Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีอุตฯ-05 pptx ปรับปรุง

การบัญชีอุตฯ-05 pptx ปรับปรุง

Published by srimalaisudawan70, 2021-08-14 09:19:47

Description: การบัญชีอุตฯ-05 pptx ปรับปรุง

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 5 สินคา้ คงเหลอื นางสาวสุดาวัลย์ ศรีมาลยั ครูผู้สอน สาขาวิชาการบัญชี วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์

สาระการเรียนรู้ 1. สนิ คา้ คงเหลือของกจิ การอตุ สาหกรรม 2. การวัดมลู คา่ และการคานวณต้นทุนสินคา้ คงเหลือ 3. การแสดงรายการสินค้าคงเหลอื ของกิจการอุตสาหกรรมในงบการเงนิ

สนิ คา้ คงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม ความหมายของสนิ คา้ คงเหลือตามคานิยาม ตามมาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 2 (ปรับปรงุ 2561)เร่ือง สินคา้ คงเหลอื สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ ซ่งึ มลี กั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ ดังต่อไปน้ี 1. ถอื ไวเ้ พื่อขาย ตามลักษณะการประกอบธรุ กิจ ตามปกตขิ องกิจการ 2. อยูใ่ นระหว่างกระบวนการผลิต เพอ่ื ให้เปน็ สินค้าสาเรจ็ รปู เพ่ือขายหรือ 3. อยูใ่ นรูปของวัตถุดิบ หรือวสั ดทุ ม่ี ไี วเ้ พ่ือใช้ในกระบวนการผลติ สินค้าหรือ ให้บริการ

สินค้าคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม ดงั น้นั สนิ ค้าคงเหลือของกิจการซอื้ ขายสนิ คา้ คอื สนิ ค้าสาเรจ็ รปู ส่วนสินคา้ คงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 4. วัสดุโรงงาน 1. สนิ ค้าสาเรจ็ รปู (Factory คงเหลอื Supplies) (Finished Goods) 3.วัตถดุ บิ คงเหลอื 2. งานระหว่างทาคงเหลือ/ (Material สินคา้ ระหว่างผลิตคงเหลือ Inventory) (Work-in-Process Inventory /Goods in Process Inventory)

การวัดมลู ค่าและการคานวณต้นทุนสินคา้ คงเหลอื การวัดมูลค่าและการคานวณต้นทุนสนิ คา้ คงเหลอื ตามมาตรฐานการบญั ชี เรอื่ ง สินค้าคงเหลือกาหนดไวด้ งั นี้ มูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ หมายถึง ราคาโดยประมาณที่คาดว่าจะขายได้ตามลักษณะการประกอบ ธุรกิจตามปกติ หักด้วยประมาณการต้นทุน ในการผลิตสินค้านั้นให้เสร็จ และต้นทุนที่ จาเป็นตอ้ งจ่ายไปเพ่อื ใหข้ ายสินคา้ นนั้ ได้ Sci enc e Tech nol o g y Engi n eer i n g Ar ts M a t hem a ti cs



จากมาตรฐานการบญั ชีข้างต้น สรุปไดว้ ่า การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือต้องวัดด้วยราคาทุนหรือมูลค่า สุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า ดังนั้นกิจการจะต้องคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุน ซ่ึงมี หลายวิธี เช่น วิธีต้นทุนมาตรฐาน วิธีราคาขายปลีก วิธีราคาเจาะจง วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน วิธีถัวเฉล่ียถ่วง นา้ หนกั และคานวณมูลคา่ สทุ ธิทีจ่ ะได้รับ จากน้ันนาไปเปรียบเทียบกนั และใชม้ ูลค่าทต่ี ่ากวา่ การคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือมีหลายวิธี ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่ในวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมน้ี จะนาเสนอเพียง 3 วิธี ส่วนการคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือวิธีอื่น การคานวณมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ รวมท้ัง การบนั ทึกรายการปรบั ปรุงสินค้าคงเหลือเพ่อื ปรับเข้าสู่มลู คา่ สุทธทิ ่ีจะได้รับ จะไดศ้ ึกษาในระดบั สงู ต่อไป

1. วิธรี าคาเจาะจง (Specific Identification Method) วธิ ีน้ี เหมาะสาหรบั สินค้าท่ีมีปริมาณไม่มาก และไม่อาจสับเปล่ียน กันได้ หรือเป็นสินค้าทผี่ ลิตขึน้ และแยกต่างหากไว้สาหรับโครงการ หน่ึงโครงการใดโดยเฉพาะ การเลอื กใช้วิธนี ้ีทาให้ทราบราคาทนุ ที่แท้จริงของสินคา้ แตล่ ะรายการ เนอ่ื งจากการนาสินค้าไปใช้ จะเปน็ ลกั ษณะทสี่ ินคา้ ท่ีทราบตน้ ทนุ อย่างชัดเจน

2. วธิ ีเข้ากอ่ น-ออกก่อน (First- In, First-Out Method/FIFO) วิธนี ีเ้ หมาะสาหรบั สนิ ค้าทม่ี ีปรมิ าณมาก หรอื สนิ ค้าท่ีมลี กั ษณะการ นาไปใช้ในลักษณะคลา้ ยคลงึ กันหรอื ใกลเ้ คยี งกนั หรอื สับเปลีย่ นกัน ไดก้ ารเลอื กใชว้ ิธีนที้ าใหท้ ราบราคาทุนที่ใกลเ้ คยี งกับความเป็นจรงิ ในปัจจบุ ัน เนอื่ งจากการนาสนิ ค้าไปใช้จะเป็นลักษณะที่สินค้าท่ีซื้อ เข้ามาก่อนจะถูกนาไปใช้ก่อน ดังน้ันสินค้าคงเหลือจะเป็นสินค้า ทซี่ ื้อมาครัง้ หลังๆ

3. วธิ ีต้นทนุ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก (Weighted Average Method) วิธีนี้เหมาะสาหรับสินค้าท่ีมีปริมาณมากหรือสินค้าที่มีลักษณะการ นาไปใช้ในลักษณะคล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกันหรือสับเปลี่ยนกันได้ คล้ายกับวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน การเลือกใช้วิธีน้ีทาให้ทราบราคาทุนถัว เฉลี่ย ราคาทุนจะสูงหรือต่า ขึ้นอยู่กับต้นทุนการซื้อหรือการผลิตในแต่ ละครั้ง วิธีนี้ใช้กับกิจการที่ใช้วิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดส่วน กิจการท่ีใช้วิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องจะใช้วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ย เคล่อื นไหว (Moving Average Method)

วธิ ีต้นทุนถัวเฉล่ียถ่วงน้าหนัก จะคานวณต้นทุนถัวเฉลี่ยต่อหน่วย โดยนาต้นทุนของสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย หารดว้ ยจานวนหนว่ ยทม่ี ไี วเ้ พอ่ื ขาย ซึ่งจะคานวณเม่อื ส้ินรอบระยะเวลาบัญชี ส่วนวธิ ตี น้ ทนุ ถัวเฉลยี่ เคลือ่ นไหว จะคานวณต้นทุนถัวเฉล่ยี ตลอดเวลาและทุกครั้งท่ีมกี ารซื้อสินค้าเข้ามา กจ็ ะนาสนิ คา้ ทซี่ ้อื เข้ามาใหม่ไปถวั เฉลย่ี กับสินคา้ คงเหลือ ดังนั้นวิธนี จ้ี ะยุ่งยากกว่าวิธีอื่น อย่างไรก็ตามวิธีต้นทุนถัว เฉลี่ยถ่วงน้าหนักเหมาะกับกิจการที่ซ้ือวัตถุดิบมาเพื่อผลิต เพราะต้นทุนสินค้าจะถูกนามาเฉลี่ยซึ่งจะแสดงต้นทุน โดยรวมของสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ข้ึนได้ดกี ว่าวิธีอื่น การเลือกใช้วิธีคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือได้อย่างเหมาะสม จะทาให้การบริหารจัดการสินค้ามี ประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย และยังทาให้งบการเงินแสดงยอดที่ถูกต้อง หากมีปัญหาใด ผู้บริหารก็สามารถ แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและทนั ทว่ งที กิจการต้องใช้วธิ ีการคานวณมูลค่าด้วยวิธีการเดยี วกัน สาหรบั สินค้าคงเหลือทุกชนิดท่ีมีลักษณะและการ ใช้คล้ายคลึงกัน สาหรับสินค้าคงเหลือท่ีมีลักษณะและการใช้ต่างกัน อาจใช้วิธีคานวณต้นทุนที่ต่างกันไปได้หาก เหมาะสม

วธิ ตี น้ ทุนถัวเฉลยี่ ถว่ งนา้ หนัก จะคานวณต้นทุนถัวเฉล่ียต่อหน่วย โดยนาต้นทุนของสินค้าที่มีไว้เพ่ือ ขายหารดว้ ยจานวนหน่วยทม่ี ไี ว้เพ่ือขาย ซึ่งจะคานวณเม่อื สิน้ รอบระยะเวลาบัญชี คานวณ ต้นทุนของสินคา้ ท่ีมีไวเ้ พ่อื ขาย จานวนหน่วยทม่ี ีไว้เพื่อขาย ส่วนวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยเคลื่อนไหว จะคานวณต้นทุนถัวเฉล่ียตลอดเวลาและทุกคร้ังท่ีมีการซ้ือ สินค้าเขา้ มาก็จะนาสินคา้ ทีซ่ อื้ เขา้ มาใหม่ไปถวั เฉลีย่ กับสินคา้ คงเหลือ ดงั นน้ั วธิ นี ้จี ะยงุ่ ยากกว่าวิธีอืน่ อย่างไร กต็ ามวิธตี น้ ทุนถัวเฉล่ยี ถ่วงน้าหนักเหมาะกับกิจการที่ซื้อวัตถุดิบมาเพื่อผลิต เพราะต้นทุนสินค้าจะถูกนามา เฉลี่ยซึง่ จะแสดงตน้ ทนุ โดยรวมของสินค้าทผ่ี ลติ ขึ้นไดด้ ีกว่าวธิ ีอ่ืน

การเลือกใช้วิธีคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือได้อย่างเหมาะสม จะทาให้ การบริหารจัดการสินค้ามีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย และยังทาให้งบการเงิน แสดงยอดท่ีถูกต้อง หากมีปัญหาใด ผู้บริหารก็สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพและทันท่วงที กิจการต้องใช้วิธีการคานวณมูลค่าด้วยวิธีการเดียวกัน สาหรับสินค้า คงเหลือทุกชนิดที่มีลักษณะและการใช้คล้ายคลึงกัน สาหรับสินค้าคงเหลือที่มี ลักษณะและการใชต้ ่างกัน อาจใชว้ ิธคี านวณตน้ ทนุ ทต่ี า่ งกันไปไดห้ ากเหมาะสม



ให้ทา คานวณต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือ (สาหรับกิจการท่ีใช้วิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบส้ินงวดและวิธีบัญชีสินค้า คงเหลือแบบต่อเนื่อง) 1. วิธรี าคาเจาะจง (Specific Identification Method) รายละเอียดเก่ยี วกับวัตถดุ ิบคงเหลือมีดงั น้ี ยอดยกมา จาานวน 1 ชิ้น ซื้อครัง้ ท่ี 1 จาานวน 2 ช้นิ ซือ้ ครงั้ ท่ี 2 จาานวน 4 ช้ิน ซือ้ ครง้ั ที่ 3 จาานวน 1 ช้ิน 2. วธิ เี ข้าก่อน-ออกกอ่ น (First- In, First-Out Method) 3. วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก (Weighted Average Method) และวิธีถัวเฉล่ียเคล่ือนไหว (Moving Average Method)

1. วธิ ีราคาเจาะจง (Specific Identification Method) วิธีบญั ชสี ินค้าคงเหลอื แบบสิน้ งวดและวิธีบญั ชสี ินค้าคงเหลอื แบบต่อเนอื่ งจะไดผ้ ลลพั ธ์เทา่ กัน ต้นทนุ วัตถุดิบคงเหลอื คานวณได้ดังนี้ ยอดยกมา จานวน 1 ชิน้ ๆ ละ 900 บาท = 900 X 1 = 900 บาท ซื้อครั้งที่ 1 จานวน 2 ชนิ้ ๆ ละ 1,000 บาท = 1,000 X 2 = 2,000 บาท ซ้อื ครัง้ ท่ี 2 จานวน 4 ชิ้น ๆ ละ 950 บาท = 950 X 4 = 3,800 บาท ซอ้ื ครัง้ ท่ี 3 จานวน 1 ช้นิ ๆ ละ 1,100 บาท = 1,100 X 1 = 1,100 บาท 7,800 บาท

2. วธิ เี ขา้ กอ่ น-ออกก่อน (First- In, First-Out Method) 2.1 วิธบี ัญชสี ินคา้ คงเหลือแบบส้ินงวด ซ้ือคร้ังท่ี 3 จานวน 5 ชิ้น ๆ ละ 1,100 บาท = 1,100 X 5 = 5,500 บาท = 2,850 บาท ซื้อครั้งท่ี 2 จานวน 3 ช้นิ ๆ ละ 950 บาท = 950 X 3 8,350 บาท



3. วธิ ตี ้นทุนถัวเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนกั (Weighted Average Method) 3.1 วธิ บี ัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด ยอดยกมา จานวน 10 ชิ้นๆ ละ 900 บาท = 900 X 10 = 9,000 บาท = 20,000 บาท ซื้อคร้ังท่ี 1 จานวน 20 ชิน้ ๆ ละ 1,000 บาท = 1,000 X 20 = 14,250 บาท = 5,500 บาท ซอื้ ครัง้ ท่ี 2 จานวน 15 ชนิ้ ๆ ละ 950 บาท = 950 X 15 48,750 บาท ซอ้ื ครง้ั ที่ 3 จานวน 5 ช้นิ ๆ ละ 1,100 บาท = 1,100 X 5



กิจการที่ใช้วิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะทาการตรวจนับวัตถุดิบ และคานวณ ต้นทุนในวันส้ินงวดบัญชี เพ่ือจะได้ทราบมูลค่าของวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด ตามวิธีต่างๆ ที่กล่าว มาแล้วส่วนกิจการที่ใช้วิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง จะทราบยอดคงเหลือของวัตถุดิบจาก บญั ชีวัตถดุ ิบแต่ก็มีการตรวจนับและคานวณต้นทนุ เชน่ เดียวกัน แต่จะทา ณ วันท่ีมีการเบิกวัตถุดิบ ไปใช้ กลา่ วคอื กิจการต้องบันทกึ มลู คา่ ของวตั ถดุ ิบ ณ วนั เบิกไปใช้

การแสดงรายการสนิ คา้ คงเหลอื ของกจิ การอตุ สาหกรรมในงบการเงิน สนิ ค้าคงเหลอื ไม่วา่ จะเป็นของกิจการประเภทใด ถือเปน็ สนิ ทรัพย์หมุนเวยี น (Current Assets) สาหรบั กิจการผลิต สนิ ค้าคงเหลือ จะแสดงในงบตา่ งๆ ดังนี้

การจ่ายชาระหน้ีค่าวัตถดุ ิบ ในกรณที กี่ จิ การซอ้ื วัตถุดิบเปน็ เงนิ เช่อื แผนกบัญชีและการเงนิ จะตอ้ งพจิ ารณาเงือ่ นไขหรอื ขอ้ ตกลง ในการซ้ือวตั ถดุ ิบ เชน่ กาหนเวลาชาระหนี้ ส่วนลดรับ (ถ้าม)ี ทงั้ นีเ้ พือ่ ประโยชนส์ งู สุดของกิจการ โดยปกติผู้ขายจะส่งใบขอเรียกเก็บเงิน (ใบวางบิล) มาให้กิจการ เม่ือแผนกบัญชีและการเงินได้รับ แล้ว จะต้องตรวจสอบเอกสารท่ีเก่ียวข้องท้ังหมด เช่น ใบสั่งซื้อ ใบรายงานการรับของใบกากับสินค้าหรือ ใบกากับภาษี เป็นต้น และพึงระมัดระวังในกรณีท่ีกิจการส่งคืนวัตถุดิบหรือขอส่วนลดกรณีวัตถุดิบชารุด หรือไมต่ รงตามทส่ี ัง่ ซื้อ

การบนั ทกึ รายการเกี่ยวกบั วตั ถดุ ิบวธิ ีบญั ชีสินคา้ คงเหลือแบบส้ินงวดแลแบบต่อเน่อื ง การบันทึกรายการเกย่ี วกบั วตั ถดุ บิ คงเหลอื เหมอื นกับการบนั ทึกรายการเกี่ยวกับสนิ คา้ คงเหลือ ของกิจการซอ้ื ขายสินค้า ซงึ่ มี 2 วิธี คอื 1. วิธบี ญั ชสี นิ ค้าคงเหลือแบบสนิ้ งวด (Periodic Inventory Method) 2. วธิ บี ัญชีสินคา้ คงเหลือแบบตอ่ เนื่อง (Perpetual Inventory Method)

การบนั ทกึ รายการเกีย่ วกับวัตถุดบิ วิธีบัญชสี ินค้าคงเหลอื แบบสน้ิ งวด วิธีน้ีกิจการจะบันทึกรายการเก่ียวกับวัตถุดิบ ในบัญชีท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ซ้ือวัตถุดิบ ค่าขนส่งเข้า ส่งคืนวัตถุดิบ ส่วนลดรับ การบันทึกรายการเก่ียวกับวัตถุดิบแยกออกจากกัน ทาให้กิจการไม่ ทราบยอดคงเหลือของวัตถุดิบ ดังน้ันเม่ือถึงวันสิ้นงวดบัญชีกิจการจะต้องตรวจนับ วัตถุดิบคงเหลือและคานวณต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือ ตามวิธีท่ีกิจการเลือกใช้ ตามมาตรฐานการ บัญชี ขอ้ ดขี องวิธนี ้ีคอื ประหยดั เวลาในการบนั ทกึ บญั ชี ขอ้ เสียคอื กิจการจะไมท่ ราบยอดคงเหลือ ของวัตถุดิบ ณ เวลาใดเวลาหน่ึงการบันทึกรายการแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือกรณีกิจการไม่จด ทะเบียนเขา้ สรู่ ะบบภาษีมูลคา่ เพิม่ และกรณีกจิ การจดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษมี ลู ค่าเพ่ิม

การบนั ทึกรายการเก่ยี วกบั วตั ถดุ บิ วธิ บี ญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบส้นิ งวด

การบนั ทึกรายการเกย่ี วกบั วตั ถดุ บิ วธิ บี ญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบส้นิ งวด





การคานวณวัตถดุ ิบใชไ้ ปในการผลิต-วธิ บี ญั ชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด การคานวณวัตถดุ บิ ใชไ้ ปในการผลิต คานวณไดด้ ังนี้



การบันทึกรายการเก่ียวกับวัตถุดบิ วิธบี ัญชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบตอ่ เนอ่ื ง วิธีนกี้ ิจการจะบนั ทึกรายการเกยี่ วกบั วตั ถุดิบ ในบญั ชีวตั ถดุ บิ เชน่ ซื้อวัตถุดิบ ค่าขนส่งเข้าส่งคืน วตั ถุดิบ ส่วนลดรบั การเบิกวัตถดุ บิ ไปใชใ้ นการผลติ หรอื การรับคืนวตั ถุดิบท่ีเหลือจากการผลิต ดังน้ันบัญชี วัตถดุ บิ จะแสดงรายการเคลอื่ นไหวของวัตถดุ บิ ตลอดเวลา ข้อดีของวิธีนี้คือทาให้กิจการทราบยอดคงเหลือ ของวัตถุดิบ ณ วันใดวันหน่ึง ข้อเสียคือ เสียเวลาในการบันทึกบัญชี การบันทึกรายการแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีกิจการไม่จดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม และกรณีกิจการจดทะเบียนเข้าสู่ระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่ม

การบนั ทึกรายการเก่ยี วกบั วัตถดุ บิ วิธบี ญั ชสี ินคา้ คงเหลอื แบบต่อเน่อื ง







บัตรวัตถดุ ิบ บัตรวัตถุดิบ (Stock Card) เป็นบัตรท่ีใช้บันทึกรายละเอียดเก่ียวกับ วัตถุดิบ คือการรับและจ่ายวัตถุดิบ โดยแสดงรายละเอียดการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลาท้ังในส่วนของปริมาณการ รับเข้า ปริมาณการเบิกใช้เข้างานแต่ละงาน และปริมาณของวัตถุดิบ ท่ีคงเหลืออยู่ในแต่ละช่วงเวลาบัตรวัตถุดิบ 1 บัตร ใช้กับวัตถุดิบ 1 ชนิด ตวั อย่างรปู แบบบัตรวัตถดุ ิบ

ตวั อย่างรปู แบบบตั รวัตถดุ บิ

ในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบของกิจการผลิต ไม่ว่ากิจการจะซื้อวัตถุดิบชนิดใด ปกติจะบันทึกรวมอยู่ในบัญชีเดียวกัน ดังนั้น บัตรวัตถุดิบจึงเปรียบเสมือนบัญชีแยกประเภทย่อย ของบญั ชซี อ้ื วัตถุดบิ หรอื บญั ชวี ัตถุดิบ ดงั ตัวอยา่ ง

1. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันท่วั ไป

2. ผา่ นรายการจากสมุดรายวนั ทั่วไปไปบญั ชแี ยกประเภทท่วั ไป (เฉพาะบญั ชีวตั ถดุ บิ )






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook