การผลิิตขยายแตนเบียี นเตตระสติิคัสั Tetrastichus brontispae Ferrière เอกสารวชิ าการ 145 ชวี ภัณฑป์ ้องกันก�ำจัดศตั รพู ื ช
Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=stCz1cHbonc https://www.youtube.com/watch?v=if30vq8yluU https://www.youtube.com/watch?v=wqnJ35SjH2U บรรณานกุ รม เฉลิมิ สินิ ธุเุ สก อัมั พร วิโิ นทัยั รุุจ มรกต ประภัสั สร เชยคำำ�แหง ยุุพินิ กสิินเกษมพงษ์์ สุุภาพร ชุุมพงษ์์ จรัสั ศรีี วงศ์ก์ ำำ�แหง และยิ่�งนิิยม ริิยาพันั ธ์.์ 2549. การควบคุมุ แมลงดำำ�หนามมะพร้้าว Brontispa longissima (Coleoptera: Chrysomelidae) แบบชีีววิิธีี. รายงานผลวิิจััย เงิินรายได้้จากการดำำ�เนิินงานวิิจััย ด้้านการเกษตร กรมวิชิ าการเกษตร. 65 หน้า้ . พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์. 2561. การเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าว (แตนเบีียนดัักแด้้เตตระ สติิคััส). หน้้า 33-36. ใน: คู่่�มืือการผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์อย่่างง่่าย. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร. พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณัฏั ฐิณิ ีี ศิิริมิ าจัันทร์์ และนงนุชุ ช่า่ งสี.ี 2561. การผลิติ แตนเบีียนหนอนหััวดำ�ำ มะพร้้าวและ แมลงดำำ�หนามมะพร้้าว. กลุ่�มกีีฏและสััตววิิทยา สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร. 27 หน้้า. พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์ และนงนุุช ช่่างสีี. 2561. การใช้้แตนเบีียนแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว (แตนเบีียนอะซีีโคเดส และแตนเบีียนเตตระสติิคััส) ควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว. หน้้า 40-41. ใน: เอกสารวิิชาการชีีวภััณฑ์์กำ�ำ จััดศััตรููพืืชเพื่่�อเกษตรที่่�ยั่�งยืืน. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร. รจนา ไวยเจริิญ อััมพร วิิโนทััย รุุจ มรกต และประภััสสร เชยคำำ�แหง. 2551. การเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนชนิิด Tetrastichus brontispae Ferrière เพื่�อใช้้ควบคุุมแมลงดำำ�หนามมะพร้้าว. หน้้า 649-659. ใน: รายงานผลงานวิจิ ัยั ประจำำ�ปีี 2551. สำำ�นักั วิจิ ัยั พัฒั นาการอารัักขาพืืช. สำำ�นัักวิิจัยั พััฒนาการอารัักขาพืืช. 2560. การจััดการศััตรููมะพร้้าว. เอกสารวิชิ าการ. สำำ�นักั วิจิ ััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.์ กรุงุ เทพฯ. 96 หน้า้ . ตดิ ต่อสอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติม: กลมุ่ งานวจิ ยั การปราบศตั รูพืชทางชวี ภาพ กลมุ่ กีฏและสตั ววิทยา ส�ำนกั วจิ ัยพัฒนาการอารกั ขาพชื โทร. 0 2579 7580 ต่อ 135 146 เอกสารวชิ าการ ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช
แตนเบียนโกนโิ อซสั Goniozus nephantidis ช่ือวิทยาศาสตร์: Goniozus nephantidis (Muesebeck) ช่อื สามญั : แตนเบยี นโกนโิ อซสั / แตนเบยี นหนอนหัวดำ� มะพรา้ ว วงศ์: Bethylidae อันดบั : Hymenoptera ท่มี าและความส�ำคัญ/ปญั หาศัตรูพื ช แตนเบีียนโกนิิโอซััส Goniozus nephantidis (Muesebeck) เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิที่่�มีีประโยชน์์ ช่ว่ ยควบคุมุ หนอนหัวั ดำำ�มะพร้า้ ว Opisina arenosella Walker ได้ด้ ีใี นประเทศอินิ เดียี และศรีลี ังั กา กรมวิชิ าการเกษตร นำำ�เข้้ามาจากประเทศศรีีลัังกา จำำ�นวน 1,000 ดัักแด้้ เมื่�อวัันที่� 28 เมษายน 2555 เพื่�อทดสอบความปลอดภััย และประสิทิ ธิภิ าพในการควบคุมุ หนอนหัวั ดำำ�มะพร้า้ วในประเทศไทย ผลการทดสอบพบว่า่ มีคี วามปลอดภัยั ในการนำำ� แตนเบียี นชนิิดนี้�มาใช้ค้ วบคุมุ หนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว เนื่�องจากมีีความเฉพาะเจาะจงต่่อแมลงอาศััยค่่อนข้้างสูงู วงจรชีวี ิิต แตนเบียนโกนิโอซัสมีล�ำตัวขนาดยาว 1.1-1.3 มิลลิเมตร เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมียเล็กน้อย ล�ำตัวมีสีด�ำสะท้อนแสง ปลายท้องของเพศเมียมีลักษณะเรียวแหลม ส่วนปลายท้องมีเข็มแหลมโค้งส้ัน ซ่่อนอยู่� ใช้้สำำ�หรัับ “ต่่อย” คืือการแทงอวััยวะที่่�มีีลัักษณะคล้้ายเข็็มแหลมเข้้าในลำำ�ตััวหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว และปล่่อยสารเข้้าไปในลำำ�ตััวหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว ทำำ�ให้้หนอนหััวดำำ�มะพร้้าวเป็็นอััมพาต หยุุดการเคลื่�อนไหว แต่่ไม่ต่ าย ระยะการเจริญิ เติิบโตระยะไข่่ 1-2 วันั ระยะหนอน 4-5 วััน ระยะดัักแด้้ 10-11 วันั ระยะไข่่ถึงึ ตัวั เต็ม็ วััย 15-19 วััน อัตั ราส่ว่ นเพศผู้้�ต่อ่ เพศเมีียประมาณ 1:5 (เพศผู้� 1 ตัวั : เพศเมียี 5 ตััว) แตนเบีียนเพศเมียี จะผสมพัันธุ์� และวางไข่่ประมาณ 6-7 วันั หลังั ออกจากดักั แด้้ และมีอี ายุุนาน 7-40 วััน แตนเบีียนโกนิิโอซััส 1 ตััว วางไข่่วันั ละ 4-18 ฟอง ขึ้�นกัับขนาดของหนอนที่�ใช้้เลี้�ยง สามารถขยายพัันธุ์�โดยให้้เบีียนหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวได้้ 7-8 ตััว เอกสารวชิ าการ 147 ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศตั รูพื ช
จากการทดสอบพฤติิกรรมการเบีียน พบว่่าแตนเบีียนจะต่่อยและทำำ�ให้้หนอนตายครั้�งละ 2-3 ตััว แต่่จะวางไข่่ บนตัวั หนอนเพีียง 1 ตััวเท่า่ นั้้�น แตนเบีียนโกนิิโอซััสที่�พร้อ้ มวางไข่่จะมีีพฤติิกรรมค่่อนข้้างดุุ ก้า้ วร้้าว และหวงที่� เมื่�อพบหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวจะเข้้าโจมตีีที่่�ลำำ�ตััวหนอนบริิเวณที่่�ติิดกัับส่่วนหััว เนื่�องจากหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว มีกี รามที่�แข็ง็ แรง และเคลื่�อนไหวรวดเร็ว็ หากแตนเบีียนเข้้าโจมตีีที่่�ส่ว่ นหาง หนอนหัวั ดำำ�มะพร้า้ วสามารถหันั หััว กลัับมากััดแตนเบีียนตายได้้ ตัวเตม็ วัย 7-40 วัน ไข่ 1-2 วัน ดกั แด้ 10-11 วนั หนอน 4-5 วัน วงจรชวี ิตของแตนเบยี นโกนิโอซสั Goniozus nephantidis (Muesebeck) กลไกการทำ� ลายศัตรูพื ช แตนเบียนโกนิโอซัส เป็นแมลงศัตรูธรรมชาติท่ีมีความเฉพาะเจาะจงต่อแมลงอาศัยคือหนอนหัวด�ำมะพร้าว แตนเบยี นเพศเมียใชอ้ วยั วะคลา้ ยเขม็ ทป่ี ลายท้องต่อยหนอนหวั ดำ� มะพร้าวให้หยุดการเคลอ่ื นไหว จากนั้นวางไข่ ทีีละฟองบนตััวหนอน ไข่่จะฟัักเป็็นตััวหนอนเกาะดููดกิินเจริิญเติิบโตและถัักใยเข้้าดัักแด้้อยู่�ภายนอกลำำ�ตััว หนอนหััวดำำ�มะพร้้าว จากการศึึกษาในห้้องปฏิิบััติิการ พบว่่าแตนเบีียนเพศเมีียวางไข่่ 2-18 ฟอง อััตราการฟััก เป็นตัวหนอน 92.28% อัตราการเจริญเติบโตและรอดชีวิตถึงดักแด้ 90.42% และเป็นตัวเต็มวัย 83.88% แตนเบียนเพศเมีย 1 ตวั สามารถเบียนหนอนหัวดำ� มะพร้าวได้ 7-8 ตัว สามารถผลติ รุ่นลกู ได้ 60-70 ตวั 148 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รูพื ช
หนอนแตนเบยี นโกนิโอซสั Goniozus nephantidis (Muesebeck) บนตัวหนอนหวั ดำ� มะพร้าว Opisina arenosella Walker วธิ กี ารใช้ชวี ภณั ฑ์ควบคมุ ศัตรูพื ช ก่่อนปล่่อยแตนเบีียนออกสู่�ธรรมชาติิ ควรให้้แน่่ใจว่่าแตนเบีียนโกนิิโอซััสผสมพัันธุ์�เรีียบร้้อยแล้้วใน ขวดพลาสติิก (แตนเบีียนจะผสมพัันธุ์�หลัังจากออกจากดัักแด้้แล้้ว 4-5 วััน) ซึ่�งเมื่�อปล่่อยแตนเบีียนในธรรมชาติิ แตนเบยี นสามารถเบยี นและวางไข่บนตวั หนอนหวั ดำ� มะพรา้ วไดท้ ันที อุุปกรณ์์ปล่่อยแตนเบีียนโกนิิโอซััส ได้้แก่่ ขวดพลาสติิกใสที่�ฝาเจาะรููปิิดด้้วยผ้้าใยแก้้วเพื่�อระบายอากาศ ขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 4 เซนติิเมตร สููง 6 เซนติิเมตร ภายในมีีสำำ�ลีีชุุบน้ำำ��ผึ้้�งเข้้มข้้น 50% เพื่�อเป็็นอาหาร ของแตนเบีียน เก็็บตััวอย่่างแตนเบีียนไว้้ 1% เพื่�อตรวจสอบคุุณภาพของแตนเบีียน โดยแตนเบีียนชุุดที่�ผลิิตได้้ และนำำ�ไปปล่อ่ ยต้้องมีคี ุุณภาพ และต้้องสามารถให้ผ้ ลผลิิตเพศเมียี รุ่�นต่่อไปได้้เฉลี่�ย 5 ตัวั /หนอน 1 ตัวั การใช้้แตนเบีียนโกนิโิ อซััสควบคุมุ หนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว แนะนำำ�ให้้ปล่่อยตััวเต็็มวัยั ในช่ว่ งเย็น็ เวลา 17.00 น. เป็น็ ต้้นไป ในอัตั รา 200 ตัวั /ไร่่ ปล่่อยทุกุ 7 วััน ติดิ ต่อ่ กันั 1 เดืือน โดยเปิิดฝาขวดให้แ้ ตนเบียี นบิินออกจากภาชนะ หากสามารถปล่อ่ ยแตนเบียี นได้จ้ ำำ�นวนมากจะทำำ�ให้ม้ ีีประสิทิ ธิภิ าพในการควบคุมุ ได้้รวดเร็็วขึ้�น กรณีีที่่�จำำ�เป็็นต้้องขนส่่งแตนเบีียนไปปล่่อยในพื้�นที่�ระบาดที่�ไกลจากห้้องเลี้�ยงแตนเบีียน ควรจััดส่่ง ในขณะที่่�ยัังเป็็นดัักแด้้ เพราะหากส่่งเป็็นตััวเต็็มวััยอาจทำำ�ให้้แตนเบีียนตายระหว่่างทางได้้ เนื่�องจากอุุณหภููมิิ การเก็็บรัักษาระหว่่างการขนส่ง่ มีผี ลต่่อการอยู่�รอดของแตนเบีียน เอกสารวชิ าการ 149 ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช
อุุปกรณ์์การปล่่อยแตนเบีียน Goniozus nephantidis (Muesebeck) ชนดิ ของศัตรพู ื ช ชอ่ื วิทยาศาสตร์: Opisina arenosella Walker ช่ือสามญั : coconut black-headed caterpillar/ หนอนหวั ด�ำมะพร้าว วงศ์: Oecophoridae อนั ดบั : Lepidoptera หนอนหวั ดำ� มะพร้าวเป็นแมลงศตั รพู ืชต่างถ่นิ รุกราน มถี ิน่ ก�ำเนดิ ในแถบประเทศเอเชยี ใต้ ไดแ้ ก่ ประเทศ อินเดีย และศรีลังกา นอกจากนี้ยังมีรายงานการระบาดในประเทศอินโดนีเซีย เมียนมาร์ บังคลาเทศ และ ปากีสถาน ส�ำหรับประเทศไทยพบการระบาดครั้งแรกเม่ือเดือนกรกฎาคม 2550 ที่สวนมะพร้าวของเกษตรกร ในนิคมสร้างตนเอง และสวนมะพร้าวของเกษตรกรในต�ำบลอ่าวน้อย อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบระบาดในพน้ื ทป่ี ระมาณ 500 ไร่ ต่อมาในเดอื นพฤษภาคม 2551 พบระบาดในพ้ืนทีอ่ �ำเภอทบั สะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และมรี ายงานพบการระบาดทตี่ �ำบลบางควู ดั อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี และท่ตี �ำบลโพนขา่ 150 เอกสารวชิ าการ ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช
อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ตอ่ มาในปี 2560 พบการระบาดอยา่ งรนุ แรงทวั่ ประเทศ โดยกรมสง่ เสรมิ การเกษตร ไดร้ ายงานพ้นื ท่หี นอนหวั ดำ� มะพร้าวระบาดใน 29 จังหวัด พ้นื ทรี่ ะบาด 78,954 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6 ของพื้นทป่ี ลูก พื้นท่ีระบาดมาก 5 อันดบั แรก ได้แก่ จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ (62,410 ไร)่ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี (5,536 ไร่) จังหวดั ชลบรุ ี (4,024 ไร่) จงั หวดั สมุทรสาคร (2,669 ไร)่ และจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (953 ไร่) และมรี ายงานหนอนหัวดำ� มะพรา้ วไดแ้ พรก่ ระจายการระบาดไปยังพืน้ ที่จังหวดั ราชบรุ ี และจังหวัดสมทุ รสงคราม วงจรชวี ติ ไข่ ของผีเส้ือหนอนหัวด�ำมะพร้าวมีลักษณะกลมรี แบน วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่เม่ือวางใหม่ๆ มีสีเหลืองอ่อน สีจะเขม้ ขนึ้ เมื่อใกลฟ้ กั ระยะไข่ 4-5 วนั หนอน เมื่�อฟัักออกจากไข่่จะอยู่�รวมกัันเป็็นกลุ่�มก่่อนย้้ายไปกััดกิินใบมะพร้้าว ตััวหนอนที่่�ฟัักใหม่่มีีหััว สีีดำำ� ลำำ�ตััวสีีเหลืือง สีีของส่่วนหััวจะเปลี่�ยนเป็็นสีีน้ำำ��ตาลเข้้มเมื่�ออายุุมากขึ้�น ตััวหนอนมีีสีีน้ำำ��ตาลอ่่อนและมีี ลายน้ำำ��ตาลเข้้มพาดยาวตามตัวั เมื่�อโตเต็็มที่่�มีลี ำำ�ตััวยาว 2-2.5 เซนติิเมตร การเจริญิ เติบิ โตของหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว ในประเทศไทย พบว่่าส่่วนใหญ่่จะเจริิญเติิบโตโดยมีีการลอกคราบ 8 ครั้�ง บางครั้�งอาจพบหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว มีกี ารลอกคราบ 6-10 ครั้�งได้้ ระยะหนอน 32-48 วััน ดกั แด้ มีสนี ำ�้ ตาลเขม้ ดักแด้เพศผมู้ ีขนาดเล็กกวา่ ดกั แดเ้ พศเมียเลก็ นอ้ ย ระยะดักแด้ 9-11 วัน ตััวเต็็มวััย เป็็นผีีเสื้�อกลางคืืน ขนาดลำำ�ตััววััดจากหััวถึึงปลายท้้องยาว 1-1.2 เซนติิเมตร ปีีกสีีเทาอ่่อน มีีจุุดสีีเทาเข้้มที่�ปลายปีีก ลำำ�ตััวแบน ชอบเกาะนิ่�งตััวแนบติิดพื้�นผิิวที่�เกาะ เวลากลางวัันจะเกาะนิ่�งหลบอยู่� ใต้้ใบมะพร้้าวหรืือในที่่�ร่่ม ผีีเสื้�อเพศเมีียมีีขนาดใหญ่่กว่่าเพศผู้�เล็็กน้้อย ผีีเสื้�อเพศเมีียที่�ผสมพัันธุ์�แล้้วสามารถวางไข่่ และไข่่ฟัักเป็็นตััวหนอน ผีีเสื้�อที่�ไม่่ได้้รัับการผสมพัันธุ์�สามารถวางไข่่ได้้แต่่ไข่่ทั้�งหมดจะไม่่ฟัักเป็็นตััวหนอน ผีเี สื้�อหนอนหััวดำำ�มะพร้า้ วเพศเมีียสามารถวางไข่ไ่ ด้้ 49-490 ฟอง ระยะตัวั เต็ม็ วัยั 5-11 วััน ตัวั เต็็มวัยั 5-11 วันั ไข่่ 4-5 วััน ดัักแด้้ 9-11 วันั หนอน 32-48 วััน วงจรชีวี ิติ ของหนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าว Opisina arenosella Walker เอกสารวิชาการ 151 ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพื ช
ลักษณะอาการพื ชทถี่ ูกทำ� ลาย หนอนหัวด�ำมะพร้าวระยะตัวหนอนเท่านั้นที่ท�ำลายใบมะพร้าว โดยแทะกินผิวใบบริเวณใต้ทางใบ จากน้ัน จะถักใยน�ำมูลที่ถ่ายออกมาผสมกับเส้นใยท่ีสร้างขึ้น น�ำมาสร้างเป็นอุโมงค์คลุมล�ำตัวยาวตามทางใบบริเวณ ใต้้ทางใบ ตััวหนอนอาศััยอยู่�ภายในอุุโมงค์์ที่�สร้้างขึ้�นและแทะกิินผิิวใบ โดยทั่�วไปหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวชอบทำำ�ลาย ใบแก่่ หากการทำำ�ลายรุุนแรงจะพบว่่าหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวทำำ�ลายก้้านทางใบ จั่�น และผลมะพร้้าว ต้้นมะพร้้าว ที่่�ถููกหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวลงทำำ�ลายทางใบหลายๆ ทาง พบว่่าหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวจะถัักใยดึึงใบมะพร้้าว มาเรีียงติิดกัันเป็็นแพ เมื่�อตััวหนอนโตเต็็มที่�แล้้วจะถัักใยหุ้�มลำำ�ตััวอีีกครั้�ง และเข้้าดัักแด้้อยู่�ภายในอุุโมงค์์ ผีีเสื้�อหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวที่�ผสมพัันธุ์�แล้้ววางไข่่บนเส้้นใยที่�สร้้างเป็็นอุุโมงค์์ หรืือซากใบที่่�ถููกหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว ลงทำำ�ลายแล้้ว ตััวหนอนเมื่�อออกจากไข่่จะอยู่�รวมกัันเป็็นกลุ่�ม 1-2 วััน ก่่อนย้้ายไปกััดกิินใบมะพร้้าว จึึงมัักพบ หนอนหััวดำำ�มะพร้้าวหลายขนาดกััดกิินอยู่�ในใบมะพร้้าวใบเดีียวกััน และพบหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวได้้ทุุกระยะ การเจริิญเติิบโตในสภาพแปลงปลููกมะพร้้าวของประเทศไทย โดยการทำำ�ลายส่่วนใหญ่่พบบนใบแก่่ ใบที่่�ถููกทำำ�ลาย มีีลัักษณะแห้้งเป็น็ สีีน้ำำ��ตาล หากการทำำ�ลายรุนุ แรงส่่งผลให้ต้ ้้นมะพร้า้ วตายได้้ กข ลักั ษณะอาการมะพร้้าวที่่�ถูกู หนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว Opisina arenosella Walker ลงทำำ�ลาย ก) ใบมะพรา้ วท่ีถกู หนอนหวั ด�ำมะพร้าวทำ� ลาย ข) ตน้ มะพร้าวทถ่ี ูกหนอนหัวด�ำมะพรา้ วท�ำลาย 152 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช
การประเมินประสิทธิภาพในการควบคมุ ประเมิินการระบาดโดยสุ่�มนัับประชากรหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว (หนอนขนาดเล็็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่่ และดักั แด้)้ ตรวจนัับต้้นมะพร้า้ วจำำ�นวน 10% ของจำำ�นวนต้้นทั้�งหมดในแปลงโดยสุ่�ม 10 ใบย่่อย/ต้้น ประเมิินผล ก่่อนและหลัังปล่่อยแตนเบีียน ประเมิินความเสีียหายจากการทำำ�ลายของหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว โดยสัังเกต จากทางใบที่่�ยัังไม่ถ่ ูกู ทำำ�ลายตามวิธิ ีกี ารใน Proceedings of the Dissemination Workshop on the CFC/ DFID/APCC/FAO Project on Coconut Integrated Pest Management Held in Columbo, Sri Lanka 12-20th October 2006 ซึ่�งกำำ�หนดโดยนัับทางใบมะพร้้าวที่่�ยัังไม่่ถููกทำำ�ลายดัังนี้� ระดัับรุุนแรง มีีจำำ�นวนน้้อยกว่่า 6 ทางใบ ระดัับปานกลางมีีจำำ�นวน 6-13 ทางใบ ระดัับน้้อยมีีจำำ�นวนมากกว่่า 13 ทางใบ และไม่่มีกี ารระบาดคือื ไม่่พบการทำำ�ลาย ระดบั การทำ� ลาย หนอนหัวด�ำมะพรา้ ว (นบั ทางใบทีย่ ังไมถ่ กู ท�ำลาย) รุุนแรง < 6 ทางใบ ปานกลาง 6-13 ทางใบ น้้อย > 13 ทางใบ ไม่่มีีการระบาด ไม่พบทางใบท่ถี กู ทำ� ลาย ระดบั นอ้ ย ระดบั ปานกลาง ระดับรุนแรง เอกสารวิชาการ 153 ชีวภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช
การผลติ ขยายชีวภณั ฑ์ การเพาะเล้ียงแตนเบียนโกนิโอซัส จะต้องใช้หนอนหัวด�ำมะพร้าวและหนอนผีเสื้อข้าวสาร Corcyra cephalonica (Stainton) เพื่อเป็นแมลงอาศัย ดังนั้นจึงต้องท�ำการเพาะเลี้ยงแมลงอาศัยให้ได้วัยที่เหมาะสม คือ หนอนหัวด�ำมะพร้าววัย 6 ความยาวล�ำตัวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 35-40 วัน หรือหนอนผเี ส้ือขา้ วสาร ความยาวล�ำตัวประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ใช้เวลาเล้ยี งประมาณ 35-40 วัน โดยเล้ยี ง แตนเบียนด้วยหนอนผีเส้ือข้าวสาร 3 รุ่น สลับกับเลี้ยงแตนเบียนด้วยหนอนหัวด�ำมะพร้าว 1 รุ่น เพื่อไม่ให้ แตนเบยี นออ่ นแอและวางไขน่ อ้ ยลง ซง่ึ ขน้ั ตอนและวิธีการมีดังนี้ การเตรียมพ่ อแม่พั นธผ์ุ ีเสื้อหนอนหวั ดำ� มะพรา้ ว 1. เก็็บหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวจากธรรมชาติิมาเลี้�ยงด้้วยใบมะพร้้าวในกล่่องพลาสติิกขนาด 13x18x7 เซนติิเมตร เจาะช่่องที่�ฝาติดิ ตะแกรงระบายอากาศขนาด 4x10 เซนติเิ มตร เปลี่�ยนใบมะพร้้าวทุกุ 3 วันั โดยใส่่ ใบมะพร้าวใหม่ลงในกล่อง ปล่อยให้หนอนเคล่ือนย้ายจากใบเก่ามาท่ีใบใหม่เอง ใช้เวลา 1-2 วัน จึงน�ำ ใบมะพร้าวเก่าออก น�ำกล่องพลาสติกเล้ียงหนอนหัวด�ำมะพร้าววางไว้บนช้ันเล้ียงแมลงที่อุณหภูมิ 25-28 องศาเซลเซียส จนกระทงั่ หนอนเจริญเติบโตเปน็ ดักแด้ แลว้ แยกดักแดท้ ีส่ มบูรณ์เพ่อื รอใหเ้ ปน็ ตัวเต็มวยั 2. เตรีียมโหลพลาสติิกสำำ�หรัับให้้แม่่ผีีเสื้�อวางไข่่ขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 16.5 เซนติิเมตร สููง 17 เซนติเมตร ที่ฝาเจาะช่องระบายอากาศตดิ ตะแกรงละเอียด ใช้พกู่ นั จุ่มน้ำ� ผ้งึ เข้มข้น 50% ป้ายลงบนกระดาษ ทิชชูขนาดเล็ก 3 แผ่น วางทาบไว้ท่ีผนังด้านข้างโหลพลาสติก 3 ด้าน ด้านที่เหลือใช้กระดาษทิชชูที่ป้ายด้วย นำ้� สะอาด ส�ำหรบั พืน้ โหลวางกระดาษทชิ ชไู วเ้ พ่อื ให้ผีเสอ้ื วางไข่ 3. นำำ�ผีีเสื้�อที่�ได้้จากดัักแด้้ตามข้้อ 1 ใส่่ลงในโหลพลาสติิกโหลละ 25 คู่� (เพศผู้� 25 ตััว และเพศเมีีย 25 ตัวั ) ปล่่อยไว้้ 1-2 วััน เพื่�อให้ผ้ ีีเสื้�อวางไข่บ่ นกระดาษทิิชชูู เลี้�ยงจนกระทั่�งผีีเสื้�อหมดอายุุขัยั (ประมาณ 10 วันั ) การเลี้้�ยงขยายหนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าว 1. เตรียมกล่องพลาสติกเลี้ยงแมลงและใส่ใบมะพร้าวท่ีท�ำความสะอาดแล้วตัดเป็นท่อนยาว 10 เซนติเมตร น�ำมาเรียงซ้อนกัน 8 ใบ ใช้กรรไกรตัดกระดาษทิชชูที่มีไข่หนอนหัวด�ำมะพร้าวออกเป็นช้ินเล็กๆ ขนาด 1-1.5 เซนติเมตร น�ำกระดาษทิชชูขนาดเล็กที่มีไข่ผีเส้ือวางสอดไปในใบมะพร้าว จากนั้นใช้กระดาษทิชชูปิดท่ีกล่อง ด้านในกอ่ นปิดฝาเพ่อื ป้องกันหนอนวยั 1 หนอี อกจากกลอ่ ง ตงั้ กลอ่ งท้งิ ไว้ เลี้ยงทีอ่ ณุ หภมู ิ 25-28 องศาเซลเซียส 2. หนอนหัวด�ำมะพร้าวจะทยอยฟักออกมาจากไข่ภายใน 4-5 วัน โดยระยะแรกๆ จะอยู่รวมกันเป็น กลุ่มและบอบบางมาก การเปลี่ยนอาหารหรือใบมะพร้าวจึงต้องใช้ความระมัดระวัง (ห้ามใช้พู่กันเข่ียไข่หรือ หนอนที่เพ่ิงฟัก) โดยให้ใส่ใบมะพร้าวใบใหม่ลงไปในกล่อง หนอนหัวด�ำมะพร้าวจะย้ายมาที่ใบมะพร้าวใบใหม่เอง ใชเ้ วลา 1-2 วนั จงึ นำ� ใบมะพร้าวเก่าออก 3. เปลย่ี นใบมะพรา้ วทุก 3-5 วัน (อย่าปล่อยใหใ้ บมะพรา้ วแหง้ ) ประมาณ 35-40 วนั จะไดห้ นอนหัวดำ� มะพรา้ วขนาดใหญ่วยั 6 ความยาวลำ� ตัวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ที่สามารถน�ำไปเลีย้ งขยายแตนเบียนได้ 154 เอกสารวชิ าการ ชวี ภัณฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช
การเลี้�ยงหนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าว Opisina arenosella Walker ด้้วยใบแก่่มะพร้้าว วิธกี ารเพาะเล้ยี งหนอนผเี สอื้ ข้าวสาร การเตรีียมอาหารสำำ�หรัับผสมเลี้�ยงหนอนผีีเสื้�อข้้าวสาร ผสมรำำ�ละเอีียด:ปลายข้้าว:น้ำำ��ตาลทรายขาว ในถาดอลููมิเิ นียี ม อััตราส่่วน 60:3:1 โดยน้ำำ��หนักั แล้ว้ อบส่่วนผสมในตู้�อบร้อ้ นที่่�อุุณหภูมู ิิ 80-90 องศาเซลเซียี ส นาน 8-9 ชั่วโมง เพ่ือก�ำจัดแมลงท่ีติดมากับร�ำละเอียด เช่น มอดข้าวสาร มอดแป้ง ด้วงงวงข้าว จากนั้น วางตั้งไว้ใหอ้ าหารเยน็ ลง แล้วใสใ่ นกลอ่ งพลาสตกิ ใหม้ นี ำ�้ หนกั ของอาหารกล่องละ 1 กิโลกรัม การเลี้ยงขยายหนอนผเี สือ้ ข้าวสาร 1. น�ำผีเส้ือข้าวสารตัวเต็มวัยเพศผู้และเพศเมีย ใส่ตะกร้าที่บุด้วยตาข่ายไนล่อนเพ่ือให้ผีเสื้อข้าวสาร ผสมพัันธุ์�และวางไข่่ โดยปล่่อยทิ้�งไว้้ 1 วััน จากนั้�นใช้้แปรงปััดที่�ตาข่่ายไนล่่อนเพื่�อแยกเอาไข่่ออกใส่่ในถาด แล้้วนำำ�ไปเพาะเลี้ �ยงต่อ่ 2. โรยไข่หนอนผีเสื้อข้าวสารประมาณ 0.1 กรัม ให้ทั่วกล่องพลาสติกท่ีใส่ร�ำละเอียดและปิดฝาครอบ ให้สนิท บนฝาเจาะรูระบายอากาศขนาด 4x10 เซนติเมตร ติดตะแกรงลวดตาละเอียดขนาด 60 mesh ทสี่ ามารถป้องกันไมใ่ หแ้ มลงชนดิ อ่นื เขา้ ไป 3. วางกล่องท่ีโรยไข่ของหนอนผีเส้ือข้าวสารแล้วในห้องที่มีอุณหภูมิ 28-30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 35-40 วนั จะได้หนอนทมี่ ีขนาดล�ำตัวยาว 1.5 เซนติเมตร เหมาะส�ำหรับเล้ียงขยายแตนเบยี น 4. แบ่งหนอนที่แขง็ แรงสว่ นหนง่ึ เล้ียงจนกระทงั่ เจริญเติบโตเปน็ ดกั แด้และเป็นผเี สื้อพ่อแม่พนั ธ์ุ เอกสารวชิ าการ 155 ชวี ภัณฑ์ป้องกันก�ำจดั ศตั รูพื ช
ก ข การเพาะเลยี้ งหนอนผีเสอ้ื ขา้ วสาร Corcyra cephalonica (Stainton) ก) ส่วนผสมอาหารส�ำหรบั เล้ยี งขยายหนอนผีเสือ้ ข้าวสาร ข) ผเี ส้อื ขา้ วสารพ่อแมพ่ ันธ์ใุ นกรงตาขา่ ยสำ� หรบั ผสมพนั ธแ์ุ ละวางไข่ การเตรียมพ่ อแม่พั นธแุ์ ตนเบียนที่พรอ้ มสำ� หรบั วางไข่ แตนเบีียนที่�พร้้อมนำำ�ไปใช้้ต้้องปล่่อยไว้้ให้้เพศผู้�และเพศเมีียผสมพัันธุ์์�กัันเป็็นเวลาอย่่างน้้อย 4 วััน หลัังออกจากดัักแด้้ คััดเลืือกแตนเบีียนเพศเมีียที่�ได้้รัับการผสมพัันธุ์�แล้้วเท่่านั้้�นให้้วางไข่่และเจริิญเติิบโตอยู่� ภายนอกลำำ�ตัวั หนอนหััวดำำ�มะพร้้าว ใช้พ้ ู่่�กัันเบอร์์ 0 เขี่�ยแตนเบีียนเพศเมียี ออกมาอย่่างเบามืือ ใส่ใ่ นขวดพลาสติิก สำำ�หรับั เบียี น การเตรียมแมลงอาศยั (หนอนหวั ด�ำมะพร้าวและหนอนผเี สื้อข้าวสาร) การเพาะเลี้�ยงแตนเบีียนโกนิิโอซััสสามารถใช้้หนอนหััวดำำ�มะพร้้าว และหนอนผีีเสื้�อข้้าวสารเป็็นแมลงอาศััย โดยเลี้�ยงแตนเบีียนด้้วยหนอนผีีเสื้�อข้้าวสาร 3 รุ่�น สลัับกัับเลี้�ยงแตนเบีียนด้้วยหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว 1 รุ่�น (เพ่ือป้องกันไม่ให้แตนเบียนอ่อนแอและวางไข่น้อยลง) หนอนที่น�ำมาใช้เพาะเล้ียงแตนเบียน คือหนอนหัวด�ำ มะพร้าววยั 6 ความยาวลำ� ตัวประมาณ 2.5 เซนตเิ มตร ใช้เวลาเล้ียงประมาณ 35-40 วนั หรอื หนอนผเี ส้ือข้าวสาร ความยาวล�ำตัวประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร ใช้เวลาเล้ยี งประมาณ 35-40 วัน การเพาะเลยี้ งขยายแตนเบยี นโกนโิ อซัส 1. ปล่่อยหนอนใส่่ในขวดเบีียนที่่�มีีแตนเบีียนเพศเมีียที่�ได้้รัับการผสมพัันธุ์�แล้้วอยู่�ภายใน โดยใช้้ หนอนหัวดำ� มะพร้าว 1 ตัว/แตนเบียนเพศเมยี 1 ตวั ปดิ ดว้ ยฝาทตี่ ดิ ตะแกรงลวดละเอยี ด และมีชิ้นฟองนำ�้ ทใ่ี ส่ นำ�้ ผ้ึงไว้ 1 หยด เพ่อื เปน็ อาหารแตนเบียน (อยา่ ให้น้�ำผึง้ แห้ง) 2. นำำ�หลอดที่�ใส่แ่ ตนเบียี นและหนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าวแล้ว้ วางเรีียงในตะกร้า้ ตามแนวนอน 3. ปล่่อยให้้แตนเบีียนเข้้าเบีียนหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวเป็็นเวลา 4 วััน จะพบไข่่ของแตนเบีียนบนลำำ�ตััว หนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าว 156 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช
4. ใช้้ปากคีีบนำำ�ตััวหนอนที่่�มีีไข่่แตนเบีียนออกจากขวดเบีียน และใส่่หนอนแมลงอาศััยตััวใหม่่ให้้ แตนเบียนลงเบียน ส�ำหรับหนอนหัวด�ำมะพร้าวที่แตนเบียนวางไข่บนล�ำตัวแล้ว น�ำไปวางในกระดาษขนาด 5x7.5 เซนติเมตร โดยพับขอบกระดาษให้มีลักษณะคล้ายกระบะเล็กๆ ซึ่งจะวางหนอน 10 ตัว/หน่ึงกระบะ (ไม่ควรวางหนอนซ้อนทับกันเน่ืองจากจะมีผลต่อหนอนแตนเบียนท่ีก�ำลังเจริญเติบโตอยู่) จากนั้นน�ำไปเก็บใน กล่องพลาสตกิ ท่เี จาะฝากล่องและปิดด้วยผา้ แกว้ เพือ่ ระบายอากาศ วางตง้ั ไว้ 1 สัปดาห์ 5. เปลี่�ยนหนอนแมลงอาศััยตััวใหม่่ให้้แตนเบีียนวางไข่่ในขวดเดิิม ทำำ�เช่่นเดีียวกัับข้้อ 3-4 จนกระทั่�ง แตนเบีียนตาย 6. หนอนแตนเบียนจะฟักออกจากไข่เจริญเติบโตและเข้าระยะดักแด้ คอยสังเกตตัวหนอนแมลงอาศัย หากเริ่มมีสดี ำ� คล�้ำใหค้ บี หนอนทง้ิ เพราะอาจท�ำให้ดกั แดแ้ ตนเบยี นตดิ เชือ้ โรคและไมอ่ อกเป็นตวั เต็มวัย 7. นำำ�กระบะกระดาษที่่�มีีดัักแด้้ของแตนเบีียนบรรจุุใส่่ภาชนะปิิดฝาที่่�เจาะช่่องปิิดด้้วยผ้้าแก้้วเพื่�อ ระบายอากาศ 8. จากนั้�นประมาณ 1 สััปดาห์์สัังเกตการออกเป็็นตัวั เต็็มวััยของแตนเบียี น เมื่�อพบแตนเบียี นตััวเต็็มวัยั จึึงเติิมน้ำำ��ผึ้้�งลงในชิ้�นฟองน้ำำ��เพื่�อเป็็นอาหารให้้กัับแตนเบีียน เมื่�อแตนเบีียนออกจากดัักแด้้หมดแล้้วปล่่อยให้้ ผสมพัันธุ์์�ต่่อไปอีกี 4 วััน จึึงนำำ�ไปปล่่อยควบคุมุ หนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว และส่่วนหนึ่�งใช้้เป็็นพ่อ่ แม่พ่ ัันธุ์์�ต่่อไป กข ค ง การเพาะเล้ียงแตนเบยี นโกนิโอซัส Goniozus nephantidis (Muesebeck) ก) ขวดสำำ�หรัับปล่่อยแตนเบีียนวางไข่บ่ นตััวหนอน ข) ขวดเบีียนในตะกร้้าพลาสติกิ ค) กระบะดัักแด้แ้ ตนเบีียนในกล่่อง ง) ตััวเต็็มวัยั แตนเบียี นโกนีโี อซััส เอกสารวชิ าการ 157 ชีวภณั ฑป์ ้องกันก�ำจดั ศัตรูพื ช
การผลติ ขยายหนอนผเี ส้อื ข้าวสาร Corcyra cephalonica (Stainton) 158 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศตั รูพื ช
การผลิตขยายหนอนหัวดำ� มะพร้าว Opisina arenosella Walker เอกสารวิชาการ 159 ชวี ภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช
การผลติ ขยายแตนเบียนโกนิโอซสั Goniozus nephantidis (Muesebeck) 160 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจัดศัตรพู ื ช
Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=stCz1cHbonc https://www.youtube.com/watch?v=NLeVioJyAnQ https://www.youtube.com/watch?v=NpiF6NZmX2w https://www.youtube.com/watch?v=EctWg53PgEM บรรณานุกรม พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์. 2558. การควบคุุมหนอนหััวดำำ�มะพร้้าวด้้วยแมลงศััตรููธรรมชาติิ. จดหมายข่่าวผลิิใบ. ประจำำ�เดือื นพฤศจิกิ ายน. 18(10): 2-5. พัชั รีีวรรณ จงจิติ เมตต์.์ 2561. การเพาะเลี้�ยงแตนเบียี นหนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว (แตนเบียี นโกนิิโอซัสั ). หน้า้ 22-28. ใน: คู่่�มืือการผลิติ ขยายชีีวภััณฑ์์อย่่างง่า่ ย. สำำ�นัักวิจิ ััยพัฒั นาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร. พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์ และนงนุุช ช่่างสีี. 2561. การควบคุุมหนอนหััวดำ�ำ มะพร้้าว Opisina arenosella Walker กลุ่�มกีีฏและสััตววิิทยา สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร. 19 หน้า้ . พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์ และนงนุุช ช่่างสีี. 2561. การผลิิตแตนเบีียนหนอนหััวดำำ� มะพร้้าวและแมลงดำ�ำ หนามมะพร้้าว. กลุ่�มกีีฏและสััตววิิทยา สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร. 27 หน้า้ . พััชรีีวรรณ จงจิิตเมตต์์ ณััฏฐิิณีี ศิิริิมาจัันทร์์ และนงนุุช ช่่างสีี. 2561. การใช้้แตนเบีียนหนอนหััวดำำ�มะพร้้าว (แตนเบีียนโกนิิโอซัสั ) ควบคุุมหนอนหัวั ดำำ�มะพร้้าว. หน้้า 44-45. ใน: เอกสารวิชิ าการชีวี ภัณั ฑ์์กำำ�จัดั ศััตรูพู ืืชเพื่่�อเกษตรที่่�ยั่ง� ยืืน. สำำ�นัักวิิจัยั พััฒนาการอารัักขาพืชื กรมวิิชาการเกษตร. วิไลวรรณ พรหมค�ำ พัชรีวรรณ จงจิตเมตต์ ย่ิงนิยม ริยาพันธ์ อุดมพร เสือมาก ดารากร เผ่าชู ประภาพร ฉันทานุมัติ นรีรัตน์ ชูช่วย สุวัฒน์ พูลพาน อุดม วงศ์ชนะภัย สุธีรา ถาวรรัตน์ สญชัย ขวัญเก้ือ สุรกิตติ ศรีกุล พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ ศรุต สุทธิอารมณ์ สุเทพ สหายา เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ สาทิพย์ มาลี ณัฏฐิณี ศิริมาจันทร์ นงนุช ช่างสี จตุรภัทร รัตนวิสาลนนท์ วิชัย โอภานุกุล สุรพล สุขพันธ์ วลยั ภรณ์ ชยั ฤทธิไชย สมชาย ทองเน้ือหา้ เกริกชัย ธนรักษ์ ปรยี านุช ทพิ ยะวฒั น์ วิริ ััตน์์ ธรรมบำำ�รุุง อรรััตน์์ วงศ์์ศรีี รััฐพล ชูยู อด. 2563. การทดสอบควบคุมุ และกำำ�จัดั หนอนหััวดำำ� มะพร้้าวในสวนมะพร้้าวอิินทรีีย์์. รายงานผลวิิจััย เงิินรายได้้จากการดำำ�เนิินงานวิิจััยด้้านการเกษตร. กรมวิชิ าการเกษตร. 76 หน้า้ . เอกสารวชิ าการ 161 ชวี ภัณฑป์ ้องกันก�ำจัดศัตรูพื ช
อััมพร วิิโนทััย. 2551. หนอนหััวดำำ�มะพร้า้ วศััตรููพืืชชนิิดใหม่.่ ว. กีฏี . สัตั ว. 26(26): 73-75. อััมพร วิโิ นทััย พัชั รีวี รรณ จงจิติ เมตต์์ วลัยั พร ศะศิปิ ระภา ยิ่�งนิิยม ริยิ าพันั ธ์์ สุวุ ัฒั น์์ พููลพาน สุเุ ทพ สหายา พฤทธิชิ าติิ ปุญุ วััฒโท เสาวนิิตย์์ โพธิ์พ� ูนู ศัักดิ์์� ไพบูรู ณ์์ เปรีียบยิ่�ง นรีรี ััตน์์ ชูชู ่่วย พััชราพร หนููวิสิ ััย ประภาพร ฉันั ทานุมุ ัตั ิิ ดารากร เผ่า่ ชูู สุนุ ีี ศรีีสิงิ ห์์ อุุดม วงศ์์ชนะภััย ปิยิ นุชุ นาคะ วีรี า คล้้ายพุกุ หยกทิิพย์์ สุดุ ารีีย์์. 2560. การจัดั การแมลงศััตรููมะพร้้าวแบบผสมผสานในพื้�นที่�แปลงใหญ่่. รายงาน ผลวิิจััย เงินิ รายได้จ้ ากการดำำ�เนินิ งานวิจิ ัยั ด้า้ นการเกษตร กรมวิชิ าการเกษตร. 152 หน้้า. Venkatesan, T., C.R. Ballal and R.J. Rabindra. 2008. Biological control of coconut black-headed carterpillar Opisina arenosella using Goniozus nephantidis and Cardiastethus exiguous. Brilliant Printers Private Limited. Bangalore. 14 p. ตดิ ต่อสอบถามขอ้ มลู เพิม่ เตมิ : กลุ่มงานวจิ ัยการปราบศตั รูพชื ทางชีวภาพ กลุ่มกีฏและสตั ววิทยา สำ� นักวจิ ยั พฒั นาการอารักขาพืช โทร. 0 2579 7580 ต่อ 135 162 เอกสารวชิ าการ ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช
แมลงช้างปกี ใส Plesiochrysa ramburi ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Plesiochrysa ramburi (Schneider) ช่อื สามัญ: green lacewings/ แมลงชา้ งปกี ใส/ แมลงชา้ งปีกใสสีเขยี ว วงศ:์ Chrysopidae อนั ดับ: Neuroptera ทม่ี าและความสำ� คญั /ปัญหาศตั รพู ื ช แมลงช้้างปีีกใสในระยะตััวอ่่อน เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิชนิิดหนึ่�งในกลุ่�มของ “แมลงห้ำำ�� (predators)” ที่่�มีีประสิิทธิิภาพในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืชทางเศรษฐกิิจหลายชนิิด โดยเฉพาะแมลงศััตรููพืืชในกลุ่�ม Homoptera เช่่น เพลี้�ยแป้ง้ เพลี้�ยอ่อ่ น เพลี้�ยไฟ เพลี้�ยหอย แมลงหวี่�ขาว รวมทั้�งไข่่ หนอนผีีเสื้�อศััตรูพู ืืชขนาดเล็็ก ไรศััตรููพืืชต่า่ งๆ ตัวั เต็็มวััยของแมลงช้า้ งปีกี ใสกิินน้ำำ��หวานจากเกสรดอกไม้้ และน้ำำ��เป็น็ อาหารเท่า่ นั้้�น วงจรชีวี ิติ Adult Pupae Eggs Larvae วงจรชีวิตของแมลงช้างปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) เอกสารวิชาการ 163 ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช
ไข่ มีลักษณะรูปร่างยาวรี สีเขียวอ่อน อยู่บนก้านชูสีขาวใสคล้ายเส้นด้าย ไข่เม่ือวางใหม่ๆ จะมี สีเขียวอ่อน เมื่อใกล้ฟักไข่จะเปล่ียนเป็นสีน�้ำตาลและเป็นสีขาวเมื่อฟักแล้ว อาจจะวางเป็นกลุ่มหรือฟองเด่ียวๆ ระยะไขป่ ระมาณ 3-4 วัน (อณุ หภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส) ไขข่ องแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ตััวอ่่อน มีีสีีเทาหรืือสีีน้ำำ��ตาล บางชนิิดมีีแถบพาดยาวด้้านข้้างลำำ�ตััว รููปร่่างคล้้ายลููกจระเข้้ บริิเวณปาก มีีกรามคล้า้ ยเขี้�ยวเหมืือนคีีมขนาดใหญ่่ไว้้คอยจัับเหยื่�อ ตัวั อ่อ่ น P. ramburi มีขี นรอบๆ ตััว (ภาพ ก-ค) เมื่�อกิิน เพลี้�ยแป้้งจะมีผี งแป้้งมาติิดบริเิ วณรอบๆ ลำำ�ตััว จึึงทำำ�ให้้ดููคล้้ายเพลี้�ยแป้้ง ตััวอ่่อนวัยั 1 มีีขนาดเล็็กมาก ประมาณ 2 มิลิ ลิเิ มตร ลอกคราบเมื่�อเปลี่�ยนเป็็นวััยต่า่ งๆ ตัวั อ่อ่ นมีี 3 วัยั วัยั 3 มีีขนาดประมาณ 6-8 มิลิ ลิเิ มตร ระยะตัวั อ่่อน มีคี วามสามารถสููงในการกิินเหยื่�อหรืือแมลงศััตรููพืืช ตััวอ่อ่ นวััย 1-3 ใช้เ้ วลาประมาณ 10-14 วััน (ที่่�อุุณหภูมู ิิ 25±2 องศาเซลเซียี ส) ตลอดระยะตััวอ่่อนสามารถกิินเพลี้�ยแป้ง้ ได้้ 400-800 ตัวั กข ค ก)-ค) ตวั อ่อนวัย 1-3 ของแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) 164 เอกสารวชิ าการ ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศัตรพู ื ช
ตัวอ่อนของแมลงชา้ งปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) กินเพลย้ี แปง้ มนั ส�ำปะหลัง ดักแด้ สังเกตภายนอกมีรูปร่างกลม ตัวอ่อนวัย 3 สร้างเส้นใยสีขาวปกคลุมล�ำตัวแล้วเข้าดักแด้อยู่ภายใน ตัวอ่อนเขา้ ดักแดต้ ิดกับใบพชื ระยะดกั แดป้ ระมาณ 9-11 วัน (อณุ หภูมิ 25±2 องศาเซลเซยี ส) ดักแดข้ องแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ตััวเต็็มวััย ตััวเต็็มวััยมีีลำำ�ตััวสีีเขีียวอ่่อน ขนาดลำำ�ตััวมีีความยาวจากหััวจนถึึงปลายปีีกประมาณ 1.5-2.0 เซนติเิ มตร ตาสุุกใสสีีเหลือื บทอง ปีกี สีเี ขีียวอ่อ่ นใส เห็็นเส้้นปีีกชัดั เจน (Net-winged insect) เมื่�อเกาะนิ่�ง ปีีกแนบลำำ�ตััวคล้้ายรููปหลัังคา เพศเมียี มีขี นาดใหญ่ก่ ว่า่ เพศผู้� หลัังจากจัับคู่�ผสมพันั ธุ์�แล้้ว 2-3 วันั เพศเมีียจึงึ เริ่�ม วางไข่่ เพศเมีีย 1 ตััว สามารถวางไข่ไ่ ด้้ประมาณ 200-300 ฟอง ตัวั เต็็มวััยมีีอายุปุ ระมาณ 15-30 วััน กข ก) ตวั เตม็ วยั ของแมลงชา้ งปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ข) ตัวเตม็ วยั เพศผู้และเพศเมยี ของแมลงชา้ งปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) เอกสารวชิ าการ 165 ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศตั รูพื ช
กลไกการทำ� ลายศัตรูพื ช แมลงช้้างปีีกใสระยะตััวอ่่อนเท่่านั้้�นที่�เป็็นแมลงห้ำำ�� มีีปากแบบแทงดููดเป็็นเขี้�ยวยาว โค้้งเรีียวเข้้าหากััน สำำ�หรัับจัับเหยื่�อ และดููดกิินน้ำำ��เลี้�ยง ตััวอ่่อนมีีนิิสััยค่่อนข้้างดุุร้้ายและมีีความสามารถสููงในการกิินจนเป็็นที่�รู้�จักกัันดีี ในชื่�อ สิิงห์์ล่่าเพลี้�ยอ่่อน (aphis-lions) ตััวอ่่อนแมลงช้้างปีีกใส (Chrysoperla sp.) 1 ตััว สามารถกิิน เพลี้�ยอ่่อนได้้ 100-600 ตัวั ตัวั อ่่อนแมลงช้า้ งปีกี ใส P. ramburi กินิ เพลี้�ยแป้ง้ ได้้ 400-800 ตัวั จะอำำ�พรางตััว โดยทำำ�ตััวให้้เหมืือนกัับเหยื่�อของมััน มีีผงแป้้งมาปกคลุุมลำำ�ตััว ตััวเต็็มวััยของแมลงช้้างปีีกใสกิินน้ำำ��หวานจาก เกสรดอกไม้้ และน้ำำ��เป็็นอาหารเท่า่ นั้้�น ตััวเต็็มวัยั พบในเวลากลางคืนื แต่เ่ วลากลางวัันจะพักั อยู่�ใต้้ใบพืืชและว่่องไวขึ้�น เมื่�อถึงึ เวลาเย็็น ทั้�งตัวั อ่อ่ นและตััวเต็ม็ วัยั ไม่ท่ ำำ�ลายพืชื แมลงช้างปีกใส P. ramburi สามารถพบได้ท่ัวไปในสภาพธรรมชาติ ท้ังในแปลงพืชผัก ไม้ผล พืชไร่ แต่การน�ำไปใช้ประโยชน์ที่มีประสิทธิภาพ และใช้ได้ดีในบางพ้ืนท่ี เช่น พืชท่ีปลูกในโรงเรือน ในบริเวณสวน ในบ้านเรือน หรือในพื้นที่ท่ีไม่ใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง แมลงศัตรูเป้าหมาย เช่น เพล้ียแป้ง เพล้ียอ่อน เพล้ียไฟ ไรแมงมมุ ไรแดง ตวั อ่อนแมลงหวขี่ าว ไข่ หนอนผเี ส้อื ขนาดเล็ก ฯลฯ กข คง ก)-ง) ตัวอ่อนของแมลงช้างปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) กินเหย่ือ 166 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช
วิธิ ีกี ารใช้ช้ ีีวภัณั ฑ์์ควบคุุมศััตรูพู ืื ช พื ชอาหารของแมลงศตั รูพื ช มะเขือเทศ พรกิ มะเขอื ฝ้าย มันส�ำปะหลัง องุ่น นอ้ ยหน่า ไมด้ อกไมป้ ระดบั เปน็ ตน้ แมลงศตั รพู ื ช เพล้ียแป้ง เพล้ียอ่อน เพลี้ยไฟ เพล้ียหอย แมลงหวี่ขาว ไรแดง ไรแมงมุม ไข่ของหนอนผีเสื้อ และ หนอนผีเสอื้ ศตั รพู ืชขนาดเลก็ ในโรงเรือน ปลอ่ ยแมลงช้างปกี ใสระยะตวั ออ่ นวัย 2 ในอัตรา 5-10 ตัว/ตารางเมตร ควรปล่อยทกุ ๆ 10 หรอื 14 วนั ในสภาพไร่ ปล่อยแมลงช้างปกี ใสระยะตัวอ่อนวยั 2 ในอตั รา 5,000-6,000 ตัว/ไร่ ควรปล่อยทกุ ๆ 10 หรอื 14 วนั ขอ้ ควรระวัง l ควรมีีการสำำ�รวจการระบาดของแมลงศััตรูพู ืชื อย่า่ งสม่ำำ��เสมอ l ควรปล่อ่ ยแมลงช้า้ งปีกี ใส ในเวลาเช้า้ หรือื เย็น็ หลีีกเลี่�ยงการใช้้สารเคมีีกำำ�จััดแมลง l ควรรักั ษาความชื้�นภายในแปลง มีีแหล่ง่ อาหารของตััวอ่อ่ นและตัวั เต็ม็ วัยั แมลงช้า้ งปีีกใส ขอ้ จำ� กัด l อััตราการใช้้แมลงช้า้ งปีีกใสขึ้�นอยู่่�กับั ชนิิดของพืืช และปริมิ าณของแมลงศััตรูพู ืชื l สามารถเปลี่�ยนอััตราการใช้้ หรือื จำำ�นวนครั้�งในการปล่อ่ ยแมลงช้า้ งปีกี ใสได้้ l ในการนำำ�ระยะตััวอ่่อนแมลงช้้างปีีกใสไปใช้้ต้้องแน่่ใจว่่าปริิมาณอาหารเพีียงพอในขณะขนส่่ง และ ควรปล่่อยภายใน 24 ชั่�วโมง l ตัวั เต็ม็ วััยแมลงช้า้ งปีกี ใสควรปล่่อยภายใน 24 ชั่�วโมง l ระยะไข่เ่ ก็็บไว้้ในตู้�เย็็นได้ไ้ ม่่เกินิ 48 ชั่�วโมง การผลิติ ขยายชีวี ภััณฑ์์ วิธีการมี 2 ขน้ั ตอน ดงั นี้ ขั้นตอนท่ี 1 ผลติ ขยายเพลย้ี แปง้ เพอื่ เป็นเหย่ือเลยี้ งตวั ออ่ นแมลงชา้ งปกี ใส เก็็บรวบรวมเพลี้�ยแป้ง้ จากแหล่ง่ ปลููกพืืชต่า่ งๆ ที่่�มีเี พลี้�ยแป้ง้ นำำ�มาเลี้�ยงบนผลฟักั ทอง โดยใช้ผ้ ลฟักั ทอง ขนาดเส้้นผ่า่ นศูนู ย์ก์ ลาง 20-25 เซนติเิ มตร วางผลฟัักทองในตะกร้า้ พลาสติกิ สี่�เหลี่�ยมขนาด 32x40x12 เซนติิเมตร จำำ�นวน 5-6 ลููก/ตะกร้้า เขี่�ยเพลี้�ยแป้้งหรืือนำำ�พืืชที่่�มีีเพลี้�ยแป้้งวางบนผลฟัักทองที่�อยู่�ในตะกร้้า ทิ้�งไว้้ประมาณ 20-25 วััน จะได้้เพลี้�ยแป้้งทั้�งตััวเต็็มวััยและตััวอ่่อนอยู่�บนผลฟัักทองสำำ�หรัับนำำ�ไปใช้้เลี้�ยงตััวอ่่อนของ แมลงชา้ งปกี ใส (อุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซยี ส) เอกสารวชิ าการ 167 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช
ก ขค ก)-ค) ผลฟกั ทองส�ำหรบั นำ� ไปใชเ้ ลี้ยงตวั ออ่ นของแมลงชา้ งปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ขัน้ ตอนท่ี 2 เลยี้ งขยายแมลงช้างปีกใส น�ำตัวเต็มวัยแมลงช้างปีกใส P. ramburi ในอัตราแมลงช้างปีกใสตัวเต็มวัยเพศผู้ 160 ตัว/เพศเมีย 240 ตวั ใส่กลอ่ งสีเ่ หล่ียมขนาด 35x45x12 เซนตเิ มตร ทร่ี องพน้ื กลอ่ งด้วยกระดาษ ภายในกลอ่ งตดิ กระดาษไข ท่มี ีน�ำ้ ผึง้ ผสมยสี ต์ เพอ่ื เปน็ อาหารของแมลงช้างปีกใสตวั เต็มวยั แล้วปดิ ฝากล่องดว้ ยผา้ ขาวบาง วางแผน่ สำ� ลีชุ่มนำ�้ ไว้้ด้้านบนผ้้าขาวบางเพื่�อให้ค้ วามชื้�น ตัวั เต็ม็ วััยแมลงช้า้ งปีกี ใสจะผสมพันั ธุ์�และวางไข่่ในกล่อ่ ง เปลี่�ยนกล่อ่ งเลี้�ยง ตััวเต็็มวััยแมลงช้้างปีีกใสทุุกๆ 3 วััน นำำ�ตััวเต็็มวััยแมลงช้้างปีีกใสย้้ายจากกล่่องเดิิมไปใส่่ในกล่่องใหม่่ที่่�มีีอาหาร เลี้�ยงตััวเต็็มวััยเหมืือนกล่่องแรก จากนั้�นนำำ�ผลฟัักทองที่่�มีีเพลี้�ยแป้้งจากขั้�นตอนที่� 1 วางในกล่่องที่�ได้้ย้้าย ตัวเตม็ วัยแมลงชา้ งปีกใสออกไปแลว้ เพราะในกลอ่ งทย่ี า้ ยตัวเตม็ วยั แมลงช้างออกไปแลว้ จะมีไข่ของแมลงชา้ งปกี ใส จึงต้องให้เพล้ียแป้งที่เลี้ยงจากขั้นตอนที่ 1 เป็นอาหาร ใช้กระดาษทิชชูท่ีตัดเป็นริ้วๆ วางรอบๆ ผลฟักทอง ภายในกล่อง ต่อจากน้ันปิดกล่องด้วยผ้าขาวบาง เมื่อไข่ฟักเป็นตัวอ่อนจะกินเพลี้ยแป้งเป็นอาหาร วางกล่อง ตัวอ่อนไว้ประมาณ 15-20 วัน เพ่ือให้ตัวอ่อนเจริญเติบโต (สามารถเก็บตัวอ่อนระยะน้ีไปปล่อยควบคุมแมลง ศัตรูพืชได้) จนกระท่ังเข้าดักแด้ จากน้ันเก็บดักแด้เพ่ือให้ออกเป็นตัวเต็มวัย (สามารถน�ำตัวเต็มวัยไปปล่อย ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้) เม่ือตัวอ่อนเข้าดักแด้ท�ำการแยกดักแด้ใส่ในกล่องใหม่ ให้น้�ำและความช้ืนโดยใช้ ส�ำลีชุ่มน้�ำใส่ในจานรองวางไว้ภายในกล่อง ข้างกล่องติดกระดาษไขท่ีมีน�้ำผ้ึงผสมยีสต์ไว้เพ่ือใช้เป็นแหล่งอาหาร ของตัวเต็มวัยท่ีออกจากดักแด้ 168 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช
กข ก) การเตรียมอาหาร (นำ�้ ผ้งึ ผสมยสี ต์) เลี้ยงตวั เต็มวัยแมลงช้างปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ข) กลอ่ งเลีย้ งตัวเต็มวยั แมลงชา้ งปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) กข ค การเลี้ยงตวั ออ่ นแมลงช้างปกี ใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) ก) กล่องเล้ยี งตัวอ่อนแมลงช้างปกี ใส ข) ช้นั เลีย้ งตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ค) ตวั ออ่ นแมลงช้างปกี ใสวยั 3 อายปุ ระมาณ 9-12 วนั กล่องเล้ยี งดักแด้แมลงชา้ งปีกใส Plesiochrysa ramburi (Schneider) เอกสารวิชาการ 169 ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช
Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=p8mR7t4ihOU https://www.youtube.com/watch?v=PMKp43nQXG8 บรรณานุกรม ประภััสสร เชยคำำ�แหง. 2551. แมลงห้ำำ��: แมลงช้้างปีกี ใส. หน้้า 19-25 ใน: เอกสารประกอบการประชุุมสัมั มนา “เทคโนโลยีีการใช้้ชีีวิินทรีีย์์ควบคุุมศััตรููพืืชทางการเกษตร” โรงแรมมารวยการ์์เด้้น 6-7 พฤษภาคม 2551. กลุ่�มกีฏี และสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร. กรุุงเทพฯ. ประภััสสร เชยคำำ�แหง. 2554. แมลงช้้างปีีกใสควบคุุมเพลี้้�ยแป้้งในมัันสำำ�ปะหลััง เอกสารแผ่่นพัับ กลุ่�มกีีฏ และสัตววิทยา ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. พิมพ์ มีนาคม 2554 จำ� นวน 10,000 แผน่ . ประภััสสร เชยคำำ�แหง. 2561. แมลงช้้างปีีกใสควบคุุมแมลงศััตรููพืืช เอกสารแผ่่นพัับ กลุ่�มกีีฏและสััตววิิทยา ส�ำนักวิจยั พฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวชิ าการเกษตร. พิมพ์ มิถุนายน 2561 จ�ำนวน 10,000 แผน่ . พิิมลพร นันั ทะ. 2545. แมลงช้า้ งปีีกใส. ใน: ศััตรููธรรมชาติิหัวั ใจของ IPM. กองกีฏี และสััตววิิทยา กรมวิิชาการ เกษตร. หน้า้ 14-17. Tauber, C.A., M.J. Tauder and G.S. Albuquebque. 2001. Plesiochrysa brasiliensis (Neuroptera: Chrysopidae) larval stages, biology Myrmeleontidae, and taxonomic relationships. Ann. Entomol. Soc. A. 94: 858-865. ตดิ ตอ่ สอบถามขอ้ มูลเพิม่ เตมิ : กลมุ่ งานวิจัยการปราบศตั รูพชื ทางชีวภาพ กล่มุ กฏี และสัตววทิ ยา สำ� นกั วจิ ัยพัฒนาการอารกั ขาพืช โทร. 0 2579 7580 ต่อ 134 170 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช
มวนพิ ฆาต Eocanthecona furcellata ชือ่ วิทยาศาสตร:์ Eocanthecona furcellata (Wolff) ชือ่ สามัญ: predatory stink bug/ มวนพิฆาต วงศ์: Pentatomidae อนั ดบั : Hemiptera ทีม่ าและความสำ� คญั /ปัญหาศตั รูพื ช มวนพิฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิชนิดิ หนึ่�งในกลุ่�มของ “แมลงห้ำำ�� (predators)” มีีความสำำ�คััญและมีีประโยชน์์ทางการเกษตรอย่่างมาก เนื่�องจากสามารถกิินหนอนศััตรููพืืชได้้ หลายชนิิดโดยเฉพาะศััตรููพืืชในกลุ่�มหนอนผีีเสื้�อ เช่่น หนอนกระทู้้�ผััก Spodoptera litura หนอนกระทู้�หอม Spodoptera exigua หนอนกระทู้้�ข้้าวโพดลายจุดุ Spodoptera frugiperda หนอนเจาะสมอฝ้้าย Helicoverpa armigera หนอนแก้้วส้้ม Papilio demoleus L. หนอนหััวดำำ�มะพร้้าว Opisina arenosella Walker หรืือแม้้กระทั่�งศััตรููพืืชในระยะสารเคมีีกำำ�จััดแมลงทำำ�ลายได้้ยาก เช่่น ระยะดัักแด้้ มวนพิิฆาตมีีพฤติิกรรมเป็็น แมลงห้ำำ��ทั้้�งในระยะตััวอ่่อนและตััวเต็็มวััย เพศผู้�และเพศเมีียสามารถกิินแมลงศััตรููพืืชได้้หลายชนิิด และกิินได้้ วัันละหลายตััว สามารถล่่าเหยื่�อที่่�มีีขนาดใหญ่่กว่่าและค้้นหาแมลงศััตรููพืืชได้้แม้้ว่่าแมลงศััตรููพืืชจะหลบซ่่อน หรืือหลบหนีีก็็ตาม มวนพิิฆาตมีีวงจรชีีวิิตที่�สั้�นและเลี้�ยงขยายได้้ง่่าย จึึงสามารถเลี้�ยงขยายเพิ่�มปริิมาณได้้รวดเร็็ว และนำำ�ไปปล่่อยเพื่�อควบคุุมแมลงศััตรููพืืชได้้ทั้�งในสภาพสวนและสภาพไร่่ โดยสามารถดำำ�รงชีีวิิตอยู่�ได้้เอง และ เอกสารวิชาการ 171 ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช
ยัังสามารถขยายพัันธุ์�เพิ่�มปริิมาณได้้ในธรรมชาติิ ส่่งผลให้้เกิิดความสมดุุลในธรรมชาติิควบคุุมแมลงศััตรููพืืช ไม่่ให้้ระบาด จึึงนัับเป็็นแมลงห้ำำ��ที่่�มีีศัักยภาพสููงในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืช อีีกทั้�งสามารถนำำ�ไปใช้้ร่่วมกัับ วิิธีีการควบคุุมศััตรููพืืชอื่�นๆ ในการควบคุุมศััตรููพืืชโดยวิิธีีผสมผสาน เป็็นการช่่วยลดหรืือทดแทนการใช้้สารเคมีี กำำ�จััดแมลงเพิ่�มคุุณภาพผลผลิติ ทางการเกษตรให้้มีีความปลอดภััยต่อ่ ผู้�บริิโภค เกษตรกร และสภาพแวดล้อ้ ม วงจรชีวติ มวนพิฆาตมีการเปล่ียนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโตแบบเปล่ียนแปลงรูปร่างทีละน้อย (gradual metamorphosis) แมลงจะเจริญจากไขเ่ ป็นตัวออ่ น (nymph) และเปน็ ตัวเตม็ วัย (adult) วงจรชวี ิตของมวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) ไข่่ มวนพิิฆาตเมื่�อลอกคราบออกมาเป็็นตััวเต็็มวััยได้้ประมาณ 4 วััน จะเริ่�มผสมพัันธุ์� และหลัังจากนี้� 3 วััน จะเริ่�มวางไข่่บนใบ กิ่�ง ลำำ�ต้้น ไข่่มีีลัักษณะกลมขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 0.5 มิิลลิิเมตร สีีน้ำำ��ตาล เป็็นมัันสะท้้อนแสง และกลายเป็็นสีีส้้มเมื่�อใกล้้ฟััก มวนพิิฆาตจะวางไข่่เป็็นกลุ่�มเรีียงกัันเป็็นแถวจำำ�นวน 20-100 ฟอง/กลุ่�ม ไข่ม่ ีีอายุุ 7-8 วััน 172 เอกสารวชิ าการ ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช
ไข่ข่ องมวนพิฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) ตัวอ่อน ตัวอ่อนวัย 1 หลังฟักออกมาจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเกาะน่ิงอยู่กับท่ี มีการเคล่ือนไหว น้อยมาก ยังไม่มีพฤติกรรมเป็นแมลงห้�ำ ด�ำรงชีวิตด้วยการดูดกินน้�ำท่ีเกาะอยู่ตามต้น ใบ ก่ิงพืช เป็นอาหาร ตัวอ่อนวัยนี้มีอายุ 2-3 วัน การเป็นแมลงห�้ำของมวนพิฆาตจะเริ่มเมื่อเป็นระยะตัวอ่อนวัย 2 จนถึงระยะ ตัวเต็มวัย มวนพิฆาตต้ังแต่วัย 2 เป็นต้นไปจะไม่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม แต่จะแยกย้ายออกหาเหยื่อคือหนอนของ ศัตรูพืช ตวั อ่อนของมวนพิฆาตมี 5 วยั ใชเ้ วลาทั้งหมดประมาณ 18 วนั แล้วเปล่ียนเปน็ ตวั เต็มวยั ตวั ออ่ นของมวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) ตัวเต็มวัย เป็นแมลงท่ีมีขนาดใหญ่ ล�ำตัวมีรูปร่างคล้ายโล่ห์ ส่วนหัวที่ติดกับอกไม่แคบ ไม่มีตาเดี่ยว หนวดมีลักษณะเป็นเส้นด้าย (filiform) มีจ�ำนวน 5 ปล้อง มีปากแบบเจาะดูด (piercing-sucking type) มีลักษณะเป็นท่อยาวคล้ายเข็ม ประกอบด้วย ริมฝีปากบน (labrum) กราม (mandible) ฟัน (maxilla) และริมฝีปากล่าง (labium) ปากมี 4 ปล้อง มีปีก 2 คู่ ปีกคู่หน้าส่วนโคนปีกมีลักษณะแข็ง (corium) ส่วนปลายปีกเป็นแผ่นบางอ่อน (membrane) ลักษณะปีกเป็นแบบ hemelytron มีลักษณะยาว แคบ ปีกคู่หลังอ่อนเป็นแผ่นบางตลอดปีก สั้นกว่าปีกคู่หน้า เมื่อพับปีกทั้งสองคู่จะแบนราบไปตามสันหลัง โดย ปลายปีีกส่่วนที่�เป็็นผนัังบางจะซ้้อนกััน สัันหลัังอกปล้้องแรกที่่�บ่่าทั้้�งสองข้้างของตััวเต็็มวััยจะมีีหนามข้้างละอััน แผ่่นสามเหลี่�ยมสัันหลัังอกมีีขนาดใหญ่่เป็็นรููปสามเหลี่�ยมยาวเกืือบครึ่�งของลำำ�ตััว ไม่่มีีหนาม ขอบลำำ�ตััวด้้านข้้าง ไม่ข่ ยายออกมา ปีกี คลุมุ ลำำ�ตัวั มิิด ฝ่า่ เท้า้ (tarsi) มีจี ำำ�นวน 3 ปล้อ้ ง เอกสารวชิ าการ 173 ชีวภัณฑ์ป้องกันกำ� จัดศัตรพู ื ช
ตวั เตม็ วยั ของมวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) กลไกการทำ� ลายศัตรพู ื ช การเป็็นแมลงห้ำำ��ของมวนพิิฆาต E. furcellata เริ่�มเมื่�อเป็็นระยะตััวอ่่อนวััย 2 จนถึึงระยะตััวเต็็มวััย มวนพิิฆาตมีีปากแบบแทงดููดคล้้ายเข็็มฉีีดยา ปกติิปากของมวนพิิฆาตจะพัับเก็็บไว้้ใต้้ท้้อง แต่่เมื่�อเจอเหยื่�อ จึึงตวััดออกมาด้้านหน้้าและเข้้าจู่่�โจมเหยื่�อทัันทีี มวนพิิฆาตกิินเหยื่�อโดยการแทงปากเข้้าไปในตััวเหยื่�อ แล้้ว ปล่อยสารพิษ (venom) ท�ำให้เหย่ือเป็นอัมพาตไม่สามารถเคล่ือนไหวได้ จากน้ันดูดกินของเหลวจากตัวเหย่ือ จนเหย่ือตายในท่ีสุด แล้วจึงท้ิงเหย่ือเดิมเพื่อไปหาเหย่ือใหม่ต่อไป มวนพิฆาตสามารถกินหนอนได้ทุกขนาด ตลอดชีวิตของมวนพิฆาต 1 ตัว กินหนอนศตั รูพืชได้ประมาณ 200-300 ตวั ลักษณะการทำ� ลายหนอนกระทูผ้ ักของมวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) 174 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช
วธิ ีการใชช้ ีวภณั ฑค์ วบคุมศัตรพู ื ช หากมีีการระบาดของหนอนศััตรููพืืช สามารถนำำ�มวนพิิฆาตไปใช้้ควบคุุมหนอนศััตรููพืืชโดยการปล่่อย มวนพิฆาตระยะตัวออ่ นวยั 3 ขึน้ ไป หรือหลงั ฟักออกจากไข่ประมาณ 14-15 วัน โดยปล่อยกระจายให้ท่วั แปลง หรอื บรเิ วณทมี่ ีหนอนระบาด ซง่ึ จะลดปริมาณหนอนศัตรพู ชื ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ถงึ 80-90% และควบคุม การระบาดภายในเวลา 5 วันหลังปลอ่ ย การใช้มวนพิฆาต E. furcellata ควบคุมการระบาดของหนอนศตั รพู ชื ในพชื ต่างๆ พืช แมลงศัตรพู ืช อัตราการปล่อยมวนพิฆาต หนอ่ ไมฝ้ ร่งั หนอนกระทหู้ อม Spodoptera exigua 3,200 ตััว/ไร่/่ ครั้�ง/การระบาด 1 ครั้�ง หนอนเจาะสมอฝา้ ย Helicoverpa armigera องุ่น หนอนกระทู้ผกั Spodoptera litura 2,400 ตััว/ไร่/่ ครั้�ง/การระบาด 1 ครั้�ง ถ่ัวฝกั ยาว หนอนกระทู้หอม Spodoptera exigua 3,200 ตััว/ไร่/่ ครั้�ง/การระบาด 1 ครั้�ง หนอนเจาะสมอฝ้าย Helicoverpa armigera ถัว่ เหลืองและ หนอนกระทหู้ อม Spodoptera exigua 3,900 ตััว/ไร่่/ครั้�ง/การระบาด 1 ครั้�ง ถั่วเขยี ว หนอนเจาะสมอฝ้าย Helicoverpa armigera 500 ตััว/ไร่/่ ครั้�ง เมื่�อข้้าวโพดอายุุครบ 30 วััน ขา้ วโพดหวาน หนอนกระทผู้ กั Spodoptera litura ทุุก 7 วันั จำำ�นวน 2-3 ครั้�ง หนอนกระทผู้ ัก Spodoptera litura หนอนกระทขู้ า้ วโพดลายจุด Spodoptera frugiperda ข้อควรระวงั หลกี เลีย่ งการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลงในแปลงทมี่ กี ารปลอ่ ยมวนพิฆาต E. furcellata ในกรณีที่มีการระบาด ของแมลงศัตรูพืชรุนแรง ควรพ่นสารเคมีก�ำจัดแมลงก่อนปล่อยมวนพิฆาตอย่างน้อย 15 วัน หรือหลังปล่อย มวนพิฆาต 15 วัน เอกสารวชิ าการ 175 ชวี ภัณฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช
กข คง จฉ ก) ตวั อ่อนมวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) กนิ หนอนหัวดำ� มะพร้าว ข) ตัวออ่ นมวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) กนิ หนอนเจาะฝักขา้ วโพด ค) มวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) กินหนอนผีเสอื้ ใบรัก ง) มวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) กินหนอนแกว้ ส้ม จ) มวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata (Wolff) กินหนอนกระทูข้ ้าวโพดลายจุด ฉ) ตัวอ่อนมวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) กนิ หนอนกระทู้ผกั 176 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช
การผลิตขยายชีวภัณฑ์ ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช ได้ศึกษาพัฒนาการเลี้ยงขยายมวนพิฆาตให้มีปริมาณมาก และถ่ายทอด ให้แก่หน่วยงาน กลุ่มเกษตรกรหรือผู้สนใจ น�ำไปเลี้ยงขยายเพ่ือน�ำมวนพิฆาตไปปล่อยควบคุมแมลงศัตรูพืช ซ่ึงการเล้ียงขยายมวนพิฆาตนั้นสามารถใช้หนอนได้หลายชนิด เช่น หนอนนก หนอนกระทู้ต่างๆ หนอน ผีเสื้อข้าวสาร หนอนกินรังผึ้ง หรือแม้กระท่ังหนอนไหม ก็สามารถใช้เป็นเหย่ืออาหารได้ตามความสะดวกและ ความเหมาะสมของแต่ละพนื้ ที่ การผลิตขยายหนอนนก Tenebrio molitor L. เพ่ื อเปน็ เหย่อื อาหาร วิธีการ 1. นำ� ดักแดห้ นอนนกทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละสมบูรณ์จำ� นวน 50 กรัม ใส่ลงในถาดพลาสติก 1 ถาด จ�ำนวน ท่ีเริ่มผลิตต่อถาดเป็นจ�ำนวนท่ีเหมาะสมท่ีท�ำให้จ�ำนวนหนอนและดักแด้ที่ผลิตได้มีปริมาณท่ีพอเหมาะที่ท�ำให้ หนอนและดักแด้ทกุ ตวั มขี นาดใหญ่และสมบรู ณ์ เมื่อดักแดม้ อี ายุ 8 วัน จะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย 2. โรยอาหารไก่ลงในถาด 50 กรัม เมื่อตัวเต็มวัยอายุ 7-10 วัน จะเริ่มวางไข่ติดบนพ้ืนถาดโดยมี เศษอาหารปกคลุม ปล่อยไว้จนตัวเตม็ วยั ตายหมด และไขฟ่ ักเป็นหนอนขนาดเลก็ 3. ใช้้ตะแกรงร่่อนหนอนออกจากอาหารใส่่ลงถาดใบใหม่่ เติิมอาหารไก่่จำำ�นวน 50 กรััม/ถาด ให้้ อาหารเสริม เช่น ฟักทอง แตงกวา หรือเศษผักต่างๆ สัปดาห์ละ 1 ครงั้ 4. หนอนนกต้ังแต่วัย 1-13 เล้ียงด้วยอาหารไก่ เมื่ออาหารในถาดถูกกินจนป่นจะเติมอาหารตาม ความเหมาะสม เมื่อหนอนนกลอกคราบครัง้ สดุ ท้ายจะเปลยี่ นเป็นดกั แด้ อาหารจะถกู กนิ จนปน่ เกอื บหมด 5. เม่ือหนอนมอี ายปุ ระมาณ 100 วัน จะลอกคราบเปน็ ดักแด้ 6. เก็บดักแดท้ ไ่ี ดเ้ พื่อใช้เลย้ี งมวนพิฆาต 7. ดักแด้บางสว่ นทำ� การเลย้ี งต่อ ดกั แด้จะออกเปน็ ตัวเตม็ วัย เพ่อื การผลิตหนอนนกรอบถดั ไป 8. การท�ำความสะอาดถาดเล้ียงหนอน อาจใช้พัดหรือพัดลมพัดคราบผนังล�ำตัวที่หนอนลอกออกมา และใช้ตะแกรงร่อนเศษอาหารท่ีป่นและมูลหนอนออกท้ิงทุก 30 วัน จนถึงหนอนอายุ 90 วัน และหลังจากนี้ ทุก 10 วนั จะใช้พดั หรอื พดั ลมพดั คราบผนงั ลำ� ตัวท่หี นอนลอกออกมาเพื่อสะดวกในการเก็บดกั แด้ การเล้ียงขยายหนอนนก Tenebrio molitor L. เอกสารวิชาการ 177 ชวี ภณั ฑป์ ้องกันก�ำจดั ศัตรูพื ช
ดักแด้หนอนนกทคี่ ดั เลอื กสำ� หรับเป็นพ่อแม่พันธุ์ ตัวเตม็ วยั ผสมพนั ธ์ุและวางไข่ การเลยี้ งหนอนนกวัยเลก็ การผลิตขยายมวนพิ ฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) 1. เลี้ยงมวนพิฆาตพ่อแม่พันธุ์จ�ำนวน 40 คู่ ในกล่องพลาสติก ใช้ส�ำลีชุบน้�ำพอหมาดวางบนจานรอง พลาสตกิ และให้หนอนนกเป็นอาหาร มวนพิฆาตเริ่มวางไขห่ ลังจากเป็นตวั เตม็ วยั 7 วัน เก็บไขส่ ัปดาห์ละ 2 คร้ัง แยกไขม่ วนพิฆาตใสก่ ล่องพลาสตกิ เพอ่ื รอการฟัก 2. ไข่่ของมวนพิิฆาตจะฟัักภายใน 6-7 วััน ให้้น้ำำ��เปล่่าและดัักแด้้หนอนนกเป็็นอาหารของมวนพิิฆาต วัย 1-2 3. เล้ียงมวนพิฆาตตัวอ่อนวัย 3-5 กล่องละ 150 ตัว โดยให้หนอนนกเป็นอาหาร เก็บซากหนอนตาย ท�ำความสะอาดกลอ่ งเลี้ยงหรอื เปลีย่ นกล่องเล้ียงอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะครั้ง 4. แบ่งตัวอ่อนวัย 3-4 ไปปล่อยเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช บางส่วนเล้ียงต่อเป็นตัวเต็มวัยเพื่อเป็น พ่อแม่พันธตุ์ ่อไป 178 เอกสารวชิ าการ ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช
Link / QR code / Clip ของชวี ภัณฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=I3MkBvfMaZI&t=64s https://www.youtube.com/watch?v=BPlrt0TLa8o https://www.youtube.com/watch?v=Sz4dfH8XpU0 บรรณานุกรม พิมิ ลพร นันั ทะ. 2545. ศััตรูธู รรมชาติหิ ัวั ใจของ IPM. กองกีฏี และสััตววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร. 215 หน้้า. รััตนา นชะพงษ์์ สุพุ ัันธา จิิตต์์ชื่�น และพิิมลพร นัันทะ. 2537. ศึึกษาอััตราการปล่่อยมวนพิิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) เพื่�อควบคุมุ หนอนกระทู้�หอมในองุ่�น. หน้า้ 96-104. ใน: รายงานผลการค้้นคว้า้ และวิจิ ัยั ปีี 2537. กลุ่�มงานวิจิ ัยั การปราบศัตั รูพู ืชื ทางชีวี ภาพ กองกีฏี และสัตั ววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร. รััตนา นชะพงษ์์. 2544. การควบคุมุ แมลงศัตั รูพู ืืชโดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้้า 22-35. ใน: เอกสารประกอบการอบรม “แมลง-สััตว์ศ์ ัตั รููพืืช และการป้้องกัันกำ�ำ จััด” ครั้�งที่่� 11. 19-30 มีนี าคม 2544. กองกีีฏและสััตววิทิ ยา กรมวิิชาการเกษตร กรุงุ เทพฯ. รััตนา นชะพงษ์์. 2544. การใช้้มวนพิิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) ในการควบคุุมแมลงศััตรููพืืช. หน้้า 208-211. ใน: รายงานผลการดำ�ำ เนิินงาน การป้้องกันั กำำ�จััดศัตั รูพู ืืชโดยวิิธีผี สมผสาน ครั้ง� ที่่� 4. 29-31 สงิ หาคม 2544. โรงแรมรีเจนท์ชะอำ� เพชรบรุ ี. รัตั นา นชะพงษ์์. 2544. การควบคุมุ แมลงศัตั รููพืืช โดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้า้ 87-110. ใน: เอกสารวิิชาการ การควบคุุม แมลงศัตั รููพืืชโดยชีวี วิธิ ีี เพื่่อ� การเกษตรยั่ง� ยืืน. กองกีฏี และสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร กรุุงเทพฯ. รััตนา นชะพงษ์์. 2551. มวนพิิฆาต. หน้า้ 27-42. ใน: เอกสารวิิชาการเทคโนโลยีีการใช้ช้ ีวี ิินทรีีย์์ควบคุุมศัตั รูพู ืืช ทางการเกษตร. กลุ่�มกีฏี และสัตั ววิทิ ยา สำำ�นักั วิจิ ัยั พัฒั นาการอารักั ขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร กรุงุ เทพฯ. สมชััย สุวุ งศ์์ศัักดิ์์ศ� รีี สาทิพิ ย์์ มาลีี ประภััสสร เชยคำำ�แหง ภััทรพร สรรพนุุเคราะห์์ และนัันทนััช พินิ ศรี.ี 2561. การควบคุุมแมลงศัตั รูพู ืืชโดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้า้ 18-43. ใน: เอกสารประกอบการอบรม “แมลง-สัตั ว์์ ศัตั รููพืืช และการป้้องกันั กำ�ำ จัดั ” ครั้�งที่่� 18. 17-21 ธันั วาคม 2561. สำำ�นัักวิจิ ัยั พััฒนาการอารักั ขาพืชื กรมวิิชาการเกษตร. กรุุงเทพฯ. สาทิิพย์์ มาลี.ี 2561. การใช้ม้ วนพิิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff) ควบคุมุ แมลงศััตรููพืืช หน้า้ 48-51. ใน: เอกสารวิิชาการชีีวภััณฑ์์กำำ�จััดศััตรููพืืชเพื่่�อเกษตรยั่�งยืืน. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิชาการเกษตร กรงุ เทพ. สาทิิพย์์ มาลี.ี 2561. การผลิิตขยายมวนพิิฆาต. หน้า้ 47. ใน: คู่่�มืือการผลิติ ขยายชีวี ภัณั ฑ์์อย่า่ งง่่าย. สำำ�นัักวิจิ ััย พัฒนาการอารกั ขาพชื กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพ. ตดิ ต่อสอบถามขอ้ มลู เพ่มิ เติม: กลมุ่ งานวิจยั การปราบศตั รูพืชทางชีวภาพ กลมุ่ กฏี และสัตววทิ ยา สำ� นกั วจิ ัยพัฒนาการอารักขาพชื โทร. 0 2579 7580 ต่อ 154 เอกสารวชิ าการ 179 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช
มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor ชื่�อวิิทยาศาสตร์:์ Sycanus versicolor Dohrn. ชื่อสามญั : assassin bug/ มวนเพชฌฆาต วงศ:์ Reduviidae อันดับ: Hemiptera ทีม่ าและความส�ำคัญ/ปัญหาศัตรูพื ช มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. เป็น็ แมลงศัตั รูธู รรมชาติิชนิดิ หนึ่�งในกลุ่�มของ “แมลงห้ำำ�� (predators)” ทั้�งในระยะตััวอ่่อน และตััวเต็็มวััย มวนที่�เป็็นพวกแมลงห้ำำ��ส่่วนใหญ่่อยู่�ในวงศ์์ Reduviidae มวนตััวห้ำำ��ในวงศ์์นี้�หลายชนิิดเป็็นมวนตััวห้ำำ��ที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงในการทำำ�ลายหนอนศััตรููพืืช มีีอุุปนิิสััยขยัันและ มีีคุุณค่่าทางเศรษฐกิิจในการทำำ�ลายแมลงศััตรููพืืช สามารถเลี้�ยงขยายพัันธุ์�ได้้ดีี มวนเพชฌฆาตสกุุล Sycanus ที่�พบมากในประเทศไทยมีี 3 ชนิดิ คืือ S. versicolor, S. collaris และ S. croceovittatus สามารถพบได้้ทั่�วไป ในธรรมชาติิ โดยมวนเพชฌฆาต S. versicolor เป็็นชนิิดที่�พบบ่อ่ ยและพบมากกว่า่ อีกี 2 ชนิดิ มวนเพชฌฆาตในสกุุล Sycanus สามารถดำำ�รงชีีวิิตอยู่�ได้้ทั้�งในสภาพสวนและสภาพไร่่ เช่่น ถั่�วเหลืือง ถั่�วเขีียว ข้้าวโพด ทานตะวััน ฝ้้าย ข้้าว ส้้ม ไม้ผ้ ลอื่�นๆ พบแพร่ก่ ระจายทั่�วไปในจีีน ศรีีลัังกา และพม่า่ เป็น็ ต้น้ สำำ�หรับั ประเทศไทย พบมวนเพชฌฆาตชนิิด S. versicolor, S. collaris และ S. croceovittatus ในภาคกลาง ที่่�จัังหวััดเพชรบููรณ์์ กาญจนบุุรีี เพชรบุุรีี อุุทััยธานีี และกรุุงเทพฯ ภาคเหนืือที่่�จัังหวััดเชีียงใหม่่ และแพร่่ ภาคตะวันั ออกเฉียี งเหนืือที่่�จัังหวััดขอนแก่่น และเลย ภาคใต้ท้ ี่่�จังั หวััดสงขลา ชุุมพร และสุุราษฎร์ธ์ านีี 180 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช
มวนเพชฌฆาตเป็นมวนตัวห้�ำท่ีมีวงจรชีวิตค่อนข้างยาว โดยมีระยะตัวอ่อนนานถึง 50-70 วัน ดังน้ัน การน�ำมวนเพชฌฆาตระยะตัวอ่อนไปปล่อยเพื่อควบคุมศัตรูพืช จะช่วยท�ำให้มวนเพชฌฆาตอยู่ในแปลงปลูก และสามารถควบคุมศัตรูพืชได้นาน อีกท้ังการน�ำมวนเพชฌฆาตไปใช้ควบคุมศัตรูพืชสามารถใช้ร่วมกับวิธีการ ควบคุมศัตรูพืชอื่นๆ ในการควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานได้ เป็นการช่วยลดการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง ลดต้นทนุ การผลติ ลดพษิ ตกคา้ งในผลติ ผลเกษตร เพมิ่ สขุ อนามยั แกผ่ ู้ผลติ และผ้บู ริโภค และคมุ้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม อันจะเป็นแนวทางนำ� ไปสู่ระบบการเกษตรท่ยี ่งั ยืนตอ่ ไป วงจรชีวี ิติ ของมวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. วงจรชีวติ มวนเพชฌฆาตมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโตแบบเปลี่ยนแปลงรูปร่างทีละน้อย (gradual metamorphosis) แมลงจะเจรญิ จากไข่เป็นตวั ออ่ น (nymph) และเปน็ ตวั เตม็ วยั (adult) ไข่่ มวนเพชฌฆาตตััวเต็็มวััย อายุุประมาณ 14-19 วััน จะเริ่�มวางไข่่บนใบ กิ่�ง หรืือลำำ�ต้้น ไข่ม่ ีีลัักษณะ ทรงกระบอกปลายมน เพศเมีียขัับเมืือกสีีน้ำำ��ตาลอ่่อนเพื่�อยึึดกลุ่�มไข่่ติิดกัับพื้�น และขัับเมืือกสีีขาวคล้้ายแป้้ง คลุุมกลุ่�มไข่่ทั้�งด้้านบนและด้้านข้้าง ต่่อมาเมืือกนี้�จะแข็็งตััว มวนเพชฌฆาตวางไข่่เป็็นกลุ่�มเรีียงกัันเป็็นแถว จำำ�นวน 110 ฟอง/กลุ่�ม ไข่ม่ ีอี ายุุ 13-17 วััน ไข่ฟ่ ักั เป็็นตัวั อ่่อนวััย 1 ได้ป้ ระมาณ 85% เอกสารวชิ าการ 181 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช
ตวั อ่อน ตัวออ่ นมสี แี ดง ลักษณะรปู รา่ งคล้ายมดแดง ตัวออ่ นวัย 1 จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มอายุ 10-15 วนั ตวั ออ่ นมี 5-6 วัย ใชเ้ วลาทงั้ หมด 50-70 วัน แลว้ จะเปลี่ยนเป็นตวั เต็มวัย ตัวเตม็ วยั เป็นมวนขนาดใหญ่ ความยาวจากส่วนปลายหวั ถงึ ปลายลำ� ตวั 1.7-2.2 เซนติเมตร ล�ำตวั ยาว รูปไข่ ส่วนหัวยาวเท่ากับความยาวของสันหลังอกปล้องแรก (pronotum) และแผ่นสามเหลี่ยมสันหลังอก (scutellum) รวมกัน ส่วนหลังตาแคบคล้ายคอ บริเวณส่วนหลังตามีความยาวมากกว่าบริเวณส่วนหน้าของตา มีตารวม 2 ตา และตาเดี่ยว 2 ตาอยู่ใต้ตารวม หนวดมี 4 ปล้อง หนวดปล้องแรกยาวเท่ากับต้นขา (femur) ของขาค่หู น้า ปากมีลกั ษณะเป็นแทง่ ยาวมี 3 ปลอ้ ง ปลอ้ งที่ 2 ยาวทสี่ ดุ ปลอ้ งสุดท้ายส้ันทส่ี ดุ ปากมีลักษณะ โค้งงอเข้าไปอยู่ในร่อง (groove) ท่ีแผ่นแข็งของอกปล้องแรก (prosternum) สันหลังอกปล้องแรกก่อนถึง กึ่งกลางปล้องจะคอดท�ำให้สันหลังอกปล้องแรกถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน มีลักษณะโค้งนูน โดยส่วนหน้า (anterior lobe) จะแคบกว่าส่วนท้าย (posterior lobe) ซึ่งส่วนท้ายจะมีลักษณะเป็นหลุมขรุขระ สันหลังอกปล้องแรก ไม่มีหนาม แผ่นสามเหล่ียมสันหลังมีหนาม 1 อัน มีปีก 2 คู่ ปีกคู่หน้าบริเวณ 1 ใน 3 ของส่วนโคนปีก มีลักษณะแข็ง (corium) ส่วนปลายปีกเป็นแผ่นบางอ่อน (membrane) ลักษณะปีกเป็นแบบ hemelytron ขอบลำำ�ตััวด้้านข้้างของส่่วนท้้องขยายใหญ่่และโค้้งยกขึ้�นจนปีีกคลุุมไม่่มิิด ตััวเต็็มวััยมีีสีีแดงสดปนดำำ� ตััวเต็็มวััย เพศเมีียและเพศผู้้�มีีอายุุ 40-84 วััน (57.6+29.6 วันั ) และ 30-57 วััน (37.1+20.8 วันั ) ตามลำำ�ดัับ เพศเมีีย 1 ตััว วางไข่่ 4-5 ครั้�ง มีีจำำ�นวนไข่่ 480-870 ฟอง กลไกการทำ� ลายศตั รูพื ช มวนเพชฌฆาต S. versicolor มีปากแบบแทงดูด ท�ำลายเหยื่อโดยใช้ปากที่มีลักษณะคล้ายเข็มแทง เข้าไปในล�ำตัวหนอนศัตรูพืชแล้วปล่อยสารพิษ (venom) ท�ำให้หนอนเป็นอัมพาตไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ จากน้ันจะดดู กนิ ของเหลวภายในตัวหนอนจนหนอนแห้งตาย แลว้ จึงทง้ิ เหย่อื เพอ่ื ไปหาเหย่อื ใหม่ตอ่ ไป มวนเพชฌฆาตมีประสิทธิภาพในการท�ำลายหนอนได้ทุกขนาด โดยพบว่ามวนเพชฌฆาตระยะตัวอ่อน ดูดู กิินหนอนกระทู้้�ผัักวััย 3 ได้ป้ ระมาณ 60 ตัวั ระยะตััวเต็ม็ วััยดูดู กิินหนอนได้ป้ ระมาณ 70 ตััว เฉลี่�ยมวนเพชฌฆาต ดููดกิินหนอนได้ป้ ระมาณ 1-2 ตัวั /วััน การเข้า้ ทำำ�ลายศััตรูพู ืชื ของมวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. 182 เอกสารวชิ าการ ชีวภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช
วธิ ีการใช้ชวี ภณั ฑใ์ นการควบคุมศตั รพู ื ช การนำ� มวนเพชฌฆาต S. versicolor ไปปลอ่ ยในแปลงเพื่อควบคุมศตั รพู ชื น้ัน ควรปลอ่ ยมวนเพชฌฆาต ระยะตัวอ่อนต้ังแต่ตัวอ่อนวัย 4 ขึ้นไป เพราะเป็นวัยที่เริ่มมีประสิทธิภาพสูงในการท�ำลายหนอน และสามารถ อยูร่ อดในธรรมชาตไิ ด้ดี มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. กิินหนอนกระทู้้�ผักั Spodoptera litura Fabricius มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. กนิ หนอนกระทขู้ า้ วโพดลายจดุ Spodoptera frugiperda JE Smith เอกสารวิชาการ 183 ชีวภัณฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช
การผลิตขยายชีวภัณฑ์ การผลิตมวนเพชฌฆาตเป็นชีวภัณฑ์ เลือกใช้หนอนนกเป็นเหย่ืออาหารจะเหมาะสมที่สุดในการผลิต เพราะสามารถหาซือ้ ไดง้ า่ ย มีต้นทุนการผลติ ตำ�่ และท�ำให้ผลติ ขยายมวนเพชฌฆาตไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ การผลิตขยายหนอนนก Tenebrio molitor L. เพ่ื อเป็นเหย่ืออาหาร วิธีการ ในการผลิิตขยายหนอนนก Tenebrio molitor L. ให้้ได้้ปริิมาณมาก มีีอุุปกรณ์์และวิิธีีการผลิิตขยาย เช่่นเดียี วกับั การผลิิตมวนพิิฆาต การผลิิตขยายมวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. 1. เลี้�ยงมวนเพชฌฆาตพ่่อแม่พ่ ันั ธุ์์�จำำ�นวน 40 คู่� ในกล่่องพลาสติิก ใช้้สำำ�ลีชี ุุบน้ำำ��พอหมาดวางบนจานรอง พลาสติิก และให้้หนอนนกเป็็นอาหาร มวนเพชฌฆาตเริ่�มวางไข่่หลัังจากเป็็นตััวเต็็มวััยประมาณ 14 วััน เก็็บไข่่ สััปดาห์์ละ 1-2 ครั้�ง แยกไข่่มวนเพชฌฆาตใส่ก่ ล่อ่ งพลาสติิกเพื่�อรอการฟััก 2. ไข่ของมวนเพชฌฆาตจะฟักภายใน 14-16 วัน เลยี้ งมวนเพชฌฆาตตวั อ่อนวัย 1-2 จำ� นวน 600 ตวั / กลอ่ ง ใหน้ �้ำเปลา่ และดักแด้หนอนนกเป็นอาหาร 3. เล้ียงมวนเพชฌฆาตตวั ออ่ นวยั 3-5 แยกเลี้ยงกลอ่ งละ 150 ตวั โดยใหห้ นอนนกหรอื ดกั แดห้ นอนนก เปน็ อาหาร เกบ็ ซากหนอนตาย ทำ� ความสะอาดกล่องเล้ยี งหรือเปลย่ี นกล่องเล้ยี งอยา่ งน้อยสัปดาห์ละคร้งั 4. แบง่ มวนเพชฌฆาตตัวอ่อนวัย 4-5 ไปปล่อยเพ่อื ควบคมุ แมลงศตั รูพืช บางส่วนเลีย้ งตอ่ เป็นตัวเตม็ วยั เพ่ือเปน็ พอ่ แมพ่ ันธุต์ ่อไป ชั้�นสำำ�หรัับเพาะเลี้�ยงมวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor Dohrn. 184 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช
Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์ บรรณานุกรม พิิมลพร นัันทะ. 2545. ศััตรููธรรมชาติหิ ัวั ใจของ IPM. กองกีฏี และสััตววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร. 215 หน้้า. รััตนา นชะพงษ์์ ศิิริิณีี พููนไชยศรีี ชลิิดา อุุณหวุุฒิิ สมชััย สุุวงศ์์ศัักดิ์์�ศรีี ณััฐวััฒน์์ แย้้มยิ้�ม และสิิทธิิศิิโรดม แก้้วสวััสดิ์์�. 2548. อนุุกรมวิิธานของมวนในสกุุล Sycanus และ Polytoxus วงศ์์ Reduviidae และการเก็็บรัักษา. หน้า้ 53-69. ใน: รายงานผลงานวิิจัยั เรื่อ� งเต็็ม 2548 เล่ม่ ที่่� 3. สำำ�นัักวิจิ ััยพัฒั นา การอารัักขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร กรุงุ เทพฯ. รััตนา นชะพงษ์์. 2544. การควบคุุมแมลงศัตั รูพู ืืชโดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้้า 22-35. ใน: เอกสารประกอบการอบรม “แมลง-สััตว์ศ์ ัตั รูพู ืืช และการป้้องกัันกำ�ำ จััด” ครั้�งที่่� 11. 19-30 มีนี าคม 2544. กองกีีฏและสัตั ววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร กรุงุ เทพฯ. รััตนา นชะพงษ์์. 2544. การควบคุุมแมลงศััตรูพู ืชื โดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้้า 87-110. ใน: เอกสารวิิชาการ การควบคุุม แมลงศััตรููพืืชโดยชีวี วิิธีีเพื่่�อการเกษตรยั่ง� ยืืน. กองกีฏี และสััตววิิทยา กรมวิชิ าการเกษตร กรุุงเทพฯ. รัตั นา นชะพงษ์.์ 2553. พัฒั นาการผลิติ มวนเพชฌฆาต. หน้้า 756-765. ใน: รายงานผลงานวิิจััยเรื่�องเต็็ม 2553 เล่ม่ ที่่� 2. สำำ�นักั วิจิ ััยพัฒั นาการอารักั ขาพืชื กรมวิิชาการเกษตร กรุงุ เทพฯ. สมชัยั สุวุ งศ์์ศัักดิ์์�ศรีี สาทิพิ ย์์ มาลีี ประภััสสร เชยคำำ�แหง ภัทั รพร สรรพนุุเคราะห์์ และนัันทนัชั พินิ ศรีี. 2561. การควบคุุมแมลงศััตรูพู ืืชโดยใช้แ้ มลงห้ำำ��. หน้า้ 18-43. ใน: เอกสารประกอบการอบรม “แมลง-สััตว์์ ศัตั รููพืืช และการป้อ้ งกันั กำ�ำ จัดั ” ครั้ง� ที่่� 18. 17-21 ธัันวาคม 2561. สำำ�นักั วิจิ ัยั พัฒั นาการอารักั ขาพืืช กรมวิิชาการเกษตร. กรุงุ เทพฯ. ตดิ ต่อสอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เติม: กลุ่มงานวิจัยการปราบศตั รูพชื ทางชีวภาพ กลุม่ กฏี และสัตววทิ ยา ส�ำนักวจิ ยั พฒั นาการอารักขาพชื โทร. 0 2579 7580 ต่อ 154 เอกสารวิชาการ 185 ชวี ภัณฑ์ป้องกันกำ� จดั ศัตรูพื ช
แมลงหางหนีบขาวงแหวน Euborellia annulipes ชื่�อวิทิ ยาศาสตร์:์ Euborellia annulipes (Lucas) ชอื่ สามญั : ring-legged earwig/ แมลงหางหนบี ขาวงแหวน วงศ์์: Anisolabididae อนั ดบั : Dermaptera ทีม่ าและความสำ� คัญ/ปญั หาศัตรพู ื ช แมลงหางหนีีบขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) เป็็นแมลงศััตรููธรรมชาติิชนิิดหนึ่�ง ในกลุ่�มของ “แมลงห้ำำ�� (predators)” ลำำ�ตััวสีีดำำ�เป็็นมัันวาว ขนาด 1.6-1.8 เซนติิเมตร มีีตารวมเพีียงอย่่างเดีียว หนวดเป็็นแบบเส้้นด้้าย ขามีีสีีเหลืืองและมีีแถบสีีดำำ�เป็็นวงรอบขา ซึ่�งเป็็นที่�มาของชื่�อ ring-legged earwig ไม่มีปีก เพศเมียมขี นาดใหญ่กวา่ เพศผู้ และบรเิ วณปลายส่วนทอ้ งมีอวยั วะคลา้ ยคีม 1 คู่ ใช้ส�ำหรับหนีบจบั เหย่อื แมลงหางหนีบเป็นแมลงท่ีย่อยสลายเศษซากพืช ชอบอยู่ในท่ีมืดและค่อนข้างอับช้ืน เช่น ใต้เศษซากพืช เปลอื กไม้ ซอกกลีบต้นพชื กาบใบ และจบั แมลงศัตรูพชื กินเป็นอาหาร พบมากกว่า 1,000 ชนิด แมลงหางหนบี ระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัยสามารถกินไข่ หรือแมลงขนาดเล็กที่มีล�ำตัวอ่อนนิ่ม เช่น เพล้ียอ่อน หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกออ้อย ซ่ึงในหลายประเทศได้น�ำมาใช้ก�ำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น ประเทศเคนย่า ใช้แมลงหางหนีบขาวงแหวนควบคุมด้วงกินรากกล้วย Cosmopolites sordidus (Germar) ประเทศญี่ปุ่น ใชค้ วบคุมหนอนกอสชี มพู และประเทศบราซลิ ใชค้ วบคมุ เพลย้ี อ่อน Hyadaphis foeniculi ในข้าวโพด 186 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช
แมลงหางหนีบขาวงแหวนสามารถพบได้ทั่วไปในแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ เช่น อ้อย ข้าวโพด พืชผัก ปกติแมลงหางหนีบออกหากินในเวลากลางคืน เคล่ือนไหวได้อย่างรวดเร็ว แมลงหางหนีบขาวงแหวน มีีจุุดเด่่นคืือเพาะเลี้�ยงขยายได้้ง่่าย และมีีความสามารถในการเสาะหาเหยื่�อตามซอกมุุมได้้ดีี แมลงหางหนีีบ มีีพฤติิกรรมเป็็นตััวห้ำำ��ที่่�ดุุร้้าย การทำำ�ลายเหยื่�อจะใช้้แพนหางซึ่�งมีีลัักษณะคล้้ายคีีมหนีีบลำำ�ตััวของเหยื่�อแล้้ว กิินเป็็นอาหาร แต่่ถ้้าเป็็นไข่่หรืือแมลงขนาดเล็็กที่่�มีีลำำ�ตััวอ่่อนนุ่�ม เช่่น เพลี้�ยอ่่อนจะกััดกิินโดยตรง ทำำ�ให้้ แมลงหางหนบี ขาวงแหวนเปน็ แมลงทใ่ี ชใ้ นการควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ในแปลงเพาะปลกู พชื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อีกชนดิ หนง่ึ วงจรชวี ิต วงจรชีวี ิิตของแมลงหางหนีบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) แมลงหางหนีีบ มีีการเปลี่�ยนแปลงรููปร่่างทีีละน้้อย (gradual metamorphosis) แมลงหางหนีีบจะ เจริิญจากไข่เ่ ป็็นตััวอ่อ่ น (nymph) และตััวเต็็มวััย (adult) ไข่่ แมลงหางหนีีบขาวงแหวนเพศเมีียวางไข่่เป็็นกลุ่�มตามซอกใบพืืชหรืือใต้้ผิิวดิิน มีีลัักษณะกลมรีี ขนาด 1.25 มิิลลิิเมตร สีีขาวนวล เมื่�อใกล้้ฟัักเป็็นตััวอ่่อน ไข่่จะเปลี่�ยนเป็็นสีีเหลืืองแล้้วเปลี่�ยนเป็็นสีีน้ำำ��ตาล ในที่่�สุุด ตลอดชีีวิิตเพศเมีียวางไข่่ได้้ถึึง 240-300 ฟอง หรืือวางเป็็นกลุ่�มไข่่ทั้�งหมด 7 ครั้�ง โดยมีีไข่่เฉลี่�ย 30-60 ฟอง/กลมุ่ ระยะไขใ่ ช้เวลา 6-8 วนั กอ่ นฟักเป็นตวั อ่อน เอกสารวิชาการ 187 ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช
แมลงหางหนีบี เพศเมียี Euborellia annulipes (Lucas) และกลุ่�มไข่่ ตััวอ่่อน มีี 4 วััย ตััวอ่่อนที่่�ฟัักออกมาใหม่่มีีสีีขาวแล้้วค่่อยๆ เปลี่�ยนสีีเข้้มขึ้�น ตััวอ่่อนทุุกระยะและ ตััวเต็็มวััยมีีรููปร่่างไม่่แตกต่่างกััน การแยกวััยของตััวอ่่อนโดยนัับจำำ�นวนปล้้องของหนวด วััย 1-4 มีีจำำ�นวน ปล้อ้ งหนวด 8 11 13 และ 14 ปล้อ้ ง ตามลำำ�ดับั ระยะตัวั อ่่อนใช้เ้ วลา 50-60 วััน ตัวั อ่่อนของแมลงหางหนีบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) วัยั 1 ตัวเต็มวัย ทั้งเพศเมียและเพศผู้มีสีด�ำมันวาว หนวด 14-17 ปล้อง โดยหนวดปล้องที่ 3-4 จาก ปลายหนวดมีีสีีขาวซีีด แพนหางคล้้ายคีีมสีีน้ำำ��ตาลปนดำำ�ยาวขนาด 0.6-0.7 เซนติิเมตร แยกเพศจากปลายคีีม ที่�แพนหาง โดยเพศผู้�ปลายคีีมด้้านขวาโค้้งงอมากกว่่าปกติิ ส่่วนเพศเมีียปลายคีีมหางเรีียบ ตััวเต็็มวััยมีีอายุุ ประมาณ 60-90 วันั หรือื 2-3 เดืือน ดัังนั้�นตลอดวงจรชีวี ิติ ตั้�งแต่ไ่ ข่่จนถึงึ ตััวเต็็มวััยใช้ร้ ะยะเวลา 120-150 วันั หรือื 4-5 เดือื น 188 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช
ตััวเต็ม็ วัยั ของแมลงหางหนีีบขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) แพนหางเพศผขู้ องแมลงหางหนีบขาวงแหวน แพนหางเพศเมยี ของแมลงหางหนบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) Euborellia annulipes (Lucas) กลไกการทำ� ลายศตั รพู ื ช แมลงหางหนีีบขาวงแหวนมีีปากแบบกัดั กิิน สามารถกิินแมลงหลายชนิิดเป็น็ อาหาร กิินเหยื่�อได้ห้ ลายตััว จนกว่่าจะเจริิญเติิบโตครบวงจรชีีวิิต และสามารถกิินเฉพาะเหยื่�อที่่�มีีขนาดเล็็กกว่่าและเหยื่�อที่่�มีีลำำ�ตััวอ่่อนนุ่�ม โดยการใช้้แพนหางหนีีบจัับเหยื่�อแล้้วจึึงกััดกิินเป็็นอาหาร ส่่วนไข่่หรืือเหยื่�อที่�เป็็นเพลี้�ยอ่่อนจะใช้้ปากกััดกิิน โดยตรง เอกสารวิชาการ 189 ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศตั รูพื ช
แมลงหางหนีบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) กัดั กิินไข่่และตัวั หนอนของ หนอนกระท้ขู ้าวโพดลายจดุ Spodoptera frugiperda JE Smith แมลงหางหนีบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) กินิ เพลี้�ยอ่่อนถั่�ว Aphis craccivora Koch. วิธกี ารใช้ชีวภัณฑ์ควบคมุ ศัตรพู ื ช แมลงหางหนีีบขาวงแหวนสามารถควบคุุมแมลงศััตรููอ้้อย ได้้แก่่ ไข่่และหนอนกออ้้อยชนิิดต่่างๆ เพลี้�ยอ่่อน รวมถึงึ แมลงขนาดเล็ก็ ที่่�มีลี ำำ�ตัวั อ่่อนนุ่�มหลายชนิิดได้้อย่า่ งมีปี ระสิิทธิิภาพ โดยมีีขั้�นตอนปฏิบิ ัตั ิดิ ังั นี้� 1. ทำำ�การสำำ�รวจแมลงศััตรูอู ้อ้ ยก่่อนปล่่อยแมลงหางหนีีบขาวงแหวน 1 วััน 2. เม่ือพบแมลงศัตรูอ้อยหรือพบการระบาดให้ปล่อยแมลงหางหนีบขาวงแหวนในอัตรา 500 ตัว/ไร่ ในเวลาเย็น โดยปล่อยให้กระจายท่ัวแปลงปลูก พยายามปล่อยให้ชิดกออ้อยและหาเศษใบอ้อยหรือเศษฟางท่ีเปียก คลุมดา้ นบน เพ่ือชว่ ยในการปรบั ตัวและมที ่หี ลบซอ่ นชว่ ยใหแ้ มลงหางหนีบขาวงแหวนมีโอกาสรอดสูงขึ้น 3. ท�ำการส�ำรวจซ้�ำทุกๆ 15 วัน หลังปล่อยแมลงหางหนีบขาวงแหวน ถ้าพบการระบาดไม่ลดลง ท�ำการปล่อยแมลงหางหนบี ขาวงแหวนซ้�ำด้วยอตั ราเดมิ การปล่่อยแมลงหางหนีีบขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) ในแปลงอ้อ้ ย 190 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช
ขอ้ ควรระวงั ไมค่ วรปล่อยแมลงหางหนบี ขาวงแหวนถ้าไม่พบศัตรูพืช เนอ่ื งจากอาจท�ำใหข้ าดอาหาร หรือเคล่อื นย้าย ไปท่อี นื่ เพื่อหาอาหาร ข้อดี 1. แมลงหางหนีีบขาวงแหวนสามารถหาศััตรููพืืชเองได้้ แม้้ว่่าศััตรููพืืชจะหลบซ่่อนและสามารถทำำ�ลาย ศัตั รููพืชื ในบริิเวณที่�สารเคมีีเข้า้ ถึงึ ได้ย้ าก เช่น่ ไข่ท่ ี่่�มีขี นปกคลุมุ เป็็นต้้น 2. แมลงหางหนบี ขาวงแหวนสามารถขยายพันธุเ์ พิ่มปรมิ าณในธรรมชาติเองได้ 3. แมลงหางหนบี ขาวงแหวนหนึ่งตัวสามารถกินศตั รพู ชื ได้หลายชนดิ และกินไดว้ ันละหลายตัว 4. แมลงหางหนีบขาวงแหวนสามารถกินอาหารได้บ่อยจึงหาเหย่ือตลอดเวลา โดยเฉพาะเวลากลางคืน ทศี่ ัตรูพชื สว่ นใหญม่ กั ออกหากิน 5. การใช้แมลงหางหนีบขาวงแหวนสามารถใช้ร่วมกับวิธีการควบคุมศัตรูพืชอื่นๆ ได้ เช่น วิธีเขตกรรม วธิ ีกล เปน็ ต้น 6. การใช้แมลงหางหนีบขาวงแหวนสามารถเพาะเลี้ยงได้เองด้วยวิธีการเล้ียงอย่างง่าย ซึ่งเป็นการประหยัด ลดตน้ ทุนไดเ้ ป็นอย่างดี 7. การใช้้แมลงหางหนีีบขาวงแหวนมีีความปลอดภััยสููง เพราะเป็็นสิ่�งมีีชีีวิิตที่่�มีีอยู่�ในธรรมชาติิ ช่่วยให้้ ธรรมชาติิสมดุลุ ไม่ม่ ีสี ารตกค้้าง ขอ้ จ�ำกดั 1. เมื่อปล่อยแมลงหางหนบี ขาวงแหวนแลว้ ไมค่ วรฉีดพน่ สารเคมกี ำ� จัดแมลง 2. การใช้้แมลงหางหนีีบขาวงแหวนควบคุุมศััตรููพืืชใช้้ระยะเวลามากกว่่าสารเคมีีกำำ�จััดแมลง เกษตรกร คุ้�นเคยกับั การใช้้สารเคมีทีี่�ออกฤทธิ์�เร็ว็ 3. เมื่�อการระบาดลดลง ไม่่มีีเหยื่�อ หรืือไม่่มีีอาหาร แมลงหางหนีีบขาวงแหวนอาจจะตายหรืือเคลื่�อนย้้าย ทำำ�ให้้ต้อ้ งปล่อ่ ยเพิ่�มอยู่�เสมอเมื่�อพบการระบาด เอกสารวิชาการ 191 ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรูพื ช
ชนิดของศัตรพู ื ช หนอนกอลายจุุดเล็็ก (early shoot borer) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์: Chilo infuscatellus Snellen ชอ่ื สามัญ: early shoot borer/ หนอนกอลายจุดเล็ก วงศ์: Noctuidae อนั ดบั : Lepidoptera หนอนกอลายจุดเล็ก Chilo infuscatellus Snellen เป็นแมลงศัตรูที่ส�ำคัญที่สุดในระยะอ้อยแตกกอ เน่ืองจากการเข้าท�ำลายในระยะแรกมองเห็นได้ยาก ท�ำให้อ้อยได้รับความเสียหายมากและยากแก่การป้องกัน ก�ำจัด มักพบอาการหลังอ้อยถูกเข้าท�ำลาย หนอนเจาะเข้าท�ำลายท้ังหน่อ ยอด และล�ำต้นอ้อย เข้าท�ำลาย เกือบตลอดอายุการเจริญเติบโตของอ้อย โดยเฉพาะในระยะอ้อยแตกกอ หนอนเจาะเข้าท�ำลายหน่ออ้อย ตรงสว่ นโคนระดับผิวดนิ เข้าไปกัดกินสว่ นทีก่ �ำลังเจรญิ เตบิ โต (growing point) ภายในและสว่ นฐานของใบอ้อย ท่ียังไมค่ ล่ี ทำ� ใหเ้ กดิ อาการยอดแหง้ ตาย (dead heart) ลัักษณะการทำำ�ลายของหนอนกอลายจุุดเล็็กคืือจะพบรููเจาะเล็็กๆ หลายรููตรงโคนหน่่ออ้้อย ระยะอ้้อย ย่่างปล้้อง หนอนเข้้าทำำ�ลายได้้โดยเจาะเข้้าทำำ�ลายลำำ�ต้้นและยอดอ้้อย ทำำ�ให้้เกิิดอาการแห้้ง ยอดตาย แต่่มีี ปริมาณน้อยกว่าระยะอ้อยแตกกอ ซ่ึงระยะอ้อยย่างปล้องหนอนจะเจาะเข้าไปกินอยู่ภายในล�ำต้นอ้อย เมื่อเจาะเข้าท�ำลายลำ� ต้นมากหรือสว่ นยอดถกู ท�ำลายจะทำ� ให้อ้อยแตกแขนงใหม่ (side shoots) และเกดิ อาการ แตกยอดพ่มุ (bunchy top) แตก่ ารแตกยอดพมุ่ น้อยกว่าการเขา้ ท�ำลายของหนอนกอสขี าว กข ค ก) ลัักษณะการทำำ�ลายของหนอนกอลายจุุดเล็็ก Chilo infuscatellus Snellen (ที่�มา: สุวุ ัฒั น์์, 2563) ข) ไข่่ของหนอนกอลายจุุดเล็็ก Chilo infuscatellus Snellen (ที่�มา: สถาบัันวิจิ ััยพืชื ไร่แ่ ละพืชื ทดแทนพลังั งาน, 2544) ค) หนอนกอลายจุุดเล็ก็ Chilo infuscatellus Snellen (ที่�มา: สุวุ ััฒน์์, 2563) 192 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจัดศตั รูพื ช
หนอนกอสีขี าว (white top borer) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: Scirpophaga excerptalis (Walker) ชื่อสามัญ: white top borer/ หนอนกอสขี าว วงศ:์ Noctuidae อันดับ: Lepidoptera หนอนกอสีขาว Scirpophaga excerptalis (Walker) เป็นแมลงศัตรูที่มีความส�ำคัญในระยะ อ้อยแตกกอ เนื่องจากการเข้าท�ำลายของหนอนชนิดน้ีมีความรุนแรง หากเข้าท�ำลายขณะที่หน่ออ้อยยังเล็ก ท�ำให้อ้อยตายได้ เม่ือเข้าท�ำลายอ้อยโตมีล�ำแล้วอาจท�ำให้อ้อยตาย หรือชะงักการเจริญเติบโต ไม่สามารถสร้าง ล�ำอ้อยข้ึนมาได้ ทำ� ให้ผลผลติ และคณุ ภาพอ้อยลดลง อกี ทง้ั ในระยะหนอ่ ออ้ ยพบการเข้าทำ� ลายของหนอนชนดิ น้ี มากเท่ากับหนอนกอลายจุดเล็ก ระยะอ้อยโตมีล�ำแล้วพบหนอนชนิดนี้เข้าท�ำลายยอดอ้อยมากกว่าหนอนกอ ลายจุดเล็กและหนอนกอสีชมพู ลักษณะการท�ำลายของหนอนกอสีขาวคือหนอนเจาะไชจากส่วนยอดเข้าไปกัดกินส่วนโคนยอดที่ก�ำลัง เจริญเติบโต ทำ� ให้เกดิ อาการยอดแห้งตายโดยเฉพาะใบที่ยงั มว้ นอยู่ ส่วนใบยอดและใบอ่ืนๆ ทีห่ นอนเข้าทำ� ลาย จะมีีลัักษณะหงิิกงอและมีีรููพรุุนซึ่�งเป็็นลัักษณะเด่่นของการเข้้าทำำ�ลายของหนอนกอสีีขาว เมื่�ออ้้อยเป็็นลำำ�แล้้ว หนอนเข้้าทำำ�ลายส่่วนที่่�กำำ�ลัังเจริิญเติิบโต จึึงทำำ�ให้้ไม่่สามารถสร้้างปล้้องอ้้อยให้้สููงขึ้�นไปได้้อีีก มีีผลทำำ�ให้้ตาอ้้อย ที่�อยู่่�ต่ำำ��กว่่าส่่วนที่่�ถููกทำำ�ลายแตกหน่่อขึ้�นมาด้้านข้้าง อาจจะเป็็นหน่่อเดีียวหรืือหลายหน่่อ อ้้อยจึึงเกิิดอาการ แตกยอดพุ่ �ม กข ค ก) ลกั ษณะการท�ำลายของหนอนกอสขี าว Scirpophaga excerptalis (Walker) (ท่ีมา: สถาบันวจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน, 2544) ข) ไข่ข่ องหนอนกอสีขี าว Scirpophaga excerptalis (Walker) (ทม่ี า: สถาบันวจิ ยั พืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน, 2544) ค) หนอนกอสขี าว Scirpophaga excerptalis (Walker) (ทม่ี า: สถาบนั วิจัยพืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน, 2544) เอกสารวชิ าการ 193 ชีวภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช
หนอนกอสีชี มพูู (pink borer) ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Sesamia inferens (Walker) ชอ่ื สามัญ: pink borer/ หนอนกอสชี มพู วงศ:์ Noctuidae อนั ดับ: Lepidoptera หนอนกอสีีชมพูู Sesamia inferens (Walker) เป็็นแมลงศััตรููที่่�สำำ�คััญในระยะอ้้อยแตกกอ เนื่�องจาก ในระยะที่่�อ้้อยแตกกอหนอนชนิิดนี้ �สามารถเข้้าทำำ�ลายหน่่ออ้้อยได้้มากใกล้้เคีียงกัับหนอนกอลายจุุดเล็็ก และหนอนกอสีขาว ถงึ แม้ว่าหนอ่ อ้อยท่ีถกู ทำ� ลายจะสามารถแตกหน่อใหมเ่ พ่ือชดเชยกับหน่อทเ่ี สียไป ซึ่งข้ึนอยู่ กบั พันธอุ์ อ้ ยและฤดูกาลแตห่ น่อออ้ ยทีแ่ ตกใหมเ่ พื่อชดเชยในระยะหลงั จะมอี ายุสนั้ ลง ทำ� ใหผ้ ลผลิตและคุณภาพ ของออ้ ยลดลง เมื่ออ้อยโตเป็นล�ำอาจพบหนอนเขา้ ท�ำลายทำ� ใหย้ อดออ้ ยแหง้ ตาย ลักษณะการเข้าท�ำลายของหนอนกอสีชมพู คือ หนอนเจาะเข้าไปตรงส่วนโค้งของหน่ออ้อยระดับผิวดิน เข้าไปท�ำลายส่วนที่ก�ำลังเจริญเติบโต กัดกินภายในท�ำให้ยอดแห้งตายเช่นเดียวกับหนอนกอลายจุดเล็ก แต่ รอยเจาะเข้าไปจะแตกต่างกนั คือมีรเู ดียวและขนาดรูใหญก่ วา่ รอยเจาะของหนอนกอลายจดุ เลก็ ก ขค ก) ลักั ษณะการทำำ�ลายของหนอนกอสีีชมพูู Sesamia inferens (Walker) (ที่�มา: สุวุ ััฒน์,์ 2563) ข) หนอนกอสีีชมพูู Sesamia inferens (Walker) (ที่�มา: สุุวัฒั น์,์ 2563) ค) ไข่ข่ องหนอนกอสีีชมพูู Sesamia inferens (Walker) (ที่�มา: สถาบันั วิจิ ััยพืืชไร่แ่ ละพืืชทดแทนพลังั งาน, 2544) 194 เอกสารวชิ าการ ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244