Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore work manual

work manual

Published by natchananc, 2019-07-31 00:38:22

Description: work manual

Search

Read the Text Version

คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน (Work Manual) กระบวนงานที่ 1 กระบวนงานวิจยั /พัฒนา นวตั กรรม องค์ความร้เู ทคโนโลยี ของ กลมุ่ ศูนยส์ ขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ กล่มุ งานวชิ าการสขุ ภาพจติ วนั ท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ 2559

สารบญั หนา้ 1 1. วัตถุประสงค์ของการจัดทาค่มู อื 1 2. ขอบเขต 1 3. คาจากดั ความ 1 4. หนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ 2 5. Work Flow กระบวนงาน 3 6. ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน 3 5 6.1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ความตอ้ งการ/ความจาเป็นในการพฒั นา 9 6.2 ข้นั ตอนกาหนดกรอบแนวคิดและการทบทวนวรรณกรรม 13 6.3 ขน้ั ตอนการออกแบบและจดั ทาตน้ รา่ ง 18 6.4 ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพเทคโนโลยีสุขภาพจติ 19 6.5 ขั้นตอนการทดลองใชเ้ ทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ ในระบบ 20 6.6 ขั้นตอนการขยายผลเทคโนโลยสี ุขภาพจติ 22 6.7 ข้นั ตอนการประเมนิ ผล 22 7. ขอ้ กาหนดการให้บริการ 22 8. ตวั ชว้ี ัดควบคุมคุณภาพของกระบวนงาน 22 9. ระบบตดิ ตามประเมินผล 23 10. เอกสารอา้ งอิง 23 11. แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ 12. ชอ่ งทางการรบั ฟงั ข้อเสนอแนะ/ข้อรอ้ งเรียนตอ่ การให้บรกิ าร 24 25 ภาคผนวก 27 1. คาสัง่ บทบาทหน้าท่ี 29 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. ช่องทางรับฟังขอ้ เสนอแนะ การตดิ ต่อศนู ย์สุขภาพจติ 1-13 30 รายช่อื คณะจัดทาคู่มอื

สารบญั ตาราง ตารางที่ 1 ขั้นตอนและผงั การทางานวจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ หนา้ ตารางที่ 2 กระบวนการทบทวนวรรณกรรมของ Mheccu 2 ตารางท่ี 3 ลกั ษณะต่างๆ ของสอื่ แตล่ ะประเภท 6 ตารางท่ี 4 ตวั อย่างการคานวณค่าดัชนีความสอดคลอ้ งโดยผู้เช่ียวชาญ 10 ตารางที่ 5 การพิจารณาความตรงตามเนือ้ หาโดยวธิ ปี ระมาณแบบมาตราส่วนประมาณค่า 14 ตารางท่ี 6 ตัวอยา่ งการประเมินเชงิ เทคนิคของโปรแกรม E-Learning 15 16

คานา จากการท่กี รมสุขภาพจิตโดยกลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร ไดม้ อบหมายใหท้ ุกหน่วยงานดาเนนิ งาน จดั ทาค่มู ือสาหรบั ประชาชน เพอื่ เป็นการแสดงขัน้ ตอนเวลาการใหบ้ รกิ ารประชาชน ของกล่มุ ศูนย์สุขภาพจติ ที่ 1-13 ซง่ึ จะทาใหป้ ระชาชนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในขั้นตอนการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในการใหบ้ รกิ ารตาม บทบาทหนา้ ท่ีของศนู ย์สุขภาพจติ ในการใหบ้ ริการผู้ มารบั บริการ หนึง่ ในพนั ธกจิ หลักทีเ่ ป็นกระบวนงานท่ี สาคัญในการปฏิบตั ิงานของกลุ่มศนู ย์สุขภาพจิตคือ พันธกิจหลกั ในการศึกษาวเิ คราะห์วิจัยและพัฒนาองค์ ความรดู้ ้านการส่งเสรมิ สขุ ภาพจติ และปูองกนั ปัญหาสุขภาพจิตในเขตพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบ จึงไดม้ ีการดาเนินการ จดั ทาคูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานวิจยั /พัฒนา นวัตกรรม องคค์ วามรเู้ ทคโนโลยี ซง่ึ ถอื เป็นการปฏิบัติตามมาตรา 7 พระราชบัญญัตกิ ารอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ าน วิจัย/พฒั นา นวตั กรรม องค์ความรู้เทคโนโลยี เล่มนี้ จดั ทาข้ึนโดยนักวชิ าการ ของศนู ย์สุขภาพจติ ท่ี 1-13 กรมสขุ ภาพจิต ทศี่ กึ ษา รวบรวมขอ้ มลู แลว้ เรยี บเรยี งจัดทาเปน็ คู่มอื ขนึ้ เพอื่ เปน็ แนวทางในการ ปฏิบัติงานวจิ ยั /พัฒนา นวตั กรรม องค์ความรู้เทคโนโลยขี องนักวชิ าการกลมุ่ ศูนย์สุขภาพจิต และผทู้ ส่ี นใจศกึ ษาค้นคว้า คณะทางานขอขอบพระคณุ ผ้อู านวยการศูนย์สขุ ภาพจิตทกุ แห่ง ทใ่ี ห้การ สนับสนุน ให้คาแนะนาเปน็ อยา่ งดี และหวังเปน็ อย่างยิง่ วา่ ค่มู ือเลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ ทางวชิ าการขององค์กรและผู้สนใจต่อไป คณะทางานศูนยส์ ุขภาพจิตที่ 1-13

1 คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน/คูม่ อื การใหบ้ รกิ ารประชาชน กระบวนงานที่ 1 ช่ือกระบวนงาน วจิ ยั /พฒั นา นวตั กรรม องค์ความรู้เทคโนโลยี 1. วัตถุประสงค์ เพ่ือใชเ้ ป็นคมู่ อื สาหรับบุคลากรศูนยส์ ขุ ภาพจติ ในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นการวิจยั และพฒั นา นวตั กรรม องคค์ วามรูเ้ ทคโนโลยีสขุ ภาพจิต 2. ขอบเขต คู่มือการปฏิบตั ิงานฉบบั นี้ ผลิตขนึ้ เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการ การปฏิบัติงานปฏบิ ตั ิงานด้านการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม องคค์ วามรู้เทคโนโลยี สุขภาพจติ ซึง่ ประกอบด้วย 7 ขน้ั ตอน ตามคู่มือการวจิ ยั และ พัฒนาเทคโนโลยีสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2554 โดยนาไปใช้กบั บุคลากรศนู ย์สขุ ภาพจิตท่ี 1-13 ในปี งบประมาณ 2559 เปน็ ต้นไป 3. คาจากดั ความ การวจิ ยั และพฒั นา หมายถงึ กระบวนการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างเปน็ ระบบ เปน็ ลักษณะหน่ึงของการ วจิ ัยปฏิบัตกิ าร โดยมีเปาู หมายเพื่อพัฒนานวตั กรรม เทคโนโลยี สอ่ื อุปกรณ์ รูปแบบ ระบบ วิธกี ารใหม่ๆ ทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล เพื่อยกระดับคณุ ภาพของงาน เทคโนโลยีสขุ ภาพจติ หมายถึง ผลผลติ ทไี่ ดจ้ าก การประยกุ ตใ์ ช้องคค์ วามร้สู ขุ ภาพจติ ผา่ น กระบวนการวิจยั และพัฒนา เพอื่ ให้ได้ผลผลิตเปน็ นวตั กรรมใหม่ทมี่ คี ณุ ภาพ ให้สามารถนาไปใช้ในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ปูองกนั ปัญหาสุขภาพจิต ผอู้ านวยการ หมายถึง ผบู้ รหิ ารสูงสดุ ของศูนยส์ ขุ ภาพจิตท่ี 1-13 กรมสขุ ภาพจิต บคุ ลากรศูนย์สุขภาพจิต หมายถงึ นกั วชิ าการทป่ี ฏิบตั ิงานในกลุ่มงานวชิ าการสขุ ภาพจิต ศนู ย์ สุขภาพจิตที่ 1-13 ประกอบดว้ ย นักวชิ าการสาธารณสุข นกั จิตวิทยา นักจิตวิทยาคลินกิ นักสังคม สงเคราะห์ นกั กิจกรรมบาบดั นกั อาชีวบาบัด นวัตกรรม (Innovation) หมายถงึ สิ่งท่ีพัฒนาขนึ้ จากองคค์ วามรูส้ ขุ ภาพจติ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ประสบการณต์ รงจากการทางาน เพื่อประโยชน์ตอ่ การสง่ เสริมสุขภาพจิตและปอู งกนั ปญั หาสุขภาพจติ 4. หน้าทคี่ วามรับผิดชอบ การจดั ทาค่มู ือการปฏิบัติงานฉบับนี้ใชก้ รอบแนวคิดการปฏบิ ัติงานการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี สขุ ภาพจติ ประกอบดว้ ยผ้อู านวยการศนู ย์สขุ ภาพจิต และนักวชิ าการศนู ยส์ ขุ ภาพจติ มบี ทบาทหนา้ ที่ ดงั นี้ 4.1 ผู้อานวยการศูนย์สุขภาพจิต เปน็ ประธานที่ให้การสนบั สนนุ เปน็ ทีป่ รึกษาคอยให้คาแนะนา และ กากบั ดแู ลการดาเนินงานใหไ้ ปส่เู ปูาหมายที่วางไว้ 4.2 นักวชิ าการศนู ย์สขุ ภาพจิต เป็นคณะกรรมการ คณะทางานทปี่ ฏิบตั งิ านในกลมุ่ งานวชิ าการ สขุ ภาพจติ ร่วมกันจดั ทาคมู่ อื ฯ ตามข้นั ตอนการทางานของกระบวนการวจิ ยั /พัฒนาท้ัง 7 ข้ันตอน

2 5. Work flow กระบวนงานวจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ กระบวนงานวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีสุขภาพจิต ประกอบด้วยข้ันตอนการทางาน (สานักพัฒนา สุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต, 2554) ผังงาน ระยะเวลา และผู้รบั ผดิ ชอบงานดังตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 1 ข้ันตอนและผังการทางานวิจัย พฒั นาเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต ข้ันตอนการทางาน ผงั งาน ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ Work Flow Flow Chart (ตาแหน่ง/กลมุ่ /ฝ่าย) - ผู้อานวยการ 1. การวเิ คราะหค์ วาม วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ/ ต.ค. - พ.ย. 58 - นกั วิชาการ กลุ่มงาน ตอ้ งการ ของผู้มีสว่ นไดส้ ่วน ความจาเป็นในการพฒั นา วิชาการสุขภาพจิต เสีย 2. กาหนดกรอบแนวคดิ กาหนดกรอบแนวคดิ พ.ย. - ธ.ค. 58 - ผู้อานวยการ และการทบทวนวรรณกรรม ออกแบบ/จัดทาต้นร่าง - นักวชิ าการ กลุ่มงาน พัฒนาคุณภาพทางวชิ าการ วิชาการสขุ ภาพจติ 3. ออกแบบจดั ทาต้นร่าง (Prototype ทบทวนปรับปรุง ธ.ค.58 - ม.ค. 59 - ผูอ้ านวยการ development) ผลิตองคค์ วามรู้ - นกั วชิ าการ กลุ่มงาน 4. ทดสอบคณุ ภาพเนอื้ หา วิชาการสขุ ภาพจิต (Testing) ม.ค. - ก.พ. 59 - ผู้อานวยการ 5. การทดลองใช้ในระบบ - นักวิชาการ กล่มุ งาน (Pilot study) วิชาการสุขภาพจติ 6. การขยายผล มี.ค - พ.ค. 59 - ผ้อู านวยการ - นกั วชิ าการ กลุ่มงาน 7. การประเมินผลและ No วิชาการสุขภาพจิต พฒั นาตอ่ เนอ่ื ง (Evaluation) ประเมนิ ผลและพฒั นา มิ.ย. - ก.ค. 59 - ผู้อานวยการ - นักวชิ าการ กลุ่มงาน วชิ าการสุขภาพจิต ก.ค. - ส.ค. 59 - ผูอ้ านวยการ - นกั วิชาการ กลุ่มงาน วิชาการสุขภาพจติ yes หมายเหตุ ระยะเวลาท่ี กาหนดในผงั งานอา้ งอิงจาก ได้นวัตกรรม/เทคโนโลยี มาตรฐานงานส่งเสริม สุขภาพจิต ปอู งกันปญั หาสุขภาพจิต สาหรับโรงพยาบาลสง่ เสริม สขุ ภาพตาบล

3 6. ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน คู่มอื เลม่ น้ีได้จัดทาขึน้ ตามข้ันตอนการวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยดี ้านสุขภาพจติ ของกรมสุขภาพจติ (กรมสขุ ภาพจติ สานักพฒั นาสุขภาพจิต, 2554) ท้งั 7 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 6.1 ข้นั ตอนการวเิ คราะห์ความต้องการ/ความจาเปน็ ในการพฒั นา (Need Analysis) คอื การรวบรวมข้อมูล สถานการณ์ ปญั หา ความตอ้ งการ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผูเ้ กย่ี วข้อง เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มูลในการพฒั นาเทคโนโลยที ่ีตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ ละกลมุ่ เปาู หมาย มีหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ของปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ การวเิ คราะห์ความตอ้ งการและความจาเปน็ ในการพฒั นาเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต นับวา่ เป็นประโยชนด์ ังน้ี 1) เปน็ ข้อมลู หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาและความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมาย ชอ่ งวา่ งทจี่ ะต้องแก้ไขหรือพฒั นาใหด้ ขี นึ้ เชน่ มขี อ้ มลู เก่ยี วกบั จดุ แขง็ /จดุ อ่อน ต้นทนุ ของกลุ่มเปาู หมายท่ี เกิดขนึ้ มีการพัฒนาเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนึง่ ท่ยี ังไม่มกี ารพฒั นา 2) ไดร้ ายละเอียดเพื่อนาไปใชใ้ นการพฒั นาเทคโนโลยีให้เหมาะสม กบั ความตอ้ งการของ กลมุ่ เปาู หมาย 3) เปน็ ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) สาหรบั การเปรียบเทียบ เพอ่ื ศึกษาผลลัพธ์หรือปญั หาท่ีลดลง ภายหลงั การใชเ้ ทคโนโลยี การวิเคราะห์ความตอ้ งการและความจาเปน็ ในการพฒั นาประกอบด้วย 4 ขนั้ ตอน ดังตอ่ ไปนี้ 6.1.1 กาหนดขอบเขตเรื่องทจี่ ะศึกษา ความต้องการและความจาเป็น โดยค้นหาและกาหนดปัญหา กลุ่มเปาู หมาย/กลุ่มทเ่ี ก่ียวขอ้ ง การกาหนดขอบเขตนั้น อาจใช้วิธีการระดมสมองผู้เกีย่ วข้อง/กลุ่มเปูาหมายเข้า มามสี ่วนรว่ ม หรือทบทวนวรรณกรรมถงึ ประเดน็ ท่ีนา่ สนใจ จะทาใหไ้ ด้ขอบเขตเรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษาตรงกับความ เป็นจรงิ มากขึน้ ตัวอย่าง คาถามเพอ่ื กาหนดขอบเขตขอ้ มูลท่ีจะศกึ ษา 1. ปญั หาท่ีเกิดขนึ้ คืออะไร เกดิ กับใครบา้ ง มปี ัญหาย่อยหรอื ประเด็นเฉพาะหรอื ไม่ 2. ผลกระทบ/ผลเสยี ท่เี กดิ ขึน้ คืออะไร รวมท้งั ดา้ นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความเสยี่ ง 3. กลมุ่ เปาู หมายทีจ่ ะศึกษาคอื ใคร ตอ้ งการอะไร วธิ ีแก้ไขทาอยา่ งไร มีกี่วิธี วธิ ีใดเป็นวธิ ที ีไ่ ดผ้ ลมาก ทีส่ ุด ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการใหเ้ กดิ กับกลุม่ เปูาหมายคืออะไร 4. ลักษณะทางประชากรศาสตร์/พฤติกรรมกล่มุ เปูาหมายคอื อะไร (ความคดิ ความเชือ่ พฤติกรรมท่ี เกย่ี วขอ้ งกับปญั หา) กลุ่มเปูาหมายอนื่ /ระบบที่เก่ยี วข้องกับกลมุ่ เปูาหมายที่จะศกึ ษาทเ่ี ปน็ ทง้ั ส่วน สนบั สนุนและปัญหาอปุ สรรค 5. ตน้ ทนุ ท่ีดีในการแกป้ ัญหาน้คี ืออะไร จะนามาใช้ได้อยา่ งไร 6. เทคโนโลยที ี่ตอ้ งการคือไร ใครเปน็ ผใู้ ช้ รูปแบบทตี่ อ้ งการ 7. วิธีการถา่ ยทอดความรู้สูก่ ลุม่ เปูาหมายที่ผล ทาอย่างไร 8. อะไรคอื ปญั หาอปุ สรรคสาคญั หากต้องใช้เทคโนโลยีจะแกไ้ ขอุปสรรคนัน้ อย่างไร

4 6.1.2 เลือกวธิ ีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนาขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ความตอ้ งการและความจาเปน็ ในการ พฒั นาเทคโนโลยสี ุขภาพจติ ดังน้ี  ทบทวนวรรณกรรม/การรวบรวมข้อมูล โดยเลอื กข้อมลู ทม่ี คี วามนา่ เชอ่ื ถือ คน้ หาขอ้ มลู ทงั้ ในและต่างประเทศ แนวโนม้ ปญั หาสถานการณ์จากอดีตถงึ ปจั จบุ ัน ขอ้ มลู ประชากร เศรษฐกิจสังคม วฒั นธรรม นโยบาย ข้อมูลเกยี่ วกบั การเจ็บปุวย สถิติ รายงาน องค์ความร้หู รืองานวจิ ยั ท่เี คยศึกษามาก่อน โปรแกรมพัฒนาที่ใกลเ้ คียงกบั เรอื่ งที่จะศกึ ษา ขอ้ มูลผลกระทบของปญั หาทีเ่ กดิ ข้นึ เพ่อื นามาเปรยี บเทียบ แสดงให้เหน็ ถึงขนาดของปญั หา ข้อมลู ของหน่วยงาน เชน่ การใช้บริการ/ ปญั หาอุปสรรคในการใหบ้ ริการ/ ปัจจัยความเสีย่ ง  การศึกษาข้อมูล โดยการวิจยั เชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ การวิจัยเชิงปรมิ าณ ไดแ้ ก่ การสารวจ การศกึ ษาระบาดวทิ ยา การวจิ ยั เพือ่ หาขอ้ มูล เกย่ี วกบั ลกั ษณะของปัญหา ความต้องการ/บริบทของกล่มุ เปาู หมาย การวิจยั เชิงคณุ ภาพ เป็นการศกึ ษาขอ้ มลู จากปรากฏการณ์ตามสภาพแวดล้อมท่เี ป็น จรงิ ไดแ้ ก่ การสัมภาษณ์ การสนทนากลมุ่ การสังเกต การศกึ ษาเอกสารหรือใชห้ ลายๆวิธรี ว่ มกัน การทา SWOT Analysis ในกลุ่มเปาู หมายเฉพาะ มกั จะเป็นการศึกษาเรอ่ื งทมี่ ีขอ้ มลู วรรณกรรมไมม่ ากนัก หรือเปน็ เรอื่ งศึกษาเชงิ ลึกในประเด็นทตี่ อ้ งการคาตอบ เพ่อื ทาความเขา้ ใจปญั หา สาเหตุ กลไกการเกิดปญั หา แนว ทางการแกไ้ ข ลกั ษณะของกลมุ่ เปาู หมาย ความตอ้ งการ หรอื รวบรวมข้อมูลเบ้ืองต้นจากงานทป่ี ฏบิ ัติ โดยต้งั คาถาม เกย่ี วกับเร่อื งทต่ี ้องการศึกษา เช่น การสนทนากลุม่ (Focus group) ตวั อย่าง การสนทนากลุ่ม (Focus group) นามาใช้ในการศึกษาขอ้ มูลเพ่อื ทาความเขา้ ใจสภาพปัญห าและ ลกั ษณะความต้องการของกลุ่มเปาู หมาย วิธีการท่ใี ช้ การสนทนากลุ่ม วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ศึกษาขอ้ มูลการปรับตัวของผ้ไู ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณร์ ุนแรงชายแดนใต้ และความต้องการเทคโนโลยี เพอื่ ใชใ้ นการดแู ลจิตใจผู้ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณร์ ุนแรง กลมุ่ เปา้ หมาย กล่มุ ทม่ี ปี ระสบการณ์ในการเผชิญปญั หาความรุนแรงและผา่ นพ้นมาได้ จานวน 5 กลุม่ คือ กล่มุ ตารวจ-ทหาร/แกนนาชุมชน/คร-ู อาจารย์/บคุ ลากรสาธารณสุข/เยาวชน กลุ่มละ 5 คน ประเดน็ คาถามในการสนทนากล่มุ  ประสบการณ์การเผชิญปัญหารนุ แรงและแนวทางการปรับตัวทใี่ ช้  ตน้ ทนุ หรอื การสนับสนนุ สาคัญในการดแู ลเยยี วยาจติ ใจ  ความตอ้ งการในการดูแลสขุ ภาพจิต/วธิ ีการทีต่ ้องการ/รูปแบบสือ่ ทต่ี อ้ งการ

5 6.1.3 จัดหมวดหมขู่ ้อมูลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู นาขอ้ มลู ที่ไดม้ าจดั หมวดหมู่ สรุปสภาพปัญหา ลกั ษณะของกลุม่ เปาู หมาย แนวทางแกไ้ ข ความตอ้ งการของกลุม่ เปาู หมาย และตน้ ทนุ เดมิ ทม่ี อี ยู่ 6.1.4 นาผลการวิเคราะห์ ข้อมลู มากาหนดรายละเอยี ดเทคโนโลยที ต่ี อ้ งการพัฒนา โดยวิเคราะห์ ความต้องการและความจาเป็นในการพฒั นา จะให้ภาพและแนวทางของการพฒั นาเทคโนโลยีชดั เจนข้นึ การวิเคราะหค์ วามต้องการในการพัฒนา เป็นการรวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางใน การพฒั นาเน้ือหาความรู้ การออกแบบเทคโนโลยี และกลยทุ ธต์ า่ งๆทใ่ี ช้ในการดาเนินการ เพอ่ื ให้เกิดผลสาเรจ็ ตามเปาู หมายท่ีต้องการ 6.2 ข้ันตอนกาหนดกรอบแนวคดิ และการทบทวนวรรณกรรม (Conceptual framework) กรอบแนวคดิ ในการพฒั นาเทคโนโลยสี ุขภาพจิต หมายถึง การเช่ือมโยงความสมั พนั ธข์ องตัวแปรตา่ งๆ ตามแนวคิดทฤษฎี กบั แบบแผนทีใ่ ช้ในการวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยสี ุขภาพจิต (สานกั พัฒนาสุขภาพจติ กรม สุขภาพจิต, 2554) การกาหนดกรอบแนวคดิ จดั ทาเพอ่ื แสดงทิศทาง ขอบเขต และความสมั พันธ์ของตัวแปรที่จะ ศกึ ษา ทาใหม้ ่ันใจว่า การศกึ ษาหรอื พัฒนาน้ีสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของการพฒั นาเทคโนโลยีเร่ืองนน้ั ๆ เช่ือมโยงไปถึงกาสร้างเคร่อื งมือและการเก็บรวบรวมข้อมลู กรอบแนวคดิ เปน็ ภาพสุดท้ายของการทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ความคิดของนักวจิ ยั และ เรื่องราวทางทฤษฎตี ่างๆที่ต้องการพิสูจน์ ก่อนกาหนดกรอบแนวคดิ ต้องมีความชดั เจนในปัญหาที่เกดิ ขนึ้ ปจั จัยท่เี กย่ี วขอ้ ง บรบิ ทหรือระบบ เทคโนโลยีที่จะดาเนินการ และผลลพั ธ์ทต่ี อ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกับ กลมุ่ เปูาหมาย ซ่ึงวธิ กี ารท่นี ามาใช้คือ การทบทวนวรรณกรรม การทบทวนวรรณกรรม เปน็ วิธกี ารทจี่ ะช่วยให้ไดข้ ้อค้นพบ/ความรู้ในเรอ่ื งทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ซึ่งการ ทบทวนทม่ี ีคุณภาพ ข้ึนอย่กู บั การเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มูลท่ีดี และวิธกี ารทีใ่ ช้ในการทบทวนวรรณกรรม วธิ กี าร ทบทวนวรรณกรรมมหี ลากหลาย ซงึ่ จะนาเสนอตัวอย่าง 2 วธิ กี ารดังนี้ 6.2.1 การทบทวนวรรณกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ (Systematic review) เริม่ จากการกาหนด เร่อื งทจ่ี ะทบทวนวรรณกรรมใหช้ ัดเจน ต้งั กฎเกณฑก์ ารทบทวนวรรณกรรมว่า จะหาขอ้ มลู ดว้ ยวิธีการใด ค้นหา จากฐานขอ้ มูลใด คัดเลอื กรายงานวิจยั ที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กาหนด เพือ่ ให้ เกิดความนา่ เช่ือถือในงานวจิ ยั และสรปุ ผลท่ไี ดจ้ ากการคน้ ควา้ โดยอาศัยหลักฐานความรทู้ ี่ผ่านการทดลองใชม้ าแลว้ ซึ่งเปน็ ทย่ี อมรบั และมี หลักฐานอ้างองิ ว่ามีประสิทธภิ าพ ได้ผลลพั ธ์ท่ีดี ขน้ั ตอนการทบทวนวรรณกรรมอยา่ งเปน็ ระบบประกอบด้วย (ดวงกมล วัตราดุล, 2554) - มีการกาหนดคาถามการทบทวน - การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ - กาหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกงานวจิ ัย - การกาหนดเกณฑ์ในการสบื ค้นงานวจิ ัย - กาหนดเกณฑใ์ นการวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผลการวจิ ยั - การเขยี นรายงานการทบทวน

6 6.2.2 การทบทวนวรรณกรรมที่มีความซับซอ้ นมากขึ้น เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมูลทมี่ ีความนา่ เช่ือถือ มากข้นึ เช่น วธิ ีการทบทวนวรรณกรรมของ Mental Health Evaluation & Community Consultation Unit (Mheccu) ซึง่ ไดก้ าหนดมาตรฐานการทบทวนวรรณกรรมไว้ 2 ขัน้ ตอน คอื 1) การวางแผนการทบทวน วรรณกรรม และ 2) ขัน้ ดาเนินการทบทวนวรรณกรรม โดยแต่ละขน้ั ตอนแบ่งเป็น 3 ระดับ ตามความพรอ้ ม ของผู้วิจัยและแหล่งข้อมลู (สานักพฒั นาสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต, 2554) ดังน้ี ตารางท่ี 2 กระบวนการทบทวนวรรณกรรมของ Mheccu (Elliot M. Goldner, Lorena Hsu,n.d.) 1. การวางแผนการทบทวนวรรณกรรม ระดบั ที่ 1 ระดับท่ี 2 ระดบั ท่ี 3 1.1 การจดั กลุ่มวรรณกรรมที่ คน้ หาโดยใชฐ้ าน ระดบั ที่ 1 + ระดับที่ 2 + ตดิ ตอ่ กบั กลมุ่ ดาเนนิ การทบทวนแลว้ และอยู่ ขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนกิ ประชุม พิจารณา สายงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ งใน ในระหวา่ งการทบทวน (เชน่ MEDLINE, จดั ความสาคญั เรื่องทจ่ี ะทาการวจิ ยั (Identification of existing Healthstar ฯลฯ) ของแหล่งข้อมูล and ongoing reviews) 1.2 การประเมนิ คุณภาพของ การประเมนิ อย่างไม่ การให้คะแนน/ การใหค้ ะแนน/จดั ระดบั อย่าง วรรณกรรม (Critical appraisal เปน็ ทางการ จดั ระดับอย่างไม่ เปน็ ทางการโดยใช้ checklist of available reviews) เปน็ ทางการ ซึ่งเป็นขัน้ ตอนการประเมนิ เอกสารอ้างอิงที่มคี ุณภาพ 1.3 ขอ้ มลู ภมู หิ ลัง (Background - - อาจใสข่ อ้ มลู เกีย่ วกบั ชีววทิ ยา information) ระบาดวิทยา ประเดน็ ปัญหาท่ี สาคัญทางคลินกิ หรือทาง สาธารณสขุ ที่เกี่ยวข้อง 1.4 การกาหนดคาถามการวิจัย - - นิยามคาถามการวิจยั ให้ (Formulation of research ชดั เจนซง่ึ ครอบคลุมส่วน question) สาคัญ ได้แก่ ประชากร วิธกี าร (Intervention) และ ผลลพั ธข์ องการวจิ ัย 1.5 วธิ กี ารทบทวนวรรณกรรม ไม่ระบถุ ึงวธิ กี ารที่ ระดบั ที่ 1 + มี มกี ารตพี ิมพ์วธิ ีการทบทวน (Methods of the review) ชัดเจนแต่แสดงให้ เอกสารอ้างองิ วรรณกรรมทีช่ ดั เจนและ เหน็ ถึงการวางแผน ของวิธกี าร เข้มงวด รวมทงั้ การกาหนด และการทบทวน ทบทวน ปญั หา การคัดแยก คดั เลือก วรรณกรรมแบบ วรรณกรรมแบบ ทบทวนบทความ บทคัดย่อ ทว่ั ไป ท่วั ไป และการวิเคราะหข์ ้อมลู

7 2. ข้ันดาเนินการทบทวนวรรณกรรม ระดับท่ี 1 ระดับท่ี 2 ระดับท่ี 3 ระดับที่ 1+ ใช้ ระดบั ที่ 2 + ใชท้ ัง้ วธิ ีการ 2.1 คน้ หากลยุทธ์เพ่ือแยกแยะ ใชฐ้ านข้อมลู อีเลค internet และ คน้ หาด้วยตนเองและการ ทบทวนจาก สมั ภาษณ์/สอบถาม บทความท่เี กย่ี วข้อง (Search ทรอนิก ระบุคา รายงานการ ประชุมวิชาการ ระดบั ท่ี 2 + ใชผ้ ู้ทบทวนที่ strategy to identify relevant สาคัญในการทบทวน ระดับที่ 1 + หลากหลาย ทดลองใชเ้ กณฑ์ articles) เบือ้ งต้นเพอื่ เพม่ิ การคดั แยกกับ การให้คะแนน/จดั ระดับอย่าง วรรณกรรมท่ี เป็นทางการ โดยใช้การ ความไวในการค้นหา คดั เลอื ก checklist ซ่ึงเป็นขน้ึ ตอนการ การใหค้ ะแนน/ ประเมนิ เอกสาร อ้างองิ ทีม่ ี 2.2 การเลอื กวรรณกรรม มีการกาหนดเกณฑ์ที่ จดั ระดับ คุณภาพ วรรณกรรมอยา่ ง ระดบั ที่ 2 + การทดลองใช้ (Study selection) ชัดเจนในการคัดแยก ไมเ่ ปน็ ทางการ แบบฟอร์มการสกดั ขอ้ มูลจาก บทความและใช้ผู้ทบทวนท่ี วรรณกรรม มกี ารออกแบบ หลากหลาย ฟอร์มเพอื่ สกดั (inclusion ข้อมลู สาคัญ 3 เร่ือง ได้แก่ขอ้ มูล exclusion criteria) ทว่ั ไปเกยี่ ว กับ บรรณานุกรม 2.3 การประเมนิ วรรณกรรม การประเมินอย่างไม่ การออกแบบการ วิจยั การวัด (Study quality assessment) เปน็ ทางการ โดยการ ผลลพั ธ์/ ผลการวิจัย บนั ทึกเอกสารที่ อา้ งอิง 2.4 การสกดั ข้อมลู การสกัดขอ้ มลู สาคญั (Data extraction) โดยคานงึ ถงึ การ ออกแบบและผล การวจิ ัย 2.5 การวิเคราะห์ มีตารางแสดงการ มีรายงานขอ้ มลู ระดับท่ี 1 + การสงั เคราะห์ ข้อมลู (Data analysis) รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ เชิงปริมาณ (โดยใชว้ ิธกี ารทาง ขอ้ มลู ท้ังเชงิ สถติ ทิ มี่ าตรฐาน เชน่ meta ปรมิ าณและ analysis) คุณภาพ

8 2. ข้ันดาเนินการทบทวนวรรณกรรม ระดบั ท่ี 1 ระดับท่ี 2 ระดบั ที่ 3 สรปุ รายละเอียด เลอื กผูท้ บทวนท่ี 2.6 การแปลผลข้อค้นพบ สรปุ จากผลการ อย่าง หลากหลายเพอ่ื ความคิดท่ี สมเหตสุ มผล เป็นอสิ ระและมุมมองท่ี (Interpretation of findings) ทบทวนวรรณกรรม เพยี งพอทผ่ี อู้ า่ น แตกตา่ งกนั จะเขา้ ใจและ เช่ือมโยงไปถงึ ผล กรณมี คี วามรูใ้ นเรอื่ งที่จะพัฒนาไมม่ ากนกั หาข้อมลู จากการทบทวนวรรณกรรมไม่ได้ ต้องให้เวลาใน การศกึ ษาเรือ่ งนัน้ ๆ เพ่ือใหเ้ ข้าใจทะลปุ รุโปรง่ เช่น อบรม รว่ มประชมุ /อภปิ รายในกลมุ่ ผู้เกยี่ วขอ้ ง สะสม ความรู้ไปเรื่อยๆ ศึกษาเชิงคณุ ภาพจากสถานการณ์จริง จากกลมุ่ ทม่ี ีปัญหา หรืออาจจะสอบถามผ้รู ู้ ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง จนพบ Key person บางเร่อื งอาจตอ้ งติดต่อกบั ชาวตา่ งประเทศเจ้าของเร่ืองทีพ่ ัฒนาเทคโนโลยี ผา่ นทาง e- mail หรือผา่ นเครือขา่ ยเพอ่ื ขอความรู้ หรือขออนญุ าตใชเ้ ครือ่ งมือ ผลจากการศึกษาความรู้จะทาให้เขา้ ใจ ปญั หา สาเหตุ ปัจจยั ท่ีเกี่ยวข้อง กลมุ่ เปูาหมาย การแก้ปญั หาหรอื เร่อื งท่จี ะพฒั นาคือเรือ่ งอะไร กบั ใคร ทไ่ี หน อย่างไร คาดวา่ จะทาใหเ้ กิดผลอะไร เพ่อื นาแนวคดิ มาเชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ ปัจจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง นอกจากน้กี รอบ แนวคดิ ควรแสดงใหเ้ หน็ กระบวนการพัฒนาวชิ าการ พัฒนาบคุ ลากร และการบริหารจัดการดว้ ย เทคนคิ การกาหนดกรอบแนวคิด เปน็ การสรุปผลจากการศกึ ษาทฤษฎแี ละผลการวจิ ัยในเรอ่ื งที่ เกยี่ วข้อง ซึ่งผู้เสนอกรอบแนวคดิ ของตนเองเพอื่ ใชด้ าเนินการวิจยั การกาหนดกรอบแนวคิดมีเทคนิคสาคัญ ดงั นี้ 1. ทบทวนเอกสารงานวิจยั ทฤษฎี แนวคิด ตวั แปรด้านเนื้อหาสาระและขอ้ ค้นพบ ท้ังด้านเนอ้ื หา สาระและวธิ ีการดาเนินการ การทบทวนนจี้ ะช่วยใหเ้ ห็นตวั แปรที่สาคัญ ความสัมพันธ์ระหวา่ งตวั แปร และเป็น หลักฐานอา้ งอิงสาหรับกรอบแนวคิด 2. สรุปประเด็นทไี่ ด้จากการทบทวนเอกสารใหช้ ดั เจน จัดหมวดหมตู่ วั แปรตน้ ตัวแปรตามทเ่ี กีย่ วข้อง กับเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ และการพัฒนาเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต 3. เลือกทฤษฎี แนวคิด หลักการที่สอดคล้องกับบริบททจี่ ะศึกษาประสบการณก์ ารทางาน หรือ แนวคิดของผวู้ จิ ยั เอง เพ่อื เป็นพน้ื ฐานทฤษฎี อธิบายเหตผุ ลเช่ือมโยงกบั ตัวแปรต่างๆ และสรา้ งรูปแบบ ความสมั พันธข์ องตวั แปรต่างๆให้เป็นแบบจาลองในการวจิ ยั ซงึ่ กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั แต่ละเร่ืองจะ แตกตา่ งกนั 4 . ตรวจสอบความครบถ้วน ความเช่อื มโยง สอดคลอ้ งของกรอบวิจัย กรอบแนวคิดทดี่ ีควรอธิบายไดต้ รงประเด็นเนือ้ หาในเรือ่ งที่ ตอ้ งการ ศกึ ษา ไม่มีความ ซับซ้อน และ สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาเทคโนโลยเี รอื่ งนน้ั ๆ ได้ รูปแบบการนาเสนอกรอบแนวคดิ เม่อื รวบรวมข้อมลู ได้ครบถ้วนแล้ว อาจจะใชว้ ธิ กี ารประชุม ผู้เชยี่ วชาญ/ผู้ปฏิบัติงาน/การสนทนากลุม่ เพอ่ื ระดมความคดิ เหน็ ในการกาหนดกรอบแนวคดิ รปู แบบการ นาเสนอกรอบแนวคดิ มวี ิธีการเขยี น 3 วธิ ี ดังนี้

9 1) เขียนบรรยายแสดงให้เหน็ ลาดับความต่อเนื่องกอ่ นหลังของตวั แปรต้น ตวั แปรตาม เชน่ กรอบ แนวคิดของการสารวจ เปน็ การอธิบายความสัมพนั ธ์ของตวั แปรทีจ่ ะศกึ ษา 2) เขยี นแบบฟังก์ชนั่ ทางคณติ ศาสตร์ เป็นการอธิบายเรอ่ื งราวทง้ั หมดดว้ ยวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ เพอื่ ให้เห็นความสัมพันธ์ของตวั แปร 2 ชุด อย่างชัดเจน ทาใหเ้ ห็นการเลอื กเทคนคิ ทเี่ หม าะสมในการวเิ คราะห์ ขอ้ มูลต่อไป 3) เขยี นเป็นแผนภูมิ แสดงความสัมพันธ์ ลาดับก่อนหลงั ของตวั แปรท่จี ะศกึ ษาในรูปของแผนภมู ิ ดงั ตัวอยา่ ง ตัวอยา่ ง กรอบแนวคดิ การวิจยั เรื่อง “การสรา้ งแบบประเมินพฤตกิ รรมการดูแลผูป้ ุวยจติ เภท” ลักษณะทางชวี สงั คม พฤติกรรมการดแู ลตนเองของผ้ปู ่วยจิตเภท ของผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ในดา้ น  เพศ  การดแู ลสขุ อนามัยสว่ นบคุ คล  อายุ  การพักผ่อนนอนหลบั  สถานภาพสมรส  การปฏสิ มั พันธก์ บั ผู้อน่ื  ระดับการศึกษา  การรับประทานยา  อาชีพ  การรับประทานอาหาร นา้ และการขับถา่ ย  รายได้  การออกกาลงั กาย สภาวะการเจบ็ ปว่ ยทางจติ คุณภาพของแบบประเมนิ พฤตกิ รรมการดแู ล ของผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ตนเองของผปู้ ่วยจติ เภท  ระยะเวลาการเจบ็ ปวด  ความเท่ยี งตรง (Validity) : ความเทย่ี งตรงตาม  จานวนครงั้ ของการเข้า เนอ้ื หา ความเท่ยี งตรงตามโครงสรา้ งทฤษฎี รกั ษาแบบผู้ปุวยใน ความเที่ยงตามเกณฑ์สัมพนั ธ์  ระยะเวลาที่เข้ารับการ  ความเช่ือมน่ั (Reliability) รักษาแบบผ้ปู ุวยในคร้งั ปจั จบุ ัน  ระดับการศึกษา  อาการทางด้านบวก  อาการทางดา้ นลบ 6.3 ข้ันตอนการออกแบบและการจดั ทาตน้ ร่าง (Prototype development) การออกแบบและจัดทาตน้ รา่ งเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ เป็นการประยกุ ต์องค์ความรู้และใชค้ วามคดิ สร้างสรรคใ์ นการออกแบบสอื่ การเรยี นรู้ และระบบ/รูปแบบการดาเนนิ งานสุขภาพจติ เพ่ือนาไปใช้ในการ ดาเนินงานสุขภาพจติ ใหบ้ รรลเุ ปูาหมาย การออกแบบสอื่ การเรียนรตู้ ้องกาหนดเปูาหมายการเรยี นรใู้ ห้ชัดเจน วิเคราะห์เนื้อหา กาหนดขอบเขตเน้ือหา และออกแบบกระบวนการท่ใี ช้หรอื รปู ลักษณใ์ หต้ รงกบั ความตอ้ งการ และความสนใจของกลมุ่ เปาู หมาย(สานกั พฒั นาสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ , 2554) เทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ มกี าร จัดทาตน้ รา่ ง 2 ประเภท ดังน้ี

10 6.3.1 การออกแบบและจัดทาต้นร่างทีเ่ ปน็ สอ่ื การเรียนรู้ เป็นการประยุกตอ์ งค์ความรู้มาพฒั นาให้เป็น สอ่ื การเรียนรรู้ ปู แบบตา่ งๆ และออกแบบวิธีการถา่ ยทอดหรือการใ ช้สอื่ น้ัน เช่น คมู่ อื การดูแลและฝึกทกั ษะ พืน้ ฐานการทางานแก่ผู้บกพร่องทางสติปญั ญาของสถาบันราชานุกูล 6.3.2 การออกแบบและจัดทาต้นร่างเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ ท่ีเป็นระบบหรอื รูปแบบ เป็นการออกแบบ กระบวนการหรือข้นั ตอนการดาเนินงานสขุ ภาพจิต เพื่อใหบ้ รรลผุ ลตามท่กี าหนด เช่น รปู แบบการวางแผน จาหน่ายผู้ปุวยจติ เวชแบบครบวงจรของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ เปน็ ต้น การออกแบบและจดั ทาตน้ รา่ งสื่อการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 5 ขนั้ ตอนดังน้ี 1. วเิ คราะหก์ ลุม่ เป้าหมาย/ผใู้ ชเ้ ทคโนโลยี เพอื่ นาขอ้ มูลมาใชใ้ นการออกแบบให้ตรงกับความ ต้องการ วถิ ีชวี ิตของกลมุ่ เปาู หมายมากขนึ้ ข้อมลู ที่นามาวเิ คราะห์ ประกอบด้วย - ลกั ษณะทวั่ ไปของกลมุ่ เปูาหมาย เชน่ เพศ อายุ การศึกษา ศาสนา อาชพี วถิ ชี วี ติ สว่ นตวั ครอบครวั สงั คม ความเช่ือ ฯลฯ - ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเปาู หมายท่เี ก่ียวกบั เนือ้ หาความรูแ้ ละกระบวนการท่ีจะใช้ เช่น ความรู้พน้ื ฐานทีก่ ลุม่ เปูาหมายมอี ยู่ ไม่ถนดั อ่านเขยี น วถิ ชี ีวิตความเปน็ อยู่ ทาให้ไมม่ ีเวลาเขา้ รบั การอบรม สาหรับขั้นตอนนี้สามารถดาเนนิ การควบคไู่ ปกบั ขัน้ ตอนการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการ/ความจาเปน็ ใน การพัฒนา 2. กาหนดเป้าหมายเชิงพฤติกรรมหรือวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี อ้ งการ เชน่ ความรู้ ความคดิ ความเชื่อ ทกั ษะท่ตี อ้ งการให้เกดิ ข้นึ ให้ชัดเจน 3. กาหนดรปู แบบของเทคโนโลยี/สื่อการเรียนรู้ เน้ือหา ท่จี ะนาไปสู่เปาู หมายทตี่ อ้ งการ โดย พจิ ารณาตามความเหมาะสมของกลุม่ เปาู หมาย/ผใู้ ช้ เทคโนโลยี และบรบิ ท ดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ลกั ษณะตา่ งๆ ของส่อื แต่ละประเภท ประเภทส่ือ ลกั ษณะ 1. แผ่นพับ เปน็ สือ่ ขนาดเลก็ หยิบถอื ไดส้ ะดวก ใช้ในการให้รายละ เอียดเพ่ือประชาสมั พนั ธ์ ใหข้ ้อมูลสนั้ ๆ เชน่ วิธีปฏบิ ตั ิตวั ของประชาชน เป็นต้น 2. โปสเตอร์ เป็นภาพขนาดใหญ่ พมิ พบ์ นกระดาษ มองเหน็ สะดดุ ตา ออกแบบเพอ่ื จงู ใจและเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ มกั นาเสนอเพียงเรือ่ งเดียวทส่ี าคัญ สรปุ ยอ่ และตรงประเด็น 3. ภาพพลิก เป็นส่ือทีใ่ ช้งา่ ย สอ่ื ความหมายได้ดี ลักษณะเป็นภาพชุดเรยี งลาดบั เป็นเนือ้ หาเดยี วกัน แต่ละภาพมคี าอธบิ ายสน้ั ๆ เพื่อดงึ ดูดความสนใจ โครงภาพพลิกมแี ผ่นกระดาษหรือขา ตั้ง เหมาะสาหรับการสอนกลมุ่ เลก็ 4. คมู่ ือปฏิบัติงาน เป็นเอกสารบอกลาดับการทางานก่อนหลัง ใชเ้ ปน็ แนวทาง/มาตรฐานในการดาเนินงาน ใชถ้ า่ ยทอดแนวทางการปฏิบัตงิ าน ประกอบดว้ ยเนือ้ หาท่ีมีความชัดเจน เป็นลาดบั ข้นั ตอน มีแผนภูมิ แผนผังทใ่ี ชใ้ นการปฏิบัติงาน เหมาะสมกับการใชใ้ นหนว่ ยงานหรอื สาหรับกลุ่มเปูาหมาย

11 ประเภทสือ่ ลักษณะ 5. หลกั สูตรการ เปน็ การจดั ระบบเนือ้ หาและกระบวนการถา่ ยทอดความรู้แก่กลุ่มบุคคล ในรปู แบบที่ อบรม หลากหลาย โดยเปดิ โอกาสให้มีการส่อื สาร 2 ทาง ท้ังระหว่างวิทยากรและผู้เข้าอบรม เอง และระหวา่ งผเู้ ข้ารับการอบรมดว้ ยกัน 6. E- Learning การใช้ระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรยี นรู้ โดยออกแบบเนือ้ หากิจกรรม ทีผ่ ู้เรยี น สามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และตรวจสอบความเข้าใจดว้ ยตนเองได้ 7. Tool kits ชดุ ความรู้ท่ปี ระกอบด้วยสอ่ื หลากหลาย เพอ่ื ใช้มงุ่ ไปท่ีเนื้อหาเร่ืองเดียว มีสื่อทาให้เรยี นรู้ หลายระดับและหลายช่องทาง เช่น Fact sheet แผน่ พับ แบบประเมนิ ซดี ีความรู้ เป็น ต้น นอกจากสอ่ื ประเภทตา่ งๆ ดงั ทไี่ ด้กลา่ วขา้ งตน้ แลว้ เทคโนโลยีสขุ ภาพจิต อาจอยใู่ นรปู อุปกรณต์ า่ งๆ เชน่ อุปกรณก์ ารฝึกพฒั นาการเด็ก อุปกรณเ์ สริมสรา้ งความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ต้น ตัวอยา่ งท่ี 1 การออกแบบสอื่ ฟ้ืนฟูความรเู้ ร่อื งการให้บรกิ ารปรกึ ษาปญั หาสุขภาพจติ เป้าหมาย : ฟืน้ ฟคู วามรเู้ รือ่ งการใหบ้ รกิ ารปรึกษาปัญหาสขุ ภาพจิตแกบ่ ุคลากรสาธารณสุขใน โรงพยาบาลชุมชน เพือ่ สามารถให้คาปรกึ ษาผ้ทู ่ีมปี ญั หาสุขภาพจติ ได้ กลุม่ เปา้ หมาย : บคุ ลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลชมุ ชนท่วั ประเทศทผ่ี า่ นการอบรมการใหบ้ ริการ ปรึกษาเบอื้ งตน้ ลกั ษณะเนื้อหาและการเรียนรู้ : เป็นการเรียนรทู้ ่ใี ช้เวลาและอาศยั ประสบการณ์จริงเพื่อให้มกี ารฝกึ ปฏบิ ตั ิ สื่อการเรียนรู้ : ใช้ E- Learning เนือ่ งจากผูเ้ รียนมีพนื้ ฐานความร้อู ยู่แล้ว ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง ตรวจสอบความรู้เองได้ ผู้เรียนสามารถใช้ระบบสารสนเทศสอบถามขอ้ สงสยั จากวทิ ยากร สง่ File เสยี งและการฝึกปฏิบตั กิ ารให้บริการปรึกษาได้ ผเู้ รียนเลือกเรยี นตามเวลาที่สะดวก ประหยดั เวลา และค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง

12 ตวั อยา่ งท่ี 2 การออกแบบสอ่ื เทคโนโลยกี ารเสริมสร้างพลังสุขภาพจติ สาหรบั นกั เรียนมัธยม  คูม่ อื การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งพลังสุขภาพจติ  แบบประเมนิ พลงั สขุ ภาพจติ ครู-อาจารย์ : ประเมนิ พลังสขุ ภาพจิตนักเรียนได้ จดั กจิ กรรมในช้นั เรียนได้ นักเรียนมธั ยม นักเรยี นไดร้ ับการ  ปัญหาการเรยี น/พ่อแมไ่ ม่มีเวลา/สิ่งย่ัวยุ เสรมิ สร้างพลงั  ปญั หาความเครียด/วิกฤต  ปรับตวั ไม่ได้ สุขภาพจิต พ่อแม่ : มีความรคู้ วามเข้าใจ เร่ืองพลงั สุขภาพจติ  คมู่ ือค1ว.ามร้เู รื่อง การเสรมิ สรา้ งพลงั สขุ ภาพจติ สาหรับผ้ปู กครอง 4. กาหนดรายละเอยี ดเนอื้ หา โดยรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ จากเอกสารหรอื ผูม้ ปี ระสบการณ์/ ผู้ประสบความสาเร็จในเร่อื งนั้นๆ แล้วนามากาหนดขอบเขตเนื้อหาทจ่ี ะเขยี น โครงสรา้ งหรอื ประเดน็ ความรู้ ยอ่ ย เรียบเรียงรายละเอยี ดใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปูาหมาย ตัวอย่าง การวิเคราะห์เนอื้ หาหลักสูตร และระยะเวลาท่ีใช้ในการอบรม เปาู หมาย วัตถปุ ระสงค์ท่ี 1 ประเด็นความรทู้ ี่ 1 ความรู้ย่อย 1.1 ความรู้ ทศั นคติ 4 ชม. ความรู้ยอ่ ย 1.2 ประเด็นความรู้ท่ี 2 ความรู้ยอ่ ย 1.3 ทกั ษะที่ วัตถุประสงค์ที่ 2 ประเด็นความรู้ท่ี 3 ความรยู้ อ่ ย 2.1 ต้องการให้เกดิ 2 ชม. ประเด็นความรู้ที่ 4 ความร้ยู ่อย 3.1 ประเด็นความรทู้ ี่ 5 ความรูย้ อ่ ย 3.2 วัตถุประสงคท์ ี่ 3 ความรู้ย่อย 4.1 3 ชม. ความรู้ย่อย 5.1 ความร้ยู ่อย 5.2

13 5. การเขยี นเนื้อหาสาหรบั สื่อการเรียนรู้ประเภทต่างๆ การเขยี นเนอื้ หาสาหรับสอื่ มีวธิ ีการเขียนที่ แตกต่างกนั เช่น การเขียนแผ่นพบั การเขียนคู่มอื สาหรับประชาชน การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน การเขยี นคมู่ อื อบรม และหลักสูตรการอบรม เปน็ ต้น ตัวอย่าง การเลอื กสือ่ การเรียนรู้ เทคโนโลยี คมู่ ือการดแู ลผปู้ ุวยจิตเวชสาหรับแพทยโ์ รงพยาบาลชมุ ชน จดั ทาให้แพทยใ์ น โรงพยาบาลชุมชนมคี วามร้คู วามเข้าใจเรือ่ งการบาบัดรกั ษาโรงพยาบาลจติ เวชและสามารถตรวจรักษา ผ้ปู วุ ยจติ เวชทม่ี ารบั บรกิ ารได้ เน่อื งจากแพทย์ไมม่ เี วลาในการอา่ นมากนัก ตอ้ งตรวจรกั ษาผู้ปุวยเป็น จานวนมากและหลายโรค เทคโนโลยีอาจจะจดั ทาเป็นผังแนวทางการตรวจรกั ษาผ้ปู ุวยจิตเวช โดยใช้ โปสเตอร์ขนาดเลก็ ติดไว้บริเวณที่แพทยเ์ หน็ ไดง้ า่ ย หรอื จดั ทาเป็นแผ่นกระดาษแขง็ A4 วางไว้ใกลม้ ือ เพอ่ื ใหส้ ะดวกแก่การหยิบมาศึกษา หรือทบทวนแนวทางปฏบิ ัติเมือ่ แพทยจ์ าเปน็ ต้องใช้ ขอ้ คดิ การออกแบบเทคโนโลยีแต่ละเรอ่ื งนัน้ ออกแบบไมเ่ หมอื นกนั การออกแบบเปน็ เรอื่ งของการ สร้างสรรค์ ควรนกึ ถงึ รูปแบบทีห่ ลากหลาย ธรรมชาติ/ความต้องการของผู้ใช้ ระบบงาน ต้องทาให้ใชง้ ่าย สะดวก ยดื หยนุ่ ผใู้ ช้มที างเลอื ก เทคนคิ ในการหารปู แบบเทคโนโลยี ใชก้ ารทบทวนวรรณกรรม เพอ่ื ค้นหา รปู แบบทน่ี า่ สนใจ ทงั้ การออกแบบเน้ือหา รูปแบบส่ือ ขอ้ ดีของเขาคืออะไร เอามาปรบั ใช้ อาจศึกษาจากส่ือ การเรยี นการสอน ประชมุ ผ้เู กยี่ วขอ้ ง เพื่อพฒั นาเทคโนโลยี หรอื ออกแบบเทคโนโลยงี า่ ยๆทดลองใชแ้ ลว้ คอ่ ย ปรับใหด้ ีขึ้น การเขยี นเนือ้ หาเทคโนโลยี ควรมเี น้อื หาดา้ นประสบการณ์ด้วย ดังน้ัน ควรมีประสบการณ์ท่เี กี่ยวข้อง กับเร่ืองน้ัน จะทาให้เขียนได้ดี เขยี นแบบเลา่ เรื่อง บูรณาการเรอ่ื งทเ่ี ขียน ร้อยเรียงตามวิธกี ารเขยี นหนงั สือ เมอ่ื เขียนแลว้ ควรท้ิงชว่ งระยะเวลา แล้วกลบั มาปรับปรุงเน้ือหาให้ดีขน้ึ หากเขียนหลายคนควรมบี รรณาธิการ เพือ่ ดคู วามสอดคลอ้ งของเนื้อหาท้ังเล่ม และควรมีหนังสอื อ้างองิ เพ่ือความน่าเชือ่ ถอื ทางวชิ าการ 6.4 ขน้ั ตอนการทดสอบคณุ ภาพเทคโนโลยีสุขภาพจติ (Testing) การทดสอบต้นร่างเทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ เป็นส่ิงที่มคี วามสาคญั เน่ืองจากเปน็ กระบวนการท่ีทาให้ เชอ่ื มน่ั ว่าเทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ ที่พฒั นาขน้ึ มีคณุ ภาพ ตรงตามเปาู หมายท่กี าหนด สามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เทคโนโลยสี ุขภาพจิตสามารถแบ่งตามแนวทางการทดสอบคุณภาพได้เปน็ 3 ประเภท (สานกั พฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ , 2554) คอื 6.4.1 ส่ือการเรียนรู้ เช่น คูม่ อื การอบรม หลกั สตู รโปรแกรม คมู่ อื ความรู้ คู่มือการปฏิบตั งิ าน คมู่ ือจัดกิจกรรม คู่มอื เรยี นรดู้ ้วยตนเอง เทคโนโลยีประเภทนี้ ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของเน้อื หา นอกจากนแ้ี ล้วอาจมีการทดสอบคุณภาพอืน่ ๆตามความเหมาะสม เช่น ความเป็นปรนยั คุณภาพเชิงเทคนิค และประสทิ ธผิ ล เป็นต้น

14 6.4.2 ส่ือสาหรบั สุขภาพจติ ศึกษา หรอื ประกอบการเรียนรู้ เชน่ แผน่ พบั โปสเตอร์ วดี ทิ ัศน์ ชดุ นทิ รรศการ เทคโนโลยปี ระเภทน้ตี ้องมกี ารตรวจสอบความถูกตอ้ งของเน้ือหา อาจมกี ารทดสอบคณุ ภาพอื่นๆ ตามความเหมาะสม เชน่ ความเปน็ ปรนยั คณุ ภาพเชิงเทคนิค และประสิทธผิ ล เปน็ ต้น 6.4.3 แบบประเมนิ /แบบวดั /แบบคดั กรอง เทคโนโลยีประเภทนี้ตอ้ งมกี ารตรวจสอบความตรง ความเปน็ ปรนัย ความเทีย่ ง (ความเชอื่ ม่ัน) อาจมีการทดสอบคุณภาพอื่นๆ เชน่ อานาจจาแนก ความยากง่าย เปน็ ตน้ คุณภาพของเครื่องมอื การวิจัย เป็นปัจจัยประการหน่งึ ท่ีมีผลต่อความนา่ เช่ือถือของผลการวจิ ัย ในกรณีทเ่ี ครอ่ื งมือวิจยั มคี ณุ ภาพ รวมทง้ั ผูใ้ ช้เคร่อื งมอื มคี วามรู้และทักษะในการเครอื่ งมอื วจิ ยั น้ันๆค่าท่ไี ด้ยอ่ ม มีความคลาดเคลอื่ นจากการวดั น้อยมาก การทดสอบคุณภาพคมู่ อื เทคโนโลยีสุขภาพจติ ประกอบด้วย 1. ความตรง ( Validity) หมายถงึ เน้อื หาทางด้านวชิ าการของเทคโนโลยีมคี วามถูกต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ มีความเหมาะสมกับกลมุ่ เปูาหมาย/ผูใ้ ช้ ท้ังเนื้อหา การจัดลาดับของเนอ้ื หา และสอดคลอ้ งตาม วัตถุประสงคท์ ีต่ ้องการ แบง่ เปน็ 3 ประเภท 1.1 ความตรงตามเนือ้ หา ( Content Validity) หมายถึง ความสามารถในการวัดกลุม่ เนอ้ื หาทีต่ ้องการวดั ได้ครอบคลุมและเป็นตวั แทนที่ดีของสงิ่ ทตี่ อ้ งการวดั ทง้ั หมด วิธีตรวจสอบความตรงตาม เนอื้ หา โดยตรวจสอบกบั จุดประสงค์ของการสร้าง ตรวจสอบวา่ คาจากัดความตรงหรอื ถูกตอ้ งตามทฤษฎีที่ อ้างองิ หรอื ไม่ จะทาให้ทราบว่าเนือ้ หาที่สรา้ งขน้ึ มีความตรงมากนอ้ ยเพยี งใด การตรวจสอบความตรงตามเนอื้ หา มี 2 วิธี ดังนี้ 1.1.1 การคานวณค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ งของความตรงตามเน้ือหา (Index of item Objective Congruence : IOC) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญอย่างนอ้ ย 3 เท่า พจิ ารณาความสอดคลอ้ งของเน้อื หากบั วตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้ตารางวเิ คราะห์รายละเอียดของเน้อื หากับความสอดคลอ้ งของวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ อ้ งการ ดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 ตัวอยา่ งการคานวณค่าดัชนคี วามสอดคล้องโดยผู้เชย่ี วชาญ ขอ้ ที่ ผ้เู ช่ียวชาญ ผเู้ ช่ียวชาญ ผ้เู ชี่ยวชาญ คา่ ดชั นี ความสอดคลอ้ ง 1 123 2 +1 3 +1 +1 +1 0.33 4 0 5 +1 -1 +1 0 1 000 0 -1 +1 +1 +1 +1 +1 หมายถงึ แน่ใจว่า ตรงตามวัตถุประสงค์หรอื ตรงตามเนอื้ หา 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจวา่ ตรงตามวัตถุประสงคห์ รอื ตรงตามเนื้อหา -1 หมายถงึ แน่ใจวา่ ไมต่ รงตามวัตถุประสงค์หรือตรงตามเน้ือหา

15 การหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งภายใน ( IOC) IOC = R  R คือ คะแนนของผเู้ ช่ียวชาญ R คือ ผลรวมคะแนนของผูเ้ ช่ยี วชาญ  คือ จานวนผู้เชย่ี วชาญ เกณฑก์ ารพจิ ารณา (นลินี ณ นคร, 2550 อา้ งในสานักพฒั นาสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ , 2554) ถ้า IOC มากกวา่ หรอื เทา่ กบั 0.05 แสดงว่า ขอ้ ความนนั้ วดั ได้ตรงกับจดุ มุ่งหมายการ วจิ ยั หรือ ลกั ษณะท่ีกาหนด ถ้า IOC น้อยกว่า 0.5 แสดงวา่ ขอ้ คาถามนนั้ วดั ไม่ตรงกบั จุดมงุ่ หมายการวจิ ยั หรือลักษณะที่กาหนด 1.1.2 วธิ ปี ระเมนิ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า วธิ ผี เู้ ช่ยี วชาญจะพิจารณาถึงความเหมาะสมหรอื ความสอดคล้องของเน้ือหา ซ่ึงจะละเอยี ดกว่าการหาค่า IOC โดยผูเ้ ชีย่ วชาญจะพจิ ารณาและใหค้ ่าความ เหมาะสมหรือคา่ ความสอดคล้องเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2552 อ้างถึงใน สานกั พัฒนาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ , 2554) ดังนี้ 4 หมายถงึ เหมาะสม หรอื สอดคลอ้ ง มากที่สดุ 3 หมายถงึ เหมาะสม หรือสอดคลอ้ ง มาก 2 หมายถึง เหมาะสม หรอื สอดคลอ้ ง ปานกลาง 1 หมายถงึ เหมาะสม หรือสอดคล้อง นอ้ ย 0 หมายถึง เหมาะสม หรือสอดคล้อง นอ้ ยท่สี ุดหรือไมส่ อดคลอ้ ง ตารางที่ 5 การพจิ ารณาความตรงตามเนือ้ หาโดยวิธีประมาณแบบมาตราสว่ นประมาณค่า จุดประสงค์ ขอ้ ความ สอดคลอ้ ง ผลการพิจารณาของผูเ้ ช่ยี วชาญ สอดคล้อง ข้อท่ี มากที่สดุ สอดคล้อง สอดคลอ้ ง สอดคล้อง น้อยท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย 1) 2) 3) 4) 5) 1.2 ความตรงตามเกณฑ์สมั พันธ์ (Criterion-related reliability) ความตรงตามเกณฑ์ สัมพนั ธ์ประกอบดว้ ย การหาความตรงตามสภาพ (Concurrent validity) คือ ความสามารถในการวดั ได้ ถกู ตอ้ งตามสภาพทีแ่ ท้จริงในปจั จบุ ัน คานวณจากคา่ สมั ประสิทธสิ์ หสัมพนั ธ์ระหว่างคะแนนทวี่ ัดไดจ้ าก แบบทดสอบ กับคะแนนทว่ี ดั ไดจ้ ากแบบทดสอบมาตรฐานท่วี ัดได้ในสภาพปัจจุบนั และ ความตรงเชิงทานาย (Predictive validity) คอื ความสามารถในการวัดไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามสภาพท่ีจะเกิดขึน้ ในอนาคต คานวณจาก

16 คา่ สมั ประสิทธ์สิ หสัมพันธ์ระหวา่ งคะแนนทีว่ ัดไดจ้ ากแบบทดสอบ กบั คะแนนท่ีวัดไดจ้ ากแบบทดสอบ มาตรฐาน ซงึ่ ไม่สามารถวัดไดใ้ นเวลาเดียวกนั ต้องรอคอยสงิ่ ทเ่ี กิดขนึ้ ในอนาคต 1.3 ความตรงตามโครงสร้าง (Construct validity) คอื ความสามารถในการวัดได้ถูกต้อง สอดคล้องตามโครงสรา้ งทฤษฎี หรอื แนวคดิ อันเปน็ ทม่ี าของแบบทดสอบน้ัน 2. ความเปน็ ปรนัย (Objective) หมายถงึ ความสามารถในการสือ่ ความหมายได้ชดั เจน เปน็ ทีเ่ ข้าใจ ตรงกนั แปลความได้เหมือนกนั และตรงกบั วตั ถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ วธิ กี ารตรวจสอบความเปน็ ปรนัยของเน้ือหา ความรู้ คอื ระดบั บคุ คลใหผ้ ู้เชีย่ วชาญ/กลุ่มเปาู หมายหรอื ผใู้ ช้เทคโนโลยีอ่าน แลว้ สอบถามถงึ การตคี วาม ความเขา้ ใจ และระดบั กลมุ่ โดยการจดั กลุม่ สนทนา ( Focus Group) ในกลุ่มเปูาหมาย เพอื่ ตรวจสอบความ ชัดเจนเนอื้ หา หากเปน็ เครอื่ งมอื ประเมิน/แบบคัดกรอง ตอ้ งมกี ารหาความเปน็ ปรนยั 3 ประเด็นไดแ้ ก่ 2.1 ความถกู ต้องทางวิชาการ คอื ผ้รู ู้ ผ้เู ช่ยี วชาญ 3ใ-น5สคานขาวิชาน้ันเห็นวา่ ถกู ต้องตามหลักวชิ าการ 2.2 การให้คะแนน ต้องมีเกณฑ์การตรวจใหค้ ะแนนทีแ่ นน่ อน จะตรวจเวลาใดผลการตรวจ จะคงเดมิ เสมอ 2.3 ภาษาทใี่ ช้จะต้องชดั เจนมคี วามหมายเดยี ว อ่านเข้าใจได้แจ่มแจ้งตรงกันทกุ คร้งั ทุกคน 3. คุณภาพเชงิ เทคนคิ (Technical quality) หมายถึง รปู แบบการนาเสนอเทคโนโลยมี คี วาม ถูกต้อง น่าสนใจ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และเหมาะสมกบั กลมุ่ เปาู หมาย/ผ้ใู ช้เทคโนโลยี การตรวจสอบทาได้โดยผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้าน หรือกล่มุ เปาู หมายหรอื ผู้ใช้ ตรวจสอบความเหมาะสม และความถกู ตอ้ งด้านรูปแบบการนาเสนอ การตรวจสอบทาไดโ้ ดยให้ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะด้าน หรอื กลมุ่ เปาู หมายหรือผใู้ ช้ ตรวจสอบความ เหมาะสม ความถูกตอ้ งด้านรูปแบบการนาเสนอส่ือ ตวั อยา่ งการประเมินเชงิ เทคนิคมีดังนี้ ตารางที่ 6 ตัวอยา่ งการประเมินเชิงเทคนิคของโปรแกรม E-Learning ระดบั การประเมิน ดา้ นการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับ ข้อเสนอแนะใน ปรุง (1) การปรบั ปรงุ (4) (3) (2) 1. ลกั ษณะภาพทนี่ าเสนอ 2. รูปแบบการนาเสนอ 3. ลกั ษณะภาพเคลอ่ื นไหว 4. เสยี ง 5. ความเชอ่ื มโยงต่อเนอ่ื งของการนาเสนอ 4. ประสิทธภิ าพ ( Efficiency) หมายถงึ ความสามารถของเคร่อื งมือในการวดั ได้บรรลุจุดมงุ่ หมาย และประหยัด คอื คุ้มกับเวลา แรงงานและค่าใชจ้ า่ ย ซง่ึ ประสทิ ธิภาพของเทคโนโลยี สามารถพจิ ารณาจากการ เปรยี บเทียบ เชน่ เครอ่ื งมอื ท่ีวัดไดด้ ี แตส่ ้ินเปลอื งคา่ ใชจ้ า่ ยมาก จะมปี ระสทิ ธภิ าพสเู้ ครอื่ งมอื ทใี่ ชไ้ ดด้ ี

17 เหมอื นกัน แตป่ ระหยดั กวา่ ไม่ได้ หรอื เครือ่ งมอื ที่มีจานวนขอ้ คาถามนอ้ ยๆ แตว่ ดั ไดเ้ หมอื นกับการใช้จานวนขอ้ มาก ดงั น้นั เคร่ืองมอื ที่มจี านวนขอ้ คาถามน้อยย่อมจะมีประสิทธภิ าพดีกว่าเครอื่ งมอื ท่มี ีจานวนขอ้ คาถามมาก 5. ประสทิ ธิผล (Effectiveness) หมายถึง การเกดิ ผลตามจุดมงุ่ หมาย เมอ่ื นาเทคโนโลยีไปใช้ เปน็ การทดสอบการเปลยี่ นแปลง/พฒั นาการ ของกลุม่ เปาู หมายภายหลงั การใชเ้ ทคโนโลยี วา่ เกดิ จากผลการใช้ เทคโนโลยีหรอื ไม่ โดยมเี คร่ืองมอื ก่อนและหลังการใชเ้ ทคโนโลยี ซง่ึ อาจจะเป็นแบบสังเกต แบบสอบถาม แบบ สมั ภาษณผ์ ทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งกไ็ ด้ 6. อานาจจาแนก (Discrimination) หมายถึง ความสามารถของขอ้ คาถามท่ีจาแนกหรือแบง่ ความ แตกต่างระหว่างคนเกง่ กับคนอ่อน หรอื คนท่รี ้กู ับไมร่ อู้ อกจากกัน อานาจจาแนกใช้อักษร r มีค่าระหว่าง -1.0 จนถงึ +1.0 ถือว่ามคี ่าอานาจจาแนกทส่ี มบรู ณ์ ถ้ามีคา่ -1.0 ถือวา่ มีอานาจจาแนกในลกั ษณะที่ไมพ่ ึงปรารถนา ซงึ่ คุณภาพดา้ นอานาจจาแนก ควรพจิ ารณาหลังจากที่ได้กลน่ั กรองคณุ ภาพในการวัดสง่ิ ท่ตี ้องการวดั มาแล้ว 7. ความยากง่าย (Difficulty) หมายถึง สดั สว่ นของผู้ตอบถูกจากจานวนคนทงั้ หมดที่ตอบในข้อน้นั เป็นคณุ สมบตั ขิ องเครอ่ื งมอื ท่มี ีการตอบถกู -ผิด ถา้ มีคนทาถูกมากก็เปน็ ข้อสอบงา่ ย ถ้ามคี นทาถูกน้อยกเ็ ปน็ ขอ้ สอบยาก เคร่ืองมือรวบรวมข้อมลู ที่ดจี ะตอ้ งมคี วามยากง่ายพอเหมาะกับผู้ตอบ ทัง้ ความยากงา่ ยในดา้ น เนอื้ หาและภาษาที่ใช้ 8. ความเช่ือมัน่ ( Reliability) หมายถึง ความสามารถในการวัดผลคงที่ แนน่ อน สมา่ เสมอ และมี ความถกู ตอ้ ง ไม่วา่ จะนาไปวดั ก่คี ร้งั ก็ตาม การหาค่าความเชือ่ มั่นมีดังน้ี 8.1 การทดสอบซ้า ( Test-retest method) เปน็ การนาเครอื่ งมือไปวดั กบั กลุ่มตวั อยา่ ง เดียวกันสองครัง้ ในเวลาทตี่ ่างกัน นาค่าทไี่ ด้มาหาคา่ สัมประสิทธส์ หสมั พันธ์ 8.2 แบบคู่ขนานหรอื การใช้เครอื่ งมือวัดทม่ี ีลกั ษณะเท่าเทยี มกนั หรือคู่ขนานกัน เป็นการนา เครื่องมอื ท่ีสรา้ งขึน้ กบั เคร่อื งมอื อีกฉบับหน่ึงที่มเี นอ้ื หา รปู แบบข้อคาถาม จานวนขอ้ ความยากง่ายเหมือนกัน ทั้ง 2 ฉบับไปเก็บขอ้ มลู กลมุ่ ตวั อย่าง และนาคะแนนทีไ่ ด้มาหาคา่ สมั ประสทิ ธส์ หสัมพันธ์ 8.3 แบบหาความสอดคลอ้ งภายใน ( Internal consistency) เปน็ การนาเครือ่ งมือไปวัดกับ กล่มุ ตวั อยา่ งเดยี วและวดั เพียงครงั้ เดยี ว ตัวอยา่ งการออกแบบเพื่อทดสอบคุณภาพเทคโนโลยี 1. การวิจัยเรือ่ ง “รูปแบบการพัฒนาผดู้ แู ลผ้สู งู อายโุ ดยวธิ กี ารเรียนร้ดู ้วยการนาตนเองและการจดั การ ความรู้” ของ ลัดดาวลั ย์ พทุ ธรักษา (2553) เป็นการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการใพนัฒเรนือ่ าง - ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้ - ประสทิ ธผิ ลของรปู แบบการพัฒนาผู้ดูแลผูส้ ูงอายุฯ - ความพงึ พอใจรูปแบบการพัฒนาผู้ดแู ลผู้สูงอายฯุ 2. การวจิ ยั เรอื่ ง “การพฒั นารปู แบบการเรียนการสอนท่สี ่งเสริมการเรียนร้ทู ใ่ี ชส้ มองเปน็ ฐานของ นักเรียนพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลกองทัพบก” ของ ปราณี ออ่ นศรี (2553) เป็นการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของ รปู แบบการเรยี นการสอนในเรื่อง - ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น - เจตคตติ อ่ วิชาชพี

18 - ความพึงพอใจตอ่ รปู แบบการเรียนการสอน การทดสอบคณุ ภาพเทคโนโลยีสุขภาพจติ มีหลายดา้ น เช่น ความตรง ความเปน็ ปรนยั คุณภาพเชิง เทคนิค ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล อานาจจาแนก ความยากงา่ ย ความเชอ่ื มัน่ ซึ่งวิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการทดสอบ คณุ ภาพยอ่ มแตกต่างกันในเทคโนโลยีแต่ละประเภท และวัตถุประสงค์ของการพฒั นา 6.5 ขัน้ ตอนการทดลองใชเ้ ทคโนโลยีสุขภาพจิตในระบบ (Pilot study) กระบวนการทดลองใชเ้ ทคโนโลยีสขุ ภาพจติ ในระบบ มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ประเมินประสิทธิผลของ เทคโนโลยีสุขภาพจติ ซง่ึ เป็นเปูาหมายแรกและเปน็ เปูาประสงคข์ องทกุ โปรแกรม และประเมนิ ประสิทธิภาพ ของการใช้เทคโนโลยีสขุ ภาพจิต เปน็ การเตรียมการสาหรบั การขยายผลต่อไป การทดลองใชเ้ ทคโนโลยี สุขภาพจติ ในระบบประกอบด้วย 6 ขน้ั ตอน(สานกั พฒั นาสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต, 2554) ดังนี้ 6.5.1 การประเมนิ พ้นื ที่ ตอ้ งมีการประเมนิ ความตอ้ งการของพ้นื ที่ ความตอ้ งการเทคโนโลยี สขุ ภาพจิต แหลง่ ทรพั ยากรในชุมชน บุคคล และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ความพร้อมดา้ นโครงสรา้ งของระบบท่ี จะรองรบั การใช้เทคโนโลยี หากปราศจากนโยบายการสนบั สนุน การเงิน และระบบบรกิ ารสาหรบั บคุ คลใน ระดับรัฐ/ทอ้ งถ่นิ ตลอดจนข้นั ตอนการทดลองใช้ในระบบแล้ว การปฏบิ ัติและเทคโนโลยสี ุขภาพจิตยอ่ มไมถ่ ูก นาไปใช้ 6.5.2 การมสี ว่ นรว่ มจากบุคคล/ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี /หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง การวางแผนดาเนินการ ควรดึงบคุ คลกลุ่มดังกลา่ วมารว่ มวางแผน เพอ่ื สร้างความรู้สกึ มสี ว่ นรว่ มและเกิดประโยชนต์ อ่ การดาเนินงานใน ภายหลัง การเลอื กพืน้ ท่ดี าเนนิ การควรเลอื กแบบส่มุ เพราะมหี ลายพื้นท่ีทม่ี ีศกั ยภาพเทา่ ๆกนั 6.5.3 เลอื กใช้เทคโนโลยีสขุ ภาพจติ ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั บรบิ ท และเปาู หมายที่ต้องการ รวมถงึ การสนับสนนุ โครงสรา้ งทจี่ าเปน็ สาหรับการดาเนนิ งาน ได้แก่ ทุน บคุ ลากร กลไกการสง่ ตอ่ การรายงาน และผลลพั ธท์ คี่ าดหวัง 6.5.4 ดาเนินการตามแผนทวี่ างไว้ ในชว่ งแรกของการเรม่ิ ใช้เทคโนโลยีฯ มักจะเกิดความกลวั การ เปล่ียนแปลง ความย่งุ ยาก และภาระงานท่ีเพิ่มขึน้ การบรหิ ารจดั การที่ดีจะช่วยแกป้ ญั หา และทาใหก้ าร นาไปใช้มปี ระสทิ ธิภาพ 6.5.5 การติดตามและประเมนิ ผล ในระหวา่ งการดาเนินงานต้องมีการตดิ ตามผล เพ่อื ดกู าร ดาเนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ หรอื ปญั หาอุปสรรคท่เี กดิ ขน้ึ และใหไ้ ด้สารสนเทศทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อการปรบั ปรุง แก้ไขเทคโนโลยีสขุ ภาพจิต หรือการดาเนนิ งานตามสภาพการณท์ ีเ่ ปลีย่ นแปลงไป 6.5.6 การตดั สินใจเพื่อดาเนินการขยายผล ปรบั ปรงุ หรอื ยุตกิ ารดาเนินการ ซ่ึงตอ้ งอาศยั ผลการ ประเมินประกอบการตดั สนิ ใจ ร่วมกับปัจจัยอื่นๆ เชน่ ทุน นโยบาย ความต้องการของพ้ืนที่ เป็นตน้ ข้อควรคานึงถงึ ในขนั้ ตอนการทดลองใชเ้ ทคโนโลยสี ุขภาพจติ ในระบบ เพ่อื ใหก้ ารขยายผลประสบ ความสาเรจ็ คอื 1) การมีส่วนร่วมจากผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียหลัก 2) ความม่ันใจในเทคโนโลยสี ุขภาพจติ ตอ้ งอาศยั ระยะเวลาในการดาเนินการทเี่ พียงพอ เหน็ ถึง ประโยชน์ท่เี กิดกับกลมุ่ เปูาหมาย 3) ความคาดหวงั ของผู้มีส่วนร่วมในการวางแผนโครงการสาหรบั การขยายผล

19 4) วางแผนทดสอบเทคโนโลยีสุขภาพจิตในพน้ื ที่ทห่ี ลากหลาย 5) ทดสอบเทคโนโลยีสุขภาพจิตภายใต้สภาพการดาเนนิ งานปกติและทรพั ยากรที่มอี ยู่ 6) ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิตตามพืน้ ท่ี เพือ่ ขยายผล 7) ออกแบบวิจยั จาเปน็ ต้องวัดทง้ั ประสทิ ธิภาพและกระบวนการนาเทคโนโลยไี ปใช้ 8) ปรบั เทคโนโลยีสุขภาพจิตให้ง่ายตอ่ การนาไปใช้และบรรลุผลลพั ธ์ตามทีต่ ้องการ 9) การสนับสนนุ จากแหล่งทนุ เพอ่ื การขยายผลโครงการ 10) เตรยี มการสาหรับการเปลยี่ นแปลงทจี่ าเปน็ ในดา้ นนโยบาย 11) มีความชัดเจนก่อนเรม่ิ ขยายผล 12) ส่งเสริมให้มีการเรยี นรแู้ ละการแลกเปลีย่ นขา่ วสารระหว่างดาเนินการ นอกจากนก้ี ่อนการขยายผลควรศึกษาหรอื ถอดบทเรยี นทไ่ี ด้จากการทดลองใชเ้ ทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ เพอื่ นาไปใช้ประโยชน์ในการเรยี นรูแ้ ละดาเนินการขยายผลดว้ ย เชน่ รปู แบบของเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิตท่ี ประสบความสาเร็จในการทดลองใช้ฯ จดุ แข็ง จดุ อ่อน และความคมุ้ ทุนของรปู แบบ เปน็ ต้น 6.6 ขนั้ ตอนการขยายผลเทคโนโลยสี ุขภาพจติ (Scale up program) การขยายผล หมายถงึ การเพ่ิมผลกระทบของเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต ทผี่ ่านการทดลองใช้ในระบบแลว้ ว่า ประสบความสาเรจ็ เพื่อก่อให้เกดิ ประโยชน์กบั คนจานวนมาก และสนับสนนุ นโยบายการดาเนนิ งานอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ในขน้ั ตอนนี้การดาเนนิ การมีความคล้ายคลงึ กับการทดลองใชใ้ นระบบ เพียงแต่มคี วามแตกต่างกนั ใน ขนาดของพ้นื ทหี่ รอื ขอบเขตงาน นน่ั คอื การขยายผลจะมีพน้ื ทด่ี าเนินงานขนาดใหญก่ วา่ การทดลองใชใ้ นระบบ การขยายผลเทคโนโลยีสุขภาพจิตประกอบดว้ ย 6 ขั้นตอน (สานักพัฒนาสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ , 2554) 6.6.1 ศึกษาความตอ้ งการของพนื้ ท่ี ความพร้อมของระบบ/ทรัพยากรในชมุ ชน 6.6.2 ดึงผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องมาร่วมในการวางแผนงาน 6.6.3 เลอื กใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมและสนบั สนนุ โครงสร้างทจี่ าเปน็ 6.6.4 ดาเนนิ การตามแผนท่ีวางไว้ 6.6.5 ตดิ ตามผลและประเมินผล 6.6.6 ปรบั ปรุงเทคโนโลยี ดาเนนิ การเพอ่ื ขยายผลตอ่ การขยายผลใหป้ ระสบความสาเร็จนัน้ ควรวางแผนสาหรบั การขยายผลไว้ล่วงหนา้ ในชว่ งของการ ทดลองใช้ในระบบด้วย เพอื่ นาไปสู่ความยง่ั ยืนในการดาเนินการต่อไป องคป์ ระกอบในการขยายผลเทคโนโลยี สขุ ภาพจิต ประกอบด้วย 5 ประเดน็ คอื 1. เทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต หมายถงึ ผลผลิตจากการประยุกต์ใชอ้ งค์ความรู้ดา้ นสขุ ภาพจิต ทผ่ี ่าน กระบวนการวิจยั และพฒั นา ทดลองใช้ในระบบเพ่ือขยายผล เช่น หลักสูตรการอบรมตา่ งๆ ขนั้ ตอนการ ดาเนนิ งาน กระบวนการมีส่วนร่วมของชมุ ชน 2. องคก์ รผู้ใช้ หมายถงึ สถาบันหรอื งค์กรทรี่ ับเอาเทคโนโลยสี ุขภาพจิตไปใช้ในพืน้ ทร่ี ะดับใหญ่ เช่นกระทรวงสาธารณสุข องค์กรเอกชน เครอื ขา่ ยผูใ้ ห้บริการ

20 3. สภาพแวดลอ้ ม หมายถึง สภาพเงอื่ นไขภายนอกทม่ี ผี ลต่อการขยายผล จาเปน็ ตอ้ งมีการ กาหนดเม่ือตดั สนิ ใจขยายผล เช่น นโยบายและการเมอื ง ระบบราชการ องคก์ รทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เงอ่ื นไขทาง วฒั นธรรมและสภาพสงั คมเศรษฐกจิ 4. ทมี สนับสนนุ หมายถึง บคุ คลหรอื องคก์ รทตี่ อ้ งการส่งเสรมิ และสนับสนนุ การใชเ้ ทคโนโลยี สุขภาพจติ ใหก้ ว้างขวางข้นึ ซ่ึงอาจทาแบบทางการและไมเ่ ป็นทางการ เชน่ ผู้เชยี่ วชาญ นกั วิจยั ครผู ฝู้ ึกสอน ผู้ กาหนดนโยบายจากกระทรวงทเี่ กยี่ วขอ้ ง องคก์ รรฐั บาลอื่นๆ เอกชนอ่นื ๆ ทัง้ ระดับชาติและระหว่างประเทศ 5. กลยุทธ์การขยายผล หมายถึง แผนหรือกิจกรรมเพอ่ื นาเทคโนโลยีสุขภาพจิตเขา้ สู่นโยบาย และระบบบรกิ าร เช่น ทาเทคโนโลยีสุขภาพจิตให้ง่ายเพือ่ การสง่ ผ่านไปยังองค์กรผ้ใู ช้ เช่อื มโยงใหเ้ ข้ากบั หนว่ ยงานทางดา้ นสขุ ภาพ เป็นต้น การเลอื กกลยุทธใ์ นการขยายผล ข้นึ อยูก่ ับ - ชนดิ ของการขยายผล เช่น ตอ้ งการขยายผลทนั ที การเปลี่ยนแปลงระบบสขุ ภาพ - การเผยแพร่และการสนับสนนุ เชน่ การอบรม การเผยแพรผ่ ่าน website การจัดทาชุด คู่มือ - กระบวนการขยายผลขององคก์ ร เชน่ ขอบเขตการขยายผล จานวนหนว่ ยงานทีม่ สี ่วนรว่ ม - การตดิ ตามและประเมินผล เชน่ การประเมินในพน้ื ท่ี การขยายผลจะมขี อบเขตของงานหรือพนื้ ที่ดาเนนิ การ เพอื่ ปรบั ปรุงการดาเนนิ การขนาดใหญก่ ว่าการ ทดลองใชใ้ นระบบ และประเมนิ ผลการดาเนนิ การเพือ่ ปรบั ปรงุ การดาเนินงาน และก่อใหเ้ กิดผลลพั ธ์ไปยงั กล่มุ เปาู หมายที่ต้องการมากขึ้น หรือดาเนินการขยายผลในพื้นทีใ่ หม่ต่อไป 6.7 ขน้ั ตอนการประเมินผล (Evaluation) เปน็ ขน้ั ตอนทมี่ คี วามสาคญั สาหรับการพฒั นาเทคโนโลยีสขุ ภาพจิต การประเมนิ ผลเปน็ ส่งิ ท่ีควร ดาเนินการตอ่ เน่ืองและเกดิ ข้นึ ทกุ ช่วงของการดาเนินการ ตงั้ แตก่ ารวางแผนเพ่อื เร่ิมการนาไปใช้ไปจนถึงการ ขยายผล คาถามที่ใชแ้ ละกิจกรรมท่ีใชใ้ นการประเมินอาจแตกตา่ งกัน แตส่ ิ่งท่ยี งั คงเหมอื นเดมิ คอื การ ประเมินผลช่วยยืนยันขอ้ มูลในการตดั สินใจท่มี ปี ระสทิ ธิภาพและใชใ้ นการปรับปรงุ การดาเนินงาน องคป์ ระกอบของการประเมิน มี 4 ประเด็น คอื 1. สิง่ ที่จะประเมิน ได้แก่ นโยบาย แผนงาน โครงการ อปุ กรณ์ 2. ผูใ้ ชผ้ ลการประเมนิ ได้แก่ ผูบ้ ริหาร เจา้ หนา้ ทดี่ าเนินโครงการ เจา้ ของเงินทุน 3. ผ้ปู ระเมิน คอื บุคคลหรอื คณะบคุ คลที่อยใู่ นโครงการหรอื นอกโครงการ 4. วิธดี าเนินการประเมนิ หรือกระบวนการปร(ะสเามนินกั พฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต, 2554) การประเมนิ ผลควรประเมนิ ใหค้ รอบคลมุ ใน 5 ด้านดงั ต่อไปน้ี 6.7.1 ความสอดคลอ้ ง (Relevance) เปน็ การพจิ ารณาถึงความสอดคล้องของการดาเนนิ งาน ตั้งแตก่ ารพจิ ารณาแนวคิดหรือกลยทุ ธว์ า่ สามารถใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาได้หรือไม่ เม่ือดาเนินงานส้ินสดุ ลง เนื่องจากการเปลยี่ นแปลงบรบิ ท ปัจจยั เง่ือนไขต่างๆ เกิดขึ้นได้ตามระยะเวลาทีเ่ ปลยี่ นไป 6.7.2 ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) เปน็ การพจิ ารณาผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานตาม วตั ถปุ ระสงคห์ รอื เปาู หมายทก่ี าหนดไว้ เชน่ จานวนคนที่เขา้ ร่วมโปรแกรม กลุ่มเปาู หมายได้ตามที่ต้งั ใจไว้

21 หรอื ไม่ ความพึงพอใจของคนทีม่ ีสว่ นร่วม จานวนพน้ื ทท่ี ่ีมกี ารนาเทคโนโลยีสขุ ภาพจิตไปใช้ และความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ 6.7.3 ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) เป็นการพจิ ารณาผลสาเรจ็ ที่เกดิ ขึ้น โดยคานึงถึงการใช้ ทรัพยากรของการดาเนนิ งานอยา่ งประหยัด และคุ้มคา่ 6.7.4 ผลกระทบ (Impact) เป็นการประเมนิ การเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขนึ้ จากการดาเนนิ งาน หรอื ผล สบื เนื่อง รวมท้งั ผลลพั ธ์ที่ไมไ่ ด้กาหนดไวใ้ นวัตถปุ ระสงคข์ องการดาเนนิ งาน การประเมินผลกระทบทาไดย้ ากกว่าผลลพั ธ์เนือ่ งจากผลกระทบเป็นผลระยะยาว ต้องใชเ้ วลานานใน การเกดิ ขนึ้ ซึ่งผลกระทบระยะยาวจากการดาเนินงาน อาจมีความสาคัญมากและแตกตา่ งจากผลกระทบใน ระยะส้นั แมจ้ ะใชเ้ วลายาวนานกวา่ และมักมตี ัวแปรภายนอกเข้ามาเกีย่ วข้อง กลา่ วคอื ผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ อาจเป็นผลมาจากการดาเนินงานหรอื จากสาเหตุอน่ื ดว้ ย เช่น ประสบความสาเรจ็ เพราะมที รัพยากรมา สนับสนุนมากกว่าความเปน็ จรงิ ที่เกิดข้นึ จานวนคนเข้าถงึ บริการทีม่ คี ณุ ภาพเพ่มิ ขนึ้ เมอ่ื เวลาผ่านไป การประเมนิ ผลกระทบทด่ี ีมีความสาคัญมากสาหรับการขยายผลเทคโนโลยี จะช่วยให้รวู้ ่ากลยทุ ธใ์ น การดาเนนิ งานทใี่ ช้ สามารถนาไปสูเ่ ปูาหมายสุดทา้ ยไดห้ รือไม่ การพจิ ารณาผลกระทบ จึงควรต้องพิจารณา รอบดา้ น ทง้ั ทางสังคม เศรษฐกจิ ส่ิงแวดลอ้ ม และระบบนิเวศ ผลกระทบทัง้ ดา้ นบวกและดา้ นลบ ทง้ั โดยตั้งใจ และไม่ตั้งใจ ในการประเมินผลกระทบควรอย่พู ้นื ฐานการศกึ ษาผลแบบสุม่ ท่ีมีการเปรียบเทียบผลลพั ธ์ทเ่ี กิด จากประชากรท่เี ขา้ ร่วมโครงการกบั ประชากรทีไ่ ม่ไดเ้ ขา้ ร่วม แต่การประเมนิ ผลกระทบแบบส่มุ อาจไมเ่ หมาะ สาหรับทุกโปรแกรม เช่น การปฏริ ูปนโยบายในระดบั ชาติ เพราะไมส่ ามารถใชก้ ารสุ่มไปที่ภาคใดภาคหนึง่ ของ ประเทศได้ 6.7.5 ความยงั่ ยนื (Sustainability) เมือ่ การดาเนินงานสนิ้ สดุ ลงแล้ว เพื่อใหเ้ กิดความตอ่ เนอื่ งใน การดาเนินงานน้ี อาจจาเปน็ ต้องอาศัยทรัพยากรชมุ ชน หรือมอบหมายให้เป็นนโยบายของทอ้ งถ่ิน หรือ หนว่ ยงานใดหน่วยงานหนึ่งรบั ผิดชอบตอ่ เนอื่ งไป หลงั จากมีการนาเทคโนโลยีสุขภาพจติ ไปใช้อยา่ งเตม็ รปู แบบ แล้ว เกิดการบรู ณาการเข้ากับรปู แบบ/วิธีการของผูป้ ฏิบตั ใิ นพน้ื ทีน่ ั้นๆ ซ่ึงมกั ใช้เวลา 2-4 ปี เปาู หมายนี้คือ การคงอย่ขู องเทคโนโลยี ผลลัพธส์ าคัญที่เกิดข้นึ ภายหลงั การบรู ณาการเทคโนโลยสี ุขภาพจติ คอื 1) ผู้ปฏบิ ัติงานและทมี งานมีความรแู้ ละทกั ษะมากขน้ึ 2) โครงสรา้ งและวฒั นธรรมองค์กรเปล่ยี นแปลง ทง้ั แบบทางการและไม่เป็นทางการ ไดแ้ ก่ ค่านยิ ม ปรัชญา นโยบาย วิธีปฏบิ ัติ และผูป้ ฏิบตั งิ านเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรม 3) สัมพันธภาพระหวา่ งผ้บู ริโภคกบั ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียเกดิ การเปลีย่ นแปลงไปในทางที่ดีขน้ึ เช่น เกดิ ข้อตกลง ขอ้ กาหนด ความพงึ พอใจ และเกิดระบบเครอื ข่าย ตวั อย่างคาถามเพื่อการประเมนิ ผล 1. เราไดท้ าในสงิ่ ท่กี าหนดไว้หรอื ไม่ (อธิบายกิจกรรมท่ที า) 2. เราได้เรียนรู้อะไรจาการทางานที่ไดผ้ ลและไม่ได้ผล (เหตผุ ลท่ีประสบความสาเร็จ) 3. ความแตกต่างที่เกดิ จากการทางานครง้ั น้ี คืออะไร (ผลกระทบที่เกิดขึ้น) 4. เราสามารถทาอะไรใหเ้ กิดความแตกตา่ งไปมากกวา่ น้ี (อนาคตต่อไปและโครงการอ่นื ๆ) 5. เราวางแผนใชผ้ ลจากการประเมินเพื่อการเรียนรูอ้ ย่างต่อเน่อื ง (ใฃ้ผลจากการประเมินผล)

22 ภายหลงั จากการประเมินผล ผลท่ไี ด้สามารถนามาใชใ้ นการปรบั ปรุงการดาเนินงาน อาจใชช้ ีจ้ ุดออ่ น จุดแขง็ ของงาน หรอื ให้กลยทุ ธเ์ พอ่ื การปรับปรงุ อยา่ งต่อเนือ่ ง ใช้ประเมนิ ประสิทธผิ ลของเทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ และได้รบั ข้อมูลสาคัญเกีย่ วกบั หลกั การท่วั ไปของการปฏิบตั ิงานท่มี ีประสิทธิภาพ ความเชือ่ มโยงระหว่างทฤษฎี และการปฏบิ ตั ิ ผลการประเมนิ ถกู นาไปใช้ประโยชน์เพอ่ื เปูาหมายทแ่ี ตกตา่ งกัน ขณะเดยี วกนั กเ็ ป็นผลสะท้อน กลับไปยงั จดุ เรมิ่ ต้นของขน้ั ตอนการวจิ ยั และพฒั นา ไม่วา่ จะเปน็ ข้นั ทดลองใช้ในระบบหรอื ขยายผล เพือ่ ให้การ พฒั นางานดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง และดาเนนิ การในระบบเกิดความยง่ั ยืนด้วยการดาเนนิ งานของพน้ื ท่เี อง กระบวนงานวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยีสขุ ภาพจติ ประกอบด้วย 7 ขนั้ ตอน การทางานดังกลา่ ว ข้างตน้ ซงึ่ เปน็ การวิจยั ประเภทหนงึ่ ทมี่ ปี ระโยชน์ต่อการพัฒนางาน พฒั นาวิชาชพี และบคุ ลากรกรมสุขภาพจิต เพื่อชว่ ยให้เกิดทางเลือกหรอื วธิ กี ารใหม่ ชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านมปี ระสิทธภิ าพเพม่ิ ข้นึ ซงึ่ กรมสขุ ภาพจติ ไดใ้ ห้ ความสาคญั ในการวจิ ัยพฒั นา ผลติ องคค์ วามรู้ และเทคโนโลยสี ขุ ภาพจติ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน 7. ขอ้ กาหนดการใหบ้ รกิ าร 7.1 เอกสาร/หลกั ฐานท่ผี รู้ บั บริการต้องใชใ้ นการขอรบั บรกิ าร - ขนึ้ กับบริบทของแต่ละศูนยส์ ุขภาพจติ 7.2 คา่ ธรรมเนียม ไมม่ ี 8. ตวั ชีว้ ดั ควบคมุ คณุ ภาพของกระบวนงาน 8.1 ความถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ในการปฏิบตั ิตามกระบวนการขัน้ ตอนกระบวนการวจิ ัย/พฒั นา นวัตกรรม องค์ความรู้เทคโนโลยี 9. ระบบตดิ ตามประเมินผล 9.1 นกั วิชาการ กล่มุ งานวิชาการสุขภาพจติ นเิ ทศตดิ ตามการนาค่มู ือไปปฏิบัติงานไปใช้ ระยะเวลาใน การติดตามประเมนิ ผลรอบ 6 เดอื นหลงั 9.2 ประชมุ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ตดิ ตามประเมนิ ผล 10. เอกสารอ้างอิง 10.1 กรมสุขภาพจติ . คมู่ ือการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยสี ขุ ภาพจิต . โรงพมิ พเ์ บสท์ สเตป็ แอด็ เวอร์ ไทซง่ิ . กรกฎาคม, 2554. 10.2 กรมสุขภาพจติ . คู่มือคาอธิบายตวั ชีว้ ัดคารบั รองการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรม สุขภาพจติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559. (ฉบบั สมบรู ณ์) 10.3 ดวงกลม วตั ราดุลย์. การสบื คน้ สารสนเทศสาหรับการหาหลักฐานเชิงประจักษท์ างการพยาบาล. เข้าถงึ ไดท้ ่ี http://www.thaicvtnurse.org.

11. แบบฟอร์มท่ใี ช้ 23 11.1 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 12. ชอ่ งทางรบั ฟังข้อเสนอแนะ/ขอ้ งร้องเรยี นตอ่ การใหบ้ ริการ 12.1 ทีอ่ ยู่ศูนย์สขุ ภาพจติ ท่ี 1-13 (ภาคผนวก) 12.2 โทรศัพท์ โทรสาร และ E-Mail (ภาคผนวก) ***********************************

24 ภาคผนวก

25 คาส่งั คณะกรรมการการจัดทาค่มู อื ปฏิบตั งิ าน/คู่มือการให้บรกิ ารประชาชน (ตัวชี้วัดท่ี 35) 1. นางวรรณวไิ ล ภู่ตระกูล ผ้อู านวยการศนู ย์สุขภาพจิตที่ ๖ ประธาน คณะทางาน 2. นางมณฑา โชคชัยไพศาล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ รองประธาน คณะทางาน 3. นายชพู งษ์ สังขผ์ ลพิ นั ธ์ นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ คณะทางาน 4. นางสาวศรัญญา พรมเสนา นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร คณะทางาน 5. นางหยกฟูา เพง็ เลยี นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ คณะทางาน 6. นายวุฒนิ นั ท์ สงั จันทร์ นกั สังคมสงเคราะห์ปฏิบัตกิ าร คณะทางาน 7. นางเดือนเพ็ญ ชาญณรงค์ นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการพิเศษ คณะทางาน 8. นางอรสา มณกี ลดั นักจติ วทิ ยาคลินกิ ชานาญการ คณะทางาน 9. นางสาวเฉลา หนตู นุ่ ศรี นักจติ วิทยาชานาญการพิเศษ คณะทางาน 10. นางจิรพันธ์ สทุ ธปิ ริญญานนท์ นักวิชาการสาธารณสขุ ชานาญการ คณะทางาน 11. นางสาวทพิ วรรณ สายบวั แดง นกั วชิ าการสาธารณสุข คณะทางาน 12. นางสาวจันทนา มาศธนพนั ธ์ นกั สงั คมสงเคราะหป์ ฏบิ ัตกิ าร คณะทางาน 13. นางสิริพร พุทธิพรโอภาส นกั วิชาการสาธารณสขุ ชานาญการพิเศษ คณะทางาน 14. นายมนสั พงษ์ มาลา นักวชิ าการสาธารณสุข คณะทางาน 15. นางสาวมัณฑนา สินทรัพย์ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร คณะทางาน 16. นางภัทรานษิ ฐ์ ทองตนั ไตรย์ นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ คณะทางาน 17. นางเรณู เนินทอง นักจัดการงานทวั่ ไปชานาญการ คณะทางาน 18. ดร.สภุ าภรณ์ ศรธี ญั รัตน์ นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ คณะทางาน 19. นางเปยี ทพิ ย์ สดี า นกั จติ วิทยาคลินกิ ชานาญการ คณะทางาน 20. นางสาวศวิ พร สิงหพันธ์ นักวชิ าการสาธารณสุข คณะทางาน 21 นางสาวพาขวญั หมายปาน นักวชิ าการสาธารณสขุ คณะทางาน 22. นางสุริ อปุ มนต์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการพเิ ศษ คณะทางาน 23. นายบุญฤกษ์ จงิ า นักจดั การงานทั่วไปชานาญการ คณะทางาน 24. นางสาวกรทพิ ย์ วิทยากาญจน์ นักจิตวทิ ยาคลินิกปฏิบัติการ คณะทางาน 25. นางพรธดิ า ศรีสะอาด นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ คณะทางานและ เลขานกุ าร 26. นายธนะศกั ดิ์ โกยทา นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ คณะทางานและ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

26  หนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ .1 ร่วมกนั จดั ทารา่ งคู่มือกระบวนงานวจิ ัย/พฒั นา นวัตกรรม องคค์ วามร้เู ทคโนโลยี และค่มู ือพฒั นา เครอื ข่าย กลุ่มศนู ย์สุขภาพจติ .2 ดาเนินการตามขั้นตอนกระบวนการตัวช้ีวัดทไี่ ด้รับมอบหมาย .3 อน่ื ๆตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

27 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารตอ่ การใหบ้ ริการตามคู่มือการปฏบิ ัติงาน/ คูม่ ือการให้บริการประชาชน หน่วยงาน...................................... จงั หวดั .............................. ------------------------------------------------------- วัตถุประสงค์ : เพือ่ ทาการประเมินความพงึ พอใจของผูร้ ับบริการต่อการใหบ้ รกิ ารตามค่มู อื ปฏิบตั ิงาน/ค่มู ือ วิจยั พฒั นา นวัตกรรม องค์ความรู้เทคโนโลยี โดยจะนาผลที่ได้จากการประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นา กระบวนงานอย่างเหมาะสมในโอกาสต่อไป สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป 1. ผู้ตอบแบบประเมนิ  ผปู้ วุ ย/ญาติ  บคุ ลากรในสังกดั กรมสุขภาพจิต  เครอื ขา่ ยในระบบสาธารณสขุ (เช่น สสจ. / รพศ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. เป็นตน้ )  เครือขา่ ยนอกระบบสาธารณสขุ (เชน่ อบต. / อบท. / บคุ ลากรในสงั กัดกระทรวงอื่นๆ เปน็ ตน้ )  อน่ื ๆ โปรดระบุ............................. 2. หน่วยงานท่ตี อบแบบประเมิน  หน่วยงานในสงั กดั กรมสุขภาพจติ  หนว่ ยงานนอกสงั กดั กรมสุขภาพจติ  อน่ื ๆ โปรดระบุ.............................

28 ส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจของผ้รู บั บริการตอ่ การใหบ้ ริการตามคูม่ ือการปฏบิ ตั ิงาน/คู่มือการให้บริการ ประชาชน ข้อคาถาม ระดับความพึงพอใจ มาก ปานกลาง นอ้ ย  ด้านความโปร่งใสและประสทิ ธภิ าพการให้บริการ 1. ท่านได้รับทราบขอ้ มูล กฎเกณฑ์ ข้อกฎหมาย ข้อบังคับในการขอรับ บริการจากหน่วยงานเป็นอย่างดี 2. ทา่ นได้รบั ทราบขั้นตอน และมาตรฐานระยะเวลาในการให้บริการของ หนว่ ยงานอยา่ งเพยี งพอและชัดเจน 3. ทา่ นไดร้ บั บริการอย่างมีคณุ ภาพ ถกู ตอ้ งตามที่หน่วยงานกาหนดไว้ใน คมู่ อื ฯ 4. ท่านไดร้ บั การบริการตามมาตรฐานที่หนว่ ยงานกาหนดไวใ้ นคู่มอื ฯ 5. ท่านได้รบั การบรกิ ารอย่างเปน็ ธรรม ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ 6. หน่วยงานที่ท่านใช้บริการมีช่องทางการรับขอ้ เสนอแนะ/ขอ้ รอ้ งเรยี น เกยี่ วกับการปฏิบัตหิ น้าที่และความประพฤตขิ องเจ้าหนา้ ทีอ่ ย่างเหมาะสม  ดา้ นความเช่อื ใจ ไวว้ างใจ 7. เจา้ หนา้ ทีข่ องหน่วยงานทที่ ่านใช้บริการปฏบิ ตั ิหน้าท่โี ดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล 8. ท่านมีความมัน่ ใจในการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าที่ว่าถูกตอ้ ง สามารถ เชอื่ ถอื ได้  ดา้ นอนื่ ๆ 9. มีความผูกพันในการแนะนาให้เครอื ข่ายผู้รบั บริการอน่ื ๆ มาใช้บริการ 10. ความพงึ พอใจในภาพรวม ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ช่องทางรบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะ การติดต่อศูนย์สุขภา ลาดบั ศนู ยส์ ุขภาพจิตที่ 1 ท่อี ยู่ 1 ศนู ยส์ ุขภาพจติ ท่ี 1 (จังหวดั เชียงใหม่) 131 ถ.ชา่ งหล่อ ต.หายยา อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ 2 ศนู ยส์ ขุ ภาพจติ ท่ี 2 (จงั หวดั พิษณโุ ลก) 138/35-36 ม.7 ต.สมอแข อ.เมือง จ.พษิ ณุโลก 3 ศูนยส์ ขุ ภาพจิตที่ 3 (จังหวัดนครสวรรค์) 2 ม.4 ต.ท่าน้าออ้ ย อ.พยุหะครี ี จ.นครสวรรค์ อาคารอเนกประสงค์ รพ.ศรีธัญญา ต.ตลาดขัวญ 4 ศูนย์สขุ ภาพจติ ท่ี 4 (จังหวดั นนทบุรี) นนทบุรี 5 ศนู ย์สขุ ภาพจติ ที่ 5 (จังหวัดราชบุรี) 206/5-6 ถ.รถไฟ ต.หนา้ เมือง อ. เมอื ง จ.ราชบ 6 ศนู ย์สขุ ภาพจติ ที่ 6 (จงั หวัดชลบุรี) 76 ม.5 ถ.อ่างศิลา-บางแสน ต.อ่างศลิ า อ.เมือง 7 ศูนยส์ ขุ ภาพจิตที่ 7 (จังหวัดขอนแก่น) 169 ม.4 ถ.ชาตะผดงุ ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.ขอน 8 ศนู ย์สขุ ภาพจิตที่ 8 (จงั หวดั อดุ รธาน)ี 38/12-13 ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อดุ รธานี 9 ศนู ย์สขุ ภาพจติ ท่ี 9 (จังหวดั นครราชสมี า) 86 ถ.ช้างเผือก ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.นครราชสีม 10 ศูนยส์ ุขภาพจติ ท่ี 10 (จงั หวัดอบุ ลราชธานี) 22 ถ.แจ้งสนทิ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธา 11 ศูนยส์ ุขภาพจิตท่ี 11 (จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี) 298 รพ.สวนสราญรมย์ ต.ท่าข้าม อ.พนุ พิน จ.ส ศูนย์สขุ ภาพจติ ท่ี 12 (จงั หวัดปตั ตานี/ 472 ถ.ไทรบุรี ต.บอ่ ยาง อ.เมอื ง จ.สงขลา 88/23 อาคาร 1 ชัน้ 4 กรมสขุ ภาพจติ อ.เมอื ง 12 สงขลา) 13 ศูนย์สขุ ภาพจติ ที่ 13 (จังหวัดนนทบุรี

29 าพจติ 1-13 ก โทรศพั ท/์ โทรสาร e-mail [email protected] ญ จ. 0-5328-0556 / 0-5320-3676 [email protected], 0-5598-6314 / 0-5598-6315 [email protected] บุรี 0-5626-7289 / 0-5626-7405 ง จ.ชลบุรี 0-2527-7620-2/ 0-2526- [email protected] นแกน่ 5135 [email protected] [email protected] มา 0-3220-6524/ 0-3220-6525 [email protected] านี [email protected] สรุ าษฎธานี 0-3839-8349 / 0-3839-8348 [email protected] 0-4332-7640/ 0-4332-7642 [email protected] [email protected] 0-4212-8176/ 0-4212-8177 0-4425-6729/ 0-4425-6730 0-4535-2591/ 0-4528-5672 0-7724-0656/ 0-7724-0658 0-7432-4782/ 0-7432-4781 [email protected] ง จ.นนทบรุ ี 0-2589-5181/ 0-2149-5596 [email protected]

30 คณะทางานจัดคู่มอื การวิจัย/พฒั นา นวตั กรรม องคค์ วามรูเ้ ทคโนโลยี 1 อาจารย์วรรณวไิ ล ภูต่ ระกูล ผ้อู านวยการศนู ย์สุขภาพจิตที่ 6 ศนู ย์สุขภาพจติ ที่ 1 2 นายชูพงษ์ สงั ขผ์ ลิพันธ์ ศูนย์สขุ ภาพจติ ที่ 1 ศนู ยส์ ขุ ภาพจิตท่ี 2 3 นางสาวศรัญญา พรมเสนา ศนู ย์สุขภาพจิตท่ี 2 ศนู ย์สขุ ภาพจิตท่ี 3 4 นางหยกฟูา เพง็ เลีย ศนู ย์สุขภาพจิตที่ 3 ศูนยส์ ขุ ภาพจติ ที่ 4 5 นายวฒุ นิ นั ท์ สงั จันทร์ ศนู ยส์ ขุ ภาพจิตท่ี 4 ศนู ยส์ ขุ ภาพจติ ท่ี 5 6 นางเดือนเพ็ญ ชาญณรงค์ ศูนยส์ ุขภาพจิตท่ี 5 ศูนย์สขุ ภาพจติ ท่ี 6 7 นางอรสา มณีกลดั ศูนยส์ ขุ ภาพจติ ท่ี 6 ศนู ยส์ ุขภาพจติ ท่ี 6 8 นางสาวเฉลา หนูต่นุ ศรี ศูนย์สุขภาพจิตท่ี 7 ศูนย์สขุ ภาพจิตที่ 7 9 นางจริ พันธ์ สทุ ธิปรญิ ญานนท์ ศนู ย์สุขภาพจิตท่ี 8 ศูนยส์ ุขภาพจติ ที่ 9 10 นางสาวทพิ วรรณ สายบวั แดง ศูนยส์ ขุ ภาพจิตที่ 9 ศูนยส์ ุขภาพจติ ท่ี 10 11 นางสาวจนั ทนา มาศธนพันธ์ ศูนยส์ ขุ ภาพจติ ที่ 10 ศนู ย์สขุ ภาพจิตที่ 11 12 นางมณฑา โชคชยั ไพศาล ศูนย์สุขภาพจิตท่ี 11 ศูนยส์ ุขภาพจิตท่ี 12 13 นางพรธิดา ศรีสะอาด ศนู ย์สุขภาพจติ ท่ี 12 ศนู ย์สขุ ภาพจติ ที่ 13 14 นายธนะศกั ด์ิ โกยทา 15 นางสริ ิพร พทุ ธพิ รโอภาส 16 นายมนสั พงษ์ มาลา 17 นางสาวมัณฑนา สินทรัพย์ 18 นางศริ ิพร ปรางปรุ 19 นางเรณู เนินทอง 20 ดร.สุภาภรณ์ ศรธี ัญรัตน์ 21 นางเปยี ทพิ ย์ สีดา 22 นางสาวศวิ พร สงิ หพันธ์ 23 นางสาวพาขวญั หมายปาน 24 นางสรุ ิ อปุ มนต์ 25 นายบุญฤกษ์ จิงา 26 นางสาวกรทิพย์ วทิ ยากาญจน์ ผเู้ รยี บเรียง ศรีสะอาด ศนู ยส์ ุขภาพจิตท่ี 6 โกยทา ศนู ยส์ ุขภาพจติ ท่ี 6 นางพรธิดา นายธนะศักด์ิ บรรณาธกิ าร ผู้อานวยการศูนยส์ ุขภาพจติ ท่ี 6 อาจารย์วรรณวิไล ภู่ตระกูล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook