังบ้านผู้ประกอบการเกิดแรงบันดาลใจว่า ผา้ คลุม กระเป๋าสะพาย กระเปา๋ ใส่ดนิ สอ เราน่าจะทำผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม ที่ใช้สีจาก เปน็ ต้น ธรรมชาติดูบ้างจะได้รักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้ ช่วยกันเก็บใบมังคุด ใบหูกวาง มาสับ มาต้ม สกัดออกมาเป็นสี สีที่ออกมาคือได้สีทสี่ วย เลย ทำผ ้าบาติกแล ะผ ้ามัดย้อมจากส ีธ รรม ช า ติ อย่างต่อเนือ่ ง

ที่ รายการผลิตภัณฑ์ / ผู้ประกอบการ ภมู ิหลงั / แรงบนั ดาลใจ ขั้นตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลติ ภณั ฑ์ ภาพประกอบ ๒. ชอื่ ผลติ ภณั ฑ์ : ลูกหวือ ภูมิหลัง ความงดงามของวัสดุที่ได้จาก วัสดุและอุปกรณ์ :๑. เมล็ดยางพารา ๒. ไม้ สถานทผ่ี ลติ : ๑๒ ซอย ๕ จบิ อทุ ิศ ต. ธรรมชาติในท้องถิ่นภาคใต้อาทิเช่น เมล็ด เสียบลูกชิ้น ๓.ไม้ไอติม ๔. เชือกด้านไนล่อน สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา ยางพารา เปลือกลูกยาง เมล็ดหมากฯ เม่ือ ๕. หลอดลูกโป่ง ๖. ลูกปัดไม้ ๗. สี, ปากกา ผดู้ ำเนนิ งาน : นายภญิ โญ พูลภิญโญ นำมาประดิษฐ์ชิ้นงานเป็นของเล่น ของใช้ของ เคมี, กาวรอ้ น Phone on : ๐๘๗ ๔๗๗ ๖๗๓๔ ตกแต่งบ้าน โดยใช้ภูมิปัญญาที่รวมทั้งศาสตร์ ขั้นตอนในการทำ : ๑. นำลูกยางพารามาแกะ และศิลป์เกิดเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ที่ได้สบื เอาเปลอื กออก แล้วนำเมลด็ ยางพารามาเจาะรู สานวัฒนธรรม ซึ่งเป็นมรดกทางปัญญาของ ๓ รู แล้วควักเนื้อออกให้หมด ๒. นำไม้ไอติมท่ี บรรพบุรุษมาถึงรุ่นลูกหลาน ทำให้ผลิตภัณฑ์มี จะทำใบพัดมาเจาะรูตรงกลาง และทาสีให้ คุณค่าทางจิตใจต่อผพู้ บเหน็ สวยงาม ๓. นำเชือกมาผูกกับไม้เสียบลูกชิ้น แรงบันดาลใจ ลูกหวอื เป็นชอ่ื ของเลน่ เด็กทาง ตรงกึ่งกลางไม้ หมุนไม้ลูกชิ้นให้เชือกด้านพัน ภาคใต้ที่บรรพบุรุษได้เริ่มต้นและถ่ายทอด ติดกับไม้เสียบลูกชิ้น สอดไม้เสียบลูกชิ้นเข้าใน ความรู้ไว้มากกว่าร้อยปี เป็นของเล่นเชิงพหุ ลูกยางพาราจากบนลงล่างใช้คีมเล็กคีบปลาย วฒั นธรรมทส่ี ่งเสริมสุขภาพ พัฒนาสมอง ผ่อน เชอื กใหอ้ อกจากรลู ูกยางทีเ่ จาะไว้ตรงกลาง ดึง คลาย ฝึกสมาธิแก่ผูเ้ ล่น ใช้เมล็ดยางพารา (ลูก เชือกออกมาผูกปลายอีกด้านกับห่วงเล็ก ๆ ยาง) และไม้ไผ่ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติในท้องถ่ิน สำหรับจับดึง ๔. ประกอบใบพัดเข้าด้านบน เป็นส่วนประกอบสำคัญ ลูกหวือจึงนับเป็นภูมิ ของไม้เสียบลูกชิ้นหยอดกาวร้อนใหแ้ น่น หมุน ปัญญาชาวบ้านที่ใช้ศาสตร์ และ ศ ิล ป์ ไมล้ ูกช้นิ ให้เชือกม้วนเข้าในลูกยางพารา จับดึง ประสบการณ์มาสบื สานเป็นของเลน่ ย้อนยุคทำ จนใบพดั หมนุ กลบั มา ให้เกิดคุณค่าทางจิตใจของเด็ก ๆ และผู้พบ ประโยชน์ใช้สอย : ๑. เป็นของเล่นเด็ก ฝึก เห็นอย่างมาก จึงเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้ สมาธิเด็ก ๒.เป็นเครื่องเล่นเชิงคุณภาพ ผ่อน ประดษิ ฐแ์ ละเผยแพร่ “ลูกหวือ” คลาย ๓.ใช้เป็นของฝาก ของที่ระลึก ของ ตกแต่งบ้าน

ท่ี รายการผลติ ภณั ฑ์ / ผู้ประกอบการ ภมู หิ ลัง / แรงบนั ดาลใจ ขั้นตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ภาพประกอบ ๓. ชือ่ ผลติ ภณั ฑ์ : สีมายา ภูมิหลัง ชุมชนตำบลหน้าถ้ำเป็นแหล่ง วสั ดุและอปุ กรณ์ : อุปกรณใ์ นการผลิตมีหลาย สถานที่ผลิต : ๑๓๖ ม.๑ อ.เมอื ง ท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดยะลา นอกจากมี อย่าง เช่น ดินมายา, ใบมังคุด, ใบหูกวาง, จ.ยะลา (อาคารโรงนำ้ ชมุ ชนตำบลหนา้ โบราณสถานและโบราณวัตถุมานับตั้งแต่ยุค พงั ราชพฤกษ,์ เกลือแกง, นำ้ ด่าง, สารส้ม ถ้ำ) อาณาจักรศรีวิชัยแล้ว ยังมีของดีคือ ดินมายา ขั้นตอนในการทำ : ขั้นตอนแรกสุด คือ การ ผูด้ ำเนนิ งาน : กลุม่ สีมายา จากภูเขาถ้ำ ภูเขากำปั่น ในหมู่บ้านชาวบ้าน คัดเลือกผ้า ที่สามารถย้อมสีธรรมชาติติดทน Phone on : ๐๘๑ ๓๖๘ ๖๓๐๐ เรียก ขี้มายา นำมาทำปุ๋ยของชาวนา ใน ๓ นาน ส่วนใหญ่จะเป็นผ้าฝ้ายดิบ ผา้ ไหม Facebook : กลุ่มสีมายา หน้าถำ้ จังหวัดภาคใต้ จากวิถแี ละภูมิปัญญาพื้นถิน่ จน ขั้นตอนการทำผ้าสีมายา ๑. ตัดผ้าตาม มีการวิจัยและพัฒนา นำดินมายาหรือขี้มายา ต้องการ ๑ หลา ๒ หลา ๒ หลาครึ่ง หรือตาม ทำเป็นสีย้อมผ้า ทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้ได้สี ลักษณะของเนื้องานแต่ละผลิตภัณฑ์ ๒. นำผ้า สวยงาม มีความโดดเด่นเป็นธรรมชาติ เป็น ไปซักน้ำให้สะอาด ไม่มีแป้งที่ติดผ้า ไม่มีคราบ อัตลักษณ์ของชุมชนและเป็นเอกลักษณ์ของ ไขมนั ๓. ผ่งึ ผ้าในทรี่ ่มให้แห้ง ๔. นำมามัดลาย จงั หวัดยะลา พับลาย ตามลายที่ต้องการ เช่น ลายต้นไผ่ แรงบันดาลใจ สืบเนื่องมาจาก ดินมายา เป็น ลายใยแมงมมุ ลายใบบวั ฯลฯ ๕. พับลายแลว้ ดินที่มีคุณค่าทางจิตใจต่อคนหน้าถ้ำมากมาย เตรียมลงย้อมสีธรรมชาติ (สีจะต้องเตรียมไว้ ชาวบ้านยังยึดม่นั ในคุณคา่ ของดินมายา เพราะ เรยี บร้อยอยา่ งน้อย ๒-๓ วนั เปน็ ดินทีท่ ำให้คนหน้าถำ้ มีข้าวกนิ มีความอยู่ดี วธิ ีการย้อม ๑. นำผา้ ท่ีตอ้ งการย้อม แชใ่ นดา่ ง กินดี มีรายได้มีอาชีพ อาชีพขายขี้มายาสร้าง ๑๕ นาที ๒. นำผ้าท่ีแชน่ ้ำดา่ งแลว้ มาแช่ในน้ำ รายได้ให้กับคนในชุมชนมากมาย เพราะต้อง สีที่เตรียมไว้ ๑๕ นาทีหรือมากกว่า (ย้อมร้อน นำดินมายาไปใช้เป็นปุ๋ยในการปลูกข้าวทำนา หรือเย็นแล้วแต่ต้องการ) ๓. นำผ้าขึ้นมาแช่ ของคนในสามจังหวัดชายแดนใต้ แต่ปัจจุบัน สารส้ม ๑๕ นาที ๔. นำผ้าไปล้างให้สะอาด ดินมายาเป็นอดีตไปแล้ว ถึงเวลาแล้วที่จะต้อง มากที่สุดประมาณ ๕-๑๐ ครั้งขึ้นไป ๕. นำผ้า พลิกฟื้นให้กลุ่มผ้าดินมายากลับมามีชีวิตอีก ทแ่ี ห้งแลว้ มาแก้มัดทผี่ ูกพบั ลวดลายไว้ ครั้ง

ท่ี รายการผลติ ภณั ฑ์ / ผู้ประกอบการ ภูมิหลงั / แรงบันดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ภาพประกอบ แสดงเอกลักษณ์ตัวตนของตนเองให้สมกับเคย 5. นำผ้าไปผึ่งแดดให้แห้ง จะได้ผ้าสีธรรมชาติ เป็นดินที่มีคุณค่า สร้างชีวิต สร้างวิถี ให้กับคน ตามตอ้ งการ หน้าถ้ำ จึงรวมตัวกันคิดค้นนำดินมายาท่ี ขัน้ การตรวจสอบ ทรงคณุ คา่ มาเพิ่มมูลค่าให้เหมาะสมกับยุคสมัย ตรวจดูความเรียบร้อย ความคิดของสี แน่น โดยมาในรปู ของผลติ ภัณฑส์ มี ายา หรือไม่ ถ้าไม่สวยพอจะต้องย้อมใหม่ ครั้งที่ ๒ เมือ่ ได้ผ้าทตี่ รวจสอบแล้ว ผ้าทุกชิน้ จะต้องผ่าน การรีด เรียบร้อย พร้อมที่จะจำหน่าย หรือจะ นำไปทำผลิตภัณฑ์ สีมายา เช่น ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ ผ้าชิ้น ผ้าผูกผม ผ้าเช็ดหน้า ผ้า สำหรบั ตัดเยบ็ กระเปา๋ ทุกชนดิ ฯลฯ ประโยชน์ใช้สอย : ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม เครื่อง แต่งกาย เป็นของใช้ที่ทำมาจากผ้า ที่มี เอกลกั ษณ์โดดเดน่ เป็นอัตลกั ษณ์ของท้องถ่นิ ๔. ชื่อผลติ ภณั ฑ์ : ผลติ ภัณฑย์ างพารา ภูมิหลัง ชุมชนตำบลตาชีจากตำนาน เป็น วัสดุและอุปกรณ์ : เครื่องชั่ง เครื่องจักร แบบ สถานที่ผลติ : ๖๕ ม.๑ ต.ตารี อ.เมอื ง หมบู่ ้านท่ตี ้งั อยู่บรเิ วณเชิงเขาและเป็นที่ราบสูง พิมพ์ ยาง สารเคมี จ.ยะลา มีอาชีพหลกั คือ กรีดยางพารา หลังสงครามโลก ขั้นตอนในการทำ : 1. การเตรียมเคร่ืองมือใน ผู้ดำเนินงาน : นางวรรลัดดา พรหมรขุ ครั้งที่ ๒ ชาวตาชีนิยมใช้รถจิ๊บในการขนส่ง การผลิต เครื่องช่ัง เครื่องจักร แบบพิมพ์ต้อง Phone on : ๐๘๗ ๒๙๘ ๓๔๑๕, ผลผลิตทางการเกษตร ถือเป็นมรดกรุ่นสู่รุ่นมา พร้อม 2.การเตรียมวัตถุดิบ ยาง และสารเคมี ๐๗๓ ๒๗๑๓๐๙ โดยตลอด ทำให้มีแนวคิดนวัตกรรมจาก ผสมยางต้องได้ตามสูตร 3.การผสมยางและ Facebook : เกษตรทำสวนยางพารา ยางพาราขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าในการแปรรูป ซ่ึง สารเคมีต้องผ่านตามคุณสมบัติที่กำหนด ตาซี มาจากวัตถุดิบจากชุมชนที่มีคุณภาพสูง และ 4.การก่อขึ้นรูปต้องให้ได้ผลผลิตภัณฑ์ตาม เพจ : www.fb.me/tacheerubber เนื้อยางมีความยืดหยุ่นดีกว่าที่อื่น ตามวิถี รูปแบบที่กำหนด (ลูกมะเฟือง) 5.ตรวจสอบ และแพค็ สง่ ขายตอ่ ไป

ที่ รายการผลติ ภัณฑ์ / ผูป้ ระกอบการ ภูมิหลงั / แรงบันดาลใจ ข้ันตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ ชุมชนในพื้นที่จนสามารถนำไปสร้างสรรค์เป็น กล่มุ เปา้ หมาย : แมบ่ ้าน พอ่ บา้ นยคุ ใหม่ เอกลักษณ์ของตำบลตาชี ประโยชน์ใช้สอย : ใช้ในการซักผ้ากับเครื่อง แรงบันดาลใจ ในสมัยก่อน ๆ มีการปลูก ซกั ผา้ ต้นมะเฟืองกันเกือบทุกบ้าน แต่ในปัจจุบันได้ โค่นทิ้งกันหมดแล้ว เพราะไม่นิยมรับประทาน กัน ขายไม่ได้ รสชาติไม่อร่อย แต่ยังเหลือบ้าง ในบางครอบครัวที่มีอยู่ทำให้เกิดแนวคิดแรง บันดาลใจจากมะเฟือง เป็นนวัตกรรมมะเฟือง มหัศจรรย์จากยางพาราเกิดขึ้น เพราะ ยางพาราเป็นพชื เศรษฐกิจในจังหวัดยะลา และ มะเฟืองเป็นผลไม้ท้องถิ่นที่มีรูปลักษณะเป็น เหล่ยี มเหมาะกับการใชใ้ นการปัน่ ผา้ ๕. ชอ่ื ผลิตภณั ฑ์ : ลกู ปัดน้องมิกซ์ ภูมิหลัง จากการสืบทอดของปู่ย่าตายายที่ทำ วัสดุและอุปกรณ์ : 1.ลูกปัด เบอร์ 8/0 สถานทผี่ ลติ : ๒๘/๒ ม.๒ ต.ศรีเขต ชุดโนราห์ใส่เอง และทำให้ลูกหลานใส่โดย 2. เชือก ไนล่อน เบอร์ 63, เข็ม 4.คีม อ.ธารโต จ.ยะลา เรียนรู้ และเฝ้าสังเกต ตลอดจนช่วยร้อยชุด 5.กรรไกร ผดู้ ำเนินงาน : นายสชุ าติ-นางรววี รรณ โนราห์ทำจนชำนาญจึงเริ่มมีแนวคิดว่า ขั้นตอนในการทำ เลือกลูกปัดสีตามที่เรา หงษแ์ ก้ว นอกจากทำชุดโนราห์แล้ว น่าจะทำผลิตภัณฑ์ ต้องการขนาดใกล้เคียงกัน วางให้เรียบร้อยท้ัง Phone on : ๐๘๗ ๒๙๘ ๓๔๑๕, ๐๗๓ อื่นได้อีก จึงได้ทดลองทำเครื่องประดับและ ๓ อย่าง เชือกร้อยเข็มยาวพอประมาณ ที่จะ ๒๗๑๓๐๙ ของที่ระลึกต่าง ๆ จากลูกปัดโนราห์ เพื่อเป็น ร้อยลูกปัด ใชล้ กู ปดั สที ่ี ๑/๓ เมด็ (เมด็ ที่ ๑ ผกู การต่อยอด และสร้างมูลค่าเพิ่ม และยังเป็น ปมป้องกันหลุด) ต่อด้วยก้านไม้ขีด 1 อัน และ การอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ลูกปดั สีท่ี ๑ อกี ๓ เมด็ การแสดงโนราห์ของภาคใต้ มิให้สูญหาย ใช้ลูกปัดสีที่ ๒/๔ เม็ด นำมาร้อยกับลูกปัด สีที่ ๑ ติดบนก้านไม้ขีด ต่อด้วยลูกปัดสีท่ี ๑/๒

ท่ี รายการผลติ ภัณฑ์ / ผ้ปู ระกอบการ ภูมหิ ลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ สามารถ ต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ให้คงอยู่คู่ เม็ด ตามด้วยก้านไม้ขีด ๑ อัน นำมาร้อยกับ ลูกหลานตอ่ ไป ลูกปัดสที ี่ ๑ เม็ดแรก แรงบันดาลใจ เนือ่ งจากผู้ประกอบการได้คลุก ใช้ลูกปัดสีที่ ๑/๙ เม็ด พับกลับขึ้นร้อย คลีอยกู่ บั โนราห์มาตง้ั แต่เลก็ ๆ เห็นบรรพบุรุษ ลูกปดั เม็ดท่ี ๒ ตามดว้ ยก้านไม้ขีด ๑ อัน ทำชุดใส่เอง ร้อยให้ลูกหลานใส่ในการแสดง ใช้ลูกปัดสีที่ ๑ / ๒ เม็ด ร้อยในลูกปัดบน ข้าพเจ้านั่งดูและสังเกตจากท่ีคนอืน่ ทำ จนเกิด กา้ นไม้ขีดท่ี ๒ ความสนใจอยากทำบ้าง จึงเริ่มเรียนรูล้ องทำดู ใส่ลูกปัดสีที่ ๒/๓ เม็ด กลับไปร้อยใน ทำของที่ตนเองพอทำได้เก็บเกี่ยวที่ละนิดทีละ ลูกปัดเม็ดที่ ๒ ของสีตัวเองพับกลับใช้สีเดิม ๔ น้อย จนกระทั่งทำเป็นทั้งชุด หลังจากนั้นจึง เมด็ นำมารอ้ ยในลูกปดั เม็ดที่ ๓ ของตวั เอง ตอ่ เริ่มสอนให้กับคนรุ่นหลังที่สนใจจนทำได้ ช่วง ด้วยลูกปัดเดมิ อกี ๓ เม็ด นั้นมีการทำชุดโนราห์เกิดขึ้นหลายแห่งก็เลยมี นำมารอ้ ยในลูกปดั สที ี่ ๑ บนก้านไม้ขีดต่อ ความคิดที่จะหาวิธีทำอย่างอื่นอีกนอกจากชุด ด้วยก้านไม้ขีด ๑ อัน ร้อยกับลูกปัดเม็ดที่ ๓ โนราห์ แตจ่ ะยดึ หลกั เอาลูกปัดโนราห์เป็นหลัก นบั จากก้านไม้ขีดอันที่ ๓ จึงลงมือทดลองทำกำไลข้อมือก่อนเป็นอันดับ นำมารอ้ ยในลูกปดั สีท่ี ๑ บนกา้ นไม้ขีดต่อ แรก ซึ่งเป็นลายธงชาติไทย มีผู้สนใจขอซื้อมา ด้วยก้านไม้ขีด ๑ อัน ร้อยกับลูกปัดเม็ดที่ ๓ สวมใส่เป็นจำนวนมากทั้งในชุมชนเอง และ นับจากกา้ นไมข้ ดี อนั ท่ี ๓ ชุมชนใกล้เคียง หลังจากนั้นเริ่มพัฒนามาทำ ใช้ลูกปัดสีที่ ๑/๘ เม็ด พับกลับร้อยใน เป็นสร้อยคอ พวงกุญแจ และแหวน ซึ่งได้รับ ลกู ปดั เมด็ ที่ ๒ ตามด้วยกา้ นไม้ขีด ๑ อนั ความสนใจจากคนในชุมชน และชุมชน ใช้ลูกปัดสีที่ ๑/๒ เม็ด นำมาร้อยกับ ใกลเ้ คยี งเปน็ อยา่ งดี ลกู ปดั ติดกับก้านไมข้ ีด ใช้ลูกปัดสีที่ ๒/๓ เม็ด มาร้อยในลูกปัด เม็ดท่ี ๒ ของตนเอง

ท่ี รายการผลิตภณั ฑ์ / ผ้ปู ระกอบการ ภมู หิ ลัง / แรงบันดาลใจ ขั้นตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ ใช้ลูกปัดเดิมอีก ๓ เม็ด ร้อยลูกปัดเม็ดที่ ๒ ของสีเดมิ เตมิ อีก ๓ เม็ด ร้อยลูกปัดเม็ดที่ ๒ ของสีเดิม เติมลูกปัด สีที่ ๒ / ๑ เม็ด ตามด้วยสีที่ ๑ / ๒ เม็ดนำมา ร้อยกับใช้ลูกปัดสีที ๑/๒ เม็ด นํามาร้อยกับ ลูกปดั บนก้านไมข้ ดี ตามดว้ ยก้านไม้ขีด ๑ อัน ใช้ลูกปัดสีที่ 1/2เม็ด นำร้อยกับลูกปัด เม็ดท่ี ๓ นับจากก้านไม้ขดี เตมิ ลูกปัดเดิมอกี ๔ เม็ด พับกลับไปร้อยกับลูกปัดเดิม ติดกับก้าน ไม้ขีด เติมลูกปัดสีเดิมอีก ๒ เม็ดตามด้วยก้านไม้ ขดี ๑ อนั ไปรอ้ ยกับลูกปดั สเี ดยี วกนั เมด็ สดุ ท้าย ใชล้ ูกปดั สีเดียวกนั ๒ เม็ด ตามด้วยสที ี่ ๒/๑ เม็ดนำไปร้อยกับลูกปดั สีเดยี วกันเม็ดท่ี 1 ใช้ลกู ปัดสที ่ี ๒/๓ เม็ดนำไป ร้อยกับลูกปัดสีเดียวกันเม็ดที่ ๒ เติมลูกปัดสี เดยี วกันอกี ๔ เม็ดร้อยพับกลบั ในเม็ดท่ี ๒ เติม ลกู ปดั สเี ดมิ อีก ๑ เมด็ ตามดว้ ยสที ่ี ๑/๒ เมด็ นำมาร้อยกับลูกปัดสีเดียวกันเม็ดสุดท้าย ตามด้วยกา้ นไม้ขีด ๑ อนั ใชล้ กู ปดั สเี ดียวกันอีก ๒ เม็ดนำมาร้อยกับลูกปัดที่ติดก้านไม้ขีดใช้ ลูกปัดสเี ดิม ๕ เม็ดพับกลับไปหาลูกปัดติดก้าน

ท่ี รายการผลติ ภัณฑ์ / ผู้ประกอบการ ภูมหิ ลงั / แรงบนั ดาลใจ ขั้นตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภณั ฑ์ ภาพประกอบ ไม้ขีดเพิ่มลูกปัดสีเดิม ๒ เม็ดตามด้วยก้านไม้ ขีด ๑ อัน ย้อนไปร้อยในลูกปัดสีเดียวกันเม็ด สุดท้ายใช้ลูกปัดสีเดียวกันเพิ่มอีก ๒ เม็ดตาม ด้วยลูกปัดสีที่ ๒ / ๑ เม็ดร้อยในลูกปัดสี เดียวกันเม็ดที่ ๒ ตามด้วยลูกปัดสีที่ ๑/๒ เม็ด พับกลบั มารอ้ ยในลกู ปดั สเี ดยี วกันเม็ดสดุ ท้าย ตามด้วยก้านไม้ขีด ๑ อันใช้ลูกปัดสีที่ ๑/ ๒ เม็ดนำมาร้อยกับลูกปัดสีเดียวกันติดก้านไม้ ขีดใชล้ กู ปดั สีเดิมเติมไป ๕ เม็ดย้อนพับกลับมา รอ้ ยลูกปัดเดมิ ติดกา้ นไม้ขีด ตามด้วยก้านไม้ขีด ๑ อัน ลูกปัดสีเดิม ๒ เม็ดแล้วกลับไปร้อยในลูกปัดสีเดียวกันใช้ ลกู ปัดสีที่ ๒/๔ เม็ดทำเหมือนเดมิ ทกุ ข้นั ตอน ประโยชน์ใช้สอย : ใช้เป็นเครื่องประดับ สรอ้ ยคอแหวนกำไลใสเ่ ปน็ แฟชนั่

ที่ รายการผลิตภัณฑ์ / ผปู้ ระกอบการ ภูมิหลงั / แรงบันดาลใจ ขนั้ ตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลติ ภณั ฑ์ ภาพประกอบ 6. ช่ือผลิตภณั ฑ์ : จายา ว่าวบูลนั ภูมิหลัง ว่าวบูลัน เป็นชื่อเรียกของคนมลายู วัสดุและอุปกรณ์ : 1.ด้ายสีต่าง ๆ 2.คีม สถานทผี่ ลติ : 245 ม.1 ต.สะเอะ อ. ซ่ึง บูลัน แปลว่า ดวงจันทร์ เป็นว่าวท่ีมีรูปดวง 3.เข็ม 4.กรรไกร 5.ผ้ารอง 6.โครงว่างจาก กรงปีนงั จ.ยะลา จันทร์เป็นจุดเด่นอยู่ตรงกลางของลำตัวว่าว ลวด 7.ภู่ 8.แอกว่าว 9.กระดาษแขง็ ผู้ดำเนินงาน : นายมาหามะ จิใจ ตามตำนานบอกว่า ว่าวบูลัน มีหลายชนิด ขั้นตอนในการทำ : เขียนแบบตัดแม่พิมพ์ Phone on : 086-396-3683 แต่ละชนิดมีลักษณะลวดลายที่คิดออกมาเป็น ออกมาตัดเสร็จเรียบร้อย เอาลวดมาวัดเพ่ือ Line id : ma…jijai การเฉพาะของแต่ละพื้นท่ี การเล่นวา่ วนยิ มกนั ประกอบเป็นโครง เตรียมพร้อมเอาผูกลวดมา ในพ้ืนที่สามจังหวัดภาคใต้ และประเทศ เป็นโคร่งว่าว เตรียมโคร่งว่าวที่ผูกมัดเป็นท่ี ใกล้เคียง จะมีการแข่งขันแบ่งเป็นหลาย เรียบร้อย วัดผ้ากาวมาตัด รีดผ้ากาวให้เข้ากับ ประเภท เช่น ประเภทสวยงาม ประเภทเสียง ผ้าสาติน ตัดเนื้อผ้าให้ได้ขนาดตามความ ดงั ประเภทขึน้ สูง เปน็ ทนี่ ยิ มเล่นกันทั้งในอดีต ต้องการ เตรียมมาปักเป็นลาย ปักเสร็จ จนถงึ ปจั จุบัน เรียบรอ้ ยเตรยี มอุปกรณ์ตกแต่ง เสร็จเรียบร้อย แรงบันดาลใจ ว่าววงเดอื น หรอื เรยี กว่า“ วาบู เสร็จเป็นตัวว่าวเรียบร้อยเตรียมกรอบ เข้า แลหรือวาบูลัน” บูลันแปลว่าดวงจันทร์ เป็น กรอบเสรจ็ เรยี บรอ้ ยเขา้ สู่ตลาด ว่าวทม่ี ดี าวเดือนเป็นสว่ นประกอบอย่ตู รงกลาง ลำตัว ว่าววงเดือนมี ๒ แบบ คือแบบมีแอก และไมม่ ีแอก ความเปน็ มาของวา่ วบางคนบอก ว่า ว่าวมาจากประเทศมาเลเซีย และบางคน บอกว่า มาจากจังหวัดปัตตานี จึงสรุปไม่ได้ว่า ว่าวมาจากไหน การทำว่าววงเดือนเริ่มจากการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องเมื่อ เสร็จแล้วผูกเชือกบน ตัวว่าวเก็บรายละเอียดของว่าวทำการตกแต่ง ระยะเวลาในการผลิตประมาณ ๓ วัน ต่อว่าว

ท่ี รายการผลติ ภัณฑ์ / ผู้ประกอบการ ภูมิหลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ภาพประกอบ ๑ ตัว ลักษณะพิเศษของว่าวเป็นการสะท้อน ถึงอัตลักษณ์ทางด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น ลวดลายของว่าว และการออกแบบที่เป็น เอกลักษณ์ของภาคใต้ปัจจุบันมีผู้นิยมว่าวเป็น ของทรี่ ะลกึ เป็นจำนวนมาก แตช่ ่างฝีมือการทำ วา่ วมีน้อย ตามตำนานในสมัยก่อนเล่าสืบต่อกันมาว่า “ ว่าววงเดือน”เป็นของเลน่ เทวดา (แดวอมูดอ) ให้ว่าวแก่แดวามูดอ คือพระบิดาของพระราม จึงทำให้ว่าววงเดือนมีรูปคล้าย ๆ เทวดา ทั้งน้ี ว่าววงเดือนมีหลายชนิดมีหลายรูปแบบ และมี การเล่นกันแพร่หลายในพื้นที่ภาคใต้จะเน้น ความสวยงาม ที่สำคัญปัจจุบันมีการจัดทำเพอื่ จำหนา่ ยในรูปแบบของทร่ี ะลึกอีกด้วย “ ว่าววงเดือน” งานศิลปะที่รับอารยธรรม มลายู และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน วิจิตรงดงามโดยเฉพาะลวดลายประจำท้องถ่ิน และที่สำคัญตัวว่าวต้องมีขนาดใหญ่พร้อมท้ัง ต้องใส่“ แอกว่าว ” ลักษณะคล้าย ๆ คันธนู เพื่อให้ว่าวมีเสียงดังกังวานยามที่ถูกปล่อยให้ ลอยบนฟ้า วา่ วทที่ ำส่วนใหญ่จะนำมาออกขาย ในงานเทศกาลต่าง ๆ เพื่อเป็นการเสริมสร้าง รายได้ในยามเศรษฐกจิ ตกตำ่

ที่ รายการผลิตภณั ฑ์ / ผู้ประกอบการ ภูมิหลงั / แรงบนั ดาลใจ ขน้ั ตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลิตภณั ฑ์ ภาพประกอบ 7. ช่อื ผลติ ภณั ฑ์ : เครือ่ งหนังสันกาลาครี ี ภมู หิ ลัง จากการเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ การ วัสดุและอุปกรณ์ : ไม้กระดานอัด, หนัง, สี, สถานทผี่ ลติ : 74/36 เทศบาล 1 ต. แกะหนังตะลุงซ่ึงมีการ แกะ เจาะ ตอก ตดั ให้ กาว, อปุ กรณ์การแกะหนงั และตอกลาย สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000 เป็นรูปหนังตะลุง ได้นำมรดกภูมิปัญญา ขั้นตอนในการทำ: 1.ออกแบบ, หาแบบ ผดู้ ำเนินงาน : นายเฉลมิ ศกั ดิ์ จกั ร ดังกล่าวมาพัฒนา สร้างสรรค์ให้เกิดเรื่องราว ๒. เตรียมอุปกรณ์ มีไม้กระดานอัด, หนัง, สี, กาญจน์ บนผิวหนังใช้ทั้งศาสตร์ และศิลป์ถ่ายทอด กาว, อุปกรณ์การแกะหนัง และตอกลาย Phone on : 083-190-4500 ศิลปะวัฒนธรรมมิให้สูญหายตอบโจทย์การใช้ ๓. ได้แบบมาอัดหน ังต าม แบบ ใ ห ้ นู น Line id : sankalakiri งานให้ภูมิปัญญายงั คงอยู่ตลอดไป ๔. เอาหนังที่ทากาวมาทับ บนหนังที่อัดให้นูน Facebook : นายเฉลิมศักด์ิ จักกาญจน์ แรงบันดาลใจ กลุ่มจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๓ ไว้แล้ว ๕. ใช้ค้อนยางทุบ ให้งานดูนูนมีมิติ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ สำนักงานชุมชน ขึ้นมา 6.เริ่มแกะลายตามแบบ หรือตอกตาม อำเภอเมอื งยะลา โดยมผี มนายเฉลมิ ศกั ดิ์ จกั ร แบบ ๗. ลงสีด้วยสีที่ใช้กับหนังโดยเฉพาะ กาญจน์ เป็นประธานกลุ่ม ผมเป็นคนจังหวัด 8. เคลือบด้วยน้ำยาเคลือบหนัง 9. ใส่กรอบ ยะลาตั้งแต่เกิด เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ รูปให้สวยงาม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา เม่ือ วัตถุดิบและส่วนประกอบ : หนังฟอกฝาด, เรียนจบ น้าชายซ่ึงเป็นช่างทำเครื่องหนัง และ หนังออยล์ (Oil) อุปกรณ์การเจาะ, แกะลาย, มีรา้ นเปดิ อยู่ท่ีสวนจตุจักรกรงุ เทพฯ ได้ชักชวน ตอกลายสีทาหนังโดยเฉพาะ, กาว ให้ทำงานด้วยกัน ผมเลยตัดสินใจเดินทางไป เอกลักษณ์ / จุดเด่นของผลติ ภณั ฑ์ ทำงานกับน้าชาย และได้เริ่มหัดทำเครื่องหนัง จุดเด่นของการแกะหนังภาพนูน คือ การรวม และได้มีโอกาสเรียนรู้การทำงานกับน้าชาย ศิลปะสองแขนงเขา้ ดว้ ยกัน คือ การอัดให้ดนู นู และเห็นงานเครื่องหนังรูปแบบต่าง ๆ น้าชาย ขึ้น มีส่วนลึกนนู และการแกะสลักทำให้ภาพดู เคยเล่าให้ฟังว่า \"การทำหนังนูนให้ดูมีมิติข้ึนมา มีมิติขึ้น และการเพ้นท์สี หรือลงสีวาดรูปตาม นั้น ตัวน้าชายกับเพื่อนได้ร่วมคิดกันมาก่อน แบบท่เี ราอดั ลงไป ต่างชาติเสียอีก\" น้าชายเรียนจบจากวิทยาลัย ครูยะลา และได้ศกึ ษาวชิ าความรดู้ ้านศิลปะมา

ท่ี รายการผลิตภณั ฑ์ / ผ้ปู ระกอบการ ภมู หิ ลงั / แรงบันดาลใจ ขนั้ ตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ จึงได้เริ่มทำงานเครื่องหนังให้ดูมีมิติขึ้น ถือได้ มาตรฐานทไ่ี ดร้ ับ ว่าเป็นภูมิปัญญาเทคนิคของคนไทย และเป็น ม.ผ.ช. (มาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน) คนยะลาด้วย ผู้ประกอบการจึงเรียนรู้และ ได้รับเกียรติเข้าร่วม \"กลุ่มศิลปินสามจังหวัด พฒั นาฝมี อื เป็นเวลาหลายปี และได้ทำงานตาม ชายแดนภาคใต้ คำสั่ง (Order) ของลูกค้า ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ต่อมาสักพักผู้ประกอบการก็กลับ บ้าน เพื่อบวชทดแทนพระคุณพ่อแม่ก็มีโอกาส ไดพ้ บปะกบั ลูกคา้ ในจงั หวัดชายแดนใต้ เลยคิด ที่จะแยกออกมาทำงานด้วยตัวเองหลังจากสึก พระออกมาผมได้ขอคำปรึกษาจากน้าชายว่า \"ผมจะไม่ขน้ึ ไปกรงุ เทพฯ เพราะผูป้ ระกอบการ จะทำงานเครื่องหนังที่ยะลาซึ่งเป็นบ้านเกิด ของผูป้ ระกอบการเอง

ท่ี รายการผลิตภณั ฑ์ / ผู้ประกอบการ ภูมิหลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ 8. ช่ือผลิตภัณฑ์ : ตงุ กตั มลายู ภูมิหลัง ไม้เท้าหัวกริช รูปแบบมลายู เป็นภูมิ วัสดุและอุปกรณ์ : ๑.ไม้ (จะใช้ไม้ที่เป็นไม้ สถานท่ีผลติ : 53/3 ม.3 ต.ตะโละ ปัญญาดั้งเดิมตัง้ แต่สมัยท่านนบี อย่างเช่น นบี มงคล) ๒.เครื่องกลึงไม้ ๓.เครื่องเจียรไน หะลอ อ.รามัน จ.ยะลา สุไลมาน นบีมูซา นบีมูฮัมหมัด ตามหลักซุน กระดาษทราย ๔.เลื่อยลินดา ๕.ขวาน ผดู้ ำเนินงาน : นายซลุ ฟาการ์ อะตะบู นะห์แล้ว บุคคลที่มีอายุ 4๐ ปีขึ้นไป ที่ใช้ไม้ ๖.เครอ่ื งมือแกะสลักไม้ Phone on : 085 646 2513, เท้า จะได้รับผลบุญ ไม้เท้าหัวกริช เป็นไม้เท้า ขั้นตอนในการทำ : การทำไมเ้ ท้ามลายู ๑. ทำ ๐90 482 4151 ประยุกต์ใช้ เอาทุนทางศาสนาและวัฒนธรรม ลำตวั ไม้เท้า Line id : ๐904824151 มาบูรณาการ เป็นไม้เทา้ หวั กรชิ เพื่อเพ่ิมมูลค่า -สอยไม้ให้ไดข้ นาดทต่ี ้องการ Facebook : Sulfaka Atabu ให้กับไม้เท้า นอกจากใช้เป็นไม้เท้าทั่วไปแล้ว -เหลาไม้ให้ได้รูปทรง ส่วนคอ ส่วนลำตัว ยังใช้เป็นของฝากให้ผู้หลักผู้ใหญ่ ที่ทรงคุณค่า และหาง และเป็นของทรี่ ะลกึ ประจำจังหวดั อกี ด้วย -ทำเดื่อยเพอื่ เสยี บหัวไมเ้ ท้า ๒.ทำหัวไม้เท้า -ตดั ไมใ้ หไ้ ดข้ นาดที่กำหนดเพ่ือทำหวั -เจาะรเู พื่อสอดเดื่อย -ทำหัวไมเ้ ท้าและสนันมือ 3.การประกอบ -เอาส่วนที่เปน็ หัวมาประกอบกับส่วนที่เป็น ลำตัวใหเ้ ขา้ กนั ขดั เงาและลงแล็คเกอร์

ท่ี รายการผลิตภัณฑ์ / ผปู้ ระกอบการ ภมู ิหลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลติ ภณั ฑ์ ภาพประกอบ 9. ชือ่ ผลิตภณั ฑ์ : กริชรามนั ห์ ภูมิหลัง กว่า ๒๐๐ ปีมาแล้ว เจ้าเมืองรามันห์ วัสดุและอุปกรณ์ : ๑. เตาเผาเหล็ก ๒. ค้อนตี สถานทผี่ ลติ : 54/1 ม.2 ต.ตะโล๊ะ ได้เชิญช่างผู้ชำนาญกริชจากอินโดนีเซีย ชื่อว่า เหล็ก ๓. คีมจบั เหลก็ ๔. มดี แกะสลักไม้ หะลอ อ.รามนั จ.ยะลา บันไดซาร๊ะ มาทำกริชที่เมืองรามันห์ จนได้สืบ วัสดุที่ใช้ในการทำกริช : การทำกริช จะแยก ผ้ดู ำเนนิ งาน : นายตีพะลี อะตะบู ทอดภูมิปัญญาถึงปัจจุบัน กริชรามันห์จึงมี ส่วนที่เป็นดา้ มกบั ฝัก ส่วนที่เป็นดา้ มจะทำจาก Phone on : 090-482-4151, เอกลักษณ์เฉพาะตัว มีด้ามเป็นรูปนกพังกะ ไม้ สำหรับใบมีดจะทำจากเหล็กและมีการ 085-640-2513 บ่งบอกความสูงศักดิ์ของผู้ครอบครองด้วย ประดับด้ามกริชด้วยนาคเงิน ทองคำ และ Line id : 090-482-4151 อย่างเช่น บุคคลทั่วไปจะใช้หัวกริชนกพังกะ อ ั ญ ม ณ ี ๑ . เ ห ล ็ ก ก ล ้ า , เ ห ล ็ ก แ ห น บ Facebook : tipali atabu, sulfaka และถ้าเป็นเจ้าเมือง หรือราชครู จะใช้หัวกริช ๒. ไม้มะม่วง, ไม้เสา ฯลฯ (สำหรับทำหัวกริช atabu นกพังกะรูปแบบตามืองง จุดเด่นของกริช และดา้ มกริช) รามันห์ อยู่ท่ดี า้ มกรชิ หรือหวั กริช ซ่งึ เป็นรปู นก ขั้นตอนในการทำ : ปัจจุบันถือเป็นศาสตราภรณ์และศาสตราวุธท่ี การทำกริชจะแยกเป็น ๔ ส่วนด้วยกัน คือ สวมใส่และใชใ้ นวันสำคัญ ๑. การทำใบมีดกรชิ แรงบันดาลใจ จากการทำกริช กริชเป็น •นําเหล็กมาเผาเพื่อทำเป็นตัวใบกริช ผลิตภัณฑ์ที่มีความสำคัญทางด้านวัฒนธรรม •ตเี หลก็ ใหเ้ ปน็ กริช • ทำลายใบกริช และมีความเชื่อ ซึ่งเป็นของโบราณ นับวันจะมี ๒. การทำหัวกรชิ ผู้คนต้องการมากขึ้น แต่มีจำนวนจำกัด ฉะน้ัน •เตรียมไม้ตามขนาดของกรีชตามเนื้อไม้ จำเป็นต้องมีของใหม่ข้ึน จึงมีการเลียนแบบทำ •วาดรูปบนไม้ •ใช้จิกซอตัดภาพรอยขีด ขึ้นมาใหม่เพื่อทดแทนของเก่าทำให้เกิดการ •ใช้ขวานตกแต่งและใช้ตะไบบุ้งมาขัดให้เป็น รวมกลุ่มทำกริชขน้ึ มา รูปทรงใช้สิ่ว และเครื่องมือแกะสลักมาซอแบะ หรือแกะลวดลายบนหวั กรชิ ๓. การทำฝักกริช • เตรียมไม้ขนาดตามต้องการ • สรา้ งแบบบนไม้

ท่ี รายการผลติ ภณั ฑ์ / ผ้ปู ระกอบการ ภูมหิ ลงั / แรงบนั ดาลใจ ข้ันตอนในการทำ / ประโยชน์ของผลติ ภณั ฑ์ ภาพประกอบ • ใชเ้ ล่ือยจิกซอตดั ตามรปู ท่วี าดไว้ • ใช้ขวานถาก และตกแต่งด้วยบุ้ง และ เครอื่ งมือแกะสลัก • ตัวฝักตาหยงเป็นผักที่มีลักษณะเฉพาะตวั ซ่งึ ไมเ่ หมอื นกบั รูปแบบอืน่ ๆ • การประกอบปีกฝักกับตวั ฝกั ประโยชน์ใชส้ อยของกรชิ 1. ใช้เปน็ เคร่อื งราชกกุธภณั ฑข์ องเจ้าเมือง 2. ใชใ้ นพิธีแต่งงาน 3. ใช้ในพิธกี รรมแก้คณุ ไสย (ตามความเชอื่ ) 4. ใช้เป็นของฝาก ของที่ระลกึ 5. ใชเ้ ป็นเครื่องประดบั

ท่ี รายการผลติ ภณั ฑ์ / ผปู้ ระกอบการ ภูมหิ ลัง / แรงบนั ดาลใจ ข้นั ตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลิตภัณฑ์ ภาพประกอบ 10. ชือ่ ผลติ ภัณฑ์ : ศิลปะโลหะเทียม ภูมิหลัง ความเชือ่ และความศรัทธา ของพ่ีน้อง วัสดุและอุปกรณ์ : ๑.เรซ่นิ เบอร์ ๐๑๒ สถานทีผ่ ลติ : วิทยาลยั สารพัดช่างยะลา ๓ จังหวัดภาคใต้ ซึ่งมีความเชื่อและศรัทธาที่ ๒.น้ำยาเรง่ ปฏิกริ ยิ า (Cobalt 10%) 3.น้ำยา 4/2 ถ.เวฬวุ นั ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา หลากหลาย มีการสบื ทอดกันมาแตโ่ บราณเป็น ทำแข็ง (Butanox M6o) 4.สีนำ้ มัน ๕. ใยแก้ว 95000 ๑๐๐ ปี ซึ่งปัจจุบันหาผู้รู้และผู้สืบทอดภูมิ ๖. แปรงทาสี ๗. ทินเนอร์ 8. ภาชนะผสม ผ้ดู ำเนนิ งาน : อาจารย์ ชาญณรงค์ แดง ปัญญาด้งั เดิมได้อยากมากจึง มแี นวคิดท่ีจะสืบ ส่วนผสมตา่ ง ๆ สวุ รรณ ทอดความเชื่อและศรัทธาของวิถีชีวิต และ ขั้นตอนในการทำ : ๑. เมื่อถอดชิ้นงานดิบ Phone on : 093-608-0306 วัฒนธรรมให้อยู่ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ศิลปะ ออกจากบล็อคแม่พิมพ์ยางแล้ว นำชิ้นงานดิบ Facebook : charnarong โลหะเทียม ที่มีรูปแบบเฉพาะตัว สร้างสรรค์ มาตรวจสอบความเรียบร้อย ความสมบูรณ์ daengsuwan ผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของ ๓ จังหวัด ความคมชัดของลวดลาย และองค์ประกอบ ชายแดนภาคใต้ ที่สามารถถ่ายทอดเรื่องราว โดยรวมทั้งหมด ตรวจสอบ รอบตำหนิและ ของวิถีชีวิต และศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นได้ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการทำชิ้นงาน อย่างลงตวั ดิบ ๒. ทำการขัดตกแต่งผิว และอุดซ่อมรอย แรงบนั ดาลใจ กริช ถอื เป็นภมู ิปญั ญาของผู้คน ตำหนิที่เกิดขึ้นบนผิวช้ินงาน โดยใช้กระดาษ ในสามจังหวัดชายแดนใต้ เป็นศาสตราวุธ ทราย เบอร์160และ320 และสีโป๊วซีเมนต์ โบราณของชาวไทยมลายูโบราณ ซึ่งเป็นอาวุธ (โป๊วขาว) ให้มีความเรียบร้อย ๓. พ่นสีรองพื้น ที่มีความงดงามทางศิลปะชั้นสูง มีเอกลักษณ์ เพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และความ เฉพาะตัว โดยกำเนิดขึ้นจากวัฒนธรรมท้องถิน่ สมบูรณข์ องชน้ิ งาน ๔. พ่นสจี ริง (สดี ำด้าน) ให้ และความเชื่อของผู้คนในสมัยโบราณ พื้นที่ ทั่วชิ้นงาน ๕. ลงรัก-ปิดทองบริเวณลวดลายที่ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา มีการสืบทอดการ อยู่ในส่วนที่ลึกที่สุดก่อน แล้วค่อยลงรัก-ปิด ทำกริชตามตำนานรูปแบบโบราณจวบจน ทองในส่วนลวดลายทอี่ ยสู่ ูงขึ้นมาจนครบตามที่ ปัจจุบัน จนมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันมาก ต้องการ 6. ลงกากเพชรเพื่อเพิ่มสีสันให้ กรชิ จงึ เปรยี บเสมือนเป็นเอกลกั ษณข์ องจังหวัด ชิ้นงานมีลวดลายและสีสันตามต้องการ ยะลาเลยกว็ า่ ได้ แตใ่ นปัจจบุ นั ผูค้ นรุ่นใหม่ส่วน ๗. นำชิ้นงานท่ีผ่านกรลงรกั -ปดิ ทองและลงสีที่

ท่ี รายการผลติ ภัณฑ์ / ผ้ปู ระกอบการ ภมู ิหลัง / แรงบนั ดาลใจ ขั้นตอนในการทำ / ประโยชนข์ องผลิตภัณฑ์ ภาพประกอบ น้อยที่จะรู้จักกริชโบราณตามแบบฉบับดั้งเดิม เสร็จแล้วมาเข้ากรอบเพ่ือพร้อมสำหรับการ เพราะถือเป็นของหายาก เนื่องจากมีขั้นตอน จำหน่ายให้ผูบ้ รโิ ภคตอ่ ไป การทำที่ละเอียดอ่อน ดังนั้น ผู้ผลิตจึงได้จัดทำ ประโยชน์ใช้สอย : ใช้ประดับ ตกแต่งอาคาร- กริชในรูปแบบงานผลิตภัณฑ์ศิลปะโลหะเทียม บา้ นเรอื น สำนักงาน ร้านค้าและอื่น ๆ ซึ่งมีความงดงามตามเอกลักษณ์ดั้งเดิม และ พัฒนาให้มีการลงรักปิดทองเพื่อเพิ่มความ สวยงามเหลืองอร่ามแสดงถึงความมั่งคั่งของ วัฒนธรรมแต่เดิมมา เป็นผลิตภัณฑ์ประดับ ตกแต่งอาคาร และบา้ นเรือน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook