Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่องดุลยภาพแห่งชีวิต

ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่องดุลยภาพแห่งชีวิต

Published by supawat1919, 2022-02-28 18:35:58

Description: ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่องดุลยภาพแห่งชีวิต
Ceramics Art Entitle The Balance of Life

Keywords: ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา,ดุลยภาพแห่งชีวิต

Search

Read the Text Version

1

2

3

4

5 ค�ำ นำ� นิทรรศการศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่อง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์จากงานวิจัยกลุ่มเรื่องการสร้างสรรค์วิชาการงานศิลป์กรอบการวิจัยและ นวัตกรรม การสร้างสรรค์ศิลปกรรมเชิงวิชาการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่ยั่งยืนและสุนทรียรส การวิจัยเพื่อ สร้างสรรค์งานศิลปกรรมเชิงวิชาการ สาขาทัศนศิลป์ที่ได้รับการทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำ�นักงานการวิจัยแห่ง ชาติ ประจำ�ปีงบประมาณ 2564 โครงการวิจัยศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่อง ดุลยภาพแห่งชีวิต เป็นงานวิจัยประยุกต์ (Applied Research)ที่มีการศึกษาทดลองเพื่อนำ�ผลไปสู่การพัฒนาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ซึ่งมี วัตถุประสงค์สำ�คัญคือ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ประเภทประติมากรรมลอยตัว โดยประยุกต์ใช้ผลการ ทดลองเทคนิคกระบวนการภาพพิมพ์บนดินเผาเพื่อให้เกิดสุนทรียรสทางศิลปกรรมที่ตอบสนองแนวคิดเรื่อง “ดุลยภาพแห่งชีวิต”การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลเอกสารจากแหล่งสืบค้น และ สำ�รวจข้อมูลสนามจากแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาสำ�คัญสองแหล่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย แหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม และแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน จังหวัด นครราชสีมา เพื่อนำ�ไปสู่กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงองค์ความรู้จากภูมิปัญญาของช่างทั้งสอง แหล่ง และทดลองพัฒนากระบวนการภาพพิมพ์บนดินเผา โดยนำ�ผลการศึกษาที่ได้ไปสู่การประยุกต์ในการ สร้างสรรค์ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแนวเรื่อง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” ซึ่งเป็นแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานชุดนี้ ผลจากการศึกษาโลกทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับกรอบแนวคิดเรื่อง“ดุลยภาพแห่งชีวิต”พบว่าทัศนคติ ความเชื่อดั้งเดิมที่ปรากฏในชุมชนมีความคิดและมีการวางระบบสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับความสมดุลของ ชีวิตซึ่งมีความเชื่อมโยงกับเรื่องของ มิ่ง และ ขวัญ อันเป็นสองสิ่งที่ต้องมีความสมดุลเพื่อก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิต และเป็นกุศโลบายสำ�คัญที่ทำ�ให้มนุษย์ดำ�รงตนอยู่ด้วยการครองสติและนอบน้อมต่อธรรมชาติรอบตัว ดังนั้น จากการถอดรหัสทางความคิดของสัญคติชุมชนที่มาใช้ในงานศิลปะจึงมีความเชื่อมโยงสอดรับกับสัญลักษณ์ที่ สื่อถึง มิ่ง ขวัญ และความสมดุลผ่านรูปทรงประติมากรรมเครื่องปั้นดินเผา จำ�นวน 12 ชิ้น ที่ทำ�หน้าที่เป็นตัว หมายที่ผู้วิจัยได้ประจุความหมายแทนความเป็นกายและจิต เสมือนเป็นมิ่งและขวัญ ตามสัญคติชุมชนซึ่งเป็น โลกทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับดุลยภาพแห่งชีวิต ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ เมตตา ศิริสุข หัวหน้าโครงการวิจัย

6 สารจากอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม นิทรรศการแสดงศิลปกรรมโครงการวิจัยศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแนวเรื่อง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” เป็นกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้และเผยแพร่ผลงานศิลปกรรมที่มีฐานมาจากงานวิจัยซึ่งนำ�เสนอผลลัพธ์ จากการศึกษาในรูปแบบของการแสดงผลงานนิทรรศการทางศิลปกรรมมีเป้าหมายเพื่อศึกษาศึกษาทดลอง กระบวนการสรา้ งสรรคท์ ผ่ี สมผสานระหวา่ งการผลติ เครอื่ งปนั้ ดินเผาและกระบวนการทางภาพพมิ พ์ เพอ่ื น�ำ ไปสู่ กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงองค์ความรู้และถ่ายทอดผ่านผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ โดย ได้รับแรงบนั ดาลใจจากรปู ทรงของสง่ิ มีชีวิตในธรรมชาติ ในช่วงเวลาแห่งการเกิด การผลิดอกออกใบ การ เจริญเตบิ โตงอกงาม ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถงึ การเริม่ ตน้ ของชีวิตทเ่ี ตม็ เปีย่ มไปดว้ ยความสมดุล และดุลยภาพแห่งชีวติ ที่ อุดมไปด้วยความงดงามงานวิจัยสร้างสรรค์ชุดนี้ได้แสดงออกถึงศักยภาพด้านการค้นคว้าวิจัยและกระบวนการ สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมโดยมีที่มาจากฐาน ของการศึกษาวจิ ัยทแ่ี สดงถึงความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและวชิ าชพี ทางศลิ ปกรรม (รองศาสตราจารย์ ดร.ประยกุ ต์ ศรีวิไล) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

7 สารจากคณบดี โครงการวจิ ัยสร้างสรรค์ เรอ่ื ง “ศลิ ปะเครอื่ งปน้ั ดนิ เผา แนวเรอื่ งดุลยภาพแหง่ ชวี ิต” เปน็ งานวิจยั สร้างสรรค์ท่ีประสบความสำ�เร็จในการบูรณาการระหว่างอัตลักษณ์วัฒนธรรมเก่ียวกับจักรวาลทัศน์ของชีวิต ท่ีผูกพนั กบั “ม่ิง” (กาย) และ “ขวัญ” (จิต) ในแบบฉบบั ของคนอีสาน และภมู ปิ ญั ญาการผลติ เคร่ืองปน้ั ดินเผา เครื่องใชเ้ ชิงอรรถศลิ ปใ์ นสงั คมท้องถิน่ ทัง้ แบบ Earthenware และ Stoneware ซึ่งภูมิปัญญาดังกลา่ วเกิดจาก การเรียนร ู้ พฒั นาและสบื ทอดในการปรับปรนลกั ษณาการของระบบนิเวศแวดลอ้ ม ณ พืน้ ท่ตี ้งั ชุมชนมาสร้างเปน็ เครอื่ งใชใ้ นชีวิตประจำ�วัน ซง่ึ ตอ้ งผา่ นการบ่มเพาะเปน็ เวลานาน ดงั ปรากฏหลกั ฐานเคร่อื งปั้นดินเผาที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี และ เครื่องป้นั ดนิ เผาของสงั คมโบราณตามพนื้ ที่ต่างๆ ทั่วภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย และ ท่ัวโลก ดังนั้น “เครอ่ื งป้ันดินเผา” จงึ เป็นปรากฏการณ์วตั ถวุ ฒั นธรรมท่มี ีคณุ ค่าท้ังในมิติประวตั ิศาสตร์สังคม วฒั นธรรม ท่สี ามารถสะทอ้ นใหเ้ ห็นตัวตนของคนในท้องถิ่นต่าง ๆ ทง้ั รูปแบบการใชช้ ีวติ ประจำ�วัน ความเชือ่ และ ประเพณวี ัฒนธรรม อย่างไรกระนั้น หากพจิ ารณาเฉพาะรปู แบบศิลปะ หรอื Art Form ลักษณาการเชิงทศั นธาตุ หรือ Visual Elements ท่ปี ระจอุ ยใู่ นเคร่อื งปน้ั ดินเผาแต่ละพื้นที่ก็นบั ว่า “มเี สนห่ ์” ในตวั เองอยา่ งพเิ ศษ แตกตา่ ง ไปจากสีสันท่ีไดม้ าจากสง่ิ อนื่ นอกจากนั้น ยังถกู ประทบั ลักษณะภูมิปัญญาที่เกยี่ วข้องเอาไวด้ ้วยเสมอ การที่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เมตตา ศริ ิสขุ และคณะวิจยั ได้ ดำ�เนนิ โครงการวจิ ยั สรา้ งสรรคช์ ดุ นจี้ น สำ�เร็จออกมาไดอ้ ยา่ งงดงาม เป็นผลงานท่มี ีเอกลักษณ์เฉพาะตวั นัน้ นกั วิจยั จะตอ้ งศึกษาวิจัยภูมปิ ัญญาการผลิต เคร่ืองปน้ั ดนิ เผา โดยเฉพาะเทคนคิ วธิ ี การคดั เลือกดิน ผสมดนิ ปน้ั เผา ในอุณหภมู ทิ ไ่ี ด้สแี ละทัศนธาตทุ ่ตี นเอง ตอ้ งการนัน้ นับว่า มใิ ชก่ ารกระทำ�โดยง่าย จะต้องประกอบทงั้ ฉนั ทะ และ วิธีวิทยาทถี่ งึ พรอ้ ม โดยเฉพาะการ สรา้ งลวดลายให้เกดิ ข้นึ ดว้ ยเทคนคิ ภาพพมิ พ์ แต่ต้องใชน้ ้ำ�ดินทแ่ี ตกต่าง จนก่อเกดิ ทศั นธาตุพเิ ศษ เสมือนกับ เครื่องปั้นดนิ เผาสมัยบา้ นเชียงโบราณ แต่กลับด�ำ รงอย่ใู นรปู ทรงของศิลปะประติมากรรมรว่ มสมัยไดอ้ ยา่ งพิศวง ภายใตก้ ารประจุรหสั หมายของ จักรวาลทัศน์ “มงิ่ ” และ “ขวัญ” ไดอ้ ย่างหมดจดงดงามยิ่ง ทัง้ นี้ นอกจากผลงานประติมากรรมร่วมสมยั ทเี่ กิดจากข้อคน้ พบในการวิจยั สร้างสรรค์จาก โครงการวิจยั เร่อื ง “ศลิ ปะเครื่องปนั้ ดนิ เผา แนวเรอ่ื งดลุ ยภาพแห่งชวี ิต” จะมคี ุณค่าตอ่ วงการศิลปะแล้ว กระบวนการวิจยั สรา้ งสรรคช์ ุดน้ียังถือเปน็ แบบวิจัยหรอื Research Model ทม่ี ปี ระโยชนต์ ่อการวจิ ยั สรา้ งสรรค์ ส�ำ หรบั ศิลปนิ รุน่ ใหม่ไดศ้ กึ ษาเป็นอยา่ งดี ในนามผบู้ รหิ ารคณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ ผมจงึ ขอชนื่ ชมและขอบคณุ ตอ่ นักวิจยั ท่ีมี สถานภาพเปน็ ท้งั ศลิ ปนิ และนักวชิ าการทุกท่าน โดยเฉพาะ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เมตตา ศิริสุข หวั หน้าโครงการ และขอขอบพระคุณต่อสำ�นกั งานการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) ที่สนบั สนนุ งบประมาณ สนบั สนุนการทำ�งานวิจยั โครงการนี้ และหวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ นกั วิจัยกลมุ่ น้ีจะไดพ้ ฒั นาโครงการวจิ ยั ของตนเองใหก้ า้ วหนา้ ยิง่ ขึน้ ในโอกาส ตอ่ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย สิงห์ยะบุศย์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมศาสตร์

1 ค�ำ นยิ ม ว่าดว้ ย ดุลยภาพแหง่ ชวี ิต : ทางสายกลาง นทิ รรศการแสดงศิลปะเครอื่ งป้นั ดินเผาแนวเร่อื ง “ดุลยภาพแหง่ ชีวติ ” เปน็ การสรา้ งสรรค์ศิลปกรรม เพื่อพฒั นาองค์ความรู้ทยี่ ่งั ยืนและสุนทรยี รส การวิจัยเพอื่ การสรา้ งสรรค์งานศิลปะเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาเชงิ วชิ าการ งานศิลป ์ โดยมคี ณะผู้วิจัยประกอบดว้ ย ผศ.ดร.เมตตา ศริ สิ ุข อาจารย์สงั กดั คณะศลิ ปกรรมศาสตรแ์ ละ วฒั นธรรมศาสตร ์ หัวหนา้ โครงการ ร่วมกบั นายสุรศกั ดิ์ แสนโหน่ง ศิลปนิ เซรามิกส์ ผู้ไดร้ ับการเชดิ ชูเกียรติ เปน็ ศิลปนิ เครือ่ งปั้นดนิ เผาเกยี รตคิ ุณ ผู้ร่วมวิจยั โดยมีเป้าหมายเพ่อื ศึกษากระบวนการผลติ เครอ่ื งปัน้ ดินเผาท่ีมี การประดับตกแต่งและประดับลวดลาย โดยใชก้ ระบวนการภาพพมิ พใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาสรา้ งสรรค์ ผลงานทัศนศลิ ป ์ ประเภทประติมากรรมเคร่ืองป้ันดินเผาร่วมสมยั ซ่ึงไดร้ ับทนุ จากส�ำ นกั งานการวจิ ยั แห่งชาต ิ ประจำ�ปีงบประมาณ 2564 จากการติดตามผลงานของศลิ ปนิ สุรศักด์ ิ แสนโหน่ง มาอย่างยาวนาน นบั ตั้งแต่ปี 2552 นทิ รรศการ การแสดงศลิ ปะเคร่ืองปั้นดินเผา “เรื่องของดินอาบไฟ” เป็นตน้ มา ขา้ พเจ้าเฝา้ ติดตามและชน่ื ชมในความเป็น ศิลปนิ อิสระท่สี นใจ ในงานเครอื่ งปน้ั ดนิ เผาอนั เปน็ ศลิ ปะพืน้ บ้านทมี่ ีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั มกี ารศึกษาค้นคว้า ทดลองปฏบิ ตั แิ ละน�ำ เสนอความร ู้ ประสบการณ์ มาอย่างตอ่ เน่ืองและโดดเดน่ ผลงานเครอื่ งปั้นดินเผาทุกช้ิน ลว้ นแสดงออกถงึ ทกั ษะในการสรา้ งสรรค ์ จากการใชด้ นิ บา้ นหมอ้ และดินในภาคอสี าน ผา่ นเทคนคิ การข้ึนรูปดว้ ย มืออนั เช่ียวชาญ จนประสบความสำ�เร็จจากเวทปี ระกวดในระดับชาติมาอย่างต่อเนอ่ื ง แสดงใหเ้ หน็ ถึงความมุ่งมัน่ ตัง้ ใจในการพฒั นาศกั ยภาพของตนเองอย่างสมำ่�เสมอตลอดมา การศึกษาวิจัยในครงั้ นี้ เป็นการทำ�งานร่วมกนั ระหว่างนกั วิชาการทางศลิ ปะ และศิลปินซึ่งสามารถแสดง สุนทรียรสทางศิลปกรรมได้อยา่ งเตม็ เป่ียม อนั เกดิ จากการบรู ณาการศาสตร์โดยศิลปนิ ชำ�นาญพเิ ศษดา้ นศิลปะ ภาพพมิ พ ์ ผสมผสานกับศิลปินชา่ งปัน้ ดนิ เผาชนั้ เยย่ี ม ร่วมกนั สรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะเครอื่ งป้ันดินเผา โดยใช้ ผลงานจากการทดลองมาพฒั นาและประยกุ ต์ใชภ้ าพพิมพบ์ นเคร่ืองปนั้ ดินเผาด้วยกระบวนการพมิ พ์ ช่องฉลุ ผ่าน อตั ลักษณจ์ ากภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน มาวเิ คราะหแ์ นวคดิ ดว้ ยสัญลกั ษณท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกับความสมดุลของชีวิต ผ่านมิติ ความเช่อื เรือ่ ง “ขวญั ” เชื่อมโยงสอดรบั กบั สัญลกั ษณ์ที่สอื่ ถงึ มิง่ ขวญั และความสมดลุ ผา่ นรูปทรงประติมากรรม เคร่ืองปน้ั ดินเผาทีม่ คี วามประสานกลมกลืน ท้งั ในส่วนของแนวคิดเรอื่ ง “ดุลยภาพแห่งชีวติ ” และสัญลกั ษณ์ ของการแสดงออกที่มีความเปน็ เอกภาพของทศั นธาตดุ ้วยดุลยภาพแบบอสมมาตร เปน็ ผลงานท่ที รงคุณคา่ อัน แสดงออกถงึ ความงามสะท้อนถงึ ภมู ิปัญญาที่เช่ือมโยงกบั หลักค�ำ สอนในพระพทุ ธศาสนาเรอ่ื ง “มชั ฌิมาปฏิปทา” ทแี่ ปลวา่ ทางสายกลาง นำ�ไปสกู่ ารพัฒนาศักยภาพ เกิดความรู้ ความเข้าใจในสนุ ทรียแห่งความงาม ทีป่ ระจักษ์ ถงึ รูปแบบและเทคนิคที่หลากหลายไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ก่อให้เกดิ คณุ ูปการสามารถเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีแก่เยาวชน นกั ศึกษาและศิลปนิ ผู้สร้างสรรค์งานศิลปะเคร่ืองปน้ั ดินเผา ขยายสูร่ ะดบั ภูมิภาคและระดบั ประเทศและระดับ สากลต่อไป ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ัชระ วชิรภทั รกลุ คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรีรมั ย์

2 คำ�นิยม “ดลุ ยภาพแห่งชีวติ ” ผลงานวิจัยกระบวนการภาพพมิ พบ์ นเคร่อื งป้ันดนิ เผา เป็นการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะท่ี อาศยั กระบวนการทางภาพพิมพ์ ที่ใช้เทคนคิ ภาพพิมพบ์ นดินเผาท่ีหลากหลายในการสร้างแม่พมิ พ์ เช่น แมพ่ มิ พ์ ผวิ นูน แม่พิมพ์รอ่ งลกึ แมพ่ ิมพช์ ่องฉลุ ซงึ่ แมพ่ ิมพ์แตล่ ะประเภทก็มีคณุ สมบตั ทิ แี่ ตกตา่ งกันและมคี วามหลากหลาย มคี วามเป็นธรรมชาตทิ แี่ สดงถงึ ความจำ�เพาะของเทคนิคภาพพิมพ์บนดนิ เผา การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะภาพพมิ พบ์ นดนิ เผา ถือได้วา่ เป็นการท�ำ งานวจิ ยั ทม่ี ขี ้ันตอนเริม่ ตง้ั แต่ การออกแบบ สเก็ตผลงาน การขยายแบบ การสรา้ งแมพ่ ิมพ์ ทม่ี ีความหมาะสมกับรปู ทรงของประติมากรรมดนิ เผาซ่ึงมีความซับ ซอ้ นรวมไปถงึ กระบวนการพมิ พ์ ล้วนแตเ่ ป็นเร่อื งยุง่ ยากทผ่ี ู้วิจัยจะต้องด�ำ เนนิ การตามขัน้ ตอนใหเ้ ป็นระบบในทกุ ขนั้ ตอน ความพิเศษของศลิ ปะภาพพมิ พ์บนดินเผาท่ีมีความตา่ งจากศลิ ปะภาพพิมพ์ พิมพบ์ นกระดาษและผ้า เรม่ิ ต้งั แต่ 1. วัตถุดิบท่นี �ำ มาใช้ เช่น พ้นื รองรับทเ่ี ป็นดินปัน้ จากแหล่งดินบ้านหม้อ จงั หวัดมหาสารคาม ทเี่ กดิ จากภมู ิปญั ญาของบรรพบุรุษ (ดนิ เหนยี วผสมก๊อก เหมาะกบั กระบวนการเผาอุณหภูมติ ำ�่ แบบเผาสุมไฟ กลางแจ้ง) 2. ดนิ ทนี่ ำ�มาใช้ท�ำ น�ำ้ สลิป แทนค่าคล้ายกับหมกึ พิมพ์ท่ใี ช้พิมพใ์ นศิลปะภาพพิมพท์ ั่ว ๆ ไป - น�ำ้ สลปิ ดนิ ขาวลำ�ปาง พิมพ์แลว้ นำ�ไปเผา จะใหค้ า่ สีขาวแบบด้าน - น�ำ้ สลปิ ดนิ ลกู รงั พมิ พแ์ ล้วนำ�ไปเผา จะให้ค่าสีน�้ำ ตาลเข้ม - นำ�้ สลิปดินบา้ นหมอ้ จังหวัดมหาสารคาม พิมพ์แลว้ นำ�ไปเผา จะใหค้ า่ สีสม้ แดง ซึ่งผลการวิจัยการพิมพ์น้ำ�สลิปแต่ละแหลง่ จะให้สแี ตกต่างกนั และผลวจิ ัยในครัง้ นี้ สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ ใชใ้ นผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองป้นั ดินเผาได้จริง ผลงานวิจัยศิลปะภาพพิมพ์บนดินเผาเป็นผลงานวิจัยสร้างสรรค์ท่ีประกอบด้วยความคิดสร้างสรรค์ ใน รูปแบบ เทคนคิ และเน้ือหา โดยเฉพาะเน้ือหา แนวเร่ืองดลุ ยภาพแห่งชีวิตท่มี ีความสำ�คัญทส่ี ามารถนำ�ไปสู่ การสบื ทอดภมู ปิ ัญญา และสร้างอตั ลกั ษณ์ของเครอื่ งปนั้ ดินเผาในอสี านใหม้ ีความมน่ั คง สืบทอดภมู ปิ ญั ญาและ อตั ลักษณท์ างศลิ ปกรรมของชา่ งทอ้ งถน่ิ และยังสามารถน�ำ กระบวนการผลติ ไปประยุกต์ใช้ในการสรา้ งสรรคศ์ ิลปะ ที่หลากหลายต่อไป ผลงานวจิ ยั “ดุลยภาพแห่งชวี ิต”ภาพพมิ พ์บนดินเผาของผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์เมตตา ศิริสุข และ ผชู้ ว่ ยวิจัย สุรศกั ดิ์ แสงโหน่ง เล่มน้เี ปน็ ผลงานวจิ ยั สร้างสรรค์ ท่ีมีคณุ ภาพทดี่ ีเยยี่ มและนา่ สนใจ ทเ่ี น้นการผสม ผสานกระบวนการทางประตมิ ากรรมเครอื่ งป้นั ดินเผารว่ มสมัย และกระบวนการทางศิลปะภาพพมิ พ์ทอี่ ธบิ ายขน้ั ตอนโดยละเอยี ด และเปน็ ท่ีมาของความงามนำ�ไปส่ศู ลิ ปะรว่ มสมยั ในประเทศไทยและนานาชาติตอ่ ไป ทงั้ นจี้ ึงขอใหผ้ ลงานวจิ ยั สรา้ งสรรค์ “ดุลยภาพแหง่ ชีวิต” ภาพพิมพ์บนเคร่ืองปั้นดินเผาเล่มนี้ ได้เผยแพร่ อันเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการการศึกษา ศลิ ปะภาพพมิ พ์ ศิลปะเครอื่ งปั้นดินเผา นักศึกษาศลิ ปะและผ้สู นใจใน งานศิลปะร่วมสมัยทัว่ ไป อาจารย์ พรสวรรค์ นนทะภา อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู รศิลปกรรมศาสตร ์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

3 คำ�นิยม ความรู้ ความจรงิ : ศลิ ปะเครือ่ งปนั้ ดนิ เผา “ดลุ ยภาพแห่งชีวิต” จากอดตี จวบจนปจั จบุ นั แต่ละสงั คม วฒั นธรรม เขา้ ถึงความรู้ ความจริงดา้ นศลิ ปะมีความต่างและหรือ ความเหมอื นกัน เชน่ การใชส้ ามญั สำ�นึกพิจารณา หรอื การใชก้ ระบวนการค้นควา้ ทดลอง พฒั นา สรา้ งขอ้ สรปุ เผย แพร่ เรยี นรู้สืบทอดในฐานะท่เี ป็น “ศาสตร์” การเขา้ ถึงงานสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา “ดลุ ยภาพแหง่ ชวี ิต” จงึ นำ�ไปสูก่ ารต้ังค�ำ ถามที่ว่า “ศลิ ปนิ มแี นวความคิดอย่างไร” “รปู แบบทางศิลปะอยา่ งไร” “การรบั รู้ สมั ผสั คณุ ค่า ความหมาย เป็นอยา่ งไร” ผ้คู นในสังคมอดีตมโี ลกทศั น์เกีย่ วกับการถือกำ�เนดิ ดำ�รงอยแู่ ละการเสอ่ื มไป “เปน็ วัฏสงสาร” ภายใตส้ ภาวะความสมบรู ณ์พนู สุขท้งั กาย – จิต , รูป - นาม สืบทอดผ่านความคดิ และการปฏิบตั ิจวบจนปจั จุบัน เป็นรากฐานวัฒนธรรม ศลิ ปนิ ในฐานะผูส้ ร้าง มีแรงดลใจจากระบบคิดที่เปน็ สากลในอดีตเช่อื มโยงสปู่ ัจจุบนั เกยี่ วกับวิถแี หง่ เป้า หมายของชีวติ ด้านความเช่อื พิธกี รรม ศาสนาสูค่ วามอุดมสมบรู ณใ์ นขณะดำ�เนนิ ชวี ิตและผลานสิ งสใ์ นภพภมู ใิ หม่ ศลิ ปนิ ไดถ้ า่ ยทอดแบบทางศลิ ปะผ่านกระบวนการผลิต “เครอื่ งปั้นดนิ เผา” อนั เป็นมรดกภมู ปิ ญั ญา ทางสังคมสบื ทอดและถ่ายทอดผ่านรูปทรง “แนวอดุ มคติเชงิ สญั ลักษณ์” โดยการผสานวิธี นำ�วัตถุดิบดินปัน้ ขึน้ รูปดว้ ยมือ และเคร่ืองมือพื้นบ้านผสานกบั กระบวนการภาพพิมพล์ วดลาย สู่กระบวนการเผาไฟตำ่�และไฟสงู ส่งผลใหร้ ูปทรงเกดิ สีหลงั เผาตอบสนองความรสู้ ึกอมิ่ เอิบ เติบโต เบ่งบาน ขณะเดียวกันการเผาแกรง่ สง่ ผลให้ทราย หลอมละลายไหลเคลอื บผวิ ก่อให้เกิดความรสู้ ึก แข็งแกร่ง มนั่ คง ปกปอ้ ง จงึ เกิดภาวะ แขง็ ออ่ น อยรู่ ว่ มกนั อย่างมี ดุลยภาพ ศิลปะเครือ่ งป้นั ดนิ เผา “ดุลยภาพแห่งชวี ติ ” มีแนวความคดิ การสรา้ งท่เี ป็นสากล ผสานกับมรดกทาง ปัญญาของบรรพชนสู่การสร้างสรรคอ์ งค์ความรใู้ หม่ ถือได้ว่าเปน็ ความก้าวหนา้ ทางวิชาการทีบ่ นั ทกึ ไวใ้ นแผน่ ดนิ พทิ ักษ์ นอ้ ยวงั คลัง เจา้ หน้าท่ีของรฐั ผรู้ บั บ�ำ เหน็จบ�ำ นาญ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ค�ำ นยิ ม 4 ศลิ ปะเครอื่ งป้นั ดินเผา “ดุลยภาพแห่งชวี ติ ” โครงการวจิ ยั สร้างสรรค์ผลงานศลิ ปกรรมเรอ่ื ง ศลิ ปะเครอื่ งปัน้ ดินเผา แนวเรอื่ ง ดุลยภาพแห่งชีวิต ใน คร้งั น ี้ เป็นการน�ำ เสนอผลงานประติมากรรมโดยใช้กระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะเครอื่ งปนั้ ดนิ เผาผสมผสานกบั การสร้างพ้ืนผิวและลวดลายด้วยกระบวนการภาพพิมพ์ที่มีการศึกษาองค์ความรู้จากอัตลักษณ์เครื่องปั้นดินเผาท่ี ปรากฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะตัวผ่านรูปทรง ประตมิ ากรรมเครื่องปนั้ ดินเผาร่วมสมัย การสรา้ งสรรค์ผลงานคร้ังนี้ เป็นการนำ�ผลการศกึ ษาทดลองเทคนิคและวธิ ีการตา่ งๆในกระบวนการภาพ พิมพ์บนดินเผามาประยุกต์ใช้ในการสร้างพ้ืนผิวและลวดลายเพื่อนำ�มาประกอบกับรูปทรงประติมากรรมที่แสดงให้ เห็นถงึ ความสมดุล ซึง่ เป็นดุลยภาพส�ำ คัญเช่ือมโยงกับสรรพชีวติ ทเ่ี กิดและเติบโต เปน็ รปู ทรงที่มีความอวบอ่มิ กอ่ ให้เกดิ ความอุดมสมบรู ณใ์ นชวี ติ ท่มี ีความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปและนาม มิ่งและขวัญตามคติความเชือ่ ด้ังเดมิ ของผู้คน ในภาคตะวันนออกเฉยี งเหนือ จากศึกษาเบื้องต้นพบว่าการผลิตเครื่องป้ันดินเผาในเขตพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถแบ่ง ออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ คือ เคร่ืองป้ันดินเผาเนือ้ ดินธรรมดา (Earthenware) ซึง่ เผาด้วยไฟอณุ หภมู ิต่�ำ และ เครื่องป้ันดนิ เผาเน้อื แกร่ง(Stoneware) ซง่ึ เผาด้วยไฟอณุ หภมู ิสงู จนแร่ธาตุในดินถูกหลอมออกมาเคลอื บท่ีผิว ภาชนะ ดังนัน้ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานในครงั้ น้จี ึงได้น�ำ ดินจากแหล่งเตาเผาสองแหล่งในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ประกอบไปด้วย แหลง่ เครื่องปั้นดินบา้ นหม้อ จังหวัดมหาสารคาม และแหลง่ เครอ่ื งปัน้ ดินเผาดา่ นเกวยี น จังหวดั นครราชสมี า ท้งั สองแหลง่ มคี ณุ ลกั ษณะของเนื้อดนิ และวธิ กี ารเผาทีม่ ีความแตกตา่ งกันซ่งึ มลี กั ษณะเฉพาะของ แต่ละพื้นท่ีนำ�มาประกอบสร้างรูปทรงตามแนวคิดให้มีความสอดคล้องกับภาพร่างเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ีแสดงออกมา อยา่ งพอเหมาะพอดี ในการศกึ ษาศลิ ปะเครอ่ื งปัน้ ดินเผาแนวเร่อื งดลุ ยภาพแหง่ ชีวติ ในคร้งั น้ี ผู้วิจัยหวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่าผลการ ศึกษาจะเปน็ ประโยชนต์ ่อสังคม วงวิชาการ และเยาวชนทจี่ ะไดร้ ับประโยชนแ์ ละสามารถน�ำ องค์ความรู้จากการ ศึกษาไปต่อยอดในการพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลซึ่งเป็นแนวทางในการ สานต่อภูมิปญั ญาของบรรพชนมิให้สูญหายตอ่ ไป สุรศักด์ ิ แสนโหน่ง ผู้ร่วมวิจยั

โครงการ 5 ช่อื โครงการวิจยั (ภาษาไทย) ศิลปะเคร่อื งปนั้ ดินเผา แนวเร่ืองดลุ ยภาพแหง่ ชีวติ (ภาษาองั กฤษ) Ceramics Art Entitle The Balance of Life ได้รบั ทนุ อดุ หนุนการวิจัยจาก ส�ำ นักงานการวจิ ยั แห่งชาติ ประจำ�ปงี บประมาณ 2564 ระยะเวลาท�ำ การวิจยั 1 ป ี เริ่มท�ำ การวจิ ัยเมือ่ 28 เมษายน 2564 สิน้ สุดการทำ�วจิ ยั เมอื่ 28 เมษายน 2565 ผู้รับผิดชอบประกอบด้วย หัวหน้าโครงการ นางสาวเมตตา ศิริสุข อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าทศั นศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตรแ์ ละ วัฒนธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผู้รว่ มงานวจิ ัย นายสรุ ศักดิ์ แสนโหนง่ หนว่ ยงานหลัก คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม หน่วยงานสนับสนนุ ส�ำ นักงานการวิจัยแห่งชาติ ความสำ�คัญ และท่มี าของปัญหา ดุลยภาพ คือสภาวะแหง่ ความสมดุล หรือความเท่าเสมอกนั ตามความหมายในพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี 2554 ซ่งึ ตรงกบั ค�ำ วา่ “balance” ในภาษาอังกฤษ ดุลยภาพเปน็ ภาวะที่ท�ำ ใหส้ ่งิ ทง้ั หลาย ด�ำ รงอยูแ่ ละด�ำ เนนิ ไปดว้ ยดี ท้ังนี้ความสมดลุ เกิดจากสว่ นประกอบของสรรพสิ่งท่มี ีความสมั พนั ธอย่างพอเหมาะ พอดี ไดส้ ัดส่วนระหวา่ งองค์ประกอบทัง้ หลายทถ่ี กู ประกอบสร้างขน้ึ สรรพชวี ติ บนโลกล้วนถือกำ�เนดิ และดำ�เนิน อยูไ่ ด้ด้วยสภาวะแหง่ ความสมดลุ ท่เี หมาะสม ซ่ึงเปน็ จุดเร่มิ ต้นแห่งความสมบรู ณข์ องชีวิต การรักษาสมดุลในชีวิต เปน็ ส่งิ สำ�คัญทช่ี ่วยเกื้อหนุนใหส้ ามารถด�ำ รงอยู่ได้อย่างเป็นปกติ แก่นแกนแห่งความสมดลุ ทเี่ ชื่อมโยงกบั ชีวติ และ สรรพสง่ิ เป็นแรงบนั ดาลใจเบ้ืองต้นทผี่ ลักดนั ใหค้ ณะผูว้ จิ ัยต้องการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปกรรมเชิงวชิ าการ เพื่อ พฒั นาองค์ความรู้ท่ยี ่ังยนื และสุนทรยี รสในคร้ังน้ี ดลุ ยภาพแห่งชีวิต เปน็ แนวเรื่องในการสร้างสรรค์ท่ีคณะผ้วู จิ ัย ตอ้ งการสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ความงดงามของชวี ติ ผา่ นรูปทรงซงึ่ มีที่มาจากธรรมชาตแิ ละส่อื ให้เหน็ ถึงความสมบรู ณอ์ ัน มีรากฐานเบื้องต้นมาจากความสมดุลซ่ึงเป็นส่วนประกอบสำ�คัญของสรรพชีวิตท่ีส่งผลให้สามารถกำ�เนิดและมีชีวิต อยไู่ ด้อย่างงดงาม ผา่ นผลงานทัศนศิลป์ ประเภทประติมากรรมลอยตวั ที่สรา้ งสรรค์โดยใชเ้ ทคนิคกระบวนการ เครอื่ งป้นั ดินเผาผสมผสานกับกระบวนการทางภาพพิมพ์ซ่ึงสามารถสรา้ งลวดลายและพ้นื ผวิ ให้ปรากฏในผลงานได้ อีกท้ังยังเป็นการสะทอ้ นให้เห็นถึง อตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรมของท้องถิ่นอสี านและเป็นภาพแทนของทอ้ งถน่ิ ที่มีความ เช่อื มโยงสมั พนั ธ์กบั วถิ ชี ีวติ สงั คมปจั จุบันที่ล้วนตอ้ งมีการปรบั ตวั ใหส้ ามารถใชช้ วี ติ ไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ และมีความ สมดุลในกระแสของการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทีเ่ คลอื่ นไหวอยตู่ ลอดเวลา ชาวอีสานหรอื กล่มุ ชนวฒั นธรรมไทลาวที่อาศยั อย่ใู นพื้นท่ีปจั จุบัน เปน็ กลุม่ ชาติพันธุท์ น่ี ับถอื ศาสนาฟา้ บชู าผีบรรพบรุ ษุ ผีสาง เทวดา และธรรมชาติ มคี วามรูแ้ ละทักษะในการผลิตภาชนะดนิ เผาและใช้เตาเผาดนิ ก่อ ห้องเด่ียวแบบระบายลมรอ้ นผ่านแนวนอนเป็นอยา่ งดี (สายนั ต์ ไพรชาญจิตร์, 2551 : หน้า 6) อย่างไรกต็ ามจาก การศึกษาข้อมลู เบอ้ื งตน้ พบวา่ ในพืน้ ทภี่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือปรากฏแหล่งผลติ เครือ่ งป้นั ดินเผาทมี่ ีความส�ำ คัญ หลายแหล่ง ทงั้ ในเขตแอง่ สกลนคร และแอ่งโคราช ซ่ึงพบวา่ มีทั้งกระบวนการเผาไฟต�่ำ และการเผาดว้ ยไฟแรง สูงจนไดเ้ ครือ่ งปัน้ ดนิ เผาเนือ้ แกร่ง ( สมชาย นิลอาธิ, 2554 : หนา้ 1) ซงึ่ มคี วามสอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของ สรุ ศักด์ ิ แสนโหน่ง จากงานวจิ ัยเรอ่ื ง ประติมากรรมเคร่อื งปน้ั ดินเผาร่วมสมัย

จากภูมิปญั ญาช่างทอ้ งถน่ิ แนวเรอื่ ง “ความอุดมสมบรู ณ์” ทีพ่ บวา่ กระบวนการผลติ เครอื่ งปั้นดนิ เผาในภาค 6 ตะวนั ออกเฉยี งเหนือมี 2 ลักษณะส�ำ คญั คือกระบวนการเผาแบบสุมไฟกลางแจง้ ซ่งึ เป็นการเผาดว้ ยอณุ หภมู ิ ต่ำ� เน้ือภาชนะดนิ เผามีความพรนุ เปราะบาง แตกหักง่าย น�้ำ ซึมผ่านได ้ และกระบวนการเผาแบบเตาอโุ มงค ์ เปน็ การเผาที่ใช้อณุ หภูมสิ งู เน้ือภาชนะดินเผามีความแกร่ง เคมีในเนอ้ื ดินสามารถหลอมละลายมาเคลือบทหี่ นา้ ผิวของภาชนะ นำ�้ ไม่สามารถซึมผ่านผวิ ภาชนะได้ (สุรศักด์ิ แสนโหนง่ , 2561 : หนา้ 183) ทัง้ นร้ี ากเหง้าทางวฒั นธรรมท่ีมคี วามเชอื่ มโยงกับวถิ ีการผลิต และการใช้ประโยชน์จากเครอ่ื งป้ันดนิ เผา ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ พบว่า บรรพบรุ ุษมีการผลติ เครอื่ งปั้นดนิ เผามาต้งั แต่สมัยยคุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ตาม หลกั ฐานทางโบราณคดีทมี่ กี ารขดุ คน้ พบหลายเขตพน้ื ท่ีในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยมีวตั ถุประสงค์ในการ ผลติ เพอื่ ประโยชน์ใช้สอยในชวี ติ ประจ�ำ วัน เช่น หม้อ ไห ภาชนะในการหงุ ต้ม เป็นตน้ นอกจากนั้นแลว้ ยังพบว่า มกี ารผลติ เคร่ืองป้ันดนิ เผาเพือ่ ใชใ้ นพิธีกรรมตามความเชื่อของคนในชุมชน เชน่ พธิ ีกรรมความเชอ่ื เกีย่ วกับความ ตาย ซึ่งเปน็ ความเชือ่ ในโลกหนา้ ผ่านพธิ ีการฝังศพ โดยเชือ่ วา่ การฝงั ศพเปน็ การสง่ คนตายกลับคนื ส่พู น้ื ดนิ จนเป็น ท่มี าของพธิ กี ารฝงั ศพใหค้ ล้ายท่าของทารกในครรภ์ ทเ่ี รียกวา่ พิธีการฝังศพน่ัง ซึง่ แสดงให้เหน็ ถึงพฒั นาการในเชงิ สัญลักษณท์ เี่ กีย่ วขอ้ งกนั ระหว่าง “การตาย” กบั “การเกิด” ท่ีสะทอ้ นผ่านภาชนะเครือ่ งปั้นดินเผาทใี่ ช้สำ�หรับ การฝังศพซงึ่ มีรปู ทรงคลา้ ยกบั มดลกู (สมติ ตะกรุดแกว้ , 2555 : หน้า 1) ลกั ษณะการฝังศพดงั กล่าวพบหลาย พ้ืนทใ่ี นเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โดยเฉพาะเขตทุ่งกุลาร้องไห้ อาทิเช่น แหลง่ โบราณคดีบา้ นเมืองบัว อำ�เภอ เกษตรวิสัย จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด, บา้ นก้านเหลอื ง อำ�เภอเมือง จังหวดั อุบลราชธาน,ี บ้านเชียง อำ�เภอหนองหาน จงั หวัดอดุ รธาน,ี บ้านนาดนู จังหวัดมหาสารคาม, บ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม เป็นต้น เมอื่ มีการ เปล่ียนโครงสร้างทางสังคมโดยชุมชนดำ�รงชีพในวิถีเกษตรกรรมแบบยังชีพการผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาจึงมุ่งเน้นเพ่ือ ตอบสนองการใชส้ อยในชีวติ ประจำ�วัน และเพือ่ การค้าในระยะต่อมา ดังนั้นจะเหน็ ไดว้ า่ เครอื่ งป้ันดินเผา มคี วาม ส�ำ คัญและเช่ือมโยงกับวิถชี วี ิตของผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาตั้งแต่อดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน คณะผวู้ ิจัยในฐานะ เลือดเน้ือเชื้อไขและเป็นผสู้ ืบสายโลหติ ของบรรพบรุ ุษกลุม่ วัฒนธรรมไทยลาวในเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้ ซึมซับวฒั นธรรมของบรรพบุรุษและมแี นวทางในการสืบทอด และต่อยอดทางภมู ปิ ัญญาการผลติ เคร่อื งปน้ั ดนิ เผา ด้วยการน�ำ ไปประยุกตใ์ ช้สรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ เป็นผลงานประตมิ ากรรมท่ีสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการผลิต เครื่องป้ันดินเผาแบบด้ังเดิมของชุมชนและผสมผสานกับกระบวนการภาพพิมพ์ท่ีสามารถสร้างลวดลายและพื้นผิว ให้ปรากฏในชิน้ งาน ซึ่งพบวา่ กระบวนการภาพพิมพ์ถูกน�ำ มาประยุกต์ใช้ในการตกแต่งเคร่อื งป้ันดินเผาสืบเนือ่ งมา ตงั้ แต่อดตี ถึงปจั จุบัน แต่พบว่ายังขาดองค์ความรู้ทสี่ ามารถน�ำ มาประยุกต์ใชแ้ ละเชื่อมโยงกับการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะ รว่ มสมัยในปัจจุบันได้ อยา่ งไรก็ตามการศึกษาเครือ่ งปั้นดนิ เผาทำ�ใหส้ ามารถเข้าใจถงึ สภาพความเป็นอยขู่ องผู้คน สังคม ชมุ ชน ในหลากหลายมิตทิ งั้ เรือ่ งของกระบวนการวธิ ผี ลิต แหล่งวัตถุดบิ สภาพสังคม คตธิ รรมความเชื่อ ศาสนา ศลิ ปะ ความนิยมในการใช้งาน และลักษณะของการน�ำ เครอ่ื งป้นั ดนิ เผาไปใชง้ านในชีวติ ประจ�ำ วัน กจิ กรรมประเพณ ี พธิ กี รรม ความส�ำ คญั ทางด้านเศรษฐกิจ การตดิ ตอ่ คา้ ขายแลกเปล่ยี น เส้นทางการคา้ ขาย ฯลฯ ซงึ่ เปน็ สิ่งที่ชใี้ ห้ เห็นถงึ พน้ื ฐานและขดี ความสามารถของสงั คมมนษุ ย์ในยคุ สมัยตา่ งๆ ( สายันต์ ไพรชาญจิตร,์ 2551 : หนา้ 3) ท้ังนี้ เครือ่ งปนั้ ดนิ เผาในแต่ละภูมภิ าคมีลักษณะที่มคี วามแตกต่างกนั สืบเนอ่ื งมาจากกระบวนการผลิต กระบวนการเผา คุณลกั ษณะของดินในแตล่ ะพนื้ ท ี่ ซึ่งส่ิงเหล่านล้ี ว้ นสง่ ผลให้เกดิ ลกั ษณะเดน่ ของเครื่องปน้ั ดินเผาในแต่ละแหลง่ ให้ มคี วามเหมอื นหรือแตกตา่ งกัน โครงการวิจัย ศิลปะเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา แนวเรอื่ งดลุ ยภาพแหง่ ชีวติ มีเปา้ หมายเพ่อื ม่งุ ไปส่กู ระบวนการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยซ่ึงคณะผู้วิจัยได้เล็งเห็นว่าเป็นแนวทางสำ�คัญท่ีสามารถนำ�ไปสู่การสืบทอด ภูมิปัญญาและสร้างอัตลักษณ์ของเคร่ืองป้ันดินเผาในอีสานให้มีความม่ันคงต่อไปการสร้างสรรค์ศิลปะ เครื่องปนั้ ดนิ เผาจะเป็นอกี กลไกหนงึ่ ท่ีทำ�หนา้ ทส่ี บื ทอดภูมปิ ัญญาและอัตลกั ษณท์ างศิลปกรรมของชา่ ง

ในทอ้ งถน่ิ และสามารถน�ำ กระบวนผลติ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการสร้างสรรค์ศิลปะได้อยา่ งหลากหลาย ซงึ่ เป็นเหตผุ ล 7 ส�ำ คัญท่ีน�ำ มาสโู่ ครงการสร้างสรรค์เชงิ วิชาการในคร้งั นี้ ความส�ำ คญั ของ โครงการวจิ ยั สร้างสรรคเ์ ชงิ วิชาการ ศลิ ปะเครอื่ งปนั้ ดินเผา แนวเร่อื งดลุ ยภาพแหง่ ชีวิต มุ่งเน้นศึกษาศึกษาทดลองกระบวนการสร้างสรรค์ที่ผสมผสานระหว่างการผลิตเครื่องป้ันดินเผาและกระบวนการ ทางภาพพมิ พ์ เพ่ือน�ำ ไปสูก่ ระบวนการวเิ คราะห์ สงั เคราะหเ์ ชอื่ มโยงองค์ความรู้และถ่ายทอดผ่านผลงานสร้างสรรค์ ศิลปะ โดยได้รบั แรงบันดาลใจจากรปู ทรงของสง่ิ มีชวี ิตในธรรมชาติ ในช่วงเวลาแหง่ การเกิด การผลิดอกออกใบ การเจริญเตบิ โตงอกงาม ซ่ึงแสดงให้เหน็ ถึงการเร่ิมต้นของชวี ติ ทเ่ี ต็มเปย่ี มไปด้วยความสมดุล และดุลยภาพแหง่ ชีวติ ทีอ่ ดุ มไปดว้ ยความงดงาม วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพ่อื ศึกษากระบวนการผลิตเครอ่ื งป้ันดินเผาที่มกี ารตกแตง่ และประดับลวดลายโดยใชก้ ระบวนการ ภาพพมิ พท์ ่ีปรากฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 2. เพอ่ื ศึกษาทดลองประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิคกระบวนการภาพพมิ พ์บนดนิ เผาในงานศลิ ปะร่วมสมยั โดยใชก้ ระบวนการ ภาพพิมพ์ผวิ นนู ภาพพมิ พร์ อ่ งลกึ และภาพพิมพ์ช่องฉลุ 3. เพือ่ สรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์ ประเภทประตมิ ากรรมลอยตัว โดยประยุกต์ใชผ้ ลการทดลองเทคนิค กระบวนการภาพพิมพ์บนดินเผาเพอื่ ใหเ้ กดิ สนุ ทรียรสทางศิลปกรรมทีต่ อบสนองแนวคิดเร่อื ง “ดุลยภาพแหง่ ชีวติ ” จำ�นวน 12 ชิ้น ขอบเขตของการวิจัย โครงการวจิ ัย กล่มุ เร่อื งการสรา้ งสรรคว์ ิชาการงานศิลปภ์ ายใตก้ รอบการวิจยั และนวัตกรรมการสร้างสรรค์ ศิลปกรรมเชิงวิชาการมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ท่ีย่ังยืนและสุนทรียรสการวิจัยเพ่ือสร้างสรรค์งาน ศิลปกรรมเชงิ วิชาการ สาขาทศั นศิลป์ การวิจยั คร้งั นี ้ ได้ด�ำ เนนิ การการศกึ ษาองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ภูมิปญั ญา ด้งั เดิมในการผลติ เครอ่ื งป้ันดินเผาและการสร้างลวดลายบนดนิ เผาจากกระบวนการภาพพมิ พ์ และไดน้ ำ�ผลการ ศึกษาน้ันมาทดลองเทคนิคกระบวนการภาพพิมพ์บนงานเเคร่ืองป้ันดินเผาเพ่ือนำ�ผลไปสู่กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงองค์ความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาและน�ำ ไปพฒั นาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสรา้ งสรรค์ ผลงานทัศนศลิ ป์ ในแนวเรือ่ ง “ดลุ ยภาพแหง่ ชวี ิต” จำ�นวน 12 ชิ้น โดยมขี อบเขตการศกึ ษาวิจัยดังนี้ 1. ขอบเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา 1) กำ�หนดขอบเขตพื้นทีก่ ารศึกษาเพ่ือใช้เปน็ ฐานข้อมูลในการศกึ ษากระบวนการผลิต เคร่ืองปั้นดินเผาที่มีการตกแต่งและประดับลวดลายโดยใช้กระบวนการภาพพิมพ์ที่ปรากฏในเขตพื้นท่ีภาคตะวัน ออกเฉยี งเหนอื 2) การกำ�หนดพ้นื ทส่ี �ำ หรบั กลมุ่ ตัวอยา่ งของแหลง่ ดนิ และการเผาสำ�หรบั ใช้ในการ ทดสอบกระบวนการผลติ เครอ่ื งป้นั ดินเผา รวมถึงแหลง่ ดนิ เพอื่ หาความเปน็ ไปได้ในการน�ำ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการ สรา้ งสรรค์ศิลปะ คือ แหล่งเคร่ืองปนั้ ดินเผาบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม และแหลง่ เคร่อื งปน้ั ดนิ เผาดา่ นเกวียน จังหวดั นครราชสีมา

2. ข อบเขตการสรา้ งสรรคก์ ารศกึ ษาวจิ ยั ครง้ั นไี้ ดก้ �ำ หนดขอบเขตการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปกรรม 8 สาขาทศั นศลิ ป ์ ประเภทผลงานประตมิ ากรรมสามมติ ิ แบบลอยตวั โดยก�ำ หนดขอบเขตด้านเนื้อหา รูปแบบ และเทคนคิ วิธกี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1) ขอบเขตด้านเนือ้ หา กรอบแนวเรอื่ งในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ครั้งนคี้ ือ ดลุ ยภาพ แหง่ ชีวิต โดยมเี ป้าหมายเพ่ือสอ่ื ใหเ้ หน็ ถึงความสมดุลของชวี ิตซึง่ เป็นแก่นแกนของสรรพสง่ิ ทีป่ ระกอบสร้างให้ชีวิต สามารถด�ำ รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งงดงาม 2) ขอบเขตด้านรปู แบบ ถา่ ยทอดผลงานประติมากรรมสรา้ งสรรค์โดยใชร้ ูปทรงอุดมคติ ที่อ้างอิงจากรปู ทรงในธรรมชาติทม่ี หี ลกั สนุ ทรยี ศาสตร์แบบดั้งเดิมของผลงานประติมากรรม 3) ขอบเขตด้านเทคนคิ กระบวนการ สร้างสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมสามมิตผิ สมผสาน การประยกุ ต์ใชภ้ าพพิมพ์ กระบวนการต่างๆเพ่ือสรา้ งพืน้ ผิวและลวดลายให้ปรากฏในชนิ้ งานรวมท้ังกระบวนการ เผาแกร่งและเผาอุณหภูมิตำ่�เพ่ือให้ผลของทัศนธาตุท่ีปรากฏในผลงานมีความหลากลายสามารถตอบสนองกับ แนวคดิ และเป้าหมายในการสร้างสรรคผ์ ลงานได้อย่างเปน็ รปู ธรรม ทฤษฎี สมมตฐิ านและ/หรอื กรอบแนวความคิดของการวิจยั สาระของการสร้างสรรค์ผลงานในครั้งน้ีเพื่อประยุกต์ใช้กระบวนการผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาและ กระบวนการภาพพมิ พ ์ สรา้ งสรรค์ผลงานงานศิลปะรว่ มสมยั ภายใตก้ รอบแนวเรอ่ื ง “ดลุ ยภาพแห่งชีวิต” โดย สรา้ งสรรค์เปน็ ผลงานประติมากรรมลอยตวั ซงึ่ ส่ือความหมายผา่ นรปู ทรงอดุ มคตทิ อ่ี ้างองิ ถงึ รูปทรงในธรรมชาติ ท่ีแสดงให้เห็นถึงความสมบูรณ์อันมีรากฐานมาจากความสมดุลของสรรพชีวิตท่ีดำ�รงอยู่ในธรรมชาติผลงาน ประติมากรรมสร้างสรรค์ในงานวิจัยคร้ังน้ีจะเป็นส่ือกลางเช่ือมโยงแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์และความสำ�คัญ ของเครื่องปั้นดินเผาในท้องถิ่นที่ได้รับการต่อยอดทางภูมิปัญญาผ่านผลงานศิลปกรรมซ่ึงเป็นกระบวนการศึกษา วิจัยเพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและการสร้างสรรค์ผลงาน ประติมากรรมเครือ่ งป้นั ดนิ เผาร่วมสมยั ต่อไป ทง้ั น้ีโครงการวิจยั สรา้ งสรรคเ์ ชิงวชิ าการ ศลิ ปะเคร่อื งปนั้ ดินเผา แนว เร่ือง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” ผูว้ จิ ยั ได้ใช้แนวคิดสนุ ทรยี ศาสตร์ในการวิเคราะหแ์ ละสร้างสรรคผ์ ลงานประติมากรรม โดยมีกรอบแนวคิดของการวิจัยและสรา้ งสรรค ์ ดงั น้ี กรอบแนวคดิ

ระยะเวลาทำ�การวจิ ัย และแผนการดำ�เนินงานตลอดโครงการวจิ ยั 9 โครงการสร้างสรรคเ์ ชิงวชิ าการ ศลิ ปะเคร่อื งปน้ั ดนิ เผา แนวเรื่องดุลยภาพแหง่ ชวี ิต ประกอบไปด้วย ผลงานประติมากรรม จ�ำ นวน 12 ชนิ้ ทง้ั นใ้ี ช้ระยะเวลาด�ำ เนินงานตลอดโครงการ 1 ปี ซง่ึ แผนการดำ�เนินงาน โครงการสร้างสรรคไ์ ด้กำ�หนดวางแผนงานไว้ 3 ดา้ นท่ีส�ำ คัญ ประกอบด้วย 1) ดา้ นการศึกษาวจิ ยั ขอ้ มูลพนื้ ฐานที่ เก่ียวข้อง 2) ด้านก ารทดลอ งเชิงปฏิบตั กิ ารเพื่อหาความเปน็ ไปได้ ศกึ ษาความเปน็ มา และองค์ความรเู้ ก่ียวกบั เครื่องปนั้ ดินเผาในภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื และกระบวนการภาพพมิ พ์ทปี่ รากฏในงานเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา ลงพ้นื ที่ ศึกษาองค์ความรู้จากภูมิปัญญาในการผลิตเคร่อื งป้ันดนิ เผา และลักษณะของเคร่ืองป้นั ดินเผา ความสมั พนั ธ์ของเครื่องป้ันดินเผากบั วิถีชีวติ ของคน ในพื้นที่งานวจิ ยั ทดลองประยกุ ต์ใช้เทคนิคกระบวนการภาพพิมพบ์ นดินเผาในงานศลิ ปะ โดยใชก้ ระบวนการ ภาพพมิ พ์ผิวนูน ภาพพิมพ์ร่องลึก และภาพพิมพช์ ่องฉลุ วิเคราะหผ์ ลการศึกษาทดลองการประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ กระบวนการภาพพมิ พ์ บนดนิ เผาในงานศิลปะ เพ่ือนามาประยุกตใ์ ช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน ศลิ ปกรรม การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะเครื่องป้นั ดนิ เผา แนวเร่ือง “ดุลยภาพแห่งชวี ติ ” วพิ ากษ์และประเมนิ คุณค่าผลงานศิลปกรรมโดยผู้เช่ยี วชาญทางทัศนศิลป์ เผยแพร่ผลงานศิลปกรรมในรูปแบบนิทรรศการศิลปะ ถา่ ยทอดเผยแพร่องค์ความรใู้ นรูปแบบบรรยาย สรุปรายงานผลโครงการ

เปา้ หมายของผลผลติ (Output) และตัวชวี้ ัด 10 1. ผลงานศิลปกรรมสรา้ งสรรค์ประตมิ ากรรมเครือ่ งปั้นดินเผา แนวเร่อื ง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” จำ�นวน 12 ชน้ิ ขนาดไมต่ �่ำ กวา่ 40 เซนตเิ มตร และไม่เกิน 150 x150 x150 เซนตเิ มตร 2.องค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการพิมพ์บนดินเผาและกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ เครอ่ื งปน้ั ดินเผา 3.การเผยแพรผ่ ลงานศิลปกรรม ในรปู แบบการจดั นทิ รรศการทางศิลปกรรม 4.การเพื่อเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้อธบิ ายกระบวนการสร้างสรรคง์ านศลิ ปกรรม และเอกสารสรุปรายงานการ วิจัยตารางแสดงผลผลิตและตัวชี้วัดของโครงการวจิ ยั 1 ปี เปา้ หมายของผลลพั ธ์ (Outcome) และตัวชวี้ ัด 1.เกิดองค์ความรู้ใหม่ทางด้านการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเครื่องปั้นดินเผาจากอัตลักษณ์ เคร่อื งปั้นดินเผาในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2. เกดิ คณุ ประโยชนด์ า้ นคุณคา่ ทางดา้ นวิชาการศิลปกรรม 3.เกดิ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้เพือ่ การเผยแพรผ่ ลงานศลิ ปกรรมในรปู แบบผลงานแสดง หรอื งานนิทรรศการ 4. เกิดการการน�ำ ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชนใ์ นการตอ่ ยอด ประยุกต์ใช้และพฒั นารปู แบบ ผลงานประติมากรรมเครอื่ งปน้ั ดินเผาในวงวิชาการและการสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมด้านทศั นศิลป์ ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการวิจัย 1. ไดศ้ กึ ษาองค์ความรู้เก่ยี วกบั อัตลกั ษณ์เครอ่ื งป้นั ดินเผา ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2. ได้องคค์ วามรูใ้ หมใ่ นกระบวนการสรา้ งสรรค์ประติมากรรมเครือ่ งปน้ั ดินเผาและ การประยุกต์ใช้เทคนิคกระบวนการภาพพิมพ์บนดินเผาในสร้างพื้นผิวและลวดลายให้ปรากฏในผลงานงานศิลปะ ซ่งึ จะช่วยใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ วงการสร้างสรรค์ประตมิ ากรรม และเครือ่ งปน้ั ดินเผาตอ่ ไป 3. ไดแ้ นวทางในการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปกรรมเครอ่ื งป้ันดนิ เผาร่วมสมัย จากคณุ ค่าของทุนทาง ภูมิปัญญาของช่างปัน้ ดินเผาในทอ้ งถนิ่ 4. ไดผ้ ลงานประตมิ ากรรมเครือ่ งปน้ั ดนิ เผาร่วมสมัยที่สะท้อนภาพของดุลยภาพแห่งชีวิต ในรปู แบบผลงานศิลปกรรมสู่การรับรขู้ องสาธารณะชนในวงกวา้ ง

11 ผลการศึกษาโดยสรุป วัตถุประสงคข์ อ้ 1. เพื่อศกึ ษากระบวนการผลิตเครอื่ งปั้นดินเผาท่ีมกี ารตกแตง่ และประดับลวดลายโดยใช้ กระบวนการภาพพมิ พท์ ี่ปรากฏในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จากการศึกษาการผลิตเคร่ืองป้ันดินเผาที่มีการสร้างพ้ืนผิวและลวดลายโดยใช้กระบวนการภาพพิมพ์ที่ ปรากฏในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ สามารถสรปุ ผลการศกึ ษาได้ว่า การผลติ เคร่ืองปั้นดินเผาในเขตพนื้ ที่ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะตามกระบวนการเผาท่ีใช้อุณหภูมิตา่ งกัน คือ เคร่ืองป้นั ดินเผา เนื้อดินธรรมดา (Earthenware) ซึ่งเผาดว้ ยอุณหภมู ติ �ำ่ และเครอ่ื งปน้ั ดินเผาเนอื้ แกร่ง (Stoneware) ซง่ึ เผา ด้วยอณุ หภูมิสงู จนแร่ในดินถกู หลอมออกมาเคลือบทผ่ี ิวภาชนะ โดยมีการพบแหล่งผลิตเครือ่ งปั้นดนิ เผากระจาย อยู่หลายพื้นท่ีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งน้ีพบว่าการผลิตเครื่องป้ันดินเผามีปรากฏในพื้นที่ต้ังแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งปจั จบุ ันได้กลายเป็นแหลง่ โบราณคดที ส่ี ำ�คญั อาทิเชน่ แหล่งโบราณคดีบา้ นเชยี ง จงั หวัด อดุ รธานี, แหลง่ โบราณคดบี า้ นปราสาท จังหวดั นครราชสีมา, แหล่งโบราณคดีบา้ นเมอื งบวั อ�ำ เภอเกษตรวสิ ยั จงั หวดั รอ้ ยเอด็ เป็นตน้ อย่างไรก็ตามพบวา่ การผลติ ภาชนะเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผามีพฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงเป็น แตล่ ะชว่ งเวลา เทคโนโลยใี นกระบวนการผลิตส่งผลใหร้ ูปแบบของภาชนะเครือ่ งปน้ั ดนิ เผาทีป่ รากฏมลี กั ษณะแตก ต่างกนั ไป สำ�หรบั กระบวนการสร้างพ้นื ผวิ และลวดลายบนเครอ่ื งป้ันดินเผาโดยใชก้ ระบวนการภาพพิมพน์ ้ัน พบ ว่ามนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้เรียนรู้กระบวนการผลิตเครื่องป้ันดินเผาและกระบวนการภาพพิมพ์ในช่วงระยะ เวลาใกล้เคียงกนั ส่งผลให้เกดิ ประดิษฐกรรมเคร่อื งปั้นดนิ เผาทผ่ี สมผสานการพมิ พเ์ พ่อื สรา้ งพ้ืนผิวและลวดลายบน ภาชนะเหลา่ น้นั ดงั จะเหน็ ได้จากภาชนะเคร่ืองปน้ั ดินเผาลายเชอื กทาบซึ่งพบในเขตพื้นทบ่ี ้านเชียง จงั หวดั อุดรธานี เปน็ ตน้ การผลิตเครื่องป้ันดินเผาท่ีมีการสร้างพ้ืนผิวและลวดลายโดยใช้กระบวนการภาพพิมพ์ท่ีปรากฏในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือสันนิษฐานจากข้อมูลที่พบในพื้นที่เบ้ืองต้นสามารถสรุปได้ว่าในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียง เหนือมีการใช้กระบวนการพมิ พ์จากแมพ่ มิ พผ์ วิ นนู เปน็ หลกั เพื่อสรา้ งพื้นผิวและลวดลายบนภาชนะดนิ เผา โดย ใชแ้ มพ่ ิมพจ์ ากธรรมชาติและการประดิษฐข์ น้ึ ซึ่งประกอบไปดว้ ย เชือกฟ่นั ลูกกลง้ิ ดนิ เผา แม่พมิ พ์ไมแ้ กะสลัก กระบวนการพมิ พ์คือการใช้แมพ่ ิมพเ์ หล่าน้นั กดประทับลอยลงบนภาชนะทข่ี ้ึนรปู แล้วและดินยังมีความนิม่ อยู่ การ พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ผิวนูนเป็นกระบวนการด้ังเดิมต้ังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ท่ีพบว่าในปัจจุบันก็ยังคงมีการกด ประทบั รอยด้วยกระบวนการแบบดง้ั เดิมนี้อยู่ดงั เชน่ ในแหล่งผลติ เครอ่ื งป้นั ดนิ เผาบา้ นหม้อ จังหวดั มหาสารคาม ทมี่ ีการแกะสลักไมท้ ่เี รยี กว่าไม้สกั คอ เพือ่ ใช้ในการสรา้ งลวดลายบนผวิ ภาชนะ การสรา้ งพืน้ ผิวด้วยกระบวนการ พมิ พจ์ ากแม่พิมพผ์ ิวนูนน้พี บในเครอ่ื งป้นั ดินเผาเนือ้ ดินธรรมดา (Earthenware) เป็นส่วนใหญ่ การตปี ระทบั ลายบนคอของภาชนะเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาโดยใชไ้ ม้สักคอ ท่ีมา : (กลุ่มพฒั นาเครอื่ งป้นั ดินเผา บา้ นหม้อ จงั หวัดมหาสารคาม, 2564)

12 อย่างไรก็ตามปัจจุบันพบมีการสร้างลวดลายบนผิวภาชนะเนื้อแกร่งด้วยกระบวนการพิมพ์รูปลอกซึ่ง เหมาะกับการผลิตจำ�นวนมาก โดยสามารถควบคุมคณุ ภาพและปริมาณได ้ ทัง้ นีจ้ ากการศกึ ษาไมป่ รากฏพบ กระบวนการผลิตที่ใช้วธิ กี ารพมิ พ์ชอ่ งฉลุเพื่อสร้างลวดลายในเขตพน้ื ทภ่ี าคตะวันออกเฉียงเหนอื แตพ่ บในจงั หวดั ราชบุรที ่มี กี ารผลิตโอง่ มงั กร ท่มี ีการใชก้ ระบวนการพิมพช์ ่องฉลุในการสร้างลวดลายลงบนโอง่ ซง่ึ ท�ำ ให้เกดิ ภาพ และมลี ักษณะเฉพาะท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์ส�ำ คญั ของโอ่งมงั กร จังหวดั ราชบรุ ี วตั ถุประสงคข์ อ้ 2. เพ่อื ศึกษาทดลองประยกุ ต์ใชเ้ ทคนคิ กระบวนการภาพพิมพ์บนดนิ เผาในงานศลิ ปะรว่ ม สมัย โดยใช้กระบวนการ ภาพพมิ พ์ผิวนูน ภาพพิมพ์รอ่ งลกึ และภาพพมิ พ์ช่องฉลุ ตารางการกำ�หนดวสั ดแุ ละกระบวนการทดสอบภาพพิมพ์บนดนิ เผา พืน้ รองรับ ดินท่ีนำ�มา ลกั ษณะของแม่ กระบวนการ กระบวนการสรา้ งแม่พิมพแ์ ละการพิมพ์ ดนิ ปน้ั จากแหล่งดนิ ท�ำ นำ้�สลิป พิมพ์ สรา้ งภาพ บา้ นหมอ้ 1.ดนิ ขาว (ดินเหนยี วผสม ลำ�ปาง แม่พิมพผ์ วิ นูน สร้างภาพจาก แกะสลักแมพ่ ิมพ์จากไม,้ ยางลบ ให้มีความนูนขึ้น ก๊อกเหมาะกับ 2.ดนิ ลกู รงั ผวิ นูน เพือ่ ใหส้ ามารถกดประทบั รอยลงบนดินทีเ่ ปน็ พนื้ กระบวนการเผา รองรับ เนน้ ใหเ้ กดิ ภาพจากส่วนนูนของแม่พิมพ์ที่ อุณหภมู ติ �่ำ แบบสมุ 3.ดนิ กดประทบั ลงบนพืน้ รองรับ ไฟกลางแจ้ง และ บ้านหมอ้ สามารถเผาดว้ ยไฟ แมพ่ มิ พ์ผิวนนู สรา้ งภาพจาก แกะสลกั แม่พิมพจ์ ากไม้เช่นเดียวกันกบั แมพ่ มิ พ์ผิว อณุ หภมู ิสงู ได)้ รอ่ งลกึ นูน แต่ตา่ งกันตรงทีก่ ระบวนการร่องลกึ จะเน้นให้ เกิดภาพจากร่องท่ีเกดิ จากการกดทับของแมพ่ มิ พ์ และเติมสดี นิ ลงในรอ่ งลกึ เพื่อให้เกดิ ภาพทชี่ ดั มีสีท่ี ต่างจากพ้นื ดา้ นบน แมพ่ ิมพ์ชอ่ งฉลุ สรา้ งภาพจาก 1.ฉลกุ ระดาษให้เกดิ ชอ่ งท่ตี ้องการให้สดี นิ ลงไปติดที่ การเปดิ และปิด พน้ื รองรับ ช่อง 2.ใชแ้ มพ่ มิ พจ์ ากธรรมชาตเิ ป็นตวั กัน้ สดี ินและเปดิ ชอ่ งใหส้ ดี ินลงไปติดทพี่ ื้นรองรับ เช่นใบไม้

ตารางสรปุ ผลการศกึ ษาทดลองประยุกต์ใชก้ ระบวนการภาพพิมพ์บนดนิ เผาในงานศิลปะ 13 ความเหมาะสมในการน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ ภาพผลงาน กระบวนการพมิ พ์และการใช้สีดนิ ความ ความเด่นชัด กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถน�ำ สมของ สนี ้ำ�ดนิ ไปประยกุ ต์ แมพ่ ิมพ์ ใช้ในการ สร้างสรรค์ ใชก้ ระบวนการพิมพน์ ูนจากแม่พมิ พ์ไม้ตะเกยี บ มีความ มีความคมชดั สามารถนำ� เพอ่ื กดประทบั รอยลงบนแผน่ ดินทยี่ ังน่มิ อย่ ู และกด เหมาะ เหมาะสม ไปประยุกต์ ประทับสขี องน้ำ�ดินด้วยฟองน�้ำ โดยใช้น�้ำ ดินลำ�ปาง และ สม นำ�้ ดนิ ลกู รัง ใชใ้ นการ หลงั เผาผลปรากฏภาพมคี วามคมชัดทงั้ การประทับ สรา้ งสรรค์ได้ รอยของวัสดุและน้ำ�ดินสรุปสามารถนำ�ไปประยุกต์ ใชไ้ ด้ การกดประทบั รอยสามารถสร้างพ้ืนผิว และน้�ำ ดนิ สามารถสร้างมิติของสีให้มีความแตกต่างของนำ้�หนักสี ได้ ใช้กระบวนการพมิ พ์นนู จากแมพ่ ิมพเ์ ส้นเชือกและ 1) เชอื ก มีความคมชดั สามารถนำ� เมด็ ข้าวสาร เพอื่ กดประทบั รอยลงบนแผ่นดินที่ยังน่ิม มคี วาม เหมาะสม ไปประยกุ ต์ อย ู่ สรา้ งภาพจากส่วนรอ่ งลกึ โดยลงสนี ้ำ�ดนิ ล�ำ ปาง เหมาะ ใช้ในการ น้�ำ ดินลกู รังและน้�ำ ดินบ้านหมอ้ ลงในส่วนของรอ่ งลึกท่ี สม สร้างสรรค์ได้ ถกู กดประทับรอย 2) เม็ด หลงั เผาผลปรากฏภาพมคี วามคมชดั ทั้งการประทบั ข้าวสาร รอยของเส้นเชือก และเมด็ ข้าว การลงสีน�้ำ ดนิ ในรอ่ ง ไม่มีความ ลึกพึงระวังความคมชัดของพน้ื ผวิ อาจหายไปหากลงสี เหมาะสม นำ้�ดินในปรมิ าณมากเกินความพอดี สรุปสามารถน�ำ ไป เนื่องจาก ประยุกต์ใช้ในการสรา้ งสรรค์ได้ กากแม่ พมิ พม์ ี ความ ละเอยี ด หากน�ำ ไปใช้ควร เผาให้ สุกพรอ้ ม เนื้อดิน

ความเหมาะสมในการน�ำ ไปประยุกต์ใช้ 14 ภาพผลงาน กระบวนการพิมพแ์ ละการใช้สีดิน ความ ความเด่นชัด กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถนำ� สมของ สนี ำ้�ดนิ ไปประยุกต์ แมพ่ ิมพ์ ใช้ในการ สรา้ งสรรค์ ใชก้ ระบวนการพิมพ์นูนจากแมพ่ ิมพถ์ ุงพลาสตกิ 1) ถงุ มคี วามคมชดั สามารถนำ� และไมต้ ะเกยี บ เพอื่ กดประทับรอยลงบนแผน่ ดินทีย่ ัง พลาสตกิ เหมาะสม ไปประยกุ ต์ น่ิมอยู่ สร้างน้ำ�หนักของภาพโดยการลงนำ้�ดนิ ในสว่ น ไม่เหมาะ ใชใ้ นการ บนของภาพภาพจากส่วนร่องลึกโดยลงสีน้ำ�ดินลำ�ปาง สม สร้างสรรคไ์ ด้ น้�ำ ดินลกู รงั 2) ไม้ แต่การสรา้ ง หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการกดสรา้ งรอ่ งรอยดว้ ย ตะเกยี บ พื้นผวิ ด้วยถุง ถุงพลาสติก ไมม่ ีความคมชดั ระดบั ของพืน้ ผิวไม่เหมาะ มคี วาม พลาสติกไม่ กบั การนำ�มาสรา้ งภาพแต่สามารถสรา้ งพน้ื ผวิ ได ้ สขี อง เหมาะ สามารถสร้าง น้ำ�ดินมีความคมชัดน้ำ�ดินในร่องลึกพึงระวังความคม สม ความคมชดั ชัดของพ้ืนผิวอาจหายไปหากลงสีนำ้�ดินในปริมาณมาก และระดบั เกินความพอดี สรปุ สามารถน�ำ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ ความสูงตำ�่ สร้างสรรค์ได้ ของพ้นื ผวิ ได้ ใช้กระบวนการพมิ พ์นนู จากแมพ่ มิ พแ์ กะไม้ เพ่อื มคี วาม ไมป่ รากฏผล สามารถน�ำ กดประทบั รอยลงบนแผ่นดนิ ท่ยี งั นิ่มอย ู่ สร้างน้�ำ หนัก คมชดั ทช่ี ัดเจน ไปประยุกต์ ของภาพโดยการใช้สีของน�ำ้ ดินบ้านหม้อกดประทับด้วย เหมาะสม ใชใ้ นการ ฟองน�ำ้ ลงบริเวณสว่ นบนของภาพ สร้างสรรค์ หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการกดสร้างรอ่ งรอย ได้แตก่ ารให้ ดว้ ยแม่พิมพแ์ กะไม้ มีความคมชดั ระดบั ของพนื้ ผวิ มี สีความคำ�นงึ การถูกกดให้ยบุ ตวั ลงตามแบบของแม่พิมพ์ ถงึ ผลลพั ท์ที่ สขี องน้ำ�ดินทฉ่ี าบบริเวณส่วนบนของภาพไม่ปรากฏผล จะได้รบั ความต่างของน�้ำ หนักสี เพราะสว่ นรอ่ งและสว่ นบนมนี ้ำ� หนักสเี ดียวกัน แตโ่ ดยสรปุ สามารถน�ำ ไปประยุกตใ์ ชใ้ น การสร้างสรรคไ์ ด้ ใชก้ ระบวนการพิมพ์นูนจากแม่พิมพ์แกะไม้ เพ่ือ มคี วาม มีความคมชัด สามารถนำ� กดประทบั รอยลงบนแผ่นดนิ ทีย่ ังนิ่มอย ู่ สรา้ งน้�ำ หนัก คมชดั เหมาะสม ไปประยกุ ต์ ของภาพโดยการใช้สขี องน�ำ้ ดนิ ลำ�ปางกดประทับดว้ ย เหมาะสม ใชใ้ นการ ฟองน้�ำ ลงบริเวณส่วนบนของภาพ สร้างสรรคไ์ ด้ หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการกดสร้างร่องรอย ดว้ ยแมพ่ ิมพแ์ กะไม้ มคี วามคมชดั ระดบั ของพ้นื ผวิ มี การถกู กดใหย้ บุ ตวั ลงตามแบบของแมพ่ มิ พ์ สขี องนำ้�ดนิ ทีฉ่ าบบริเวณส่วนบนของภาพปรากฏผลมี ความคมชัดและมคี ่านำ้�หนักสีท่มี คี วามแตกต่างกับสว่ น รอ่ งลึก สรปุ สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการสร้างสรรค์ ได้

ความเหมาะสมในการนำ�ไปประยกุ ต์ใช้ 15 ภาพผลงาน กระบวนการพมิ พ์และการใชส้ ีดิน ความ ความเด่นชดั กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถน�ำ สมของ สนี �้ำ ดนิ ไปประยกุ ต์ แมพ่ มิ พ์ ใช้ในการ สร้างสรรค์ ใช้กระบวนการพิมพ์นนู จากแม่พมิ พ์แกะไม้ เพอ่ื กด มคี วาม ไมป่ รากฏ สามารถน�ำ ประทับรอยลงบนแผ่นดนิ ทย่ี งั นมิ่ อย่ ู สร้างน�้ำ หนักของ คมชดั ผลทีช่ ัดเจน ไปประยกุ ต์ ภาพโดยการใช้สีของนำ้�ดินลูกรังกดประทับด้วยฟองน้ำ� เหมาะสม มมากนกั ใชใ้ นการ ลงบริเวณส่วนบนของภาพ เนอ่ื งจากมี สร้างสรรค์ หลังเผาผลปรากฏภาพจากการกดสร้างรอ่ งรอยด้วย ค่าน้ำ�หนักสี ได้แต่การ แม่พิมพแ์ กะไม้ มีความคมชดั ระดับของพ้นื ผิวมีการถูก ใกล้เคยี งกัน สร้างนำ้�หนกั กดใหย้ ุบตัวลงตามแบบของแม่พิมพ์ สคี วามค�ำ นึง สีของนำ้�ดินท่ีฉาบบริเวณส่วนบนของภาพไม่ปรากฏผล ถึงผลลพั ทท์ ่ี ความต่างของนำ�้ หนักสมี ากนกั แตโ่ ดยสรปุ สามารถนำ� จะไดร้ ับ ไปประยุกต์ใช้ในการสรา้ งสรรค์ได้ ใชก้ ระบวนการพมิ พ์นนู จากแม่พิมพแ์ กะยางลบ มคี วาม มีความคมชดั โดยการดงึ ภาพออกวิธกี ารคอื ฉาบผวิ ของแผ่นดนิ คมชดั เหมาะสม รองรับด้วยสีนำ้�ดนิ ล�ำ ปางใหท้ ่ัวแผ่น แล้วใช้แมพ่ มิ พ์ เหมาะสม ยางลบกดประทับเพ่อื ดึงสีของน�้ำ สลีปทีฉ่ าบออกเพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดลวดลายจากแม่พมิ พ์ หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการสร้างรอ่ งรอยด้วย แมพ่ มิ พ์แกะยางลบ มคี วามคมชัดของลวดลาย ระดับความตา่ งของพนื้ ผิว ไม่ สขี องกระบวนการสร้างลวดลายจากน�ำ้ ดนิ มีความ คมชดั สรุปสามารถนำ�ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการสร้างสรรค์ ได้ ใช้กระบวนการพิมพ์นูนจากแม่พมิ พ์แกะยางลบ มีความ มีความคมชัด สามารถน�ำ โดยการดึงภาพออกวธิ ีการคือฉาบผวิ ของแผ่นดนิ คมชัด ในบรเิ วณที่ ไปประยุกต์ รองรบั ดว้ ยสนี �้ำ ดินลำ�ปาง และนำ�้ ดนิ ลกู รังโดยการไล่ เหมาะสม ใช้นำ้� ใช้ในการ คา่ น�ำ้ หนักให้ท่วั แผน่ แล้วใชแ้ มพ่ ิมพย์ างลบกดประทับ สลิปจากดนิ สรา้ งสรรคไ์ ด้ เพอื่ ดงึ สีของนำ�้ สลิปทฉี่ าบออกเพอ่ื ก่อใหเ้ กิดลวดลาย ลำ�ปาง แต่การสรา้ ง จากแมพ่ มิ พ์ พืน้ ผวิ ดว้ ย หลังเผาผลปรากฏภาพจากการสร้างรอ่ งรอย แมพ่ ิมพแ์ กะ ด้วยแม่พมิ พ์แกะยางลบ มคี วามคมชดั ของลวดลาย ยางลบไม่ ระดับความต่างของพนื้ ผิวไม่ สีของกระบวนการสร้าง สามารถสรา้ ง ลวดลายจากน้ำ�ดนิ มคี วามคมชดั สรุปสามารถน�ำ ไป ระดบั ความ ประยุกตใ์ ช้ในการสร้างสรรคไ์ ด้ สูงต่ำ�ของพืน้ ผิวได้

16 ความเหมาะสมในการนำ�ไปประยุกต์ใช้ ภาพผลงาน กระบวนการพิมพ์และการใชส้ ีดิน ความ ความเด่นชดั กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถนำ� สมของ สีน�้ำ ดนิ ไปประยุกต์ แม่พิมพ์ ใชใ้ นการ สรา้ งสรรค์ ใชก้ ระบวนการพมิ พน์ ูนจากแมพ่ มิ พ์แกะไม้ เพอ่ื กด มคี วาม มีความคมชดั สามารถน�ำ ประทบั รอยลงบนแผ่นดนิ ทยี่ ังน่มิ อยู่ สร้างนำ้�หนกั ของ คมชดั เหมาะสม ไปประยกุ ต์ ภาพในร่องลกึ โดยการใช้สีของน้�ำ ดินล�ำ ปาง และสขี อง เหมาะสม ใชใ้ นการ น้�ำ ดินลกู รังระบายลงรอ่ งบรเิ วณส่วนลึกของภาพ สรา้ งสรรคไ์ ด้ หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการกดสร้างรอ่ งรอยดว้ ย แมพ่ ิมพ์แกะไม้ มคี วามคมชัด ระดบั ของพ้ืนผิวมกี ารถูก กดให้ยุบตัวลงตามแบบของแม่พิมพ์ สีของนำ�้ ดนิ บรเิ วณ ส่วนลึกของภาพปรากฏผลมีความคมชัดและมีค่านำ้� หนักสที ี่มีความแตกตา่ งกับสดี ินสว่ นบน สรุปสามารถ น�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการสรา้ งสรรค์ได้ ใช้กระบวนการพิมพน์ นู จากแม่พิมพ์แกะไม้ เพ่ือกด มคี วาม มคี วามคมชัด สามารถน�ำ ประทบั รอยลงบนแผน่ ดินทยี่ ังนม่ิ อยู่ สรา้ งน�้ำ หนกั ของ คมชัด เหมาะสม ไปประยกุ ต์ ภาพในร่องลกึ โดยการใช้สีของนำ�้ ดนิ ลำ�ปาง และสขี อง เหมาะสม ใช้ในการ น้�ำ ดนิ ลูกรังระบายลงรอ่ งบรเิ วณส่วนลึกของภาพ สรา้ งสรรค์ได้ หลังเผาผลปรากฏภาพจากการกดสรา้ งรอ่ งรอย ดว้ ยแมพ่ ิมพแ์ กะไม้ มีความคมชดั ระดบั ของพนื้ ผวิ มี การถกู กดให้ยุบตวั ลงตามแบบของแมพ่ มิ พส์ ขี องน�ำ้ ดนิ บรเิ วณส่วนลกึ ของภาพปรากฏผลมคี วามคมชัดและ มีค่าน้�ำ หนักสีท่มี ีความแตกตา่ งกับสดี ินส่วนบน สรุป สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในการสรา้ งสรรค์ได้ ใช้กระบวนการพิมพน์ นู จากแม่พมิ พ์แกะไม้ เพอ่ื กด มคี วาม มีความคมชัด สามารถน�ำ ประทบั รอยลงบนแผ่นดินที่ยังนม่ิ อยู ่ สรา้ งน�ำ้ หนักของ คมชัด เหมาะสม ไปประยุกต์ ภาพในรอ่ งลกึ โดยการใช้สขี องน�ำ้ ดนิ ลูกรังระบายลงรอ่ ง เหมาะสม ใช้ในการ บรเิ วณสว่ นลึกของภาพ สร้างสรรคไ์ ด้ หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการกดสรา้ งรอ่ งรอย ดว้ ยแมพ่ มิ พ์แกะไม ้ มีความคมชัด ระดับของพ้ืนผิว มีการถูกกดใหย้ บุ ตัวลงตามแบบของแม่พิมพ์ สขี องนำ้� ดนิ บริเวณส่วนลึกของภาพปรากฏผลมีความคมชัดและ มีคา่ นำ�้ หนกั สีทม่ี ีความแตกต่างกบั สีดินสว่ นบน สรุป สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในการสรา้ งสรรค์ได้

ความเหมาะสมในการนำ�ไปประยกุ ต์ใช้ 17 ภาพผลงาน กระบวนการพิมพแ์ ละการใช้สดี นิ ความ ความเด่นชดั กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถน�ำ สมของ สีน้�ำ ดนิ ไปประยกุ ต์ แมพ่ มิ พ์ ใช้ในการ สรา้ งสรรค์ ใช้กระบวนการพิมพ์ชอ่ งฉลุโดยการปดิ ชอ่ งดว้ ย มีความ มีความคมชดั สามารถนำ� ใบไม้ เพอ่ื สรา้ งภาพให้ปรากฏ สรา้ งนำ�้ หนกั สขี องภาพ คมชัด เหมาะสม ไปประยุกต์ โดยการพ่นน้�ำ ของสดี นิ ล�ำ ปาง น�้ำ สีดินบ้านหมอ้ และ เหมาะสม ใชใ้ นการ น้�ำ สดี ินลูกรงั ลงบนพน้ื รองรบั ทถี่ กู ปดิ ก้ันฉากพมิ พแ์ ม่ สรา้ งสรรคไ์ ด้ พิมพใ์ บไม ้ สีท่พี น่ ลงก็จะไปเกาะเปน็ ละอองเม็ดสีทบี่ น พน้ื ของดนิ รองรบั ส่วนที่ใบไม้กนั้ อยู่เม่อื เปิดออกกจ็ ะ ปรากฏสขี องพื้นด้านลา่ ง หลังเผาผลปรากฏภาพจากการการพิมพ์ด้วยแม่ พิมพช์ อ่ งฉลจุ ากใบไม้ มคี วามคมชดั ระดับของพน้ื ผวิ อยู่ในระนาบเดยี วกนั ทั้งหมด แตน่ ำ�้ หนักของ สที ่ี ปรากฏผลมีความคมชัดและมีค่านำ้�หนักสีที่มีความแตก ต่างกันสามารถสร้างมิติและการทับซ้อนของภาพได้ สรุปสามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในการสร้างสรรค์ได้ ใชก้ ระบวนการพิมพช์ อ่ งฉลโุ ดยการปดิ ช่องด้วย มีความ มคี วามคมชัด สามารถน�ำ ใบไม้ เพือ่ สรา้ งภาพให้ปรากฏ สร้างน�ำ้ หนักสีของภาพ คมชัด เหมาะสม ไปประยกุ ต์ โดยการพ่นน�้ำ ของสีดนิ ล�ำ ปาง นำ้�สดี ินบา้ นหมอ้ และ เหมาะสม ใช้ในการ น�้ำ สดี นิ ลูกรงั ลงบนพ้ืนรองรบั ทีถ่ กู ปิดกั้นฉากพมิ พ์แม่ สรา้ งสรรคไ์ ด้ พิมพ์ใบไม้ สีทีพ่ ่นลงก็จะไปเกาะเปน็ ละอองเมด็ สีที่บน พื้นของดินรองรบั สว่ นทีใ่ บไม้กน้ั อยูเ่ มื่อเปดิ ออกกจ็ ะ ปรากฏสขี องพืน้ ดา้ นลา่ ง หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการการพิมพ์ด้วยแม่ พิมพ์ชอ่ งฉลจุ ากใบไม้ มคี วามคมชัด ระดับของพื้นผิว อยใู่ นระนาบเดยี วกันทัง้ หมด แตน่ ำ�้ หนักของ สีทป่ี รากฏผลมคี วามคมชัดและมคี ่าน้ำ�หนักสีทมี่ ีความ แตกต่างกันสามารถสร้างมติ แิ ละการทบั ซอ้ นของภาพ ได้ สรปุ สามารถนำ�ไปประยุกต์ใชใ้ นการสรา้ งสรรค์ได้

ความเหมาะสมในการน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ 18 ภาพผลงาน กระบวนการพิมพแ์ ละการใช้สดี นิ ความ ความเด่นชดั กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถนำ� สมของ สนี �้ำ ดนิ ไปประยกุ ต์ แม่พิมพ์ ใชใ้ นการ สร้างสรรค์ ใชก้ ระบวนการพมิ พช์ อ่ งฉลโุ ดยการเปิดช่องด้วย มคี วาม มคี วามคมชดั สามารถน�ำ แม่พมิ พ์ตัดกระดาษ เพอ่ื สร้างภาพให้ปรากฏ สรา้ งน้ำ� คมชัด เหมาะสม ไปประยุกต์ หนักสขี องภาพโดยการพน่ น้�ำ ของสีดนิ ล�ำ ปาง นำ�้ สดี นิ เหมาะสม ใช้ในการ ลูกรังลงบนพื้นรองรับที่ใช้แม่พิมพ์กระดษท่ีฉลุเปิดช่อง สร้างสรรค์ได้ ท�ำ หนา้ ท่ีเปน็ ฉากกนั้ สีไว้ สีท่พี ่นลงกจ็ ะไปเกาะเปน็ ละอองเมด็ สที ีบ่ นพน้ื ของดนิ รองรบั ส่วนทฉี่ ลุกระดาษ เปดิ เปน็ ช่องไว ้ ในส่วนทไ่ี ม่ไดฉ้ ลุชอ่ งไวส้ กี จ็ ะไมล่ งไป ตดิ กบั พื้นดา้ นลา่ ง หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการการพิมพ์ดว้ ยแม่ พิมพ์ชอ่ งฉลจุ ากแมพ่ มิ พ์กระดาษมคี วามคมชดั ระดบั ของพ้ืนผวิ อยใู่ นระนาบเดียวกนั ท้งั หมด แต่น้�ำ หนักของ สีที่ปรากฏผลมีความคมชัดและมีค่านำ้�หนักสีที่มีความ แตกต่างกันสามารถสร้างมิติและการทับซ้อนของภาพ ได้ สรุปสามารถน�ำ ไปประยุกตใ์ ช้ในการสร้างสรรค์ได้ ใช้กระบวนการพมิ พช์ อ่ งฉลุโดยการเปิดช่องดว้ ย มีความ มคี วามคมชัด สามารถน�ำ แมพ่ ิมพต์ ดั กระดาษ เพือ่ สร้างภาพใหป้ รากฏ สรา้ งนำ้� คมชัด เหมาะสม ไปประยกุ ต์ หนกั สขี องภาพโดยการพ่นนำ�้ ของสดี ินลูกรงั ลงบนพน้ื เหมาะสม ใชใ้ นการ รองรับทใี่ ช้แม่พิมพก์ ระดษทฉ่ี ลเุ ปดิ ชอ่ งท�ำ หนา้ ท่เี ปน็ สรา้ งสรรคไ์ ด้ ฉากกนั้ สไี ว้ สที ีพ่ น่ ลงกจ็ ะไปเกาะเปน็ ละอองเม็ดสีที่ บนพนื้ ของดินรองรับ ส่วนทฉ่ี ลกุ ระดาษเปดิ เป็นชอ่ งไว้ ในส่วนท่ีไมไ่ ด้ฉลชุ ่องไวส้ ีก็จะไมล่ งไปติดกบั พนื้ ด้านลา่ ง หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการการพิมพ์ดว้ ยแม่ พิมพช์ อ่ งฉลุจากแมพ่ มิ พ์กระดาษมคี วามคมชัด ระดับ ของพืน้ ผวิ อยใู่ นระนาบเดียวกันทง้ั หมด แต่นำ�้ หนกั ของ สีทปี่ รากฏผลมคี วามคมชดั และมคี า่ น้�ำ หนกั สีที่มีความ แตกต่างกันสามารถสรา้ งมติ แิ ละการทบั ซอ้ นของภาพ ได้ สรุปสามารถน�ำ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการสร้างสรรคไ์ ด้

ความเหมาะสมในการน�ำ ไปประยุกตใ์ ช้ 19 ภาพผลงาน กระบวนการพิมพ์และการใช้สดี นิ ความ ความเด่นชัด กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถน�ำ สมของ สนี �้ำ ดนิ ไปประยุกต์ แม่พมิ พ์ ใช้ในการ สร้างสรรค์ ใช้กระบวนการพิมพ์ช่องฉลโุ ดยการเปิดช่องด้วย มคี วาม มคี วามคมชดั สามารถนำ� แมพ่ มิ พ์ตดั กระดาษ เพอ่ื สรา้ งภาพใหป้ รากฏ สรา้ งน�้ำ คมชดั เหมาะสม ไปประยกุ ต์ หนกั สขี องภาพโดยการพ่นน�้ำ ของสีดินลำ�ปาง น้ำ�ดิน เหมาะสม ใชใ้ นการ ลกู รัง และน�ำ้ ดนิ บ้านหม้อ ลงบนพืน้ รองรบั ทใ่ี ชแ้ ม่ สร้างสรรคไ์ ด้ พิมพก์ ระดษทฉี่ ลุเปดิ ชอ่ งทำ�หนา้ ที่เป็นฉากกัน้ สีไว ้ สี ที่พ่นลงก็จะไปเกาะเป็นละอองเม็ดสีท่ีบนพ้ืนของดิน รองรบั ส่วนทฉ่ี ลกุ ระดาษเปิดเป็นชอ่ งไว ้ ในสว่ นท่ไี มไ่ ดฉ้ ลุชอ่ งไวส้ ีกจ็ ะไมล่ งไปตดิ กบั พื้นดา้ นลา่ ง หลงั เผาผลปรากฏภาพจากการการพมิ พ์ดว้ ยแม่ พมิ พช์ ่องฉลุจากแมพ่ ิมพ์กระดาษมคี วามคมชดั ระดับ ของพ้นื ผิวอยใู่ นระนาบเดยี วกนั ทงั้ หมด แตน่ �้ำ หนกั ของ สีที่ปรากฏผลมีความคมชัดและมีค่านำ้�หนักสีท่ีมีความ แตกต่างกันสามารถสร้างมิติและการทับซ้อนของภาพ ได้ สรุปสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ได้ ใช้กระบวนการพิมพ์ช่องฉลุโดยการเปดิ ชอ่ งด้วย มคี วาม มีความคมชัด สามารถนำ� แมพ่ ิมพ์ตดั กระดาษ เพื่อสร้างภาพใหป้ รากฏ สรา้ งน�้ำ คมชดั เหมาะสม ไปประยกุ ต์ หนักสีของภาพโดยการพ่นนำ้�ของสดี นิ ลำ�ปาง น�ำ้ ดิน เหมาะสม ใช้ในการ ลกู รงั และน�ำ้ ดินบา้ นหมอ้ ลงบนพนื้ รองรบั ท่ใี ชแ้ ม่ สร้างสรรค์ได้ พิมพ์กระดษที่ฉลเุ ปิดชอ่ งท�ำ หน้าที่เป็นฉากกนั้ สีไว้ สี ท่พี น่ ลงกจ็ ะไปเกาะเป็นละอองเมด็ สที ีบ่ นพืน้ ของดิน รองรบั สว่ นทฉ่ี ลกุ ระดาษเปิดเป็นชอ่ งไว้ ในส่วนทไี่ ม่ได้ฉลุชอ่ งไว้สกี จ็ ะไมล่ งไปติดกับพื้นด้านลา่ ง หลังเผาผลปรากฏภาพจากการการพมิ พ์ดว้ ยแม่ พิมพช์ ่องฉลจุ ากแม่พิมพ์กระดาษมคี วามคมชดั ระดับ ของพ้นื ผิวอยใู่ นระนาบเดยี วกนั ท้งั หมด แต่นำ้�หนกั ของ สที ี่ปรากฏผลมีความคมชัดและมคี า่ นำ้�หนักสีที่มคี วาม แตกต่างกันสามารถสร้างมติ แิ ละการทบั ซอ้ นของภาพ ได้ สรุปสามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในการสร้างสรรคไ์ ด้

ความเหมาะสมในการน�ำ ไปประยุกต์ใช้ 20 ภาพผลงาน กระบวนการพมิ พแ์ ละการใช้สดี ิน ความ ความเด่นชดั กระบวนการ เหมาะ ของ สามารถนำ� สมของ สนี �ำ้ ดนิ ไปประยุกต์ แมพ่ มิ พ์ ใชใ้ นการ สร้างสรรค์ ใชก้ ระบวนการพิมพ์ชอ่ งฉลโุ ดยการเปิดชอ่ งดว้ ย มีความ มีความคมชัด สามารถน�ำ แมพ่ ิมพ์ตัดกระดาษ เพ่อื สร้างภาพให้ปรากฏ สรา้ งน�้ำ คมชดั เหมาะสม ไปประยกุ ต์ หนกั สขี องภาพโดยการพน่ น้�ำ ของสดี นิ ล�ำ ปาง น�ำ้ ดิน เหมาะสม ใชใ้ นการ ลูกรัง และนำ�้ ดินบ้านหม้อ ลงบนพ้ืนรองรบั ท่ีใช้แม่ สรา้ งสรรคไ์ ด้ พมิ พก์ ระดษทฉ่ี ลเุ ปิดชอ่ งท�ำ หน้าท่ีเปน็ ฉากก้ันสีไว้ สี ที่พ่นลงก็จะไปเกาะเป็นละอองเม็ดสีที่บนพ้ืนของดิน รองรบั สว่ นท่ฉี ลุกระดาษเปดิ เปน็ ช่องไว้ ในส่วนทไ่ี ม่ ได้ฉลุชอ่ งไวส้ กี ็จะไม่ลงไปตดิ กับพืน้ ดา้ นล่าง หลังเผาผลปรากฏภาพจากการการพมิ พด์ ้วยแม่ พมิ พช์ ่องฉลจุ ากแม่พมิ พ์กระดาษมีความคมชดั ระดบั ของพน้ื ผวิ อยูใ่ นระนาบเดียวกันทงั้ หมด แต่น�้ำ หนกั ของ สีท่ีปรากฏผลมีความคมชัดและมีค่านำ้�หนักสีที่มีความ แตกต่างกันสามารถสร้างมิติและการทับซ้อนของภาพ ได้ สรุปสามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสร้างสรรค์ได้ วัตถุประสงคข์ ้อ 3. เพ่อื สร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์ ประเภทประติมากรรมลอยตวั โดยประยกุ ตใ์ ช้ผลการ ทดลองเทคนิคกระบวนการภาพพมิ พ์บนดินเผาเพ่ือใหเ้ กดิ สุนทรียรสทางศลิ ปกรรมทต่ี อบสนองแนวคิดเร่ือง “ดลุ ยภาพแห่งชวี ติ ” จ�ำ นวน 12 ชนิ้ การดำ�เนินงานในส่วนของการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาเกิดจากการนำ�ผลการทดลองไป พฒั นากระบวนการประยุกตใ์ ช้ภาพพิมพ์บนเครอ่ื งป้นั ดนิ เผาในงานศลิ ปะ ผนวกกบั การนำ�ผลการศกึ ษา อัตลกั ษณ์ เครือ่ งปั้นดนิ เผาจากภูมิปญั ญาในท้องถน่ิ มาวเิ คราะหด์ ้านเทคนคิ วิธีการ รูปแบบ ลกั ษณะทป่ี รากฏ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสร้างสรรค์ ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั รปู แบบทตี่ อ้ งการถา่ ยทอด การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเคร่อื งป้นั ดินเผาในคร้งั น ้ี ใชห้ ลักสนุ ทรยี ศาสตร์แนว Formalism ฟอร์มอล ลสิ มโ์ ดยมีจดุ มงุ่ หมายทีจ่ ะสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปกรรมท่ีเปน็ ผลผลติ ทางสนุ ทรียภาพทมี่ ีรปู แบบสมบูรณ์ เปน็ ความ งามในอุดมคต ิ รูปทรงท่ีเกิดข้นึ เปน็ การสอ่ื สารโดยใชภ้ าษาทางทัศนศลิ ปใ์ นการสื่อความหมาย ผลงานศิลปกรรม ทำ�หน้าที่เป็นตัวหมายซึ่งถูกประจุความหมายผ่านทัศนธาตุที่ผู้สร้างสรรค์ได้เลือกใช้เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด ความคิด โดยมขี นั้ ตอนการด�ำ เนินงานดังน้ี 1. การวเิ คราะห์แนวคิดเร่อื ง ดลุ ยภาพของชีวิต ไปสกู่ ระบวนการสร้างสรรค ์ 2. การรา่ งภาพผลงาน

3. กระบวนการสร้างสรรคศ์ ิลปะเคร่อื งปัน้ ดนิ เผา แนวเร่อื งดลุ ยภาพแหง่ ชวี ิต 21 3.1) ขัน้ ตอนการป้ันข้ึนรปู โครงสรา้ งผลงาน 3.2) ข้ันตอนการสรา้ งทศั นธาตุด้วยกระบวนการภาพพิมพ์ 3.3) ขน้ั ตอนการเผาชนิ้ งานศิลปะเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา 3.4) ข้นั ตอนการประกอบชิ้นงานและเก็บรายละเอียด ผลจากการศึกษาโลกทศั น์ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั กรอบแนวคิดเร่อื ง “ดุลยภาพแห่งชีวิต” พบว่า ความสมดุลเป็น โลกทัศนข์ องผู้คนท่ีมีความเช่ือมโยงกบั หลักการบรหิ ารชีวิตและสงั คม ดลุ ยภาพเป็นภาวะท่ที �ำ ให้สิง่ ทั้งหลายดำ�รง อยไู่ ดแ้ ละดำ�เนินไปไดด้ ้วยดี ซง่ึ มีความสอดคล้องกบั หลกั คำ�สอนในพระพทุ ธศาสนา เรื่อง มัชฌมิ าปฏปิ ทา ท่แี ปล วา่ ทางสายกลาง ซ่ึงหมายถึงทางปฏบิ ัติสายกลาง ซง่ึ เป็นหลกั จริยธรรมต้องคูก่ บั หลักสจั ธรรมอนั เปน็ สายกลาง เช่นกัน โดยท่ีหลกั สัจธรรมอันเปน็ สายกลางนเี้ รียกวา่ มัชเฌนธรรม หรือหลกั ทฤษฎที ีว่ ่าดว้ ย ความสมดุล สติเปน็ ความสมดุลทางจติ อยา่ งหนง่ึ คือสมดลุ ระหวา่ งศรัทธาและปญั ญา สตจิ ะอยูต่ รงกลางระหว่างอารมณ์และเหตผุ ล ดังนั้นมัชฌิมาปฏปิ ทา จึงเปน็ ความสมดุล ความเหมาะสม ความเสมอ ความพอดี ซึง่ เปน็ ความสอดประสาน สอดคล้องกันระหวา่ งข้อปฏบิ ตั ิปลีกยอ่ ยต่างๆทม่ี ารว่ มกนั ท�ำ งาน ข้อปฏิบตั ใิ นพทุ ธศาสนาตอ้ งมี สมตาคอื ความ สมดลุ ซง่ึ เปน็ ความพอดชี นิดหน่ึง ลักษณะอย่างหน่ึงของพระพุทธศานาในทกุ ระดบั มเี ร่อื งความพอดี หรือความ เป็นสายกลาง ทั้งหลกั ทฤษฎ(ี มชั เฌนธรรม) และหลักการปฏิบัติ(มัชฌิมาปฏิปทา) ท้งั นกี้ อ่ นทพ่ี ุทธศาสนาจะเขา้ มาเผยแพร่ในดินแดนสุวรรณภมู พิ บว่า ชมุ ชนมกี ารนับถอื ศาสนาผ ี และ สิง่ ท่มี องไมเ่ หน็ ท้งั นีม้ นษุ ยใ์ นอดตี มีความคิดและมีการวางระบบสญั ญลักษณท์ ่เี กย่ี วข้องกบั ความสมดุลของชวี ิต ผา่ นมติ ิความเช่ือเร่อื ง “ขวัญ” โลกทัศน์ของชุมชนในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ที่เกยี่ วข้องกบั ดุลยภาพแหง่ ชีวิต ไดข้ อ้ สรปุ ท่ีมีความเช่ือมโยงกับชวี ติ ซ่งึ ผูกผสานระหวา่ งความเปน็ รูปและนาม มิ่งและขวญั รา่ งกายและจติ ท้งั นี้ สามารถสรปุ ผลความเชอ่ื มโยงระหว่างกรอบแนวเรอ่ื งกับการสอ่ื ความหมายของทศั นธาตใุ นการสร้างสรรค์ดงั นี้ 1) รูปทรง การเลือกใชร้ ูปทรงในการท�ำ ภาพร่าง ผวู้ จิ ยั เลือกใชร้ ูปทรงซง่ึ มีทมี่ าจากธรรมชาติ หรืออินทรีย์รูป (Organic form) สืบเนือ่ งจากแนวเรือ่ งในการสร้างสรรค์มีความสอดคล้องกบั ท่มี าของธรรมชาติ และส่งิ มชี วี ติ ดงั นัน้ รปู ทรงท่ีเลือกใชจ้ ึงมีท่มี าจากพืชพนั ธส์ุ ่ิงมชี ีวิตในธรรมชาต ิ ทเ่ี ช่อื มโยงกับสรรพชวี ติ ท่ีเกดิ และ เตบิ โต เปน็ รปู ทรงท่มี ีความอวบอมิ่ ก่อให้เกดิ ความอดุ มสมบรู ณใ์ นชวี ิตทม่ี คี วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรปู และนาม ม่งิ และขวัญตามคตคิ วามเช่อื ดง้ั เดิมของผ้คู นในภาคตะวนั นออกเฉยี งเหนอื 2) พื้นผิว การสรา้ งพ้นื ผวิ ในผลงานสามารถจำ�แนกออกได้เป็น 2 ลกั ษณะ ประกอบดว้ ยพืน้ ผวิ ท่ี เกิดจากการสร้างพื้นผิวสัมผัสจริงลงในเน้ือดินของเคร่ืองปั้นดินเผาโดยใช้วิธีเคาะผิวดินภายนอกให้มีความละเอียด เรียบตงึ จากวัสดุชนดิ ต่างๆ อาทิ ชอ้ น หรอื หนิ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วกระบวนการเผาชิน้ งานยงั สง่ ผลใหเ้ กิดพื้น ผิวในช้ินงานมีความแตกต่างกนั ด้วย ซึง่ มีทงั้ ความมันวาว ความหยาบดา้ น การเลือกใชพ้ ื้นผวิ ของเครือ่ งป้ันดนิ เผา ที่มีความแตกต่างกันน้ันมีความเชื่อมโยงกับการใช้แนวคิดความสมดุลท่ีต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความเป็น คู่ตรงข้ามให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างเหมาะสมงดงามการสร้างพ้ืนผิวอีกลักษณะหนึ่งคือการประกอบสร้าง จากทศั นธาตใุ นผลงาน ซึง่ ประกอบไปดว้ ย พน้ื ผวิ ทเ่ี กดิ จากการสร้างลวดลายดว้ ยกระบวนการภาพพมิ พช์ อ่ งฉลุ ลวดลายท่ีเลอื กใชม้ คี วามสอดคลอ้ งกับคตชิ มุ ชนเรอื่ งขวญั ดังนั้นลายขวัญจึงท�ำ หนา้ ทใ่ี นส่วนของนามธรรมท่สี ถิต อยู่ในรูปทรงหรอื ความเปน็ รปู ธรรมนัน่ เอง 3)สีการใช้สีสำ�หรับผลงานสร้างสรรค์ชุดนี้เป็นการใช้สีท่ีเกิดจากเน้ือของวัสดุดินเผาและ กระบวนการใหส้ ีจากดนิ น�ำ้ สลิปทีไ่ ดจ้ ากแหล่งดินธรรมชาติ ดังนน้ั สที ป่ี รากฏในผลงานจงึ เปน็ สที มี่ คี วามเช่อื มโยง กบั ธรรมชาติโดยเกิดจากสีของแหลง่ ดิน และสีของดินเผาทีเ่ กิดจากกระบวนการเผาท้ังแบบไฟอณุ หภูมิต่�ำ และไฟ อณุ หภมู สิ งู ผล ซึง่ การเผาท้ังสองลักษณะใหผ้ ลลัพธข์ องสีดนิ เผาทมี่ ีความแตกตา่ งกัน

นอกจากนั้นแล้วยังมีการใช้สีของดินน้ำ�สลิปเพ่ือช่วยในการสร้างนำ้�หนักของสีเพิ่มเติมในผลงานเป็นการควบคุม 22 ค่านำ้�หนักของสีในผลงานตามความต้องการในการสร้างสรรค์นอกเหนือจากผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการเผา เทา่ นน้ั 4) วัสดุ จากการศกึ ษาโลกทัศนเ์ รอ่ื งดลุ ยภาพ พบวา่ การผสานและถักทอของสภาวะสองสิง่ ที่ผลักดันให้ ชีวิตสามารถดำ�รงอยู่ได้อย่างปกติสุขนั้นเป็นแนวทางในการคัดสรรวัสดุท่ีมีความแตกต่างและเหมาะสมสำ�หรับ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะเครื่องปน้ั ดนิ เผาในครง้ั น้ี โดยผวู้ ิจัยได้เลือกวัสดุเนื้อดนิ จากแหล่งดินบ้านหม้อ จงั หวัด มหาสารคาม และแหลง่ ดนิ ด่านเกวียน จงั หวัดนครราชสีมา รวมถึงกระบวนการเผาทมี่ คี วามแตกต่างกนั ของ อุณหภูมิเพ่ือนำ�ผลลัพธ์ท่ีได้ซ่ึงมีความแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นลักษณะของเคร่ืองป้ันดินเผาแบบเนื้อดินธรรมดา (Earthenware) จากบา้ นหม้อ จงั หวัดมหาสารคาม และเคร่อื งป้ันดนิ เผาแบบเนือ้ แกร่ง(Stoneware) ทไี่ ด้จาก ด่านเกวยี น จงั หวดั นครราชสมี า โดยน�ำ ท้ังสองส่วนนนั้ มาประกอบสรา้ งเป็นผลงานสรา้ งสรรคใ์ นครั้งน้ี ดังนั้นจากการถอดรหัสทางความคิดของสัญคติชุมชนที่มาใช้ในงานศิลปะจึงมีความเชื่อมโยงสอดรับกับ สญั ลกั ษณท์ ี่สอ่ื ถงึ มงิ่ ขวัญ และความสมดุลผ่านรปู ทรงประตมิ ากรรมเครือ่ งปน้ั ดินเผาในโครงการวิจยั เรือ่ งน้ี จำ�นวน 12 ชิ้น

23 ผลงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แนวเรื่องดุลยภาพแห่งชีวิต จากการศกึ ษาโลกทัศน์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั แนวเรื่อง ดลุ ยภาพแห่งชวี ติ ซงึ่ มีความเช่อื มโยงกบั ชีวิตและการด�ำ รงอยู่ ของสรรพสิ่ง ความสมดลุ ของชีวิตเป็นทศั นคตคิ วามเชื่อดงั้ เดิมที่ปรากฏในชุมชนซงึ่ มีความเชือ่ มโยงกับเร่ืองของ มงิ่ และ ขวญั อันเป็นสองสงิ่ ที่ต้องมคี วามสมดุลเพ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ สิ่งมชี ีวติ และเปน็ กศุ โลบายส�ำ คัญท่ีท�ำ ใหม้ นษุ ย์ ด�ำ รงตนอยู่ด้วยการครองสติและนอบนอ้ มตอ่ ธรรมชาติรอบตวั ท้งั น้โี ครงการวิจยั เรือ่ งนี้มีเปา้ หมายเพือ่ ตอ้ งการ สะท้อนให้เห็นถึงความงดงามของชีวิตผ่านรูปทรงซึ่งมีท่ีมาจากธรรมชาติและสื่อให้เห็นถึงความสมบูรณ์อันมี รากฐานเบ้ืองตน้ มาจากความสมดลุ ซ่งึ เป็นส่วนประกอบส�ำ คญั ของสรรพชวี ติ ท่ีสง่ ผลใหส้ ามารถกำ�เนดิ และมีชวี ติ อยูไ่ ด้อยา่ งงดงาม ผ่านผลงานทัศนศลิ ป์ ประเภทประตมิ ากรรมลอยตัว ทส่ี ร้างสรรค์โดยใช้เทคนคิ กระบวนการ เครื่องปัน้ ดนิ เผาผสมผสานกับกระบวนการทาง ภาพพมิ พ์ซ่ึงสามารถสรา้ งลวดลายและพ้นื ผิวใหป้ รากฏในผลงาน ได้ อีกทง้ั ยังเปน็ การสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ อัตลกั ษณว์ ฒั นธรรมของทอ้ งถิ่นอีสานที่มคี วามเชอ่ื มโยง สัมพันธก์ บั วิถชี ีวิต ของผ้คู นในสงั คมปัจจบุ ันทีม่ ีการปรบั ตัวใหส้ ามารถดำ�รงอยู่ได้อยา่ งปกติสขุ สัมพันธก์ ับวิถีชีวิตของผคู้ นในสังคม ปัจจุบันท่มี กี ารปรับตวั ให้สามารถด�ำ รงอยไู่ ด้อยา่ งปกติสขุ และมีความสมดุลในกระแสของการเปลย่ี นแปลงทาง สังคมท่มี ีการเคลอ่ื นไหวอยตู่ ลอดเวลา

เอกสารอ้างองิ ของการวจิ ยั 24 ก�ำ จร สนุ พงษ์ศร.ี สนุ ทรียศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : สำ�นักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2556. ฉันทิมา ออ่ งสรุ กั ษ์. ศิลปะพืน้ ที่ความงามและความสขุ . มมป. 2550 ชำ�นาญ เลก็ บรรจง และคณะ. ศลิ ปวจิ ักษ.์ มหาสารคาม : ส�ำ นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2556. ธนิก เลิศชาญฤทธ์. “คนกับดิน(เผา) ว่าดว้ ยกำ�เนิดภาชนะดินเผา,” มนษุ ย์กบั ภาชนะดนิ เผาจากอดตี กาลสู่ โลกสมยั ใหม.่ กรงุ เทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2551. เอกสารวิชาการล�ำ ดบั ที่ 66. นนทวิ รรธน์ จนั ทนะผะลิน. “บทความ,” นทิ รรศการศลิ ปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ทัศนศิลป์ ปกี ารศกึ ษา 2556. บุรรี มั ย ์ : ไอพร้ิน แอนด์ เทคโนโลย,ี 2557. ปรชี า เถาทอง. “ศิลปะเปน็ การสร้างองค์ความรู้ การสร้างสรรค์ศิลปะวชิ าการสรา้ งสรรค์ ศิลปะ-วจิ ัย การวจิ ัยศลิ ปะ,” นทิ รรศการศลิ ปกรรมศาสตรม์ หาบัณฑติ ทศั นศลิ ป์ ปกี ารศึกษา2556. บรุ รี มั ย์ : ไอพร้นิ ท์ แอนด์ เทคโนโลย,ี 2557. พระมหาทวี มหาปญั โญ. คลังข้อมลู สำ�นักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ. ส�ำ นักงานพระพทุ ธศาสนา แห่งชาติ. กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ ส�ำ นกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, 2011. สืบคน้ เมื่อ 3 สงิ หาคม 2019. http://www.onab.go.th. วิโชค มุกดามณ.ี “ศิลปะเคร่อื งป้ันดินเผาของ สรุ ศกั ดิ์ แสนโหน่ง”. นทิ รรศการศิลปะเครือ่ งปนั้ ดนิ เผา “เรอื่ งของดนิ อาบไฟ”. มหาสารคาม : สุรศักด์ิ แสนโหนง่ , 7 สงิ หาคม 2552. ไมป่ รากฏเลขหนา้ . วรี ะศกั ด์ิ จุลดาลัย. “การจัดการความรู้ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ดา้ นเครือ่ งปน้ั ดนิ เผาบา้ นกลาง ต�ำ บลโนนตาล อำ�เภอทา่ อุเทน จังหวดั นครพนม”, Union Library Management - v5.7. มกราคม 2550. http://www.mahalib.msu.ac.th 20 พฤษภาคม 2559 ศุภชยั สงิ ห์ยะบศุ ย์ และคณะ. รายงานการวิจัย โครงการวจิ ยั เรอื่ ง “การถ่ายทอดวธิ คี ิดและ กระบวนการผลิตเครื่องป้นั ดินเผาเชงิ พฒั นาในชมุ ชนที่ผลิตเคร่ืองปั้นดนิ เผาแบบดั้งเดิมของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . มหาสารคาม : ส�ำ นักนโยบายและแผนอุดมศึกษา, 2554. สน สมี าตรงั . “ความสำ�คญั ภาชนะดินเผาไฟต�ำ่ Earthenware กรณีศกึ ษา : เทคนิควทิ ยาดนิ เผาไฟตำ่� สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ทยี่ งั ดำ�รงอย่,ู ” การแสดงศลิ ปะเครอื่ งปน้ั ดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทสยามทองกจิ จ�ำ กัด, 2553. สมชาย นิลอาธิ. เครื่องปั้นดินเผาแกร่งพื้นบ้านอีสาน เครื่องปั้นดินผาในสังคมอดีต. วารสารมนุษย์ศาตร์และ สังคมศาสตร์. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545. สำ�นักพิมพ์คติ. เครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์แสงแดดเพื่อเด็ก จำ�กัด, 2554. สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. เครื่องปั้นดินเผาพื้นฐาน การออกแบบและปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้น ติ้งแอนพับลิชชิ่ง จำ�กัด, 2550. Union Library Management. v5.7 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM. [ออนไลน์] . ระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM. เผยแพร่ ม.ค. 2550. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม2559. http://www.mahalib.msu.ac.th/arec/dublin.php.

25

26

27

28

29 เทคนิค ขึ้นรปู ดว้ ยมือ และภาพพิมพ์ ชอ่ งฉลุบนดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหมอ้ ดินด่านเกวียน อณุ หภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 40x40x100 เซนตเิ มตร

30

31 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 40x80x50 เซนติเมตร

32

33 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 40x80x50 เซนติเมตร

34

35 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 35x60x25 เซนติเมตร

36

37 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 35x60x25 เซนติเมตร

38

39 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 35x95x45 เซนติเมตร

40

41 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 50x50x95 เซนติเมตร

42

43 เทคนิค ขน้ึ รปู ดว้ ยมือ และภาพพมิ พ์ ช่องฉลบุ นดินเผา ชนิดดนิ ดินบ้านหม้อ ดนิ ด่านเกวียน อุณหภมู ิ 800 องศาเซลเซยี ส และ 1250 องศาเซลเซียส ขนาด 45x70x70 เซนติเมตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook