Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Published by บันทึกเกษตร, 2021-05-21 07:38:15

Description: เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Search

Read the Text Version

หนอนกอลายจุุดใหญ่่ (stem borer) ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Chilo tumidicostalis (Hampson) ชื่�อสามัญั : stem borer/ หนอนกอลายจุดุ ใหญ่่ วงศ์: Noctuidae อันดับ: Lepidoptera หนอนกอลายจุุดใหญ่่ Chilo tumidicostalis (Hampson) เป็็นแมลงศััตรููที่่�สำำ�คััญในระยะอ้้อยเป็็นลำำ� สาเหตุุการระบาดหลัักคืือหากฝนตกชุุกทำำ�ให้้มีีความชื้�นสููง 70-80% จะพบหนอนกอลายจุุดใหญ่่ระบาดมาก และพัันธุ์์�อ้้อยเป็็นปััจจััยที่่�ทำำ�ให้้มีีการระบาด พัันธุ์์�อ้้อยที่่�อ่่อนแอ คืือพัันธุ์�มาร์์กอส คิิว 130 ซึ่�งเป็็นพัันธุ์�ที่� หนอนกอลายจุุดใหญ่่ชอบเข้้าทำำ�ลาย ถ้้ามีีการระบาดแล้้วจะทำำ�ให้้อ้้อยสููญเสีียน้ำำ��หนัักและความหวาน การระบาด ของหนอนกอลายจุุดใหญ่่ส่่วนมากพบการระบาดในบริิเวณที่่�มีีการปลููกอ้้อยเหนืือนาข้้าว เพราะบริิเวณนั้�น จะมีีความชื้�นสูงู อยู่�ตลอดเวลา ลักษณะการเข้าท�ำลายของหนอนกอลายจุดใหญ่ คือเมื่ออ้อยอายุ 5-6 เดือน หรืออ้อยอยู่ในระยะ ย่่างปล้้อง ตััวเต็็มวััยของหนอนกอลายจุุดใหญ่่จะเริ่�มเข้้ามาวางไข่่ที่�ใบอ้้อย เมื่�อหนอนฟัักแล้้วเจาะที่�ยอดอ้้อย ห่่างจากที่�วางไข่่ประมาณ 1 ปล้้อง หนอนเจาะเข้้าไปอยู่่�ข้้างในลำำ�ต้้นประมาณ 300-400 ตััว โดยเจาะเข้้าไป รูเดยี ว และกดั ทำ� ลาย ถ้าเป็นอ้อยพันธ์ุที่ออ่ นแอหนอนจะเจาะไปถึงโคนต้น และกินเนอื้ อ้อยจนหมดเหลอื แต่เปลือก กข ค ก) ลักษณะการเขา้ ทำ� ลายของหนอนกอลายจุดใหญ่ Chilo tumidicostalis (Hampson) (ที่�มา: สุมุ าลีี, 2563) ข) ไข่ข่ องหนอนกอลายจุุดใหญ่่ Chilo tumidicostalis (Hampson) (ที่มา: สถาบนั วจิ ัยพืชไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน, 2544) ค) หนอนกอลายจดุ ใหญ่ Chilo tumidicostalis (Hampson) (ที่�มา: สุมุ าลี,ี 2563) เอกสารวชิ าการ 195 ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จดั ศตั รูพื ช

การผลิตขยายชวี ภณั ฑ์ ผลติ ขยายโดยเกษตรกรเพ่ื อใชเ้ อง กรมวิชาการเกษตรได้พัฒนาการผลิตขยายแมลงหางหนีบขาวงแหวนให้ได้ปริมาณมาก สามารถ แจกจ่ายพ่อแม่พันธุ์และพันธุ์ขยายให้กับเกษตรกร หรือผู้สนใจน�ำไปเพาะเล้ียงเพ่ิมปริมาณและใช้ในการควบคุม ศัตรพู ืชตา่ งๆ การผลติ ขยายแมลงหางหนบี มีข้นั ตอนดงั นี้ 1. น�ำแกลบด�ำหรือดินผสมเศษใบไม้แห้งตากแดดอย่างน้อย 3 วัน โดยพยายามพลิกแกลบหรือดินให้ท่ัว เพ่ือท�ำลายโรคและแมลงชนดิ อน่ื ๆ 2. น�ำแกลบด�ำหรือดินผสมเศษใบไม้แห้งท่ีตากแดดแล้วใส่ในภาชนะส�ำหรับเล้ียง (กล่องหรือกะละมัง) หนาประมาณ 3-4 เซนติเมตร หรอื คร่งึ กะละมัง พ่นน้ำ� บนแกลบดำ� ใหท้ ัว่ เพอ่ื ใหค้ วามช้นื 3. ใส่แมลงหางหนีบขาวงแหวนตัวเต็มวัยท่ีได้มาหรือที่เพาะเล้ียงไว้แล้ว โดยปาดเฉพาะส่วนหน้าลงใน ภาชนะส�ำหรับเล้ียงที่มีแกลบด�ำหรือดินใหม่ ใส่อาหารแมวบนจานพลาสติกหรือฝาขวดน้�ำวางไว้บริเวณมุมกล่อง ในสว่ นแกลบด้านล่างเกบ็ ไว้เพื่อเล้ียงขยายต่อไป 4. สงั เกตความช้ืนบนแกลบดำ� หรอื ดิน เมื่อแกลบด�ำแห้งเตมิ หรอื พ่นน้�ำลงไปบนแกลบด�ำ หรือดนิ อย่เู สมอ และในทกุ ๆ 3 วนั สังเกตอาหารถ้าอาหารหมดให้เติมอาหารเพ่ิม 5. หลังจากย้ายกล่องประมาณ 30-45 วัน หรือเม่ือแมลงหางหนีบขาวงแหวนอายุ 30-40 วัน น�ำไป ปลอ่ ยในไร่ หรอื นำ� ไปเลยี้ งเพมิ่ ปริมาณต่อไป 196 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑ์ป้องกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

การผลิติ ขยายแมลงหางหนีีบขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) 1 ตากแกลบดำ� อยา่ งน้อย 3 วัน 2 ใสแ่ กลบด�ำในภาชนะ ส�ำหรับเลย้ี ง พ่นนำ้� เพื่อให้ความชื้น ใส่แมลงหางหนีบ 3 ขาวงแหวน ตัวเต็มวยั และอาหารแมว 4 พน่ นำ้� เม่ือแกลบแหง้ และเติมอาหารใหเ้ พียงพอ แมลงหางหนบี ขาวงแหวน 5 อายุ 30-40 วัน สามารถนำ� ไป ปล่อยในไร่ หรอื นำ� ไปเลี้ยง เพ่ิมปรมิ าณ เอกสารวชิ าการ 197 ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศัตรูพื ช

การผลิตขยายแบบการคา้ วิธกี ารผลิตขยาย 1. อบแกลบดำำ�ที่่�อุุณหภููมิิ 100 องศาเซลเซีียส นาน 3 ชั่�วโมง พลิิกกลัับให้้ทั่�ว เพื่�อทำำ�ลายโรคและ แมลงชนิิดอื่�นๆ ที่่�ติิดมา 2. นำำ�แกลบดำำ�ที่่�ผ่่านการอบแล้้วมาใส่่ในกล่่องเลี้�ยงแมลงหนาประมาณ 3-4 เซนติิเมตร พ่่นน้ำำ�� บนแกลบดำำ�ให้ท้ ั่ �วเพื่ �อให้้ความชื้ �น 3. น�ำแมลงหางหนบี ขาวงแหวนตวั เตม็ วัยใส่ลงในกลอ่ งจ�ำนวน 400 ตวั โดยใสเ่ พศผู้ 100 ตวั เพศเมีย 300 ตัว (อัตราสว่ น เพศผ:ู้ เพศเมยี เท่ากับ 1:3) 4. ใส่่อาหารแมวลงบนฝาขวดน้ำำ��หรืือถ้้วยฟอยล์ป์ ริมิ าณ 30 กรัมั /กล่อ่ ง 5. พน่ น้ำ� บนแกลบดำ� ใหม้ ีความชน้ื อยเู่ สมอทกุ สปั ดาห์ 6. เปลี่�ยนอาหารทุุก 3 วััน เพื่�อป้้องกัันอาหารเน่่าเสีียหรืือเติิมอาหารเพิ่�มเมื่�ออาหารเดิิมหมด สลัับกัับ ให้ไ้ ข่ผ่ ีีเสื้�อข้้าวสารหรืือแมลงขนาดเล็ก็ ชนิิดอื่�นเป็็นอาหาร 7. ประมาณ 1 สัปดาห์ แมลงหางหนีบขาวงแหวนเพศเมียจะวางไข่เป็นกลุ่มๆ ละ 30-60 ฟอง การปฏิบัติงานต้องระมัดระวังไม่ควรรบกวนแมลงหางหนีบขาวงแหวนเพศเมียและกลุ่มไข่โดยไม่จ�ำเป็น เพราะอาจทำ� ใหต้ ัวแม่เกดิ ความเครยี ดจนกินไขข่ องตัวเองได้ 8. เม่อื ตวั อ่อนฟกั ออกมาประมาณ 14 วนั จงึ แยกไปเลี้ยงในกล่องใหม่ 9. แมลงหางหนีบขาวงแหวนอายุ 30-40 วัน สามารถน�ำไปปล่อยเพ่ือควบคุมศัตรูพืช และส่วนหนึ่ง นำ� ไปเพาะเลย้ี งเพ่ิมปริมาณในอตั ราสว่ นเช่นเดมิ ข้อควรระวงั l ตัวเต็มวัยเพศเมียมีนิสัยหวงไข่ ไม่ควรแยกไข่ออกมาเพื่อเพาะขยายหรือรบกวนไข่แมลงเกินไป ท�ำให้ตัวแม่เกิดความเครียดจนกินไข่ของตัวเองได้ ดังนั้นควรรอจนตัวอ่อนฟักออกจากไข่หมด (ถ้าอยากจะ แยกกล่อง ควรรออย่างนอ้ ย 14 วัน จงึ แยกไปเลยี้ งในกล่องใหม่) l ในการผสมพันธุ์จ�ำเป็นต้องแยกเพศของแมลงหางหนีบขาวงแหวนให้ได้ เพื่อจับผสมพันธุ์ตามอัตรา ทแ่ี นะน�ำ คือ เพศผู:้ เพศเมยี เทา่ กับ 1:3 l การเล้ียงในกล่องควรเจาะรูที่ฝาและปิดฝาให้มิดชิด หากเลี้ยงในกะละมังควรคลุมให้มิดชิดด้วย ผ้าขาวบางหรอื มีฝาปดิ ด้านบนเพ่ือปอ้ งกันจงิ้ จกหรือนกมากินได้ 198 เอกสารวชิ าการ ชีวภัณฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

การผลิิตขยายแมลงหางหนีีบขาวงแหวน Euborellia annulipes (Lucas) แบบการค้้า 1 2 3 อบแกลบดำ� ใส่แกลบด�ำ พ่นนำ้� ในภาชนะ ทอ่ี ุณหภูมิ 100 Cํ ส�ำหรบั เลีย้ ง เพ่อื ให้ความชื้น นาน 3 ชั่วโมง 4 5 6 ใส่แมลงหางหนบี ใสอ่ าหารแมว พน่ น้ำ� บนแกลบดำ� 30 กรมั /กลอ่ ง ให้มคี วามชนื้ อยูเ่ สมอ ขาวงแหวนตัวเต็มวยั 400 ตวั (อตั รา 1:3) 7 8 ปล่อยไว้ 14 วนั 9 30-40 วัน เปล่ยี นหรอื เตมิ อาหาร แมลงหางหนบี แบ่งเปน็ 2 สว่ น คอื ทุก 3 วนั สลับกบั นำ� ไปปลอ่ ย และ ขาวงแหวนเพศเมีย เล้ียงขยายเพิ่มปรมิ าณ แมลงชนดิ อน่ื ๆ วางไขเ่ ปน็ กลุ่มๆ เอกสารวิชาการ 199 ชีวภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภณั ฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=yhXP0CKeEg8 https://www.youtube.com/watch?v=imLLsEuOJpI https://www.youtube.com/watch?v=in5wVC6fots บรรณานกุ รม ณััฐกฤต พิิทัักษ์์ และอนุุวััฒน์์ จัันทรสุุวรรณ. 2544. แมลงศััตรููอ้้อยโรงงาน อ้้อยเคี้้�ยว อ้้อยคั้้�นน้ำำ�� และ การป้้องกัันกำำ�จััด. เอกสารวิิชาการ กลุ่�มงานวิิจััยแมลงศััตรููข้้าวโพดและพืืชไร่่อื่�นๆ. กองกีีฏ และสััตววิทิ ยา กรมวิิชาการเกษตร กรุุงเทพฯ. ณััฐกฤต พิิทัักษ์์ และเฉลิิมวิิทย์์ ปะสัันตา. 2546. การป้้องกัันกำำ�จััดหนอนกออ้้อยโดยวิิธีีผสมผสานจัังหวััด นครสวรรค์.์ หน้้า 22-26. ใน: รายงานการประชุุมวิชิ าการอ้อ้ ยและน้ำ�ำ� ตาลทรายครั้�งที่่� 5. วัันที่� 20-22 สิิงหาคม 2546 ณ โรงแรมจอมเทีียนปาล์์มบีีช พัทั ยา จัังหวัดั ชลบุุรีี. ณััฐกฤต พิิทักั ษ์์. 2548. การวิิจัยั เทคโนโลยีกี ารใช้้แมลงหางหนีีบในการควบคุุมหนอนกออ้้อย. สถาบัันวิิจัยั พืชื ไร่่ และพืชื ทดแทนพลัังงาน. กรมวิชิ าการเกษตร กรุงุ เทพฯ. ณััฐกฤต พิิทัักษ์์ และสุุพจน์์ กิิตติิบุุญญา. 2550. การป้้องกัันกำำ�จััดหนอนกออ้้อยโดยชีีววิิธีี (แมลงหางหนีีบ). รายงานผลวิิจัยั สิ้�นสุุด สถาบัันวิจิ ัยั พืืชไร่.่ กรมวิชิ าการเกษตร กรุุงเทพฯ. 7 หน้า้ . พิิสุุทธิ์� เอกอำำ�นวย. 2562. โรคและแมลงศัตั รูพู ืืชที่่ส� ำ�ำ คััญ. พิิมพ์์ครั้�งที่� 6 พิพิ ิิธภัณั ฑ์์แมลงสยาม. เชีียงใหม่่. 982 หน้้า. วััชรา ชุุณหวงศ์์. 2544. การป้้องกัันกำำ�จััดแมลงศััตรููข้้าวโพดหวานโดยวิิธีีผสมผสาน. ใน: เทคโนโลยีีทางเลืือก สำำ�หรัับ “ไอ พีี เอ็ม็ ”. กองกีีฏและสััตววิิทยา กรมวิชิ าการเกษตร. หน้า้ 284-302. วิิวััฒน์์ เสืือสะอาด. 2539. แมลงศััตรููธััญพืืชและพืืชไร่่และศััตรููธรรมชาติิ. ศููนย์์วิิจััยควบคุุมศััตรููพืืชโดยชีีวิินทรีีย์์ แห่ง่ ชาติิ ภาคกลาง มหาวิิทยาลัยั เกษตรศาสตร์์ วิิทยาเขตกำำ�แพงแสน จังั หวััดนครปฐม. 199 หน้า้ . สมชััย สุวุ งศ์์ศัักดิ์์�ศรีี ภััทรพร สรรพนุุเคราะห์์ และนัันทนััช พินิ ศรี.ี 2561. แมลงหางหนีีบขาวงแหวน [แผ่่นพัับ]. สำำ�นักั วิจิ ัยั พััฒนาการอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร. กรุุงเทพฯ. Blatchley, W. S. 1920, Orthoptera. Northeastern America. Douang-Boupha, B., T. Jamjanya, W. Khlibsuwan, N. Siri and Y. Hanboonsong. 2006. Mornitoring of insect pests, natural enemies of sweet corn and study on control methods in Khon Kaen University. Khon Kaen Agr. J. 34(1): 1-11. 200 เอกสารวชิ าการ ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

Klostermeyer, E. C. 1942. The life history and habits of the ring legged earwig, Euborellia annulipes (Lucus) (Order Dermaptera). J. Kans. Entomol. Soc. 15(1): 13-18. Koppenhöfer, A.M. 1995. Bionomics of the earwig species Euborellia annulipes in Western Kenya (Dermaptera: Carcinophoridae). Entomologia Generalis. 20(1/2): 81-85. Neiswander, C. R. 1944. The Ring-legged Earwig, Euborellia annulipes (Lucas). Ohio Agricultural Experiment Station. Wooster. Ohio Bul. 648: 14. Nonci, N. 2005. Biology and intrinsic growth rate of earwig Euborellia annulata. Indones. J. Agric. Sci. 6(2): 69-74. Silva, A. B., J. L. Batista and C. H. Brito. 2010. Biological aspects of Euborellia annulipes (Dermaptera: Anisolabididae) fed with the aphid Hyadaphis foeniculi (Hemiptera: Aphididae). Caatinga. 23(1): 21-27. Situmorang, J., and B. P. Gabriel. 1988. Biology of two species of predatory earwigs Nala lividipes (Dufour) (Dermaptera: Labiduridae) and Euborellia annulata (Fabricius) (Dermaptera: Carconophoridae). Philipp. Entomol. 7(3): 215-238. ตดิ ต่อสอบถามข้อมูลเพมิ่ เตมิ : กลมุ่ งานวจิ ัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ กล่มุ กฏี และสัตววทิ ยา สำ� นักวิจยั พัฒนาการอารกั ขาพืช  โทร. 02-5797580 ต่อ 134 เอกสารวชิ าการ 201 ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ไรศัตรพู ื ช ไรตัวห้ำ� Amblyseius longispinosus ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์: Amblyseius longispinosus (Evans) ชอ่ื สามญั : predatory mite/ ไรตัวห้�ำ วงศ์: Phytoseiidae อันดบั : Acari ทีม่ าและความส�ำคัญ/ปัญหาศตั รูพื ช ไรศัตรูพืชระบาดท�ำความเสียหายแก่พืชในสภาพไร่ บางชนิดปนเปื้อนไปกับผลผลิตทางการเกษตร ดอก หรือต้นของพืชส่งออก บางชนิดเป็นพาหะในการน�ำโรคต่างๆ ของพืช โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากไวรัส ปััญหาในเรื่�องไรศััตรููพืืชนัับวัันจะทวีีความสำำ�คััญมากขึ้�นเป็็นลำำ�ดัับ เนื่�องจากไรเป็็นศััตรููพืืชที่่�มีีขนาดเล็็ก ยากแก่่การสัังเกตได้้ด้้วยตาเปล่่า อาการที่�เกิิดจากการทำำ�ลายของไรในระยะแรกเริ่�มมัักไม่่ปรากฏชััด เกษตรกร จึึงรู้้�ตััวเมื่�อพืืชผลได้้รัับความเสีียหายและการระบาดของไรรุุนแรงจนยากในการป้้องกัันกำำ�จััด ไรศััตรููพืืชที่�ระบาด รุุนแรงทำำ�ความเสีียหายให้้กัับพืืชเศรษฐกิิจสำำ�คััญหลายชนิิด เช่่น ไรแดงแอฟริิกัันระบาดในส้้มเขีียวหวาน ส้้มโอ ทุเรียน และมะละกอ ไรขาวพริกระบาดในพริก ส้มโอ มังคุด ถ่ัวฝักยาว และถั่วเขียว ไรสนิมส้มระบาดในส้ม และมะนาว ไรแมงมุมคนั ซาวา ระบาดในมะละกอ และกหุ ลาบ ไรสองจุดระบาดในสตรอว์เบอรร์ ี กุหลาบ และ ไม้ดอกเมืองหนาว เป็นต้น การควบคุมไรศัตรูพืชโดยการใช้ไรตัวห�้ำเป็นทางเลือกหนึ่งส�ำหรับการเพาะปลูกพืช ตามนโยบายลดการใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง การปลูกพืชโดยใช้หลักการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน และ การปลูกพืชอินทรีย์ ความเป็นไปได้ท่ีจะใช้วิธีการควบคุมไรศัตรูพืชโดยชีววิธีโดยใช้ไรตัวห�้ำ อาจเริ่มต้นด้วย การอนุรักษ์ไรตัวห�้ำไว้ให้ได้มากท่ีสุดในธรรมชาติ หรือก้าวหน้าจนถึงมีการผลิตขยายไรตัวห�้ำ แล้วน�ำไปปล่อย สสู่ ภาพแวดล้อมใหม้ ีบทบาทในการควบคมุ ไรศตั รพู ืชไม่ใหม้ ีการระบาดเกนิ ระดับการทำ� ลายทางเศรษฐกจิ ตอ่ ไป 202 เอกสารวชิ าการ ชวี ภัณฑป์ อ้ งกันกำ� จัดศัตรูพื ช

ไรตัวห้�ำชนิดที่พบปะปนอยกู่ บั ไรศตั รพู ชื หลายชนดิ มีพืชอาศยั กว้าง พบในทุกภาคของประเทศไทย คอื Amblyseius longispinosus (Evans) ซงึ่ ภายหลังนกั อนุกรมวิธานไรได้จดั ล�ำดับไรในวงศ์ Phytoseiidae ใหม่ และเปลี่ยนให้ไรชนิดน้ีอยู่ในสกุล Neoseiulus ในเอกสารบางฉบับจึงเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ไรตัวห�้ำชนิดน้ีว่า Neoseiulus longispinosus (Evans) หรือ Neoseiulus (=Amblyseius) longispinosus (Evans) หรือ Amblyseius (=Neoseiulus) longispinosus (Evans) เน่ืองจากงานวิจัยเกี่ยวกบั ไรตัวห้ำ� ชนิดนม้ี ีขอ้ มูลท่ีเปน็ ชอ่ื เดิมหลายฉบบั ในเอกสารวชิ าการนีจ้ ึงขอใช้ชอื่ เดมิ วา่ Amblyseius longispinosus (Evans) ไรตัวั ห้ำำ�� A. longispinosus เป็็นไรตััวห้ำำ��ที่่�พบได้ท้ั่�วๆ ไปในทวีีปเอเชียี ตะวันั ออกเฉียี งใต้้ ถูกู พบครั้�งแรก ในประเทศไทย ปีี ค.ศ. 1977 โดย Ehara and Bhandhufalck ต่่อมา วััฒนา และคณะ พบไรตััวห้ำำ��ชนิิดนี้� ทั่วทุกภาคของประเทศท้งั บนพชื ไร่ พชื ผกั ไม้ผล และวัชพชื หลายชนดิ วงจรชีวติ ไรตัวห้�ำ A. longispinosus วางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ ไข่มีลักษณะขาวใส รูปร่างกลมรี มีขนาดกว้าง 0.23 มิลลิเมตร ยาว 0.35 มิลลิเมตร ตัวอ่อนวัย 1 มีขา 6 ขา ล�ำตัวขาวใส ตัวอ่อนวัย 2 เริ่มมีขา 8 ขา ล�ำตัวขาวใสเช่นกัน เมื่อลอกคราบเป็นตัวอ่อนวัย 3 ล�ำตัวเริ่มเปล่ียนเป็นสีเหลืองส้ม และเมื่อเป็นตัวเต็มวัย เพศเมีียมีีรููปร่่างอ้้วนกลม ก้้นป้้าน สีีแดงมัันวาว ความเข้้มของสีีบนลำำ�ตััวขึ้�นอยู่่�กัับชนิิดอาหารที่�ไรกิิน เพศเมีีย มีีขนาด 0.4x0.55 มิิลลิิเมตร ส่่วนเพศผู้้�มีีรููปร่่างผอมยาวรููปไข่่ลำำ�ตััวเล็็กกว่่าเพศเมีีย มีีขนาด 0.26x0.40 มิิลลิิเมตร ลำำ�ตััวสีีส้้มเหลืืองมัันวาว ไรตััวห้ำำ��มีีลัักษณะเด่่นคืือตััวอ่่อนและตััวเต็็มวััยวิ่�งได้้รวดเร็็วกว่่าไรแมงมุุม มีีขายาว โดยเฉพาะขาคู่หนา้ ซง่ึ ใช้ชว่ ยในการจบั เหยอื่ ไข่ ตัวอ่อนวยั 1 ตัวอ่อนวัย 2 ตัวอ่อนวยั 3 ตัวเต็มวัย (egg) (larva) (protonymph) (deutonymph) (adult) ระยะการเจรญิ เตบิ โตของไรตวั ห้�ำ Amblyseius longispinosus (Evans) ระยะการเจริญเติบโตของไรตัวห้�ำ A. longispinosus ขึ้นอยู่กับชนิดของอาหารที่กิน จากการศึกษา ระยะการเจรญิ เติบโตของไรตัวห�้ำโดยใช้ไรศัตรูพชื ชนิดต่างๆ เปน็ อาหาร มดี ังน้ี เอกสารวิชาการ 203 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช

วงจรชีวิตของไรตัวห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) เม่ือเลี้ยงด้วยไรแดงหม่อน Tetranychus truncatus Ehara เปน็ อาหาร ไรตัวห้�ำเจริญเติบโตได้ดีโดยการเล้ียงด้วยไรแดงหม่อน โดยมีการเจริญเติบโตจากไข่เป็นตัวเต็มวัย ใช้เวลา 5-6 วัน สรุประยะการเจรญิ เตบิ โตในวยั ตา่ งๆ ของไรตัวหำ้� ดังน้ี วงจรชีวิตของไรตัวห้�ำ Amblyseius longispinosus (Evans) เม่ือเลี้ยงด้วยไรแดงหม่อน Tetranychus truncatus Ehara ระยะการเจรญิ เตบิ โต ระยะการเจรญิ เตบิ โต (วนั ) ระยะไข่ (เพศผ)ู้ 2.16 ระยะไข่ (เพศเมีย) 2.37 ตัวอ่อนวัย 1-3 (เพศผู)้ 2.41 ตวั ออ่ นวยั 1-3 (เพศเมยี ) 2.37 ระยะไข-่ ตวั เต็มวัย (เพศผ)ู้ 5.5 ระยะไข-่ ตวั เตม็ วยั (เพศเมีย) 6.0 วงจรชวี ติ ของไรตวั ห้�ำ Amblyseius longispinosus (Evans) เมื่อเล้ยี งดว้ ยไรสองจดุ Tetranychus urticae Koch เปน็ อาหาร จากการศึกษาวงจรชีวิตของไรตัวห�้ำท่ีเลี้ยงด้วยไรสองจุด พบว่ามีวงจรชีวิตส้ันมาก โดยมีการเจริญเติบโต จากไขเ่ ป็นตัวเตม็ วัยใชเ้ วลาประมาณ 3.8 วนั เทา่ นนั้ สรปุ ระยะการเจรญิ เติบโตในวยั ต่างๆ ของไรตัวห้ำ� ดงั น้ี วงจรชีวิตของไรตัวห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) เพศเมียเม่ือเล้ียงด้วยไรสองจุด Tetranychus urticae Koch ระยะการเจริญเติบโต ระยะการเจริญเติบโต (วนั ) ระยะไข่ 1.42 ตัวออ่ นวยั 1 0.54 ตวั ออ่ นวยั 2 0.75 ตัวออ่ นวยั 3 1.05 ระยะไข-่ ตัวเต็มวัย 3.76 204 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

อาหารและอุปนิสยั การกนิ เหย่อื ของไรตวั ห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) ไรตััวห้ำำ��ชอบวางไข่่อยู่�ใต้้เส้้นใยของไรแมงมุุม หรืืออยู่�ใกล้้ฐานเส้้นใบพืืช หรืือส่่วนที่�ใบพืืชโค้้งงอ เป็็นแอ่่งหลุุม เพราะไรตััวห้ำำ��ต้้องการใช้้เป็็นเกราะกำำ�บัังกลุ่�มไข่่ เมื่�อไรตััวห้ำำ��อาศััยปะปนอยู่่�กัับกลุ่�มของ ไรแมงมุุม จะสัังเกตเห็็นได้้ว่่าไรตััวห้ำำ��เคลื่�อนไหวได้้รวดเร็็วกว่่าไรแมงมุุม อย่่างไรก็็ตามการแยกความแตกต่่าง ระหว่า่ งไรตัวั ห้ำำ��และไรแมงมุุมด้ว้ ยตาเปล่า่ ทำำ�ได้ย้ าก วิิธีีที่่�ดีีที่่�สุดุ จึึงควรส่อ่ งดูไู รด้้วยแว่่นขยายกำำ�ลัังขยาย 10 เท่่าขึ้้�นไป เพื่�อเห็็นลัักษณะของไข่่ สีีของลำำ�ตัวั และขาคู่่�หน้้าของไรตััวห้ำำ�� อุุปนิิสัยั การกิินเหยื่�อ ไรตัวั ห้ำำ��จะใช้้ขาคู่่�หน้้าช่่วยในการจัับเหยื่�อ จากนั้�นใช้้อวััยวะคล้้ายก้้ามปูู (chelicerae) ยึึดเหยื่�อไว้้ แล้้วใช้้ส่่วนของเข็็มแหลม (stylets) เจาะลงบนเหยื่�อ ถ้้าเหยื่�อนั้�นมีีแผ่่นแข็็งคลุุมด้้านหลััง ไรตัวห้�ำจะเลือกเจาะทางด้านข้างของล�ำตัว เม่ือไรตัวห้�ำดูดของเหลวในล�ำตัวเหยื่อจนเหยื่อแห้งแล้วจึง ปล่่อยเหยื่�อ และหลบอยู่�ใต้้ซากเหยื่�อที่�ตายแล้้ว จากการศึึกษาพบว่่าไรตััวห้ำำ��หลัังฟัักออกจากไข่่เป็็นตััวอ่่อนวััย 1 จะไม่่กิินอาหาร เริ่�มกิินอาหารเมื่�อเป็็นระยะตััวอ่่อนวััย 2 และพบว่่าระยะที่่�ต้้องการอาหารมากที่่�สุุด คืือ ระยะ เพศเมีียที่่�กำำ�ลัังจะวางไข่่ ทั้�งนี้�เพราะต้้องการพลัังงานในการผลิิตไข่่ ไรตััวห้ำำ��ชอบเลืือกกิินไข่่ของไรแมงมุุม มากกว่่ากิินตััวอ่่อนหรืือตััวเต็็มวััยของไรแมงมุุมในระยะที่�เคลื่�อนไหวได้้ ส่่วนระยะที่�ไรแมงมุุมเป็็นดัักแด้้กำำ�ลัังพัักตััว เพื่�อจะลอกคราบ ไรตัวั ห้ำำ��ไม่่ชอบกินิ เพราะมีคี วามยากลำำ�บากในการเจาะเปลืือกหุ้�มลำำ�ตัวั ดักั แด้้ของไรแมงมุมุ กลไกการท�ำลายศัตรูพื ช ไรตััวห้ำำ�� A. longispinosus กิินเหยื่�อแบบเฉพาะเจาะจง (specialist) โดยกิินเหยื่�อเฉพาะที่�เป็็น ไรแมงมุมุ ในวงศ์์ Tetranychidae บางสกุุลเท่า่ นั้้�น ตััวอ่อ่ นวัยั 1 (larva) ไม่ก่ ินิ อาหาร แต่ต่ ัวั อ่่อนวััย 2 และ 3 กิินได้้ทั้�งไข่่และตััวอ่่อนทุุกระยะของไรแมงมุุม จำำ�นวนเหยื่�อที่่�กิินได้้ขึ้�นอยู่่�กัับประชากรเหยื่�อ อุุณหภููมิิ และ ความชื้�นสััมพััทธ์์ของสภาพแวดล้้อม เมื่�ออุุณหภููมิิสููงขึ้�นและความชื้�นสััมพััทธ์์ในอากาศลดลง ไรตััวห้ำำ��จะ กิินไรแมงมุุมได้้มากขึ้�น แต่่ถ้้าความชื้�นในอากาศต่ำำ��กว่่า 60% การเจริิญเติิบโต และเปอร์์เซ็็นต์์การฟัักไข่่ของ ไรตััวห้ำำ��จะลดลง ไรตััวห้ำำ��เพศเมีียกิินตััวอ่่อนของไรแมงมุุมได้้วัันละ 20-30 ตััว กิินไข่่ได้้สููงถึึงเฉลี่�ยวัันละ 70-80 ฟอง ทั้�งนี้�แล้้วแต่่ชนิิดของไรตััวห้ำำ��และเหยื่�อ เพศเมีียกิินเหยื่�อเพื่�อใช้้เป็็นพลัังงานในการผลิิตไข่่ บางครั้�ง พบว่า่ ไรตััวห้ำำ��สามารถวางไข่ไ่ ด้้ถึึง 5 ฟอง/วััน ซึ่�งมีนี ้ำำ��หนัักมากกว่า่ น้ำำ��หนัักของตััวมันั เอง เอกสารวิชาการ 205 ชวี ภัณฑป์ ้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

กข ก) ตัวั เต็ม็ วััยเพศเมีียของไรตััวห้ำำ�� Amblyseius longispinosus (Evans) ดููดกิินตััวอ่่อนของไรสองจุุด Tetranychus urticae Koch ข) ตัวั เต็ม็ วัยั เพศเมีียของไรตัวั ห้ำำ�� Amblyseius longispinosus (Evans) ดูดู กิินไข่ข่ องไรสองจุดุ Tetranychus urticae Koch ลักษณะเดน่ ของไรตวั ห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) 1. ตััวอ่่อนและตััวเต็็มวััยวิ่�งได้้ว่่องไวมาก ขาคู่่�หน้้ายาวใช้้ในการจัับเหยื่�อเมื่�อไรตััวห้ำำ��อยู่�ปะปนกัับ ไรศััตรููพืืชอื่�นๆ จะสังั เกตได้้ง่า่ ย คืือลัักษณะของลำำ�ตัวั มัันวาว และวิ่�งไปมาได้้อย่่างรวดเร็ว็ 2. วงจรชวี ติ ของไรตวั ห�้ำจากไขเ่ ป็นตวั เต็มวัยสน้ั เพียง 3.8 วัน ตัวเตม็ วยั มีอายปุ ระมาณ 15 วนั 3. ไรตวั หำ้� 1 ตัว ดดู กินไข่ไรสองจุดได้มากถึงวนั ละ 80 ฟอง กนิ ตวั ออ่ นได้วันละ 12-13 ตัว 4. มกี ารเจรญิ เตบิ โตเพิ่มประชากรได้รวดเร็ว โดยวางไข่ได้วันละ 3-4 ฟอง 5. ค่อนขา้ งทนทานตอ่ สารป้องกันก�ำจัดศัตรพู ชื บางชนิด 6. เพาะเลย้ี งขยายได้ง่าย วิธีการใช้ชีวภัณฑ์ควบคมุ ศัตรูพื ช ไรตัวห�้ำ A. longispinosus ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการหรือในระดับโรงเรือนทดลองแล้วพบว่ามี ศักยภาพดีสามารถควบคุมไรศัตรูพืชบางชนิดได้ บางชนิดท�ำการทดสอบจนประสบความส�ำเร็จในสภาพไร่ แตบ่ างชนดิ ตอ้ งมีการศกึ ษาเพิ่มเติม 206 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศตั รูพื ช

ไรตวั ห้ำ� Amblyseius longispinosus (Evans) ที่มศี กั ยภาพควบคุมไรศตั รูพืชบนพชื เศรษฐกจิ ในประเทศไทย ไรตวั ห้�ำ ไรศตั รพู ชื พชื Amblyseius longispinosus ไรสองจดุ Tetranychus urticae Koch สตรอว์เบอรร์ ี 1/ ไรสองจุด Tetranychus urticae Koch กุหลาบ1/ ไรแมงมุมคนั ซาวา Tetranychus kanzawai Kishida กุหลาบ1/ ไรแดงอัญชนั Tetranychus piercei McGregor แตงกวายุโรป2/ ไรแดงแอฟรกิ นั Eutetranychus africanus (Tucker) สม้ 3/ ไรเหลอื งสม้ Eotetranychus cendanai Rimando สม้ 3/ ไรแดงแอฟริกัน Eutetranychus africanus (Tucker) ทเุ รยี น3/ 1/ใช้ไ้ รตัวั ห้ำำ��ควบคุุมไรศััตรูพู ืืชในสภาพไร่่ได้้สำำ�เร็็จแล้ว้ 2/ใช้ไรตวั หำ�้ ควบคมุ ไรศตั รพู ชื ระดับโรงเรือนได้ส�ำเร็จแลว้ ยังไม่ได้ทดสอบในสภาพไร่ 3/ทดสอบใชใ้ นสภาพไรแ่ ล้วไม่ไดผ้ ล ตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ 1. การใช้ไรตวั ห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) ควบคุมไรสองจุด ในสตรอวเ์ บอร์รี ไรสองจุดุ Tetranychus urticae Koch เป็็นศััตรููที่่�สำำ�คัญั ของสตรอว์เ์ บอร์ร์ ีี พบระบาดทั่�วๆ ไปทุกุ แหล่่ง ปลููกสตรอว์์เบอร์์รีี การเจริิญเติิบโตของไรสองจุุดจากไข่่เป็็นตััวเต็็มวััยประมาณ 8-9 วััน สามารถเพิ่�มจำำ�นวน ประชากรได้้รวดเร็็ว มีีพืืชอาศััยหลายชนิิด นอกจากนี้้�ยัังเป็็นศััตรููของพืืชเศรษฐกิิจที่�ปลููกในที่่�สููง และพื้�นที่่�ที่่�มีี อากาศค่่อนข้า้ งหนาวเย็็น เช่่น กุหุ ลาบ คาร์์เนชั่�น เบญจมาศ เป็น็ ต้น้ กข ก) ตัวั อ่่อนไรสองจุุด Tetranychus urticae Koch ข) ตัวั เต็็มวััยไรสองจุดุ Tetranychus urticae Koch เอกสารวิชาการ 207 ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

ลกั ษณะการทำ� ลายของไรสองจุดบนสตรอว์เบอร์รี ไรสองจุุดทำำ�ลายสตรอว์์เบอร์์รีีด้้านใต้้ใบ ทำำ�ให้้ใบด้้านบนมองเห็็นเป็็นจุุดประสีีเหลืือง เมื่�อการทำำ�ลาย เพิ่�มขึ้�นจะสร้า้ งใยคลุุม ใบเปลี่�ยนเป็็นสีีน้ำำ��ตาล เหี่�ยวแห้้ง ถ้า้ ทำำ�ลายอย่า่ งรุุนแรง ต้้นสตรอว์เ์ บอร์ร์ ีีจะแคระแกร็็น ผลผลิิตลดลง การทำำ�ลายในต้้นฤดููปลููกมีีผลกระทบต่่อผลผลิิตตลอดทั้�งฤดูู การระบาดของไรสองจุุดรุุนแรง ในช่่วงเดืือนกุุมภาพัันธ์์-มีีนาคม ซึ่�งเป็็นช่่วงที่�สตรอว์์เบอร์์รีีกำำ�ลัังให้้ผลผลิิตสููงสุุด มีีการเก็็บเกี่�ยวผลสดทุุกวััน เกษตรกรจึึงไม่่มีีการเว้้นระยะการใช้้สารกำำ�จััดไรก่่อนเก็็บเกี่�ยว นอกจากนั้�นไรสองจุุดสามารถต้้านทานสารกำำ�จััดไร ได้้รวดเร็็ว การระบาดของไรจึึงรุุนแรงมากขึ้�นเรื่�อยๆ ดัังนั้�นการใช้้ไรตััวห้ำำ��ในการควบคุุมไรสองจุุดจึึงเป็็น ทางเลืือกหนึ่�งซึ่�งใช้้ได้ผ้ ล ไรสองจดุ Tetranychus urticae Koch ดดู กินใต้ใบสตรอวเ์ บอร์รี ค�ำแนะน�ำวธิ กี ารใชไ้ รตัวห้ำ� Amblyseius longispinosus (Evans) ควบคุมไรสองจดุ ปล่อ่ ยไรตััวห้ำำ��อัตั รา 2-5 ตัวั /ต้้น หรืือประมาณ 5,300-13,300 ตัวั /แปลงสตรอว์เ์ บอร์ร์ ีีในพื้�นที่� 1 งาน (400 ตารางเมตร) ให้้เริ่�มปล่่อยทัันทีีเมื่�อพบไรสองจุุดเข้้าทำำ�ลายใบ (พบ 1-2 ตััว/ใบย่่อย) โดยการวางใบถั่�ว ที่่�มีีไรตััวห้ำำ��ลงบนทรงพุ่�มสตรอว์์เบอร์์รีี ปล่่อยไรตััวห้ำำ��เป็็นระยะๆ ห่่างกัันครั้�งละประมาณ 2 สััปดาห์์ แต่่ หากพบไรสองจุุดระบาดมาก (พบ 15-20 ตััว/ใบย่่อย) ต้้องปล่่อยไรตััวห้ำำ��ในอััตราสููงประมาณ 30-50 ตััว/ต้้น จำำ�นวน 3-4 ครั้�งตลอดฤดููปลููก จึึงจะสามารถควบคุุมการระบาดของไรสองจุุดได้้ ในกรณีีที่่�มีีเพลี้�ยไฟระบาด ในแปลงปลููกด้้วยควรใช้้สารอิิมิิดาคลอพริิด (imidacloprid) ห่่างกััน 10-14 วััน หลัังจากนั้�นจึึงปล่่อยไรตััวห้ำำ�� ต่่อไปจนกระทั่�งควบคุุมไรสองจุุดได้้ หากพบหนอนกระทู้้�ผััก หรืือหนอนกระทู้�ชนิิดอื่�นๆ กััดกิินใบอ่่อนให้้ใช้้ เชื้�อบีีทีี (Bt) พ่น่ พร้้อมกับั การปล่อ่ ยไรตัวั ห้ำำ�� 208 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

ปลอ่ ยไรตวั หำ้� Amblyseius longispinosus (Evans) บนทรงพุม่ สตรอว์เบอร์รี เพ่ือควบคุมไรสองจดุ Tetranychus urticae Koch 2. การใชไ้ รตัวห�้ำ Amblyseius longispinosus (Evans) ควบคุมไรศตั รูกุหลาบ ไรทเี่ ป็นศตั รขู องกหุ ลาบมี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ ไรแมงมุมคนั ซาวา Tetranychus kanzawai Kishida และ ไรสองจดุ Tetranychus urticae Koch ไรท้งั 2 ชนดิ มลี กั ษณะการท�ำลายบนกุหลาบคลา้ ยกนั ลักษณะการทำ� ลายของไรศตั รูกุหลาบ ตััวอ่่อนและตััวเต็็มวััยของไรดููดทำำ�ลายอยู่�บริิเวณใต้้ใบกุุหลาบ โดยสร้้างใยขึ้�นปกคลุุมผิิวใบบริิเวณที่�ไร อาศััยอยู่�รวมกััน ใบกุุหลาบที่่�ถููกไรชนิิดนี้้�ดููดทำำ�ลายในระยะแรกจะมีีรอยประสีีขาวเป็็นจุุดเล็็กๆ ปรากฏขึ้้�นที่� บริิเวณหน้้าใบ ต่่อมาจุุดประสีีขาวแผ่่ขยายออกเป็็นบริิเวณกว้้างทำำ�ให้้ใบมีีอาการเหลืืองซีีด ถ้้าการทำำ�ลาย ยัังคงดำำ�เนิินอยู่�อย่่างต่่อเนื่�องอาจมีีผลทำำ�ให้้กุุหลาบทั้�งต้้นทิ้�งใบและแห้้งตายเหลืือแต่่กิ่�ง เมื่�อถึึงระยะนี้�ไรจะ ไต่่ขึ้ �นไปรวมกัันแน่่นอยู่ �ตรงบริิเวณยอดและปลายกิ่ �งพร้้อมกัับสร้้างเส้้นใยทิ้ �งตััวลงมาเพื่ �อรอเวลาให้้ลมพััดปลิิว ไปตกยัังพืืชอาศััยต้้นใหม่่ต่่อไป เนื่�องจากการระบาดของไรชนิิดนี้�เกิิดขึ้�นเกืือบตลอดทั้�งปีี จึึงพบการต้้านทาน ต่อ่ สารกำำ�จััดไรในหลายพื้�นที่�ปลูกู กุุหลาบ ลักษณะการทำ� ลายของไรศตั รูกหุ ลาบบนดอก ยอดอ่อน และใบแก่ เอกสารวิชาการ 209 ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดศัตรูพื ช

คำ� แนะน�ำวธิ กี ารใชไ้ รตวั ห้ำ� Amblyseius longispinosus (Evans) ควบคมุ ไรศตั รูกุหลาบ ปล่่อยไรตััวห้ำำ��โดยการวางทาบใบถั่�วที่่�มีีไรตััวห้ำำ��ลงบนใบหรืือทรงพุ่�มของกุุหลาบที่่�มีีไรระบาด ไรตััวห้ำำ�� จะเดินิ เคลื่�อนย้า้ ยจากใบถั่�วไปกิินไรศัตั รูกู ุุหลาบบนต้น้ กุุหลาบที่�ไรศัตั รููกุุหลาบหลบซ่อ่ นอยู่� อัตราการปล่อยไรตัวห�้ำเพื่อควบคุมไรสองจุดและไรแมงมุมคันซาวาในแปลงกุหลาบท่ีเหมาะสม คือ ปลอ่ ยอัตรา 3-4 ตัว/ต้น (ประมาณ 20,000 ตวั /ไร)่ ทุกๆ 2-3 สัปดาห์ ในชว่ ง 9-10 สปั ดาหแ์ รกหลังเริม่ ปล่อย ซึ่�งเป็็นช่่วงที่�ไรตััวห้ำำ��กำำ�ลัังอยู่�ในระยะตั้�งตััว หากมีีการระบาดของไรศััตรููกุุหลาบรุุนแรงมาก ให้้พ่่นสาร กำำ�จััดไรที่�ปลอดภัยั ต่่อไรตัวั ห้ำำ�� เช่่น fenbutatin oxide อัตั รา 20 มิลิ ลิลิ ิติ ร/น้ำำ�� 20 ลิิตร จำำ�นวน 2 ครั้�ง โดยพ่่น เฉพาะจุดที่มีไรระบาดและกุหลาบบริเวณขอบโรงเรือน หลังจากนั้นการปล่อยไรตัวห้�ำเพียงเดือนละ 1 คร้ัง สามารถควบคุุมไรศััตรููกุุหลาบได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพตลอดทั้�งปีี ในปีีต่่อไปสามารถปล่่อยไรตััวห้ำำ��ในอััตรา 3-4 ตัวั /ต้น้ เป็น็ ระยะๆ เดืือนละ 1 ครั้�ง การผสมผสานการปล่อ่ ยไรตััวห้ำำ��ร่ว่ มกัับการพ่น่ สารกำำ�จัดั ไรที่�ปลอดภััย กับไรตวั ห้�ำน้ี ไดท้ ดสอบแล้วว่าเป็นวิธีการควบคมุ ไรศัตรกู หุ ลาบไดอ้ ยา่ งยั่งยืน ปลอ่ ยไรตัวห้ำ� Amblyseius longispinosus (Evans) บนทรงพุ่มกหุ ลาบเพอ่ื ควบคุมไรศตั รูกหุ ลาบ ข้อควรระวังและข้อจำ� กดั การใช้้ไรตัวั ห้ำำ�� A. longispinosus ควบคุุมไรศัตั รูพู ืชื 1. ไม่ควรให้นำ้� ต้นพชื ก่อนหรือหลังการปล่อยไรตวั หำ�้ ทันที เพราะไรตวั หำ้� อาจตายได้ 2. ไมส่ ามารถเก็บไรตัวห้�ำไวไ้ ด้นาน เพราะไรตวั หำ้� มีอยูใ่ นสภาพอดอาหารไดเ้ พียง 1-2 วัน เท่านัน้ 3. มีสารป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชหลายชนิดท่ีเป็นอันตรายต่อไรตัวห้�ำ จึงไม่สามารถใช้ร่วมกับการปล่อย ไรตัวห�้ำได้ ดังน้ันถ้ามีความจ�ำเป็นต้องใช้สารป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช เพ่ือป้องกันศัตรูชนิดอื่นๆ ในสตรอว์เบอร์รี หรือกหุ ลาบ ตอ้ งทงิ้ ระยะเวลาประมาณ 2 สปั ดาห์ จงึ เรม่ิ ปล่อยไรตัวห้�ำตอ่ ไป จากการทดสอบความเป็็นพิิษของสารป้้องกันั กำำ�จััดศััตรูพู ืืช 36 ชนิดิ ที่่�มีตี ่่อไรตััวห้ำำ�� A. longispinosus (Evans) ในอััตราความเข้้มข้้นที่�ใช้้ในสภาพไร่่ ด้้วยวิิธีี leaf-dip method (ทดสอบผลกระทบของพิิษตกค้้าง แบบเฉีียบพลัันและพิิษตกค้า้ งนาน 7 วััน) พบว่่ามีสี ารที่่�จััดว่า่ ปลอดภััยต่อ่ ไรตัวั ห้ำำ�� 12 ชนิิด สารที่่�มีีพิิษเล็็กน้้อย 11 ชนิิด สารที่่�มีพี ิษิ ปานกลาง 7 ชนิิด และสารที่่�มีพี ิิษร้้ายแรง 6 ชนิิด ดัังแสดงชื่�อสามัญั ของสารไว้ใ้ นตารางดังั นี้� 210 เอกสารวชิ าการ ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศัตรูพื ช

ความเป็็นพิิษของสารเคมีีกำำ�จััดแมลง ไร และสารป้้องกันั กำำ�จััดโรคพืืชที่่�มีตี ่อ่ ไรตัวั ห้ำำ�� Amblyseius longispinosus (Evans) ชื่อสามัญ ปลอดภยั มพี ษิ เล็กนอ้ ย มพี ิษปานกลาง มพี ิษรา้ ยแรง สารฆ่าไร l l fenbutatin oxide l fenpyroximate l l propargite l สารเคมีก�ำจัดแมลงและไร l buprofezin l l pyridaben l l petroleum oil l l abamectin l ethion l l methomyl amitraz l l สารเคมีกำ� จัดแมลง l l clothianidin l l dinotefuran l fenobucarb l imidacloprid lambda-cyhalothrin l lufennuron l acetamiprid l diafenthiuron l emamectin benzoate indoxacarb l tebufenozide l cypermethrin l etofenprox l fipronil l spinosad carbaryl l carbosulfan l chlorpyrifos l chlorpyrifos+cypermethrin prothiofos สารป้องกนั ก�ำจัดโรคพชื carbendazim trifloxystrobin validamycin carbendazim+mancozeb mancozeb sulfur 1/1 = ปลอดภยั (ตาย<30%); 2 = อนั ตรายเล็กนอ้ ย (ตาย 30-79%); 3 = อนั ตรายปานกลาง (ตาย 80-99%); 4 = อนั ตราย (ตาย >99%) (Hassan, 1994) เอกสารวิชาการ 211 ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดศตั รูพื ช

การประเมนิ ประสิทธภิ าพในการควบคุม เมื่�อปล่่อยไรตัวั ห้ำำ��แล้ว้ ให้้ติิดตามผลการควบคุุมไรศััตรูพู ืืช ดังั นี้� 1. สุ่่�มตรวจใบพืืช 1-2 วััน หลัังปล่่อยไรตััวห้ำำ�� โดยพลิิกสำำ�รวจใบด้้วยแว่่นขยายทั้�งด้้านบนและ ใต้้ใบในบริิเวณที่�ปล่่อยไรตััวห้ำำ�� หากพบไรตััวห้ำำ�� (ไข่่/ตััวอ่่อน/ตััวเต็็มวััย) ปะปนอยู่่�กัับกลุ่�มของไรศััตรููพืืช พบมีซากไรศัตรูพืชถูกดูดกิน แสดงว่าไรตัวห้�ำสามารถด�ำรงชีวิตอยู่บนพืชนั้นๆ ได้ เพราะหากสภาพแวดล้อม ไมเ่ หมาะสมไรตวั หำ�้ จะหนหี ายไปทันที 2. สุ่่�มตรวจใบพืืช 3-4 วัันหลัังปล่่อยไรตััวห้ำำ�� หากพบไข่่หรืือตััวอ่่อนของไรตััวห้ำำ�� แสดงว่่าไรตััวห้ำำ�� สามารถตั้�งตััวได้้ (establishment) โดยสัังเกตประชากรของไรศััตรููพืืชหากไม่่ลดลงให้้ปล่่อยไรตััวห้ำำ��เพิ่�ม บนพืชื นั้�นๆ และปล่อ่ ยซ้ำำ��เป็น็ จุดุ ๆ เฉพาะบริิเวณที่�พบไรศััตรูพู ืืชจนพบว่า่ ไรศัตั รููพืชื ลดลงและหมดไป 3. หากสุ่�มตรวจแล้้วไม่พ่ บไข่่ ตัวั อ่่อน และตััวเต็็มวััยไรตััวห้ำำ��ที่่�ปล่อ่ ยไปภายใน 7 วััน อาจจะประเมิินได้้ ว่่าไรตััวห้ำำ��ไม่่มีีประสิิทธิิภาพในการควบคุุมไรแมงมุุมศััตรููพืืช แม้้ผ่่านการทดสอบเบื้�องต้้นมาแล้้วว่่าไรตััวห้ำำ�� สามารถกิินไรแมงมุุมชนิิดนั้�นเป็็นอาหารได้้ แต่่ทั้�งนี้้�ข้้อจำำ�กััดของการใช้้ไรตััวห้ำำ��มีีหลายประการ โดยเฉพาะ การใช้้สารป้อ้ งกันั กำำ�จััดศัตั รููพืืชที่�ตกค้า้ งอยู่�บนพืืชก่่อนการปล่อ่ ยไรตััวห้ำำ�� สภาพแวดล้้อมอื่�นๆ เช่น่ ความชื้�นสัมั พัทั ธ์์ ในอากาศ การผลิตขยายชีวภณั ฑ์ การผลิตไรตวั หำ้� Amblyseius longispinosus (Evans) เหยื่�อที่�เหมาะสมที่่�สุุดในการเพาะเลี้�ยงไรตััวห้ำำ�� A. longispinosus คืือ ไรแดงหม่่อน Tetranychus truncatus Ehara ส่่วนพืืชอาศััยที่�ไรแดงหม่่อนชอบ และสามารถเพิ่�มปริิมาณประชากรได้้รวดเร็็วที่่�สุุด คืือ ถั่�วในสกุุล Vigna spp. วงศ์์ Fabaceae ได้้แก่่ ถั่�วพุ่�ม cowpea, Vigna unguiculata (L.) และถั่�วเขีียว mung bean, V. radiata ถั่�วที่�ใช้้เป็็นพืืชอาศััยได้้ดีีใกล้้เคีียงกัับถั่�วพุ่�มและถั่�วเขีียวแต่่หาง่่ายและราคาถููก ได้แ้ ก่่ ถั่�วดำำ� black seeded race, V. sinensis การผลิิตไรตัวั ห้ำำ��แบ่่งเป็็น 2 ส่ว่ น ดัังนี้� ส่่วนที่่� 1 การเพาะเลี้้�ยงพ่่ อแม่พ่ ัั นธุ์์�ไรแดงหม่่อน และพ่่ อแม่พ่ ัั นธุ์์�ไรตัวั ห้ำำ�� ในการผลิตไรตัวห�้ำเป็นจ�ำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ต้องท�ำการเก็บรักษาพ่อแม่พันธุ์ทั้งไรแดงหม่อนและ ไรตัวห้�ำไว้ในปริมาณท่ีพอเหมาะ เพ่ือใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ตั้งต้นส�ำหรับน�ำไปผลิตไรตัวห้�ำเป็นปริมาณมากใน โรงเรืือนต่่อไป ทั้�งนี้�ขึ้�นอยู่่�กัับแรงงานและความต้้องการใช้้ไรตััวห้ำำ�� ในส่่วนนี้�ควรทำำ�การเพาะเลี้�ยงในห้้องปรัับอากาศ ปิิดมิิดชิิด มีีการป้้องกัันการปนเปื้�อนของไรตััวห้ำำ��ซึ่่�งมัักเล็็ดลอดเข้้าไปในกลุ่�มไรแดงหม่่อนที่�เป็็นอาหาร หาก ผู้�เลี้�ยงไม่่ระมััดระวัังจะทำำ�ให้ไ้ ม่ส่ ามารถเก็บ็ รัักษาพ่่อแม่พ่ ันั ธุ์�ไรแดงหม่่อนไว้้ได้้ 212 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช

1.1 วธิ กี ารเพาะเลี้ยงพ่อแมพ่ นั ธุไ์ รแดงหม่อน เก็บไรแดงหม่อนจากต้นถ่ัวฝักยาวหรือมันส�ำปะหลัง น�ำมาเลี้ยงบนใบหม่อนที่มีอายุประมาณ 2-3 สปั ดาห์ ในหอ้ งปรับอากาศที่มีอุณหภูมิประมาณ 27-28 องศาเซลเชยี ส หรือในห้องอุณหภมู ปิ กตทิ ไี่ ม่รอ้ นมาก แต่การเลี้ยงในห้องปรับอากาศ ใบหม่อนท่ีใช้เป็นพืชอาหารจะมีอายุยืนยาวกว่า ไม่เห่ียวง่าย ท�ำการเล้ียงขยาย ไรแดงหม่่อนโดยใช้้พู่่�กัันเขี่�ยไรแดงหม่่อนเพศเมีียและเพศผู้�ประมาณ 20-30 คู่� ใต้้กล้้องจุุลทรรศน์์ หรืือ ใต้้แว่่นขยายบนใบหม่่อนที่�วางคว่ำำ��ใบบนสำำ�ลีีซึ่�งอยู่�ในถาดพลาสติิกขนาด 12x14 นิ้�ว หล่่อน้ำำ��ให้้ท่่วมสำำ�ลีี เพื่�อให้้ใบหม่่อนสดอยู่�ได้้เป็็นเวลานาน และไรแดงหม่่อนที่�อาศััยอยู่�บนใบไม่่สามารถเดิินหนีีออกจากใบได้้ นำำ�ถาดวางบนชั้�นที่�ใช้้หลอดฟลููออเรสเซนต์์ให้้แสงนาน 9 ชั่�วโมง/วััน ปล่่อยทิ้�งให้้ไรแดงหม่่อนเจริิญพัันธุ์� ขยายประชากรจนใบหม่อนเริ่มเห่ียว ท�ำการขยายไรแดงหม่อนต่อไป โดยตัดใบหม่อนที่เห่ียวแล้วเป็นช้ินเล็กๆ นำ� ไปวางบนใบใหม่ ซึง่ ใบเก่า 1 ใบ สามารถขยายตอ่ ไปยงั ใบใหมไ่ ด้ 3-4 ใบ 1.2 วธิ กี ารเพาะเล้ยี งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุไรตวั หำ้� ไรตััวห้ำำ�� A. longispinosus ที่�ใช้้เป็็นพ่่อแม่่พัันธุ์� ขอรัับได้้จากกลุ่�มงานวิิจััยไรและแมงมุุม ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ท�ำการเพาะเล้ียงขยายปริมาณพ่อแม่พันธุ์ในห้องปรับอากาศ เช่่นเดีียวกัับการเลี้�ยงไรแดงหม่่อน โดยเขี่�ยไรตััวห้ำำ��เพศเมีียและเพศผู้�ลงบนใบหม่่อนที่่�มีีพ่่อแม่่พัันธุ์�ไรแดงหม่่อน อยู่�อย่่างหนาแน่่นเต็็มใบแล้้วประมาณ 10-20 คู่� เพื่�อให้้ไรตััวห้ำำ��กิินไรแดงหม่่อนแล้้วขยายพัันธุ์�เพิ่�มมากขึ้�น นำำ�ถาดเลี้�ยงวางบนชั้�นที่�ใช้้หลอดฟลููออเรสเซนต์์ให้้แสงนาน 9 ชั่�วโมง/วััน ไรตััวห้ำำ��จะสามารถขยายจำำ�นวน ประชากรได้้มากหรืือน้้อยขึ้�นอยู่่�กัับจำำ�นวนไรแดงหม่่อนและสภาพใบหม่่อน ถ้้าไรแดงหม่่อนมีีปริิมาณมากและ ใบหม่่อนมีีความสดอยู่�ได้้เป็็นเวลานานก็็สามารถขยายไรตััวห้ำำ��ได้้มากขึ้�นด้้วย วิิธีีการย้้ายไรตััวห้ำำ��จากใบหม่่อน ที่�เหยื่�อหมด หรืือใบเหี่�ยวเฉาไปยัังใบหม่่อนใบใหม่่ ให้้ใช้้วิิธีีการตััดใบเก่่าที่่�มีีไรตััวห้ำำ��อยู่่�นำำ�ไปวางทาบบนใบหม่่อน สดใหม่่ที่่�มีีไรแดงหม่่อนอยู่� ให้้ไรตััวห้ำำ��เดิินย้้ายลงไปกิินอาหารบนใบใหม่่ ซึ่�งใบเก่่า 1 ใบ สามารถขยายต่่อไป ยังั ใบใหม่่ได้้ 3-4 ใบ ขึ้�นอยู่่�กัับปริิมาณไรตััวห้ำำ��และไรอาหารบนใบหม่อ่ นนั้�นๆ ขอ้ ควรระวัง ในการเพาะเลย้ี งพ่อแมพ่ นั ธุ์ไรแดงหมอ่ น และพ่อแม่พนั ธุไ์ รตวั หำ้� 1. ห้้องเลี้�ยงไรแดงหม่่อนต้้องอยู่�แยกจากห้้องเลี้�ยงไรตััวห้ำำ�� ผู้�เลี้�ยงต้้องระมััดระวัังไม่่ให้้ไรตััวห้ำำ�� ติิดภาชนะหรืือเสื้�อผ้้า ควรทำำ�งานในห้้องเลี้�ยงไรแดงหม่่อนก่่อนเข้้าทำำ�งานในห้้องเลี้�ยงไรตััวห้ำำ�� ทั้�งนี้�เพื่�อป้้องกััน ไม่ใ่ ห้ไ้ รตัวั ห้ำำ��ปะปนเข้า้ ไปกิินพ่่อแม่พ่ ันั ธุ์�ไรแดงหม่่อน 2. ควรเก็็บรัักษาไรแดงหม่่อนและไรตััวห้ำำ��พ่่อแม่่พัันธุ์�ในปริิมาณที่�ผู้�เลี้�ยงสามารถดููแลได้้อย่่างทั่�วถึึง หากมีีไรมากเกิินไปการปนเปื้�อนอาจจะเกิดิ ขึ้�นได้ง้ ่า่ ย เอกสารวิชาการ 213 ชีวภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช

สว่ นท่ี 2 วิธกี ารเลย้ี งขยายไรแดงหมอ่ นและไรตวั ห�้ำใหไ้ ดป้ รมิ าณมากบนตน้ ถว่ั การเลี้�ยงขยายไรแดงหม่่อนและไรตััวห้ำำ��บนพืืชอาศััย (ต้้นถั่�ว) ในโรงเรืือน ขึ้�นอยู่่�กัับความต้้องการปริิมาณ ไรตััวห้ำำ�� โดยโรงเรืือนที่�ใช้้มุุงด้้วยตาข่่ายถี่่�มีีหลัังคากัันฝนเป็็นพลาสติิกใสให้้ได้้รัับแสงแดดเต็็มที่� เพื่�อให้้ต้้นถั่�ว เจริิญเติิบโตดีี ซึ่�งมีผี ลทำำ�ให้้ไรแดงหม่อ่ นขยายพัันธุ์�ได้้มากและรวดเร็ว็ 2.1 วิธิ ีีการเลี้�ยงขยายไรแดงหม่่อนให้้ได้้เป็น็ ปริิมาณมากบนต้น้ ถั่�ว ทำำ�การเพาะเลี้�ยงไรแดงหม่่อนบนต้้นถั่�วดำำ�หรืือถั่�วพุ่�มในโรงเรืือน ปลููกต้้นถั่�วในถุุงเพาะชำำ�ใส่่ใน ตะกร้้าๆ ละ 6 ถุุง วางบนขาตั้้�งและหล่่อน้ำำ��เพื่�อป้้องกันั มดซึ่�งเป็็นศััตรูทู ี่่�สำำ�คัญั ของไรแดงหม่่อน การเพาะปลูกู ถั่�ว ในตะกร้า้ ทำำ�ให้้สะดวกในการเคลื่�อนย้้ายต้้นถั่�วและดูแู ลรัักษา หรือื อาจใช้้วิธิ ีปี ลููกต้้นถั่�วในกระถางขนาด 6-8 นิ้�ว แทนถุุงเพาะชำำ�ได้้ ใส่่ปุ๋�ยยููเรีียและปุ๋�ยเคมีีสููตร 16-16-16 บำำ�รุุงให้้ต้้นถั่�วแข็็งแรง เมื่�อต้้นถั่�วเริ่�มงอกให้้ใบแท้้ ชุุดแรก (อายุุประมาณ 1 สััปดาห์์) ให้้พ่่นสารเคมีีกำำ�จััดแมลงเพื่�อป้้องกัันกำำ�จััดเพลี้�ยไฟและหนอนชอนใบ ที่�อาจเล็็ดลอดผ่่านมุ้�งตาข่่ายเข้้ามาทำำ�ลายใบถั่�ว สารเคมีีกำำ�จััดแมลงที่�ตกค้้างบนต้้นถั่�วแต่่ไม่่เป็็นอัันตรายต่่อ ไรแดงหม่่อน ได้้แก่่ imidacloprid 10% SL อัตั รา 10 มิิลลิลิ ิิตร/น้ำำ�� 20 ลิติ ร เมื่�อถั่�วอายุุได้้ 2 สััปดาห์์ นำำ�ไรแดงหม่่อนพ่่อแม่่พัันธุ์�ที่�เพาะเลี้�ยงไว้้มาปล่่อยขยายบนต้้นถั่�ว โดยใช้แว่นขยายนับไรแดงบนใบหม่อนประมาณ 700-800 ตัว/ตะกร้า จากน้ันตัดแบ่งใบหม่อนเป็นช้ินเล็กๆ วางทาบลงบนใบถ่ัวให้กระจายท่ัวตะกร้า ปล่อยให้ไรแดงหม่อนขยายพันธุ์เพิ่มประชากรบนต้นถ่ัวนานประมาณ 1-2 สัปดาห์ หรอื มองเหน็ ไรแดงหมอ่ นเกอื บเต็มใบถ่ัวท่วั ทั้งตะกรา้ 2.2 วธิ กี ารเลีย้ งขยายไรตัวห้�ำให้ไดเ้ ป็นปริมาณมากบนต้นถ่ัว ท�ำการเล้ียงในโรงเรือนเช่นกัน แต่ต้องแยกโรงเรือนเพาะเลี้ยงไรตัวห�้ำให้อยู่ห่างออกจากโรงเรือน เพาะเลี้ยงไรอาหาร เพ่ือป้องกันมิให้ไรตัวห้�ำปะปนเข้าไปกินไรแดงหม่อนก่อนที่ไรแดงหม่อนจะเพ่ิมประชากรได้ เป็นปริมาณมาก ข้ันตอนการเล้ียงขยายไรตัวห้�ำเริ่มจากการน�ำต้นถ่ัวท่ีเพาะเล้ียงไรแดงหม่อนไว้ 2 สัปดาห์ (ต้นถ่ัวมีอายุประมาณ 3-4 สัปดาห์) ย้ายเข้าไปไว้ในโรงเรือนเพาะเลี้ยงไรตัวห�้ำ จากนั้นจึงน�ำไรตัวห้�ำสุ่มปล่อย กระจายลงบนตน้ ถัว่ ใหท้ ั่วตะกร้าประมาณ 25-50 ตัว/ตะกรา้ อตั ราไรตัวห�้ำ: ไรแดงหม่อน (อาหาร) ทเ่ี หมาะสม ในการเร่ิมต้นเพาะเลี้ยง คือ 1:20-1:40 ซ่ึงผู้เลี้ยงจะสามารถค�ำนวณได้จากปริมาณไรแดงหม่อนท่ีเพาะได้ก่อน หากไรแดงหม่อนมีปริมาณมาก ก็ให้ปล่อยพ่อแม่พันธุ์ไรตัวห้�ำมากขึ้น แต่หากมีไรแดงหม่อนน้อยก็ให้ปล่อย พ่อแม่พันธุ์ไรตัวห้�ำน้อย จากน้ันปล่อยให้ไรตัวห�้ำกินไรแดงหม่อนขยายพันธุ์เพ่ิมปริมาณเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ จนตน้ กระท่ังไรแดงหมอ่ นที่เปน็ อาหารหมด ต้นถัว่ เร่ิมเหี่ยวแหง้ จึงได้เวลาเกบ็ เกย่ี วไรตัวหำ�้ ที่เหมาะสม ซ่ึงในเวลาดงั กลา่ วจะไดไ้ รตวั หำ�้ ประมาณ 10-20 ตวั /ใบ วิธกี ารเกบ็ เกยี่ ว ทำ� การตดั ใบถ่ัวทม่ี ไี รตวั ห้�ำบรรจลุ งกระบอกกระดาษ ไมค่ วรใสม่ ากเกนิ ไปจนแน่น จากน้ันปิดฝากระบอกกระดาษ ใช้เทปพันให้แน่น พร้อมที่จะน�ำไปปล่อยในแปลงปลูก ซ่ึงในรอบการผลิต 5 สปั ดาห์ จะได้ไรตวั ห้�ำประมาณ 10-20 ตัว/ใบ ท้ังนีจ้ ะผลติ ไรตัวห�ำ้ ไดม้ ากหรอื น้อยขึ้นอย่กู ับจ�ำนวนไรอาหารและ สภาพความสมบูรณ์ของต้นถ่ัว ไรตัวห้�ำบนใบถั่วท่ีบรรจุกระบอกกระดาษแล้ว สามารถมีชีวิตในสภาพอดอาหาร ได้นานประมาณ 3-4 วัน แต่หากเก็บไว้ในห้องเย็นหรือตู้เย็นช่องธรรมดา (อุณหภูมิ 15-17 องศาเซลเชียส) จะสามารถยืดอายไุ รตัวห�ำ้ ใหย้ นื ยาวมากกวา่ เกบ็ ไวห้ อ้ งอณุ หภูมปิ กติ 214 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ป้องกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

การผลิตไรตัวห�้ำให้ได้ปริมาณมากจ�ำเป็นต้องมีการเพาะกล้าต้นถั่ว เตรียมไว้เพ่ือขยายไรอาหาร อย่างต่อเนื่อง และให้มีเวลาสอดคล้องกับการน�ำต้นถ่ัวย้ายไปเล้ียงขยายไรตัวห้�ำ ปัญหาของการเพาะเล้ียงไรตัวห้�ำ ท่ีท�ำให้ไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างต่อเน่ือง คือการปนเปื้อนของไรตัวห้�ำในระหว่างข้ันตอนการเพาะเล้ียง ไรแดงหม่อนในโรงเรือน ท�ำให้ไรแดงหม่อนไม่สามารถเพิ่มประชากรเป็นปริมาณมากได้ ซึ่งผู้เล้ียงต้องระมัดระวัง เป็นพิเศษ โดยต้องท�ำงานในโรงเพาะเล้ียงไรอาหารก่อนเข้าไปท�ำงานในโรงเพาะเล้ียงไรตัวห้�ำเสมอ ไม่ใช้อุปกรณ์ รว่ มกนั ถ้าเกิดการปนเป้ือนต้องหยุดพกั โรงเรอื น 5-7 วัน จงึ ดำ� เนินการต่อ อีกสาเหตุหนึ่งที่ไม่สามารถเพาะเลี้ยงไรแดงหม่อนได้เป็นปริมาณมาก คือ มีแมลงศัตรูอื่นๆ เข้ามา ระบาดบนตน้ ถ่ัว เชน่ เพลย้ี ไฟ แมลงวันหนอนชอนใบ แมลงเหลา่ นด้ี ดู กินทำ� ลายใบถ่วั ทำ� ให้ตน้ ถว่ั ออ่ นแอใบเลก็ หงิิกงอ และต้น้ โทรม เป็็นเหตุใุ ห้ไ้ รแดงหม่อ่ นขยายพัันธุ์�ไม่เ่ ต็ม็ ที่� สามารถแก้้ปััญหาได้้โดยการพ่่นสาร imidacloprid 10% SL ตั้�งแต่่ต้้นถั่�วเริ่�มแตกใบแท้้ชุุดแรกดัังที่�กล่่าวมาแล้้ว หากแมลงเข้้าทำำ�ลายอีีกหลัังปล่่อยไรแดงหม่่อน ลงบนต้น้ ถั่�วไปแล้ว้ ให้้พ่น่ สารเคมีกี ำำ�จัดั แมลงซ้ำำ�� จากนั้�นทิ้�งไว้้ 7-8 วันั จึึงปล่อ่ ยไรแดงหม่อ่ นเพิ่�มเติิมลงบนต้น้ ถั่�ว เพื่�อให้ข้ ยายพันั ธุ์์�ต่่อไปได้้ เอกสารวิชาการ 215 ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

การผลติ ขยายไรตวั ห้ำ� Amblyseius longispinosus (Evans) เพาะตน้ ถว่ั ปลอ่ ย ตน้ ถ่วั อายุ 2 สปั ดาห์ ไรแดงหมอ่ น เพาะต้นถ่วั ในตะกรา้ ปล่อยไรตวั หำ�้ ตน้ ถัว่ อายุ 3 สัปดาห์ เกบ็ ไรแดงหมอ่ น อัตรา 1 : 20-40 พรอ้ มไรแดงหมอ่ น ไวข้ ยายต่อไป ปลอ่ ยไรแดงหมอ่ นบนต้นถ่วั อายุ 2 สัปดาห์ ตน้ ถ่วั อายุ 5 สัปดาห์ เก็บไรตวั หำ�้ พรอ้ มไรตวั หำ้� ไวข้ ยายตอ่ ไป ปลอ่ ยไรตัวห้ำ� บนตน้ ถ่วั อายุ 3 สปั ดาห์ เก็บไรตัวห�ำ้ บนใบถั่วไปใช้งาน น�ำไรตัวห้ำ� บนใบถั่วปล่อยลงแปลงพชื ตดั ใบถ่ัวทมี่ ไี รตวั ห�้ำบรรจุใส่กระบอกกระดาษ ปิดกระบอกกระดาษให้แนน่ นำ� ไปปลอ่ ยลงบนพืช 216 เอกสารวชิ าการ ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชวี ภณั ฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=bCmgRr8xofM&list=PLDI3YuskM0Dtfeb2BVZ9Qoegqum- ersFV9&index=119&t=0s บรรณานกุ รม กนก อุุไรสกุุล. 2525. การศึึกษาเบื้้�องต้้นทางชีีววิิทยาของไรแดงมัันสำำ�ปะหลััง Tetranychus truncatus Ehara (Acarina: Tetranychidae) และของไรตััวห้ำ��ำ Amblyseius (Amblyseius) longispinosus (Evans) (Acarina: Phytoseiidae). วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญาโท. ภาควิิชากีีฏวิิทยา, มหาวิิทยาลััย เกษตรศาสตร์์. 79 หน้า้ . มานิตา คงชื่นสิน วัฒนา จารณศรี ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย์ และเทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์. 2532. ชีววิทยาของ ไรสองจุุด Tetranychus urticae Koch. ศัตั รูสู ตรอเบอร์ร์ ีีและไรตััวห้ำำ�� Amblyseius longispinosus (Evans). ว.กีีฏ.สััตว. 11(4): 195-204. มานิติ า คงชื่�นสินิ วััฒนา จารณศรีี ฉัตั รชัยั ศฤงฆไพบูลู ย์์ และเทวิินทร์์ กุลุ ปิยิ ะวััฒน์.์ 2533. การแพร่่กระจาย ของไรแดง Eutetranychus africanus (Tucker) ในต้น้ ส้้มโอ. ว.กีีฏ.สััตว. 12(14): 226-236. มานิิตา คงชื่�นสิิน วััฒนา จารณศรีี และเทวิินทร์์ กุุลปิยิ ะวััฒน์์. 2538. การทดสอบความเป็็นพิิษของสารป้อ้ งกันั กำำ�จััดศััตรููพืชื ที่่�มีตี ่อ่ ไรตัวั ห้ำำ�� Amblyseius longispinosus (Evans) ในห้้องปฏิิบััติิการ. ว.กีฏี .สัตั ว. 17(4): 203-215. มานิิตา คงชื่�นสิิน อุุษณีีย์์ ฉััตรตระกููล วััฒนา จารณศรีี และวิิมาน ศรีีเพ็็ญ. 2542. การป้้องกัันกำำ�จััดไรศััตรูู สตรอเบอร์์รีโี ดยวิธิ ีผี สมผสาน. หน้้า 30-37. ใน: เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุุมวิชิ าการ อารักั ขาพืืชแห่ง่ ชาติิ ครั้ง� ที่่� 4. 27-29 ตุุลาคม 2542. ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์์ ซิิตี้� จอมเทียี น ชลบุรุ ีี. วัฒั นา จารณศรีี อมรรััตน์์ พัันธุ์์�ฟักั และฉัตั รชััย ศฤงฆไพบููลย์.์ 2521. การศึกึ ษาลักั ษณะทางอนุุกรมวิธิ านของ ไรในนาข้า้ วในประเทศไทย. รายงานผลการค้น้ คว้้าและวิิจัยั ปีี 2521. กรมวิิชาการเกษตร. 85 หน้้า. Carey, J. R. 1982. Within-plant distribution of tetranychi mites on cotton. Environ. Entomol. 11: 796-800. Chandler, L.D. and S.M. Corcoran. 1981. Distribution densities of Tetranychus cinnabarinus on greenhouse-grown Codiaeum variegatum. Environ. Entomol. 10: 721-723. Henderson, C. F. 1960. A sampling technique for estimating populations of small arthropods in soil and vegetation. J. Econ. Entomol. 53: 115-121. เอกสารวชิ าการ 217 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

Jeppson, L.R., H.H. Keifer and E.W. Baker. 1975. Mites Injurious to Economic Plants. University of California Press, Berkeley. 614 p. Jones, V. P. and M. P. Parrella. 1984. Dispersion indices and sequential sampling plans for the citrus red mite (Acari: Tetranychidae). J. Econ. Entomol. 77: 75-79. Kongchuensin, M., V. Charanasri and A. Takafuji. 2006. Suitable host plant and optimum initial ratios of predator and prey for mass-rearing the predatory mite, Neoseiulus longispinosus (Evans). J. Acarol. Soc. Jpn. 15(2): 145-150. Morris, R.F. 1960. Sampling insect populations. Ann. Rev. Entomol. 5: 243-264. Putman, W.L. and D.H.C. Herne. 1964. Relations between Typhlodromus caudiglans and Phytophagous mites in Ontario peach orchards. Can. Entomol. 96: 925-943. Sabilis, M. W. 1985. Sampling Techniques. pp. 331-348. In: W. Helle, and M.W. Sabelis (eds.). World Crop Pests, Mite: Their Biology, Natural Enemies and Control. Vol. 1A. Elsevier Science Publishing Company Inc., New York. Smith, D. and D. Papacek. 1993. IPM in Citrus. Report on Short-Term Consultancy Mission to Thailand. August 22-September 12, 1993. Plant Protection Service Division, Department of Agricultural Extension, Bangkok. 78 p. Smith, D. and D. Papacek. 1994. IPM in Citrus, Mango and Durian. Report on Short Term Consultancy Mission to Thailand. March 17-April 7, 1994. Plant Protection Service Division, Department of Agricultural Extension, Bangkok. 52 p. Southwood, T. R. E. 1978. Ecological Methods with Particular Reference to the Study of Insect Populations. Methuen, London. 391 p. Tanigoshi, L. K., R. W. Browne and S. C. Hoyt. 1975. A study on the dispersion pattern and foliage injury by Tetranychus mcdanieli (Acarina: Tetranychidae) in sample apple ecosystems. Can. Entomol. 107: 439-446. ติดตอ่ สอบถามข้อมลู เพม่ิ เตมิ : กลุม่ งานวจิ ัยไรและแมงมุม กลมุ่ กีฏและสัตววิทยา สำ� นักวิจัยพฒั นาการอารกั ขาพชื   โทร. 0 2579 4128 ตอ่ 172 เพจกลุ่มงานวจิ ัยไรและแมงมมุ : https://www.facebook/กลมุ่ งานวิจัยไรและแมงมมุ 218 เอกสารวิชาการ ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

ชีีวภัณั ฑ์์ป้อ้ งกันั กำำ�จััดหนูู โปรโตซัว Sarcocystis singaporensis ชอ่ื วิทยาศาสตร:์ Sarcocystis singaporensis Zamen & Colley (1976) วงศ์: Sarcocystidae อันดับ: Eucoccidiorida ทม่ี าและความสำ� คัญ/ปญั หาศัตรพู ื ช โปรโตซัวั Sarcocystis singaporensis Zamen & Colley (1976) เป็น็ ปรสิติ โปรโตซััวที่่�มีกี ารสร้า้ งซีีสต์์ (coccidia protozoa) ในระยะสุุดท้้ายของการเจริญิ เติบิ โต และต้้องการสััตว์์อาศัยั 2 ชนิดิ คือื หนููซึ่�งเป็น็ สััตว์อ์ าศััย ตััวกลาง (intermediate host) และงูเู หลืือมเป็น็ สัตั ว์อ์ าศัยั สุุดท้า้ ย (definitive host) ในการเจริิญเติิบโตและ ขยายพันั ธุ์� มีกี ารรายงานครั้�งแรกในปีี ค.ศ. 1975-1976 โดย Zaman and Colley พบว่า่ ค็็อคซิเิ ดีียโปรโตซััว S. singaporensis จากมลู งเู หลอื ม ในจำ� นวนที่มากพอสามารถทำ� ให้หนูสกุล Rattus ปว่ ยและตายได้ ในปี ค.ศ. 1996 Jaekel et al. และปี พ.ศ. 2539 ยุวลักษณ์ และคณะ ได้รายงานว่า S. singaporensis มวี งจรชีวติ เฉพาะเจาะจงต่อสัตว์อาศัยระหวา่ งงูเหลือม (Python reticulatus) กับหนู 2 สกลุ ไดแ้ ก่ หนูท้องขาว (Rattus) และหนูพุก (Bandicota) ซ่ึงวงจรชีวิตของปรสิตชนิดนี้มีความเฉพาะเจาะจงต่อสัตว์อาศัยมากและ พบการระบาดแพร่หลายทง้ั ในหนูบา้ น และหนศู ัตรูพชื ในประเทศแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เอกสารวิชาการ 219 ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รูพื ช

ในปี พ.ศ. 2536-2545 กลุ่มงานสัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร ได้้ดำำ�เนิินการโครงการป้้องกัันกำำ�จััดสััตว์์ฟัันแทะทางชีีวภาพ โดยได้้รัับความช่่วยเหลืือทางด้้านวิิชาการ และ เทคโนโลยีีจากรััฐบาลประเทศเยอรมนีี (องค์์กร GTZ) เพื่�อศึึกษาวิิจััยค็็อคซิิเดีียโปรโตซััว S. singaporensis จนมีการผลิตเป็นชีวภัณฑ์จากโปรโตซัวชนิดนี้ในรูปเหยื่อโปรโตซัวก�ำจัดหนู (bio-rodenticide bait) ซ่ึง เหยื่�อโปรโตซััวกำำ�จััดหนููชนิิดนี้้�มีีความจำำ�เพาะต่่อหนููในสกุุลหนููพุุกกัับหนููท้้องขาวเท่่านั้้�น จึึงมีีความปลอดภััย ต่่อคน สััตว์์ และสิ่�งแวดล้้อม และมีีการนำำ�ไปใช้้ในภาคการเกษตรโรงงาน บ้้านเรืือน กัันอย่่างแพร่่หลาย ในปัจั จุุบััน วงจรชีวิต วงจรชีวิตปรสิตโปรโตซวั Sarcocystis singaporensis Zamen & Colley 1976 ในปี ค.ศ. 1981 Beaver and Maleckar และ ปี ค.ศ. 1996 Jaekel et al. ได้รายงานว่า S. singaporensis เป็นปรสิตโปรโตซัวที่มีความจ�ำเพาะต่อสัตว์อาศัย มีการขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ เกิดขึ้น ภายในเซลล์บุผิวล�ำไส้ของงูเหลือม และขับสปอร์โรซีสต์ (sporocysts) ซ่ึงเป็นระยะสุดท้ายของการเจริญ แบบอาศัยเพศ ซ่ึงภายใน 1 สปอร์โรซีสต์ มี 4 สปอร์โรซอยต์ (sporozoites) ปะปนออกมาพร้อมมูลงู สู่ส่ิงแวดล้อมภายนอก หลังจากนั้นเข้าสู่สัตว์อาศัยตัวกลาง ได้แก่ หนูในสกุลหนูท้องขาว และสกุลหนูพุก โดยมีการปนเปื้อนของมูลงูท่ีพบสปอร์โรซีสต์ของโปรโตซัวชนิดนี้ ทางน�้ำและอาหารเม่ือเข้าไปในตัวสัตว์จะมี 220 เอกสารวชิ าการ ชีวภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเกิดขึ้นในเซลล์บุผิวของผนังหลอดเลือด หลังจากนั้นจึงเข้าสู่อวัยวะต่างๆ ท่ัวร่างกาย และมีการสร้างซาร์โคซีสต์ (sarcocysts) ในระยะสุดท้ายของการเจริญเติบโตฝังอยู่บริเวณกล้ามเนื้อ ทั่วร่างกาย ซ่งึ ภายในมีแบรดิซอยต์ (bradizoites) บรรจุอยู่ ในระยะนี้เปน็ ระยะที่พร้อมเขา้ สสู่ ัตว์อาศยั สดุ ทา้ ย ซึ่งก็คืองูเหลือม เม่ือหนูตามธรรมชาติที่ติดเชื้อถูกงูเหลือมกินเป็นอาหาร วงจรชีวิตของ S. singaporensis จึงกลับมาเริม่ ตน้ วงจรชวี ิตใหม่อีกคร้งั กลไกการท�ำลายศัตรูพื ช กลไกการเข้าทำ� ลายศัตรูพืชของเหยอื่ โปรโตซวั Sarcocystis singaporensis Zamen & Colley 1976 ในหนู วิธกี ารใชช้ ีวภณั ฑ์ควบคุมศตั รูพื ช การใชป้ ระโยชนจ์ ากเหย่ือโปรโตซวั ก�ำจดั หนู แบง่ ตามลกั ษณะพืน้ ที่ ดังนี้ 1. นาขา้ ว ไรข่ า้ วโพด ถ่ัวเหลือง ถั่วเขยี ว และอ่นื ๆ ใช้ 20-25 ก้อน/ไร่ จุดละ 1-2 กอ้ น หรอื ใสใ่ นรูหนู ท่มี ขี ุยดินใหม่ๆ รลู ะ 2 กอ้ น 2. สวนปาล์มนำ้� มนั มะพรา้ ว โกโก้ สวนผลไม้ ให้วางบริเวณโคนตน้ หรือบนต้นๆ ละ 1 ก้อน 3. ฟาร์มเลยี้ งสตั ว์ ยุ้งฉางขา้ ว โกดังเก็บของ อาคารบา้ นเรือน และตลาด ให้วางเหยื่อโปรโตซัวในภาชนะ ใส่เหยือ่ จุดละ 3 ก้อน และเติมเหยอ่ื ไม่เกิน 3 ครั้งตดิ ต่อกัน เอกสารวิชาการ 221 ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจัดศัตรพู ื ช

ขอ้ ดี 1. ทำ� ให้เกดิ โรคในหนูพุกและหนทู ้องขาวเทา่ นน้ั 2. ปลอดภัยต่อสตั วก์ ินหนเู ป็นอาหาร เชน่ นกแสก เหย่ียว งู พงั พอน แมวป่า ฯลฯ 3. ปลอดภัยตอ่ ผ้ใู ช้และสตั ว์เล้ยี ง เช่น มนษุ ย์ สนุ ขั แมว ววั หมู ไก่ ฯลฯ 4. เหยอ่ื ส�ำเรจ็ รปู 1 ก้อน ก�ำจดั หนไู ด้ 1 ตวั 5. หนูไม่เกิดการเข็ดขยาดเหย่ือ เนื่องจากอาการป่วยและตายจะเกิดขึ้นภายหลังกินเหยื่อไปแล้ว 10-17 วนั 6. ไมม่ พี ษิ ตกคา้ งในสิง่ แวดล้อม ข้อจ�ำกัด 1. ถา้ ใช้เหยอื่ โปรโตซัวอยา่ งไม่เหมาะสม เชน่ วางเหยอื่ มากหรือนอ้ ยเกินไป หรือวางผิดเวลา อาจชกั น�ำ ใหห้ นูสร้างภูมคิ ุ้มกันต่อโปรโตซวั ชนดิ น้ีได้ ซึง่ จะทำ� ใหอ้ ัตราการตายของหนูลดลง 2. ใหว้ างเหยือ่ โปรโตซัวส�ำเร็จรูปท้ังซองกระดาษแก้วในท่ีแห้ง ห้ามฉกี ซองโดยเดด็ ขาด 3. ไม่ควรวางเหยอ่ื โปรโตซัวในทเ่ี ปยี กแฉะ หรอื ตากฝนท้ังคนื เพราะเม่อื เหยือ่ แปง้ นมุ่ ถูกน้ำ� จะบดู และ หนูจะไมก่ นิ เหย่ือที่บูด 4. ส�ำหรับฟาร์มเล้ียงสัตว์ โรงเก็บผลิตผลเกษตรหรือสินค้าอื่นๆ ภายในอาคารบ้านเรือน ร้านอาหาร หรือตลาดสดไม่ควรวางเหยื่อโปรโตซัวแต่ละจุดเกิน 3 วัน และถ้าหนูยังไม่กินเหยื่อให้ย้ายภาชนะใส่เหย่ือ ไปวางทีใ่ หม่ที่มหี นเู ดนิ ผ่าน การตรวจสอบคณุ ภาพ/การเก็บรกั ษาชวี ภณั ฑ์ เก็บเหยื่อโปรโตซัวส�ำเร็จรูปในอุณหภูมิห้องหรือในตู้เย็นอุณหภูมิ 4-10 องศาเซลเซียส ไม่ควรเก็บ นานเกิน 3 เดือน เพราะจะทำ� ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการทำ� ให้หนูป่วยตายลดลง 222 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

ชนดิ ของศัตรพู ื ช หนพู กุ ใหญ่ (the great bandicoot: Bandicota indica Beckstein, 1800) (ที่�มา: กลุ่�มงานสัตั ววิิทยาการเกษตร, 2544) หนูพกุ เล็ก (lesser bandicoot: Bandicota savilei Thomas, 1914) (ที่�มา: กลุ่�มงานสััตววิิทยาการเกษตร, 2544) หนนู าใหญ่ (ricefield rat: Rattus argentiventer Robinson and Kloss, 1916) (ที่�มา: กลุ่�มงานสััตววิทิ ยาการเกษตร, 2544) เอกสารวชิ าการ 223 ชีวภัณฑ์ป้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

หนูปา่ มาเลย์ (malayan wood rat: Rattus tiomanicus Miller, 1900) (ที่�มา: กลุ่�มงานสััตววิทิ ยาการเกษตร, 2544) หนทู อ้ งขาวบ้าน (roof rat: Rattus rattus Linnaeus, 1758) (ที่�มา: กลุ่�มงานสััตววิทิ ยาการเกษตร, 2544) หนจู ี๊ด (polynesian rat: Rattus exulans Peal, 1848) (ที่�มา: กลุ่�มงานสัตั ววิทิ ยาการเกษตร, 2544) 224 เอกสารวชิ าการ ชีวภัณฑป์ ้องกันกำ� จัดศตั รูพื ช

ลกั ษณะอาการพื ชท่ถี กู ท�ำลาย ตน้ ข้าวท่ีหนกู ัดท�ำลาย สบั ปะรดที่หนกู ดั ทำ� ลาย ทะลายปาล์์มน้ำำ��มัันที่ �หนููกััดทำำ�ลาย (ที่�มา: กลุ่�มงานสัตั ววิิทยาการเกษตร, 2544) เอกสารวชิ าการ 225 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

ผลมะคาเดเมยี ทีห่ นูกดั ทำ� ลาย การประเมินประสิทธิภาพในการควบคุม 1. ประเมนิ จากการกนิ เหย่ือโปรโตซวั กำ� จดั หนูของหนศู ตั รูพชื และพบซากหนทู ีต่ าย 2. ประเมนิ จากความเสียหายของพชื ท่เี กดิ จากการกดั แทะใหมข่ องหนู 3. ประเมนิ จากความหนาแน่นของประชากรหนใู นพืน้ ที่ หมายเหตุ  หากพบความเสียหายของพืชท่ีเกิดจากการกัดแทะของหนู และความหนาแน่นของประชากร หนูไม่ลดลง ควรวางเหยื่อโปรโตซัวก�ำจัดหนูซ้�ำ จนกว่าความเสียหายของพืชที่เกิดจากการกัดแทะของหนูและ ความหนาแนน่ ของประชากรหนูในพน้ื ทจ่ี ะลดลง โดยแต่ละครัง้ วางเหยอื่ หา่ งกนั 15-20 วนั การผลติ ขยายชวี ภัณฑ์ การเตรียมสารแขวนลอยสปอร์โรซสี ต์ คัดเลอื กสปอรโ์ รซสี ต์ของ S. singaporensis ไอโซเลท (isolate) ทม่ี ีประสิทธิภาพสงู ทส่ี ามารถท�ำให้ หนูทดลองป่วยและตายได้ (dose 2x105 sporocysts) จากน้ันน�ำไปป้อนโดยตรงทางปากในหนูทดลอง Sprague Dawley Rat ในความเขม้ ข้น sub lethal dose เลีย้ งหนทู ดลองเป็นระยะเวลา 2 เดอื น น�ำหนูทดลอง ไปผ่าซากเพ่ือตรวจหาซาร์โคซีสต์ของ S. singaporensis ในกล้ามเนื้อภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และน�ำซากหนู ที่พบเช้ือให้เป็นอาหารงูเหลือมเพื่อเพ่ิมปริมาณเช้ือ หลังจากน้ันเก็บมูลงูเหลือมที่ได้น�ำไปกรองผ่านตะแกรง กรองละเอียด และป่นั สารแขวนลอยมลู งทู ีผ่ ่านการกรองแล้วทค่ี วามเรว็ รอบ 3,000 รอบ/นาที (rpm) เป็นเวลา 10 นาที เทส่วนใสทงิ้ ทำ� การปน่ั ลา้ งประมาณ 2-3 รอบ จนกว่าสารแขวนลอยด้านบนตะกอนจะใสหลงั จากนั้น นับจ�ำนวนสปอร์โรซีสต์ท่ีได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และค�ำนวณหาจ�ำนวนสปอร์โรซีสต์ท่ีคัดแยกได้ เก็บสาร แขวนลอยสปอรโ์ รซีสตใ์ นตเู้ ย็นท่อี ณุ หภูมิ 4-10 องศาเซลเซยี ส เพอ่ื ใช้ผลติ เหย่อื โปรโตซวั กำ� จัดหนูตอ่ ไป 226 เอกสารวชิ าการ ชวี ภัณฑป์ ้องกันก�ำจดั ศตั รูพื ช

ทดสอบประสิทธิภาพของสารแขวนลอยสปอร์โรซสี ต์ โดยวธิ ี Biological assay (bioassay) ก่อนการน�ำสารแขวนลอยสปอร์โรซีสต์ S. singaporensis ไปใช้ผลิตเป็นเหยื่อโปรโตซัวก�ำจัดหนูต้อง ท�ำการทดสอบประสิทธิภาพความรุนแรงในการก่อโรคของเชื้อ ด้วยวิธี bioassay โดยการให้สารแขวนลอย สปอร์โรซีสต์โดยตรงทางปากกับหนูศัตรูพืชตามธรรมชาติ (สกุลหนูท้องขาวหรือหนูพุก) นับร้อยละการตายของ หนููทดลองในแต่่ละไอโซเลทของสารแขวนลอยสปอร์์โรซีีสต์์ S. singaporensis หากพบไอโซเลทที่�สามารถ ทำำ�ให้้หนููทดลองป่่วยและตายได้้ตั้�งแต่่ 75% ขึ้�นไป จึึงนำำ�สารแขวนลอยสปอร์์โรซีีสต์์ไอโซเลทนั้�นผลิิตเป็็นเหยื่�อ โปรโตซััวกำำ�จััดหนูตู ่่อไป การเตรยี มเหยอ่ื แป้งนุ่มและการผลิตเหย่ือโปรโตซัวก�ำจดั หนู เตรียมเหย่ือแป้งนุ่มส�ำหรับท�ำเป็นก้อนเหย่ือโปรโตซัวก�ำจัดหนู โดยการน�ำแป้งสาลี น้�ำตาลทราย น�้ำมันข้าวโพด ข้าวโพดบด แป้งทัลคัม และกล่ินมะพร้าว ผสมให้เข้ากัน หลังจากน้ันรีดเป็นเส้น และตัดเป็น ก้อนขนาดประมาณ 1 กรัม เจาะรูตรงกลางเพ่ือหยอดสารแขวนลอยสปอร์โรซีสต์ S. singaporensis อััตรา 2x105 sporocysts/ก้้อน ที่�เตรีียมไว้้แล้้วลงไป ทิ้�งไว้้ที่่�อุุณหภููมิิห้้องจนก้้อนเหยื่�อแห้้ง แล้้วนำำ�ไปห่่อ ด้ว้ ยกระดาษแก้้วเพื่�อนำำ�ไปใช้้ต่่อไป เอกสารวิชาการ 227 ชวี ภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภัณฑ์ https://www.youtube.com/watch?v=IXbFpKipkWQ https://www.youtube.com/watch?v=0hKmvi5--e4 บรรณานกุ รม กลุ่�มงานสััตววิิทยาการเกษตร. 2544. หนููและการป้้องกัันกำ�ำ จััด. กลุ่�มงานสััตววิิทยาการเกษตร กองกีีฏและ สััตววิทิ ยา กรมวิชิ าการเกษตร โรงพิมิ พ์ช์ ุมุ นุมุ สหกรณ์์การเกษตรแห่่งประเทศไทย. 136 หน้า้ . ยุุวลักั ษณ์์ ขอประเสริฐิ วิิยะดา สีหี ะบุุตร เสริมิ ศักั ดิ์์� หงส์น์ าค และกรแก้ว้ เสืือสะอาด. 2539. ผลของโปรโตซััว Sarcocystis singaporensis ต่่อหนููพุกุ ใหญ่่. รายงานผลการวิิจัยั ปีี 2539. กองกีีฏและสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร. หน้้า 255-256. ยุุวลัักษณ์์ ขอประเสริิฐ ปราสาททอง พรหมเกิดิ กรแก้้ว เสืือสะอาด เสริมิ ศักั ดิ์์� หงส์์นาค และทรงทัพั แก้้วตา. 2540. ผลของโปรโตซัวั Sarcocystis singaporensis ต่อ่ หนููนาใหญ่.่ รายงายผลการค้้นคว้้าและวิิจัยั กลุ่�มงานสััตววิิทยาการเกษตร กองกีีฏและสััตววิิทยา กรมวิิชาการเกษตร จตุุจัักร กรุุงเทพฯ. หน้้า 10-16. Beaver, P.C. and J.R. Maleckar. 1981. Sarcocystis singaporensis Zaman & Colley (1975) 1976. Sarcocystis villivillosi and Sarcocystis zamani: Development, morphology and persistence in the laboratory rat, Rattus norvegicus. Int. J. Parasitol. 67: 241-256. Jaekel, T., H. burgstaller and W. Frank. 1996. Sarcocystis singaporensis, studies on host specificity, pathologenicity and potential use as a biocontrol agent of rats. J. Parasitol. 82: 280-287. Zamen, V. and F.C. Colley. 1975. Light and electron microscopic observation of the life cycle of Sarcocystis orientalis sp. n. in rat (Rattus norvegicus) and the Maleysian reticulated python (Python reticulatus). Zeitschrift fuer Parasitenkunde. 47: 169-185. ตดิ ต่อสอบถามข้อมลู เพม่ิ เติม: กล่มุ งานสตั ววทิ ยาการเกษตร กลมุ่ กีฏและสตั ววิทยา สำ� นกั วิจยั พฒั นาการอารักขาพืช  โทร. 0 2579 5583 ตอ่ 159 228 เอกสารวิชาการ ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดศตั รพู ื ช

ดรรชนี การควบคุุมโดยชีีววิธิ ีี 2, 118, 122 เมตาไรเซียี ม 3, 72, 73, 74, 75, 76, 77, 78, 80, 81 ด้ว้ งกินิ รากกล้้วย 186 แมลงช้า้ งปีกี ใส 3, 163, 164, 165, 166, 167, ด้ว้ งกินิ รากสตรอว์์เบอร์์รีี 91 ด้ว้ งงวงมัันเทศ 90 168, 169 ด้้วงแรดมะพร้้าว 73, 74, 76, 77, 78, 79, 80 แมลงดำำ�หนามมะพร้า้ ว 3, 73, 74, 128, 129, 130, ด้ว้ งหมััดผััก 89 แตนเบียี นโกนิิโอซัสั 147, 148, 149, 154, 156, 131, 132, 133, 134, 135, 136, 137, 140, 141, 142, 143, 144, 145 157, 160 แมลงหางหนีบี ขาวงแหวน 3, 186, 187, 188, 189, แตนเบียี นไข่ไ่ ตรโคแกรมมา 3, 101, 112 190, 191, 196, 197, 198 แตนเบีียนดักั แด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้า้ ว 3, 140 ระยะเข้า้ ทำำ�ลายแมลง 87 แตนเบียี นเตตระสติคิ ััส 140, 141, 142, 143, โรคตายพรายของกล้ว้ ย 21, 24, 25 โรคใบจุดุ คะน้้า 5, 11 144, 145 โรครากปม 34, 35, 37 แตนเบีียนเพลี้�ยแป้ง้ มัันสำำ�ปะหลังั สีชี มพูู 117, 120 โรคเหี่�ยวที่�เกิดิ จากแบคทีเี รีีย 5, 8, 10 แตนเบีียนหนอนแมลงดำำ�หนามมะพร้า้ ว 128 โรคแอนแทรคโนสพริิก 6, 8, 12, 13 แตนเบีียนหนอนหััวดำำ�มะพร้า้ ว 147 ไรแดงหม่่อน 204, 212, 213, 214, 215, 216 แตนเบีียนอะซีโี คเดส 128, 129, 130, 131, 134, ไรแดงแอฟริิกััน 202, 207 ไรตัวั ห้ำำ�� 3, 202, 203, 204, 205, 206, 207, 208, 135, 136, 138, 143, 144 209, 210, 211, 212, 213, 214, 215, 216 แตนเบีียนอะนาไกรัสั 117, 118, 119, 120, 121, ไรแมงมุุมคันั ซาวา 202, 207, 209, 210 ไรสองจุุด 202, 206, 207, 208, 209, 210 122, 123, 124, 125, 126 ไวรััส 3, 43, 44, 45, 46, 47, 51, 55, 56, 57, 58, ไตรโคเดอร์์มา 3, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 25, 59, 60, 69, 202 สปอร์์โรซีีสต์์ 220, 226, 227 26, 27 ไส้้เดืือนฝอยรากปม 34, 37 บีีทีี 63, 208 ไส้้เดืือนฝอยศัตั รููแมลง 3, 36, 84, 85, 86, 87, 88, ผีเี สื้�อข้้าวสาร 105, 106, 107, 108, 109, 112, 89, 90, 91, 92, 93, 94, 95, 96, 97, 98 หนอนกระทู้้�ข้า้ วโพดลายจุุด 114, 171, 175, 176, 114, 154, 155, 156, 158, 177, 198 183, 190 เพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลังั สีีชมพูู 2, 117, 118, 119, หนอนกระทู้้�ผััก 44, 45, 47, 48, 49, 54, 58, 59, 60, 171, 174, 175, 176, 182, 183, 208 120, 121, 122, 123, 124, 125, 126 มวนพิฆิ าต 3, 171, 172, 173, 174, 175, 176, 177, 178 มวนเพชฌฆาต 3, 180, 181, 182, 183, 184 มััมมี่� 75, 119, 121, 123, 124, 125, 128, 129, 130, 131, 135, 136, 141, 142, 143, 144, 145 เอกสารวชิ าการ 229 ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรูพื ช

หนอนกระทู้�หอม 44, 45, 46, 47, 48, 49, 50, 52, หนอนผีีเสื้�อข้้าวสาร 112, 154, 155, 156, 58, 59, 60, 68, 69, 90, 171, 175, 186 158, 177 หนอนกอลายจุุดเล็ก็ 192, 193, 194 หนอนใยผััก 66, 67, 69, 101, 103, 112, 114 หนอนกอลายจุดุ ใหญ่่ 195 หนอนหัวั ดำำ�มะพร้า้ ว 73, 101, 104, 147, 148, หนอนกอสีีขาว 192, 193, 194 หนอนกอสีชี มพูู 186, 193, 194 149, 150, 151, 152, 153, 154, 155, 156, หนอนกออ้้อย 101, 103, 104, 186, 190 157, 159, 171, 176 หนอนกิินใต้้ผิวิ เปลืือกลองกอง 88, 89 หนูทู ้้องขาว 219, 220, 222, 224, 227 หนอนเจาะลำำ�ต้น้ ข้้าวโพด 68, 101, 103, 104, 114 หนูพู ุุก 219, 220, 222, 223, 227 หนอนเจาะสมอฝ้้าย 44, 45, 47, 48, 49, 50, 53, เห็็ดเรืืองแสงสิริ ิินรัศั มีี 30, 32, 34, 35, 36, 38, 39, 40 58, 59, 60, 68, 69, 101, 103, 112, 114, เหยื่�อโปรโตซััวกำำ�จัดั หนูู 220, 221, 226, 227 171, 175, 186 เอนโดสปอร์์ 4, 6, 7 หนอนนก 177, 178, 184 230 เอกสารวิชาการ ชวี ภัณฑ์ป้องกันก�ำจัดศตั รูพื ช

Index Alternaria brassicicola 5, 8, 11 Cossus chloratus 88, 89 Albernaria brassicae 8, 11 cotton bollworm 53, 68 Amblyseius longispinosus 202, 203, 204, Cylas formicarius 90 Dasyses rugosell 91 205, 206, 207, 208, 209, 210, 211, 212, definitive host 219 213, 216 diamondback moth 67, 69 Anagyrus lopezi 2, 117, 119, 120, 124, early shoot borer 192 125, 126 entomopathogenic nematodes 84 Asecodes hispinarum 2, 128, 129, 130,131, Eocanthecona furcellata 171, 172, 173, 136, 138 assassin bug 180 174, 175, 176, 178 aurisin A 34 Euborellia annulipes 186, 187, 188, 189, 190, Bacillus subtilis 4, 5, 6, 7, 8, 9, 13, 14, 15, 36 Bacillus thuringiensis 63, 64, 65, 66, 70 197, 199 Bacterial wilt 9, 10 Fusarium oxysporum f. p. cubense 21, 23, 24 Bandicota 219, 223 Goniozus nephantidis 2, 147, 148, 149, 150, bio-rodenticide bait 220 bradizoites 221 157, 160 Brontispa longissima 128, 130, 131, 132, green lacewings 163 133, 135, 137, 140, 143 green muscardine 72 Bt 3, 63, 64, 65, 66, 67, 68, 70, 208 HaNPV 45, 47, 48, 49, 50 Chilo infuscatellus 101, 103, 192 Helicoverpa armigera 44, 45, 53, 68, 101, Chilo tumidicostalis 195 Collectotrichum capcisi 12 103, 112, 114, 171, 175 Collectotrichum piperatum 12 hermaphroditic females 87 Collectotrichum gloeosporioides 12 Infective Juvenile 85, 86, 87 coccidia protozoa 219 intermediate host 219 coconut black-headed caterpillar 150 Metarhizium anisopliae 72, 76 coconut leaf beetle 131 Mimela schneideri 91 coconut rhinoceros beetle 78 nematode 84 common cutworm 54 Neonothopanus nambi 30, 31, 32, 33, 34, Corcyra cephalonica 106, 107, 108, 109, 112, 114, 154, 156, 158 35, 40 NPV 3, 43, 44, 45, 46, 47, 51, 55, 56, 57, 58, 59, 60 Nucleopolyhedrovirus 43, 56 เอกสารวิชาการ 231 ชวี ภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจัดศัตรูพื ช

Opisina arenosella 101, 104, 147, 149, 150, Sesamia inferens 194 151, 152, 155, 159, 171 Spodoptera exigua 44, 45, 46, 52, 68, 90, Oryctes rhinoceros 78, 79 171, 175 Ostrinia furnacalis 68, 101, 103, 104, 114 Spodoptera frugiperda 45, 112, 114, 171, Phenacoccus manihoti 117, 119, 121, 122, 175, 183, 190 124, 125 Spodoptera litura 45, 54, 171, 175, 183 Photorhabdus 86 sporocysts 220, 226, 227 Phyllotreta sinuata 89 Steinernema carpocapsae 3, 36, 84, 85, 86, pink borer 194 pink cassava mealybug 121 88, 93, 94, 95 96 Plesiochrysa ramburi 163, 164, 165, 166, stem borer 195 Sycanus versicolor 180, 181, 182, 183, 184 168, 169 symbiotic bacteria 86, 87 Plesispa reichei 132 Tenebrio molitor 177, 184 Plutella xylostella 67, 69, 101, 103, 112, 114 Tetranychus kanzawai 207, 209 predatory stink bug 171 Tetranychus truncatus 204, 212 Ralstonia solanacearum 5, 9, 10 Tetranychus urticae 204, 206, 207, 208, 209 Rattus 219, 223, 224 Tetrastichus brontispae 140, 141, 142, ring-legged earwig 186 Sarcocystis singaporensis 219, 220, 221, 143, 145 Trichoderma harzianum 18, 19, 20, 21, 27 226, 227 Trichogramma confusum 45, 101, 102, 103, sarcocysts 221 Scirpophaga excerptalis 193 104, 105, 106, 107, 108, 109, 110, 115 SeNPV 45, 47, 48, 49, 50 Trichogramma pretiosum 112, 113, 114, 115 septicemia 86, 88 white top borer 193 Xenorhabdus 86, 94 232 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

ทำำ�เนียี บผู้้�ทรงความรู้้� และเชี่่�ยวชาญด้้านชีวี ภัณั ฑ์ป์ ้อ้ งกัันกำำ�จัดั ศััตรูพู ืื ช สำำ�นักั วิจิ ัยั พัั ฒนาการอารัักขาพืื ช 1. ชื่่�อ-สกุุล นางพิิมลพร นัันทะ ตำ� แหน่ง อดตี ผเู้ ชีย่ วชาญด้านศัตรพู ชื ที่อย ู่ 67/98 เมอื งเอก โครงการ 2 ตำ� บลหลกั หก อ�ำเภอเมือง จังหวดั ปทุมธานี 12000 ความเชี่�ยวชาญ การควบคุุมศัตั รูพู ืชื โดยชีีววิธิ ีี 2. ชอ่ื -สกุล นางสาวยวุ ลกั ษณ์ ขอประเสริฐ ตำ� แหน่ง ขา้ ราชการบำ� นาญ ท่ีอยู ่ 112/27 ซอยวังหลงั ถนนอรณุ อัมรนิ ทร์ แขวงศริ ิราช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ 10700 ความเชี่�ยวชาญ เหยื่�อโปรโตซััวกำำ�จัดั หนูู 3. ชอ่ื -สกลุ นายสถติ ย์ ปฐมรัตน ์ ต�ำแหนง่ ขา้ ราชการบ�ำนาญ ที่่�อยู่่� 27/1 หมู่� 4 ซอยบงกช 14 ถนนเลีียบคลองสอง ตำำ�บลคลองสอง อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 ความเชี่�ยวชาญ แตนเบีียนไข่่ Trichogramma spp. 4. ชอ่ื -สกลุ นางวัชรี สมสขุ ต�ำแหนง่ ข้าราชการบำ� นาญ ทอ่ี ยู่ 285/79 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี 11110 ความเชี่�ยวชาญ ไส้เ้ ดือื นฝอยศัตั รููแมลง 5. ชื่อ-สกุล นางรัตนา นชะพงษ ์ ตำ� แหนง่ ข้าราชการบำ� นาญ ท่ีอย ู่ 201 ซอยศรบี ุญยืน ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 เขตบางซ่อื กรุงเทพฯ 10800 ความเชี่�ยวชาญ แมลงห้ำำ��แมลงเบีียน เอกสารวิชาการ 233 ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

6. ชือ่ -สกุล นางสาวมานติ า คงชน่ื สิน ตำ� แหน่ง อดีตผู้เชย่ี วชาญดา้ นศัตรพู ชื ทอ่ี ย่ ู 168 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตล่งิ ชัน กรุงเทพฯ 10170 ความเชี่�ยวชาญ ไรตัวั ห้ำำ�� 7. ชื่อ-สกลุ นายสมชัย สวุ งศศ์ กั ดศิ์ รี ต�ำแหนง่ ข้าราชการบำ� นาญ ทอ่ี ย่ ู 41/120 หม่บู า้ นรัตนาวลัย ซอยวิภาวดรี ังสิต 39 ถนนวิภาวดีรงั สติ เขตดอนเมอื ง กรุงเทพฯ 10210 ความเชี่�ยวชาญ แมลงหางหนีีบ 8. ช่ือ-สกลุ นายอทุ ัย เกตนุ ุต ิ ต�ำแหน่ง ข้าราชการบำ� นาญ ที่อยู่ บา้ นเลขท่ี 2 ซอยงามวงศว์ าน 25 แยก 11 ถนนงามวงศว์ าน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนนทบรุ ี 11000 ความเชี่�ยวชาญ ไวรัสั กำำ�จััดแมลง 9. ชื่อ-สกลุ นายสมคดิ ดสิ ถาพร ตำ� แหนง่ ขา้ ราชการบ�ำนาญ ที่่�อยู่่� 4/938 แยก 34/2 ถนนเสรีีไทย 57 แขวงคลองกุ่�ม เขตบึึงกุ่�ม กรุงุ เทพฯ 10240 ความเชี่�ยวชาญ Bacillus subtilis สายพันั ธุ์� BS-DOA 24 10. ชื่อ-สกลุ นางนงรตั น์ นลิ พานิชย์ ต�ำแหนง่ ข้าราชการบ�ำนาญ ที่อยู่ 4/229 ถนนเสรีไทย 57 แขวงคลองกุ่ม เขตบงึ กุ่ม กรงุ เทพฯ 10240 ความเชี่�ยวชาญ Bacillus subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA 24 11. ชื่อ-สกลุ นางสาวรัศมี ฐิตเิ กียรตพิ งศ ์ ตำ� แหน่ง ข้าราชการบำ� นาญ ที่อย ู่ 350 ถนนพัฒนาการ 53 แขวงพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 ความเชี่�ยวชาญ Bacillus subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA 24 234 เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

คณะท�ำงานการจดั การองคค์ วามรู้ “ชวี ภณั ฑ์ป้องกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช” ท่ีปรกึ ษา ผู้อำ� นวยการส�ำนักวจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพชื ทีป่ รึกษา นายศรตุ สุทธอิ ารมณ ์ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นโรคพชื ทป่ี รกึ ษา นางสาวพรพมิ ล อธปิ ญั ญาคม คณะทำ� งาน นักกีฏวิทยาชำ� นาญการพเิ ศษ ประธานคณะท�ำงาน นายพิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ ์ รกั ษาการในตำ� แหน่งผู้เชย่ี วชาญด้านศัตรพู ชื นกั วิชาการโรคพืชชำ� นาญการพิเศษ คณะทำ� งาน นางณฎั ฐิมา โฆษิตเจรญิ กุล นักวิชาการเกษตรชำ� นาญการพิเศษ คณะทำ� งาน นางบญุ ทิวา วาทริ อยรมั ย์ นักกีฏวิทยาชำ� นาญการพเิ ศษ คณะท�ำงาน นายพฤทธิชาติ ปญุ วัฒโท นกั วิชาการโรคพชื ชำ� นาญการพิเศษ คณะทำ� งาน นางสาวบุษราคัม อุดมศกั ด์ิ นกั กีฏวิทยาช�ำนาญการพิเศษ คณะท�ำงาน นางเสาวนติ ย์ โพธิ์พนู ศักดิ์ นักวชิ าการโรคพืชชำ� นาญการพเิ ศษ คณะทำ� งาน นางสาวสรุ ียพ์ ร บวั อาจ นกั กฏี วทิ ยาช�ำนาญการ คณะท�ำงาน นางประภสั สร เชยค�ำแหง นกั กฏี วทิ ยาชำ� นาญการ คณะท�ำงาน นายสาทพิ ย์ มาล ี นักกฏี วิทยาชำ� นาญการ คณะท�ำงาน นายอศิ เรส เทียนทัด นักกฏี วทิ ยาชำ� นาญการ คณะทำ� งาน นางสาวอทติ ยิ า แกว้ ประดิษฐ ์ นักวชิ าการโรคพชื ช�ำนาญการ คณะทำ� งาน นายอภิรชั ต์ สมฤทธ ์ิ นกั วชิ าการโรคพืชช�ำนาญการ คณะท�ำงาน นางสาวธารทพิ ย ภาสบุตร นักสตั ววิทยาชำ� นาญการ คณะทำ� งาน นายวิชาญ วรรธนะไกวัล นัักวิิชาการเกษตรชำำ�นาญการ คณะทำำ�งาน นางสาวนัันทนััช พินิ ศรี ี นกั กฏี วิทยาชำ� นาญการ คณะทำ� งาน นางสาวสวุ ิมล วงศ์พลัง นกั กฏี วิทยาปฏิบตั ิการ คณะทำ� งาน นางสาวภทั ทริ า ศาตรว์ งษ ์ นกั กีฏวทิ ยาปฏิบตั ิการ คณะท�ำงาน นางสาววินิภา ชาลคี าร นกั กีฏวิทยาปฏบิ ัติการ คณะท�ำงาน นายอนุสรณ์ พงษ์ม ี นกั กฏี วิทยาชำ� นาญการพิเศษ คณะทำ� งานและเลขานุการ นางสาวพัชรวี รรณ จงจติ เมตต ์ นักวิชาการโรคพชื ช�ำนาญการ คณะท�ำงานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ นางสาวรุ่งนภา ทองเครง็ นักวชิ าการเกษตรชำ� นาญการ คณะท�ำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร นางณัฏฐิณี ศริ ิมาจันทร ์ นกั กฏี วทิ ยาชำ� นาญการ คณะทำ� งานและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ นางสาวอัจฉราภรณ์ ประเสรฐิ ผล นักกฏี วิทยาปฏิบัตกิ าร คณะทำ� งานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร นางสาวภทั รพร สรรพนุเคราะห ์ นักวิชาการเกษตรปฏิบตั กิ าร คณะทำ� งานและผชู้ ่วยเลขานุการ นางสาวณฐวรรณ ชนะโชติ เอกสารวชิ าการ 235 ชีวภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook