Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR 65 ขลุงรัชดาภิเษก

SAR 65 ขลุงรัชดาภิเษก

Published by Kongtam Mitdamrong, 2023-08-04 06:37:01

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก

Keywords: ขลุงรัชดาภิเษก,SAR 65

Search

Read the Text Version

ก ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ตามที่โรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษกไดน้ ำเสนอผลการประเมินตนเอง เพื่อรายงานผลการพฒั นาคุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ประจำปกี ารศึกษา 2565 ท้ัง 3 มาตรฐาน ซ่ึงได้สะท้อนภาพ ความสำเร็จตามเปา้ หมายการพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มีคณุ ภาพมีการดำเนนิ งานอย่างมีประสิทธิภาพ และ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ในการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของโรงเรียนขลงุ รชั ดาภิเษก ครง้ั ท่ี 1/2566 เมอ่ื วนั ที่ 6 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2566 คณะกรรมการสถานศึกษามีความเห็นชอบในการจัดทำรายงานการ ประเมินตนเอง ประจำปกี ารศึกษา 2565 ฉบับนี้ของโรงเรียนขลุงรชั ดาภเิ ษก ทส่ี ะทอ้ นคณุ ภาพผูเ้ รียน และ ผลสำเรจ็ ของการบริหารจดั การศึกษา เพอ่ื เป็นประโยชนต์ ่อการนำไปใชพ้ ัฒนาการศึกษาในปกี ารศึกษาตอ่ ไป (นายอทิ ธิภณ เตมิ แตม้ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน โรงเรยี นขลงุ รัชดาภเิ ษก วันท่ี 8 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ข บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ าร บทสรุปสำหรับผ้บู ริหาร โรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษก รหสั สถานศึกษา 1022060233 ทอ่ี ยู่เลขท่ี 47 หมู่ 4 ตำบลวนั ยาว อำเภอขลงุ จงั หวัดจันทบรุ ีสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจันทบุรี ตราด โทรศพั ท์ 039-441789 โทรสาร 039-442595 เวบ็ ไซต์ : http://www.krp.ac.th อีเมล์ [email protected] เปดิ สอนระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 6 มนี กั เรยี นจำนวน 820 คน มขี า้ ราชการครู จำนวน 42 คน พนักงานราชการ 3 คน ครูอัตราจา้ ง 2 คน ผบู้ รหิ ารจำนวน 3 คน ผู้อำนวยการโรงเรยี นขลงุ รชั ดาภิเษก คอื นายปรยิ วศิ ว์ วงษ์จนั ทร์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น จำนวน 2 คน คอื นางสาวอัธยา บณุ ยรัตเศรณี และนางสาวปาณิรสา สารสทิ ธิ์ ได้มีการบรหิ ารจดั การอย่างเป็นระบบโดยใช้หลักธรรมาภบิ าล ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน ยอดเย่ียม 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รียน ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเย่ียม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนโรงเรยี นขลงุ รัชดาภเิ ษก มกี ระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เนน้ การมีสว่ น ร่วมของทุกฝา่ ยท่เี ก่ยี วข้อง โดยมเี ป้าหมายที่ชัดเจนคอื คุณภาพผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ให้สอดคล้องกบั วสิ ัยทศั น์ของ โรงเรียน “มคี ุณธรรม นำเทคโนโลยี บริหารจัดการอยา่ งมสี ่วนร่วม รวมสิ่งแวดล้อมดี มคี ณุ ภาพสูส่ ากล บนฐานเศรษฐกจิ พอเพียง” มุ่งพฒั นานักเรยี นให้เปน็ เลศิ ทางวิชาการด้วยระบบโรงเรยี นมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ยดึ โรงเรยี นเปน็ ฐาน (SBM : School Based Management) ตามความ ถนัดและความสนใจของผเู้ รียน นักเรียนได้เรยี นรจู้ ากวธิ กี ารท่ีหลากหลาย ในรูปแบบ Active จัดกจิ กรรม ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นนำความรู้มาประยกุ ตใ์ ช้ด้วยการจัดทำโครงงาน IS กิจกรรม 1 หอ้ งเรยี น 1 นวัตกรรม OCOI (One Classroom One Innovation) พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม จดั การ เรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ผเู้ รยี นสามารถสืบค้นข้อมลู ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ และมีสัญญาณ Wifi ได้ ทกุ ที่ทุกเวลา มีการจัดการเรยี นการสอนท่ีส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นสืบคน้ ข้อมูลจาก Internet และสรปุ ความรู้ได้ด้วย ตนเอง จากการดำเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น ตามโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียนและส่งเสรมิ ผูเ้ รียนสคู่ วามเป็นเลิศ จากการทคี่ รูมุ่งม่ันจดั การเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพของ นักเรยี น ทำให้นกั เรยี นของโรงเรยี นขลุงรชั ดาภเิ ษกมีผลงานทางวิชาการมากมาย และสรา้ งชอ่ื เสียงใหก้ บั โรงเรยี น จะเหน็ ไดจ้ ากการที่นกั เรียนไดเ้ ปน็ ตวั แทนไปแขง่ ขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออก คร้ังที่ 70 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 29 รายการ ซ่งึ จัดเป็นอันดบั 1 ของโรงเรียนใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาจันทบรุ ีเขต 2 ได้รบั รางวลั ชนะเลศิ การจดั สวนแก้ว ม.4-ม.6 และ

รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 1 การประกวดโครงงานอาชีพ ม.4-ม.6 จึงทำให้มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นบรรลุ ตามคา่ เปา้ หมายของสถานศกึ ษาทง้ั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ในภาพรวมผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของปีการศึกษา 2564 เทียบกับปกี ารศกึ ษา 2565 มคี วามกา้ วหนา้ รอ้ ยละ 4.09 และมีผลการทดสอบระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 สงู กว่าระดับประเทศทุกวชิ า วชิ าภาษาไทยและภาษาองั กฤษมีคา่ เฉลยี่ สูงกวา่ ระดบั ชาติมากกวา่ ร้อยละ 2 โรงเรยี นขลุงรัชดาภเิ ษก ได้ดำเนินการพัฒนาผเู้ รียนดา้ นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคด์ ้วยวิธีการท่ี หลากหลาย มโี ครงการการจัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นานักเรยี นให้มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นสว่ นใหญม่ คี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ในระดับยอดเยย่ี ม โดยจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ได้แก่ กจิ กรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ การตั้งครรภก์ ่อนวัยอนั ควร กิจกรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย มคี ณะกรรมการสภานกั เรียน เป็นการชว่ ยให้ผเู้ รียนได้พัฒนาตนเองสูก่ ารเปน็ พลเมอื งท่ีดี กจิ กรรมงานปกครองนักเรียน การบรรยายธรรม การสอบธรรมศึกษา ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเข้าร่วมกจิ กรรมตาม ประเพณไี ทย ไดแ้ ก่ ลอยกระทง แหเ่ ทียนจำนำพรรษา ไหวค้ รู และตรุษจนี กจิ กรรมออมเพอื่ พอ่ มีการน้อมนำ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นทกุ กิจกรรม เพ่ือปลูกฝงั คา่ นิยมและทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 บนพ้นื ฐานของความเปน็ ไทยใหแ้ กน่ ักเรียน นอกจากน้ีผ้เู รียนยังสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีมาเป็นเคร่อื งมือ ในการเรียนรู้ เช่น ทกั ษะการสืบคน้ การใช้งาน การออกแบบจากคอมพิวเตอร์ การเรยี นออนไลน์ มีทักษะด้าน การใชเ้ ทคโนโลยี ในการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ผู้เรยี นมีคุณธรรม มรี ะเบยี บวินยั มีมารยาทและปฏบิ ตั ติ นตามวถิ ี ไทย วิถชี มุ ชนและท้องถ่นิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีสุขภาพร่างกาย สมบูรณ์แข็งแรงมนี ำ้ หนัก สว่ นสูง และสมรรถนะตามเกณฑ์ มีสุขภาพจิตดี มีทักษะในการเล่นกฬี า ออกกำลังกายและแสดงออกทาง ดนตรี สามารถอยู่ร่วมกับคนอน่ื อย่างมคี วามสุข เขา้ ใจผู้อื่น ไม่มคี วามขัดแย้งกับผู้อื่น รู้แพ้ รู้ชนะ รูอ้ ภยั ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพร่างกายท่ีแข็งแรง และไม่ข้องเกย่ี วกบั ยาเสพติด โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก มีการระบบบรหิ ารจัดการองค์กรที่เข้มแข็ง บริหารจดั การโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน ภายใตว้ งจรคณุ ภาพ (PDCA) ดว้ ยการบริหารท่ีเป็นระบบ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิของงานเปน็ สาคญั (RBM : Result Based Management) ทกุ กลุ่มบรหิ ารเปน็ แบบอย่างในการดำเนินงานทด่ี ีมีคุณภาพ ครอบคลุมทุก ภารกจิ ของโรงเรียน บุคลากรได้รบั การพฒั นาประสิทธิภาพในการทำงาน โรงเรียนมที รพั ยากรทเี่ อ้อื ต่อการ ปฏิบัติงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ มงี บประมาณและบุคลากรเพียงพอ ทำใหโ้ รงเรยี นสามารถดำเนินการจดั การศกึ ษาบรรลุวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของสถานศึกษา ส่งผลให้ พ.ศ. 2565 โรงเรียนขลงุ รัชดาภิเษก ได้รบั คดั เลือกจากกรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ได้รบั รางวัล รองชนะเลิศอันดบั 2 ระดับประเทศ ในการดำเนินงานโครงการโรงเรยี นปลอดขยะสู่ความยง่ั ยืน “สะอาดบุรี จเู นยี ร์” ประจำปี 2564 ครขู องโรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกมีความมงุ่ มั่นต้ังใจในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง สามารถนำความรู้ ทักษะที่ไดจ้ ากการพัฒนาตนเองมาใช้ในการพัฒนาปรบั ปรุงการเรียนการสอนในหอ้ งเรียน และใช้กระบวนการ PLC ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้และแก้ปัญหาของผ้เู รยี น ครูจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั มกี าร วดั และประเมินผลตามสภาพจริงด้วยเคร่ืองมือและวิธกี ารหลากหลาย และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา จัดกจิ กรรมสง่ เสริมสนับสนนุ ความสามารถของนักเรียนตามความถนัด ความสนใจ ได้แก่ ชุมนมุ กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ วิชาเพิ่มเติม และมโี ครงการส่งเสริมการเรียนรสู้ ู่ อาชีพ“การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ท้องถิ่น เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถนำความรู้ไปใช้ในการศกึ ษาต่อในระดับสงู ขึ้นไป มีรายไดร้ ะหวา่ งเรียน ส่งผลให้นกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 และ 6 มีความรพู้ ้นื ฐานและเจตคติทดี่ ีต่อ อาชพี สามารถนำความรู้ไปใช้ในการศกึ ษาต่อในระดับชัน้ ที่สูงขน้ึ และนำไปประกอบอาชีพตามความสนใจ

ครูผู้สอนทุกคน บริหารช้นั เรียนดว้ ยการสรา้ งวินัยเชงิ บวก (Positive Discipline) โดยการเสริมแรง มอบรางวลั ยกย่อง ชมเชย มีการสรา้ งวนิ ยั ในการเรียนเชิงบวกโดยให้กำลังใจนักเรยี น สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นมีปฏิสัมพันธ์ เชิงบวก สร้างแรงจูงใจผเู้ รยี นให้รกั การเรียนรู้และเรียนร้อู ย่างมีความสุข สง่ ผลให้การจดั การเรียนการสอน มี คุณภาพเป็นทย่ี อมรบั ของชมุ ชน ผ้ปู กครอง และประชาชนทัว่ ไป ครูไดร้ บั รางวัลมากมาย อนั เปน็ ผลจากการ จัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ ในการแข่งขนั ผลงานวธิ ปี ฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ (Best Pracetice) /ผลงานนวัตกรรม ของครูผู้สอน ในงานมหกรรมวชิ าการ SSSS 2022 จดุ เด่น มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รียน โรงเรยี นขลุงรัชดาภิเษกสามารถพัฒนาผเู้ รยี นให้ทุกกลมุ่ สาระ มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศกึ ษา 2565 สงู กว่าปีการศกึ ษา 2564 และในภาพรวมมคี วามก้าวหนา้ ร้อยละ 4.09 ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2565 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในระดับโรงเรียนสงู กว่าผลการ ทดสอบระดบั ประเทศทุกรายวชิ า มผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ของผูเ้ รยี นทุกระดับชัน้ อยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม มีการนำหลักสูตรท้องถ่นิ ไปบรู ณาการกบั รายวิชา 1 ห้องเรยี น 1 นวัตกรรม (OCOI : One Classroom One Innovation) ในหวั ข้อ King of fruits ให้นกั เรยี นแตล่ ะระดับช้ันไดศ้ ึกษาเกีย่ วกับ ทุเรียน ซึ่งเป็นอาชีพหลกั ของชุมชน ดงั หวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 มหศั จรรย์พันธท์ุ เุ รียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 หลากหลายขยายพันธ์ุ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มากมายคณุ อนันต์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 นำเสนอสรา้ งสรรคผ์ ลิตภณั ฑ์ 4.0 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 นานาผลิตภณั ฑ์จากทุเรียน นอกจากนี้ ยงั มีการนำแหล่งเรยี นรสู้ วนทุเรียนมาบรู ณาการกับ 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ และจัดทำเป็น วิดีโอนำเสนอผลงานของแต่ละหอ้ งเรยี น ส่งผลใหผ้ ู้เรียนร้อยละ 100 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม มีกลุ่มยุวเกษตรกร ศูนย์การเรยี นรตู้ ามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้นกั เรยี นได้เรียนรู้และลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ เกยี่ วกับการปลูกผกั สวนครวั การปลูกไมด้ อกไม้ประดับ การเล้ยี งเป็ดไข่ การปลูกเมลอ่ น การปลูก พืชโดยไม่ใชด้ นิ การปลูกองุน่ การทำปยุ๋ หมัก และมีการเก็บรวบรวมสือ่ เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ของ โรงเรยี นอย่างเป็นระบบใน Padlet นกั เรียนไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพ่ือพฒั นาตนเอง และสงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงานอย่างสรา้ งสรรค์และ มคี ณุ ธรรม มที ักษะในการดำเนินชวี ติ อย่างพอเพียง มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตามอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา “ผู้เรียนมที กั ษะการดำรงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” จงึ สง่ ผลให้นกั เรียนมีศกั ยภาพทาง วชิ าการและทางอาชีพ ได้รบั รางวัลชนะเลศิ การแขง่ ขันการจดั สวนแกว้ ม.4-ม.6 และรางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 1 การประกวดโครงงานอาชพี ม.4-ม.6 ในการแข่งขันงานศิลปะหัตกรรมนักเรยี น ระดบั ชาติ ภาคกลาง และภาคตะวันออก คร้ังที่ 70 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกมกี ารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และ สอดคล้องกับการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ มีแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา(ปีงบประมาณ

2565-2568) แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผเู้ รียนทกุ กลุม่ เป้าหมาย มีการขอใชแ้ ละการ เบิกจ่ายงบประมาณ ตามข้ันตอนและเป็นระบบ มีการจัดทำระบบการตัดงบประมาณแบบ Realtime ผ่าน ระบบออนไลน์ ไดเ้ ปิดสอนหลักสตู รตอ่ เน่ืองเชอื่ มโยงการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกับอาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษา (CLC) ไดแ้ ก่แผนการเรียนธุรกจิ ให้กับนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มกี ารเปิดสอนรายวิชาเพ่ิมเติมกลมุ่ วิชา เลือกให้กับนกั เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ศิลปะและพลศึกษา เพ่ือให้นักเรียนไดเ้ ลอื กเรยี นตาม ความสนใจและความถนดั ในอาชพี ของตนเอง เชน่ กฬี าตามความถนัด ดนตรีตามความถนัด ทัศนศิลป์ตาม ความถนดั คหกรรม เกษตร และนอกจากนยี้ ังมีการใหน้ ักเรียนรวมกล่มุ กันตัง้ ชมุ นุมตามความสนใจ โดยมคี รู เปน็ ท่ปี รกึ ษาชุมนุม โรงเรยี นได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ระดบั ประเทศ โรงเรยี นปลอดขยะสคู่ วามยงั่ ยนื “สะอาดบุรี จเู นียร์” โดยกรมส่งเสริมคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม จึงทำให้โรงเรียนมสี ภาพแวดล้อม บรรยากาศทเี่ อื้อ ต่อการเรยี นรู้ พรอ้ มเปน็ แหล่งเรียนรู้ และใหบ้ ริการแกช่ ุมชน ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใช้ เทคโนโลยีมาใช้ในการจดั การเรยี นการสอน และส่งเสริมความกา้ วหน้าทางวิชาชพี ให้กับครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษา พร้อมทงั้ สนบั สนนุ การขอมแี ละเลื่อนวทิ ยฐานะตามเกณฑ์ วPA มาตรฐานท่ี 3 ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ คณะครขู องโรงเรยี นขลุงรัชดาภิเษกมคี วามมุ่งมั่น ตัง้ ใจ ในการพฒั นาการสอนให้กับผู้เรียน โดยจัด กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้ ทเ่ี น้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏบิ ตั ิจรงิ และหาวธิ ีการจัดการเรยี นการสอน ทีห่ ลากหลาย มีการนิเทศภายในโดยผู้บริหาร ดว้ ยการให้คำแนะนำอยา่ งกลั ยณมิตร เพื่อนำผลไปปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตอ่ ไป ครูมกี ารวางแผนในการพัฒนาหลักสตู ร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีแสดงถงึ การพัฒนาการคุณภาพผู้เรยี นดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ มีการ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชงิ บวก ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ครู และการทำงานรว่ มกนั ของ ผ้เู รยี น โดยแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข ครนู ำส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนรอู้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพผ่าน Platform ตา่ งๆ เช่น Google Classroom, Live Work Sheet , Line, YouTube, Class Dojo เป็นตน้ พร้อมท้งั สร้างโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ี หลากหลาย ครใู ช้การวดั ผลและประเมนิ ผลผู้เรยี นที่หลากหลาย สอดคลอ้ งกับสภาพการเรยี นรู้และพัฒนาการ ของผู้เรียน เช่น ประเมนิ จากการทำกิจกรรมกลมุ่ ทกั ษะปฏิบตั กิ าร การทำกิจกรรมระหว่างเรยี น การทำ ชิน้ งานท่ีครมู อบหมายท้ังงานเดย่ี วและงานกลุม่ การทดสอบดว้ ยเครอ่ื งมือทห่ี ลากหลาย แลว้ ครนู ำผลการ ประเมนิ ไปพัฒนาผูเ้ รยี นต่อไป โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษกมีแหลง่ เรียนรู้รวมท้ังภูมิปญั ญาท้องถ่ินทเี่ อ้ือต่อการ จัดการเรียนรู้มากมาย และมีการนำแหล่งเรยี นรูส้ วนทุเรียนไปบูรณาการกับหลักสูตรทอ้ งถ่ินในรายวิชา 1 ห้องเรยี น 1 นวตั กรรม (OCOI : One Classroom One Innovation)ทำให้มีนวัตกรรมทุกห้องเรียน ครมู ี ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) ทั้งระบบสายชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ นอกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับโรงเรียน เพื่อร่วมกนั พัฒนาการเรยี นการสอน และแก้ปัญหางานตา่ งๆของโรงเรยี น โรงเรยี นมีการ ปฏิบัตกิ จิ กรรมสรา้ งสุขดว้ ยสตใิ นโรงเรียน ทส่ี ามารถเชอ่ื มโยงนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ โดยครนู ำไปใช้กบั ผู้เรยี นในหอ้ งเรยี นอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง ทำให้นกั เรียนมีสติในการรบั ร้แู ละรบั ความรู้ได้มากขน้ึ จดุ ควรพฒั นา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกควรจัดจดั กิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการอ่าน-เขียน และส่ือสาร ภาษาตา่ งประเทศในหลายๆรูปแบบ และจดั กจิ กรรมสง่ เสริมความสามารถในการคิดคำนวณให้กับนกั เรยี นใน ทุกระดับชนั้

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนขลงุ รัชดาภิเษกควรเปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองได้มสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา และเข้ารว่ ม กจิ กรรมกบั ทางโรงเรยี นให้มากขน้ึ เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นให้มากขน้ึ กวา่ เดมิ เนื่องจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ทม่ี ีข้อจำกดั ในการรวมกลุ่มของบุคคล ทำให้การรวบรวมข้อมลู ความ คาดหวงั ที่มตี ่อโรงเรยี นและทิศทางในการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของโรงเรียนจากผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทำได้ บางส่วนในชอ่ งทางออนไลนเ์ ท่าน้ัน สำหรับการจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาในคร้ังต่อไป โรงเรียนควรสำรวจขอ้ มลู จากผูม้ สี ว่ นเก่ยี วข้องให้ได้มากท่สี ุด โรงเรยี นควรมีการกำกบั ตดิ ตาม การใช้ หลักสตู รของสถานศึกษาเป็นระยะๆ อยา่ งสม่ำเสมอและมีการประเมนิ หลกั สตู รประจำปี เพอ่ื นำผลการ ประเมนิ หลกั สูตรมาใชใ้ นการพฒั นาหลกั สูตรในปีต่อไป และควรใหน้ ักเรยี น และผู้ปกครองมสี ่วนร่วมเพื่อให้ได้ หลกั สตู รสถานศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของชมุ ชนมากที่สุด เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มสี ่วนร่วมในการ จัดการศึกษาและเข้ามามีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆกับทางโรงเรียน เพื่อทราบข้อมูลย้อนกลบั และนำไปพัฒนา โรงเรียนและพฒั นาผู้เรียนต่อไป ควรใชร้ ปู แบบและกจิ กรรมการนิเทศที่หลากหลายทง้ั แบบเป็นทางการและไม่ เป็นทางการ เช่น การนิเทศโดยใชก้ ระบวนการ PLC การนิเทศแบบให้คำชี้แนะ (Coaching) การนเิ ทศช้นั เรียน โดยการรักษาระยะหา่ ง เปน็ ต้น และกิจกรรมการนเิ ทศมีความยดื หยุ่นตามสถานการณ์ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยเี ขา้ มามีบทบาทการนิเทศมากข้นึ โดยการนิเทศแบบออนไลน์ เชน่ การนเิ ทศผ่าน Platform online การนเิ ทศผ่าน E – Learning เป็นตน้ มาตรฐานท่ี 3 ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ครคู วรเผยแพร่ความรู้ ผลงานและนวตั กรรม รวมทัง้ การนำไปปฏบิ ตั จิ ริงสู่ชุมชนและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ กบั องค์กรอ่นื ๆ ให้มากข้นึ ควรฝึกให้นกั เรียนได้ถอดบทเรียนจากกิจกรรมต่างๆ ผา่ นการน้อมนำหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือให้นักเรียนมที ักษะการคดิ ขัน้ สูง รจู้ กั แก้ปัญหา สร้างความสามารถในการสื่อสาร ผ่านกระบวนการคิดวเิ คราะห์ ร้จู ักออกแบบกระบวนการทำงาน และดำเนนิ งานด้วยตนเองได้ และให้ชมุ ชนได้ เข้ามามสี ว่ นร่วม แสดงความคดิ เห็นหรอื รว่ มจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งเป็นรปู ธรรม ตอ่ เนื่องและ ชัดเจนใหม้ ากยงิ่ ข้ึน แผนพัฒนาเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานทส่ี งู ข้นึ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รยี น 1. กจิ กรรมส่งเสริมความสามารถในการอา่ น-เขียน และสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ 2. กจิ กรรมส่งเสริมความสามารถในการคิดคำนวณ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1. กำหนดแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยสำรวจข้อมูลจากผู้มีส่วนเกย่ี วข้อง ให้ได้มากที่สุด เพือ่ ให้ได้แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาท่สี อดคล้องกับความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นเกี่ยวข้องมาก ท่สี ดุ 2. จดั ให้มีการประเมนิ ผลการใช้หลักสูตร การจดั การเรียนการสอน โดยสอบถามความพึงพอใจของ นักเรียน และผู้ปกครอง นำผลประเมนิ มาปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู ร การจดั การเรยี นการสอน ให้มีความ เหมาะสมสอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รยี น และชุมชนอย่างมีประสทิ ธิภาพ สามารถพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอยา่ งรอบด้านและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

3. จดั ให้มีการถอดบทเรียนของโรงเรียนท่ีมรี ูปแบบการนิเทศภายในโรงเรยี นที่มีคณุ ภาพ มรี ปู แบบการนเิ ทศท่ีน่าสนใจ และสามารถเปน็ ตน้ แบบได้ เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ในการนำมาพัฒนาปรบั ปรงุ ต่อยอดใหด้ ยี งิ่ ข้ึน 4. พฒั นาและเสรมิ สร้างทกั ษะความเป็นผู้นำใหก้ บั บุคลากร ใหค้ รมู สี ว่ นรว่ มในการดำเนินงาน ทุกกจิ กรรมของโรงเรยี น วางแผนในการพฒั นาบุคลากรเพื่อรองรับภาระงานใหม่ที่ได้รับมอบหมาย สง่ เสริม และสนบั สนุนการพฒั นาความรู้แก่บุคลากรในโรงเรียน ให้มีความเขา้ ใจ มที ักษะ และความชำนาญในการ ปฏิบตั ิงาน สรา้ งบคุ ลากรรุ่นใหม่ในการเรียนรู้ระบบงาน เพื่อต่อยอดงานท่ีปฏิบตั ใิ ห้เข้มแข็ง มาตรฐานที่ 3 ด้านกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั 1. ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีการพฒั นานวตั กรรมและการวิจัยในชน้ั เรยี น ส่งเสริมใหม้ ีการประกวดแขง่ ขนั แนวคิดนวัตกรรมและสิง่ ประดษิ ฐ์ที่แปลกใหม่ 2. ส่งเสรมิ ครูให้พัฒนาเทคนคิ วธิ กี ารสอนอย่างหลากหลาย มีการวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ มีการ พัฒนาตนเองเพื่อนำไปสู่การพัฒนาผู้เรยี นอยู่เสมอ 3. สนบั สนุนให้ ครู ผปู้ กครอง ชุมชน และนักเรียนไดม้ สี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา พฒั นาโรงเรียน และท้องถน่ิ ยกระดับคุณภาพของโรงเรียนเพื่อกา้ วสมู่ าตรฐานสากล 4. ศกึ ษาดงู าน แลกเปลย่ี นเรียนรู้ สรา้ งเครือขา่ ย เพอื่ นำแนวทางทีห่ ลากหลายมาปรบั พัฒนาให้ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ความโดดเด่นของสถานศึกษา เรื่อง การดำเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ในสถานศกึ ษา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) เร่ิมตน้ ดำเนนิ งานในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ซึง่ เปน็ โครงการที่ช่วยเสรมิ สรา้ งจิตสำนึกและความรู้ความเข้าใจถงึ แนวทางในการลดปรมิ าณขยะ การ แยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ รวมท้งั การรวบรวมขยะเพ่ือนำไปกำจดั อย่างถูกวิธี ให้แก่นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยบูรณาการสูก่ ารจัดการเรยี นการสอนในช้ันเรียน ตลอดจนการจัดกิจกรรม เกย่ี วกบั การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โดยใช้นกั เรยี นเปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้ และ การมีสว่ นร่วมของครู บคุ ลากรทางการศึกษาและชมุ ชนโดยรอบ ซึ่งในปีการศึกษา 2565 โรงเรียนขลงุ รัชดา ภิเษกไดด้ ำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) และไดเ้ ข้ารว่ มการประกวดโครงการ โรงเรียนปลอดขยะสู่ความย่ังยนื “สะอาดบุรี จูเนยี ร”์ โดยกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซ่ึงโรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษกเขา้ ร่วมโครงการฯ ในฐานะ โรงเรียนนอ้ งใหม่ โดยมี โรงเรียนเบญจมราชทู ศิ จงั หวดั จันทบรุ ี เป็นโรงเรยี นพีเ่ ล้ยี ง ซงึ่ ผลการแข่งขนั โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก ได้รับ รางวลั รองชนะเลศิ อันดับท่ี 2 ระดับประเทศ ในวนั ที่ 8 สงิ หาคม 2565

ค คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2565 โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกฉบับน้ี จัดทำ ข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผล การประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี เพื่อ รายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จ จากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญเพ่ือนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดย สำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณ คณ ะครู ผู้ป กครอง นักเรียน คณ ะกรรมการสถานศึ กษาข้ันพื้นฐาน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2565 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสารรายงานฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ ในการ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนขลงุ รชั ดาภิเษก ในปกี ารศึกษา 2566 ต่อไป (นายปรยิ วศิ ว์ วงษจ์ นั ทร์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นรชั ดาภเิ ษก วันที่ 8 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ง สารบัญ เร่ือง หนา้ ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา…………………………………………………………………………….……………… ก บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหาร...................................................................................................................... ข คำนำ.................................................................................................................................................... ค สารบัญ................................................................................................................................................ ง สว่ นที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา............................................................................................ 1 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา............................................................................... 11 11 ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน..................................................... 21 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น................................................................................................ 35 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ...................................................................... 40 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ.................................... 47 สว่ นที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการชว่ ยเหลอื ................................................ 53 สว่ นที่ 4 การปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศของสถานศึกษา (ความโดดเด่น)....................................................... ภาคผนวก............................................................................................................................................ 59 คำส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 64 คำสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพภายในสถานศึกษา 66 ปีการศกึ ษา 2565........................................................................................................................ 73 ประกาศใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา/กำหนดค่าเปา้ หมาย.......................................... 77 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา.................................................................................. 91 ขอ้ มลู สถานศกึ ษา......................................................................................................................... 98 คำส่ังโรงเรียนแต่งตั้งคณะทำงานความโดดเด่นเฉพาะทาง (Challenging Standard)................ 101 โครงการเสรมิ สรา้ งการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม............................................ 102 หนังสือจากกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม…………………………………………….…………................. ภาพกิจกรรม……………………………………………………………………………………………………................ 12

1 ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป โรงเรยี นขลุงรัชดาภเิ ษก ทต่ี ั้ง เลขที่ 47 หมู่ 4 ต.วันยาว อ.ขลุง จ.จนั ทบรุ ี สังกัดสำนกั งาน เขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาจนั ทบุรี ตราด โทร 039-441789 โทรสาร 039-442595 e-mail : [email protected] website : http://www.krp.ac.th เป็นสถานศกึ ษาขนาดกลาง โดยมี นายปริยวศิ ว์ วงษ์จันทร์ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา เปดิ สอนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เนื้อท่ี 103 ไร่ 82 ตารางวา เขตพื้นที่บริการ 10 ตำบล 90 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ ตำบลบ่อ ตำบลเกวียนหัก ตำบลตะปอน ตำบลบางชัน ตำบลวันยาว ตำบลซ้ึง ตำบลมาบไผ่ ตำบลวังสรรพรส ตำบลตกพรม และตำบลบ่อเวฬุ 2. ข้อมูลนกั เรียน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก มีนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 จำนวน 832 คน (ข้อมูล 10 มถิ นุ ายน 2565) 3. ข้อมูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา โรงเรียนขลุงรัชดาภเิ ษก มบี ุคลากรจำนวนทง้ั สิ้น 51 คน จำแนกได้ดังนี้ ผูบ้ รหิ าร จำนวน 3 คน ข้าราชการครจู ำนวน 42 คน พนักงานราชการ จำนวน 3 คน อัตราจา้ ง จำนวน 2 คน ครูธุรการ จำนวน 1 คน 4. สภาพบริบทโรงเรยี น 1. สภาพชมุ ชนรอบสถานศึกษามีลกั ษณะพืน้ ทเ่ี ป็นลุ่มหรือทห่ี ลม่ ลักษณะดนิ เป็นดินทรายและ เป็นดนิ ทีม่ นี ำ้ เคม็ ท่วมถึงสว่ นหนึ่ง ไมม่ ีภเู ขา จงึ มลี ักษณะแห้งแลง้ มจี ำนวนประชากรประมาณ 5,418 คน บริเวณใกล้เคยี งโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับตำบลซง้ึ อำเภอขลุง จงั หวัดจันทบรุ ี ทิศใต้ติด แมน่ ้ำเวฬุ ทิศตะวันออกติดตำบลบ่อ อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ทิศตะวันตกติดต่อกบั เทศบาลเมืองขลุง อำเภอขลงุ จงั หวัดจนั ทบรุ ี โรงเรียนขลงุ รชั ดาภิเษกตั้งอย่ทู างทิศตะวนั ออกของทวี่ า่ การอำเภอขลุง ห่างจาก ตัวอำเภอประมาณ 4 กโิ ลเมตรและห่างจากจังหวดั จันทบุรี 35 กิโลเมตรโดยประมาณ การเดนิ ทางสู่โรงเรียน ขลงุ รัชดาภิเษกสามารถเดินทางได้โดยใช้ถนนสุขุมวทิ -ตราด (ทางหลวงหมายเลข 3) ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนผลไม้ รองลงมาคอื รับจ้างทั่วไป และทำประมงชายฝ่ัง เลยี้ งหอยแครง ก้งุ กลุ าดำ หรือปลา สว่ นใหญ่นับถอื ศาสนาพุทธ ประเพณที ้องถ่ินของอำเภอขลงุ ทเี่ ปน็ ทร่ี ู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณกี ารชกั พระบาทเกวียน และเทศกาลดปู ูแปน้ ชื่นชมธรรมชาติ 2. ผูป้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับตำ่ กวา่ ระดับปริญญาตรี อาชีพหลักรับจา้ งทว่ั ไป รองลงมาคอื เกษตรกรรม ทำสวนผลไม้ ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกจิ ท้องถิ่น/รายได้ เฉลี่ยตอ่ ครอบครวั ตอ่ ปี 100,000 บาท 3. โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น โอกาส โรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษก ต้งั อยู่ใกล้แหลง่ เรียนรู้ทำสวนผลไม้ โดยพนื้ ทโี่ ดยรอบเปน็ สวนผลไม้และ ร้านคา้ ขายพันธกุ์ ล้าผลไม้ สถานศกึ ษามโี ครงสร้างการบริหารงานอย่างชัดเจน การกำหนดนโยบายแบบมีสว่ น

2 รว่ มในทุกภาคส่วน มีหลกั สตู รสถานศกึ ษา สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลาง ความต้องการของผเู้ รยี นสง่ เสริม การจดั การเรยี นการสอนเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้โอกาสทางการศกึ ษา อยา่ งทวั่ ถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ ตรงตามสายงานโดยจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ท่ีหลากหลายให้กบั ผู้เรียนอย่างเหมาะสม มีเทคโนโลยีชว่ ยในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ โดยมผี ู้ปกครอง ชมุ ชน มีสัมพันธท์ ่ีดี สง่ ผลต่อการสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา ขอ้ จำกดั โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภิเษก ดา้ นการนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ยังไม่ต่อเนือ่ ง ผูป้ กครองมีคา่ นิยมส่งบุตร หลานใหเ้ รียนในเมือง นักเรียนท่มี าเรียนมีผลการเรยี นระดับปานกลางถงึ อ่อนสง่ ผลตอ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ เทคโนโลยี ยังไม่เพยี งพอ สภาพครอบครัวส่วนใหญ่ ของนักเรียนมีปญั หาหย่าร้างและไม่มเี วลาดูแลบุตร ผปู้ กครองส่วนใหญ่มีอาชพี รับจ้างประสบปัญหาด้านทาง เศรษฐกิจ ส่งผลต่อการจดั การศกึ ษา 5. วิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมาย อตั ลกั ษณ์ และเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา วสิ ยั ทศั น์ มีคณุ ธรรม นำเทคโนโลยี บรหิ ารจดั การอย่างมีส่วนร่วม รวมสิง่ แวดล้อมดี มีคุณภาพสู่สากล บนฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง พันธกิจ 1. จัดกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมและปลกุ จติ สำนกึ รกั ษค์ วามเปน็ ไทย 2. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นตามคณุ ลักษณะโรงเรียนสุจริต 3.สง่ เสรมิ การใช้สอื่ เทคโนโลยี นวัตกรรมในการจัดการศึกษาและบรหิ ารจัดการ 4. ระบบบริหารจดั การที่มีประสทิ ธิภาพโดยการมีสว่ นรว่ มกบั ทุกภาคส่วน 5. บรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล 6. จดั กจิ กรรมนำสู่สถานศึกษาปลอดภัย 7. ส่งเสรมิ การจัดทำแหล่งเรียนรูแ้ ละมสี ิ่งแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ 8. ปลูกฝงั ผู้เรียนให้มสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 9. ผู้เรียนมีสมรรถนะและคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา 10. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา 11. พฒั นาหลักสูตรท่ีสอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางและความตอ้ งการของผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียน มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสสู่ ากล 12.การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู้ และการนิเทศการศกึ ษาโดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 13. จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 14. เสริมสร้างสถานศกึ ษาพอเพียงสศู่ ูนย์การจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์/ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็ 1. ด้านผู้เรียนมีคุณลกั ษณะ/คณุ ธรรม 1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนที่มีคณุ ธรรม จริยธรรม 1.2 ร้อยละ80 ของผเู้ รียนที่มีจิตสำนึกรักษ์ความเป็นไทย 1.3 รอ้ ยละ80 ของผูเ้ รียนทีม่ ีคณุ ลกั ษณะด้านวนิ ัย ดา้ นความซ่ือสตั ย์สุจรติ และด้านจิตสาธารณะ 1.4 ร้อยละ80ของผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยา่ งมีคุณภาพเพ่ือการเรียนรู้

3 1.5 ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนที่มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมจากการเรยี นรู้ 1.6 ร้อยละ80 ของผเู้ รยี นมีส่วนร่วมพฒั นาพืน้ ท่ีท่ไี ดร้ ับมอบหมายและรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน ให้สะอาดร่มร่ืน 1.7 ร้อยละ80 ของผ้เู รยี นมีสว่ นร่วมดำเนินกิจกรรมดา้ นความปลอดภัย 1.8 รอ้ ยละ80 ของผู้เรยี นใชแ้ หลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกอย่างมคี ุณภาพ 1.9 รอ้ ยละ80 ของผูเ้ รยี นที่มีในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 1.10 รอ้ ยละ80 ของผเู้ รียนมีสมรรถนะด้านการคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและ การใช้ทกั ษะชีวิต 1.11 รอ้ ยละ80 ของผู้เรียนมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 1.12 ร้อยละ80 ของผเู้ รยี นมีทกั ษะการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละการเขียน 1.13 ร้อยละ80 ของผ้เู รียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑก์ ารจบหลักสูตร 1.14 รอ้ ยละ80 ของผเู้ รียนมีความรู้ความเข้าใจและนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ ดำรงชีวิต 2. ด้านครมู อื อาชีพ 2.1 ครูมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ สำนกึ รักษ์ความเปน็ ไทย 2.2 ร้อยละ80 ของครสู ร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 2.3 ครูมสี ่วนรว่ มในการบริหารจัดการ 2.4 ครมู กี ารจดั ทำและใช้แหลง่ เรียนร้อู ย่างต่อเนื่อง 2.5 รอ้ ยละ 80 ของครูจดั กิจกรรมบรู ณาการเกี่ยวกับการอนุรกั ษพ์ ลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม 2.6 ครูปฏบิ ัติตามมาตรฐานตำแหน่งและวิทยฐานะ 2.7 ครูมสี ่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษา 2.8 ครูมกี ารออกแบบแผนการจัดการเรยี นรแู้ ละการวดั ผลประเมินผลท่หี ลากหลายตามสภาพจรงิ 2.9 ครนู อ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิงาน 3. ดา้ นผบู้ ริหาร 3.1 ผูบ้ รหิ ารมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจิตสำนึกรักษ์ความเปน็ ไทย 3.2 ผู้บรหิ ารมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นรู้ของครู 3.3 ผู้บริหารร่วมนเิ ทศและแก้ปัญหา การจัดการเรียนการสอนของครูอย่างต่อเนื่อง 3.4 ผู้บรหิ ารสนบั สนุนการจัดทำและใชแ้ หล่งเรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ 3.5 ผ้บู รหิ ารสนับสนนุ การจดั กจิ กรรมบรู ณาการเกย่ี วกับการอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม 3.6 ผูบ้ ริหารมีมาตรฐานตำแหนง่ และวิทยฐานะ 3.7 ผ้บู รหิ ารมีการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. ดา้ นสถานศกึ ษา 4.1 เปน็ โรงเรียนวิถีพทุ ธ โรงเรียนคุณธรรม และโรงเรียนสุจริต 4.2 เปน็ สถานศึกษาปลอดภัยตามมาตรฐานกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 4.3 สถานศึกษามสี อื่ เทคโนโลยี และนวตั กรรมทมี่ ีคณุ ภาพ 4.4 สถานศึกษามแี หล่งเรียนรู้และส่ิงแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อเรียนรู้และบริการชมุ ชนอย่างมีคณุ ภาพ 4.5 สถานศกึ ษามีการบริหารจัดการขยะตามมาตรฐานโรงเรียนปลอดขยะ 4.6 สถานศึกษาดำเนินการสถานศกึ ษาพอเพยี งสู่ศนู ย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง

4 5. ดา้ นชมุ ชน 5.1 ชุมชนเปน็ ต้นแบบดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 5.2 ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ กจิ กรรม 5.3 ชมุ ชนมีแหล่งเรียนรู้และส่ิงแวดล้อมที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ 5.4 ชมุ ชนไดร้ ับการขยายผลตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ อัตลักษณข์ องสถานศึกษา “ผเู้ รียนมีทกั ษะการดำรงชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”คอื ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจ ในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พรอ้ มท้งั มีความสามารถในการชี้ใหเ้ ห็นถึงความสำคัญในการดำเนินชีวิตอย่าง พอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ อยา่ งมวี ิจารณญาณ บนหลักการของความพอประมาณ มเี หตุผล มีภมู ิคมุ้ กนั โดยมคี วามร้แู ละคุณธรรมกำกับเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตและการปฏิบตั ภิ ารกิจหน้าที่ เพอื่ เจรญิ กา้ วหน้าไปอย่างสมดุล และพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง ในดา้ นวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ตวั บ่งช้ี อัตลักษณข์ องสถานศึกษา ผ้เู รียนมที ักษะการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดงั นี้ 1. การปฏิบัตติ นให้มคี วามพอประมาณ รูจ้ ักประมาณตน รู้ศกั ยภาพของตน และร้จู กั รักษาสภาพ แวดล้อมของชุมชน/สงั คมท่ีอาศัยอยู่ 2. การปฏิบัติตน อยา่ งมีเหตุผล บนพน้ื ฐานของความถูกต้อง โดยใช้สติปญั ญาในการคิดก่อนพูดและ ทำ โดยยดึ ทางสายกลางในการปฏิบัติ 3. การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี พรอ้ มรบั ผลกระทบท่ีเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน 4. การมคี วามรอบรู้ในเร่ืองทีเ่ กีย่ วขอ้ ง สามารถคิดวเิ คราะห์และปฏบิ ตั ิด้วยความรอบครอบและ ระมดั ระวัง 5. การปฏิบตั ติ นและดำเนินชีวติ ด้วยความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต อดทน ขยันหมัน่ เพยี ร แบ่งปัน มสี ติ ปญั ญา วนิ ัยพ่ึงตนเอง เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ เกอ้ื กลู รบั ผิดชอบ และอยู่รวมกบั ผอู้ น่ื ได้อย่างมีความสขุ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา “โรงเรยี นคุณธรรม”คอื การสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เสริมสร้างความสัมพันธ์และ การเรยี นรู้ระหวา่ งครูกบั นักเรียนในโรงเรียน เพอื่ ปลกู ฝังอบรมบ่มเพาะคุณธรรม จรยิ ธรรมให้เดก็ และเยาวชน เปน็ คนดี มคี วามสุขและความเจริญ ตวั บ่งช้ี เอกลักษณ์ของสถานศึกษา โรงเรียนคุณธรรม 1. มีกระบวนการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรม ทงั้ โรงเรียน 2. มีกลไกคณะทำงานและใช้โครงงานคุณธรรมเป็นเคร่ืองมือท่ีทุกคนมสี ว่ นร่วมในการ ลงมอื ปฏิบัติ เพ่ือพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม 3. พฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคใ์ นโรงเรยี นเพ่มิ ข้ึน พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงคใ์ นโรงเรยี นลดลง 4. เกิดกระบวนการมสี ่วนร่วมในการพฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรมในโรงเรียนจากทุกภาคส่วนที่เกีย่ วข้อง เชน่ ผบู้ รหิ าร โรงเรียน ครู บคุ ลากร นักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน 5. มีองค์ความร/ู้ นวัตกรรมการสรา้ งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และมีการบรู ณาการกับการจัดการเรียนรู้ ในชั้นเรียน 6. เปน็ แหล่งเรียนรูข้ องโรงเรียนคุณธรรม จรยิ ธรรม

5 6. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1. จดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายด้านการศกึ ษาของสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา จันทบุรี ตราด 2. จัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั วิสยั ทัศนข์ องโรงเรยี น 3. พัฒนาหลักสตู รให้มีคุณภาพเทียบเคยี งมาตรฐานสากล 4. ตอบสนองต่อข้อเสนอแนะจากรายงานคุณภาพภายนอก 5. พฒั นาบุคลากรปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล 7. กลยุทธ์การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปน็ ไทย กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีเพ่อื พฒั นาการศึกษา กลยุทธ์ที่ 3 สง่ เสริมระบบบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมกับทุกภาคสว่ น กลยุทธท์ ี่ 4 สง่ เสรมิ การจดั การด้านความปลอดภัยและส่งิ แวดล้อมเพ่ือเอ้ือต่อการเรียนรู้ กลยทุ ธ์ที่ 5 ส่งเสริมการศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสู่สากล กลยุทธท์ ี่ 6 สง่ เสริมการจัดการเรียนรเู้ พื่อปลกู ฝังปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตารางแสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตวั บ่งชี้ท่ีมีคุณภาพระดับดีข้นึ ไป ลำดับที่ ตวั บ่งชที้ ี่ ช่ือตัวบง่ ช้ี ระดับคุณภาพ 1 1 ผ้เู รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี ดมี าก 2 2 ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ดมี าก 3 3 ผเู้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดมี าก 4 7 ประสทิ ธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ดีมาก 5 8 พฒั นาการของงานประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและ ดมี าก ตน้ สงั กดั 6 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พนั ธกจิ และ ดีมาก วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดต้ังสถานศึกษา 7 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ท่ีส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ดมี าก ของสถานศกึ ษา 8 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาทของสถานศึกษา ดีมาก 9 4 ผ้เู รียนคดิ เปน็ ทำเป็น ดี 10 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดี 11 12 ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รักษา ดี มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ ทสี่ อดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรปู การศึกษา

6 ตารางแสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ตวั บ่งช้ที ี่มีคณุ ภาพตำ่ กว่าระดบั ดี ลำดบั ที่ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ช่ือตัวบง่ ชี้ ระดับคุณภาพ พอใช้ 1 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รยี น ผลการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ ❑ รบั รอง ❑ ไมร่ บั รอง กรณที ่ีไม่ได้รบั การรับรอง เน่ืองจาก ................................-...................................................................... ข้อเสนอแนะ ดา้ นคณุ ภาพของผเู้ รยี น 1. ผูเ้ รียนทกุ คนควรไดร้ ับการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ในด้านระเบยี บวินัยในตนเอง ระเบยี บวินยั ใน การเรียน การมสี มั มาคารวะ มารยาทการไหว้ ควรมกี ารพัฒนาผเู้ รียนในเร่อื งดังกลา่ ว ดว้ ยการจัดกิจกรรม อบรมคุณธรรมและจริยธรรมให้ความรู้ และฝกึ ปฏบิ ัติอยา่ งต่อเนอื่ ง คณะกรรมการนักเรียนมีส่วนร่วมในการ เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี ควรกำหนดมาตรการในการควบคมุ ดแู ลอยา่ งต่อเนอ่ื ง 2. ผูเ้ รียนทุกคนควรไดร้ ับการฝึกทกั ษะและเรยี นรู้ในด้านการปฏบิ ัตติ นการใชช้ ีวติ ทอี่ ยูร่ ว่ มกนั และมี โอกาสในการทำงานกลุ่มรว่ มกนั มากข้นึ เข้าใจในบทบาทหนา้ ทขี่ องสมาชกิ ในกลุ่มเพ่ือการทำงานเป็นทีม จดั กจิ กรรมอบรมกริ ิยามารยาทในการปฏบิ ตั ิตนให้ถกู ต้อง กำหนดมาตรการเปน็ เครื่องมือในการควบคมุ ดูแล ดำเนินการอย่างเป็นระบบ 3. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ให้ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ ่สี งู ข้นึ ในรายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ด้วยการวิเคราะห์ลกั ษณะของรายวิชา ปรบั เปลี่ยนกระบวนการเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการปฏิบตั กิ ิจกรรมให้มากขึน้ 4. สภานักเรียนควรได้รบั ความรู้ และเรยี นรู้ในบทบาทหนา้ ที่ของการเป็นสภานกั เรยี น สถานศกึ ษา ควรดำเนินการสรา้ งสภานักเรียนใหเ้ ปน็ ระบบ การเลือกคณะกรรมการเข้ามาดำเนินการควรเลือกจากตัวแทน ของห้องแตล่ ะห้อง จัดระบบสภาให้เขม็ แข็ง เพ่ือการเป็นตวั อย่างท่ดี ีแก่ผู้เรยี นใหเ้ ป็นท่ียอมรบั ของผู้เรียนใน สถานศึกษา >>กำหนดการดำเนนิ การปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน 2 ปี 3 ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. การจัดสภาพบริเวณควรมีไมด้ อกไม้ประดบั เพิ่มตามบริเวณอาคารเรียน และอาคารประกอบตา่ งๆ ตามความเหมาะสม เพ่ือใหม้ ีบรรยากาศท่รี ่มร่ืนสนบั สนุนการจดั กิจกรรมการพัฒนาผู้เรยี น สถานศึกษาควรมี การจัดสวนหย่อมตามจุดต่างๆท่คี ดั เลือกประมาณ 2 –3 แห่ง และปรับปรุงสถานที่นั่งพักใหเ้ หมาะสมมีความ สวยงาม และควรกระจายอยู่หลายบริเวณ 2. สถานศึกษาควรเพม่ิ มาตรการดแู ลผูเ้ รียนให้ใกล้ชิดมากขนึ้ ควรมีการสงั เกตพฤตกิ รรมท่เี บยี่ งเบน เช่น ปัญหายาเสพติด ปญั หาชู้สาว ปัญหาการมาชา้ การไม่เข้าห้องเรียน เปน็ ต้น และวางมาตรการแก้ไข และ ปอ้ งกัน และปฏิบตั ิอย่างเข้มแข็งโดยคณะครทู ุกคน ควรปฏิบัติไปในทิศทางเดยี วกนั อย่างต่อเนื่อง 3. การนิเทศภายในควรมกี ารบนั ทกึ ข้อเสนอแนะให้ละเอียด ตรงตามสภาพจรงิ เพ่อื การนำข้อมลู มา วางแผนปรับปรงุ พัฒนาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ ให้ครูจดั การเรียนรูใ้ หผ้ ูเ้ รยี นไดป้ ฏิบตั จิ ริง Active Learning ใหค้ รจู ัดการ เรยี นรู้ตามกระบวนการ ๕ ข้ันตอนทเี่ รียกว่า Independent Study : IS (QSCCS) และจัดการเรียนรู้อยา่ งเป็น ระบบในลักษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) และส่งเสริมการเรียนรแู้ ละพัฒนาการและพฒั นาดา้ น

7 อารมณ์สังคม (Social and Emotional Learning : SEL) ทสี่ ำคญั คือ ให้คณะครูทุกคนควรปฏิบัติให้เปน็ ไป ในทศิ ทางเดยี วกนั >>กำหนดการดำเนนิ การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน 1 ปี ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ 1. ครูควรดำเนินการตามระบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี นแก่ผ้เู รียนท่ีมขี ้อจำกัด กลุ่มเสีย่ ง ท่ีไม่สนใจเรียน กลุ่มนอนดึก และตรวจสมดุ ของผู้เรยี นอย่างสม่ำเสมอเพ่ือทราบ คดั แยกกล่มุ ผเู้ รยี นด้วยข้อมูลท่ีเป็นปจั จุบัน ระวงั ไม่ใหล้ อกงานมาส่งครู 2. จดั แหลง่ เรียนรูด้ ว้ ยนิทรรศการรเู้ ทา่ ทนั อย่างรอบดา้ น เช่น การใช้ Smart Phone อย่างชาญฉลาด แก้การติดเกม และจดั ช่วงเวลาทเ่ี หมาะสมในการใช้โทรศพั ท์ เนน้ เพื่อผลประโยชนท์ ผ่ี ู้เรียนจะได้รับ จดั การ สรา้ งความรับรู้ในชว่ งเวลา Home Room ใหค้ ุม้ ค่า 3. ครูควรสง่ เสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ ตามแนวทาง 1 คน 1 อาชพี เสริมสร้างรายได้สามารถทำได้จรงิ มี ผลงานด้วยตนเองแกผ่ เู้ รยี นอาจเรมิ่ จากอาชีพของผู้ปกครอง ซ่งึ อาจจดุ ประกายให้ผูเ้ รียนค้นพบแรงบนั ดาลใจ ในตนให้เกิดข้ึนตอ่ ๆไปได้ >>กำหนดการดำเนนิ การปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน 2 ปี 9. การนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามมาใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 12.2.1 ด้านคุณภาพของผู้เรียน 12.2.1.1 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรมผูเ้ รียน สถานศกึ ษาไดจ้ ัดทำโครงการ “การจดั กจิ กรรมเพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอนั พงึ ประสงค์” เพอ่ื พฒั นานักเรยี นใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และพฤติกรรม ได้แก่ พธิ ีมอบเกยี รติ บัตรนกั เรยี นดีเด่น กิจกรรมปัจฉมิ นิเทศ กิจกรรมปฐมนิเทศนกั เรียนชั้น ม.1 และ ม.4 พิธไี หวค้ รู กจิ กรรมวัน แม่แห่งชาติ กจิ กรรมถวายเทียนพรรษา โดยมีวตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1. เพ่อื ให้นักเรยี นโรงเรียนขลุงรชั ดาภเิ ษกมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ (มวี ินัย ซ่อื สตั ย์ กตัญญูกตเวที เมตตา เสียสละ ประหยัด และรักความเป็นไทย) 2. เพ่ือให้นักเรยี นรจู้ ักป้องกันตนเองจากยาเสพตดิ ให้โทษ สภาวะท่เี สี่ยงต่อความรุนแรง โรคภยั และปัญหาทางเพศ 3. เพ่ือให้นักเรยี นมคี วามชืน่ ชม และร่วมกิจกรรม และมผี ลงานทางด้านศิลปะและดนตรี 12.2.1.2 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น สถานศึกษาได้จดั ทำโครงการเพื่อพฒั นาด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 4 โครงการ ไดแ้ ก่ โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทย โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และโครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิและ พัฒนาศักยภาพนักเรยี นส่คู วามเป็นเลิศ โดยมีกิจกรรมดงั นี้ 1. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมศกั ยภาพผเู้ รียนเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ า ภาษาไทย ได้แก่ กจิ กรรมหมอภาษา ตวิ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการสอบ กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวนั ภาษาไทย นิทรรศการวันวชิ าการ คา่ ยปรบั พน้ื ฐาน

8 2. จัดกิจกรรมสง่ เสริมศกั ยภาพผเู้ รียนเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ ไดแ้ ก่ คลนิ ิกคณิตศาสตร์ออนไลน์ เสริมสร้างคุณภาพนักเรียน คดิ เลขเรว็ GSP แขง่ ขันทักษะ คณิตศาสตร์ (A-Math) พบั พับกบั คณิต ซูโดกุ ค่ายคณิตศาสตร์ตามรอยบาท ศาสตร์พระราชา Open House 3. จัดกจิ กรรมส่งเสริมศักยภาพผเู้ รยี นเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ค่ายคอมพิวเตอร์ เสริมสรา้ งคุณภาพนักเรยี น แขง่ ขันทกั ษะคอมพิวเตอร์ ค่ายนักบินนอ้ ย เสน้ ทางดาว คา่ ยเทคโนโลยีฯ ตามรอยบาท ศาสตรพ์ ระราชา Open House 4. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ศักยภาพเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวิชาสังคมศึกษาฯ ดังน้ี การแข่งขนั ทักษะทางสังคมส่คู วามเปน็ เลิศ การประกวดแข่งขนั มารยาทไทย การประกวดแข่งขันขับร้อง เพลง การประกวดแขง่ ขันเล่านิทานคณุ ธรรม การประกวดแข่งขันภาพยนตร์สน้ั การประกวดแข่งขนั โครงงาน คณุ ธรรม การแขง่ ขันตอบปญั หา ลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้อาเซียนศกึ ษา อบรมและสอบธรรมศึกษาประจำปี 2563 คา่ ยอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม Open House โครงการเพื่อพฒั นาด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น มวี ัตถปุ ระสงค์ดังน้ี 1. เพือ่ ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในวชิ าภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชา วทิ ยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ ทีส่ งู ขนึ้ 2. เพื่อให้นักเรียนมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรยี นวิชาภาษาไทย วชิ าคณิตศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ 3. นักเรยี นค่าคะแนนเฉล่ยี การวัดผลระดบั ชาตสิ ูงข้ึนรอ้ ยละ 2 4. นกั เรยี นไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นเลิศทางสงั คมศึกษาในการแข่งขนั งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรียน 5. นกั เรียนทอ่ี บรม/สอบธรรมศึกษา และท่ีเขา้ ร่วมพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรมเป็นผู้มคี วาม กล้าหาญทางจริยธรรม มีมนุษยสมั พันธ์ท่ดี ีใหเ้ กียรติผู้อื่นวางตนได้ เหมาะสม และอยรู่ ่วมกับผูอ้ ืน่ ได้อยา่ งมี ความสขุ 12.2.1.3 การดำเนินงานของสภานักเรียน สถานศกึ ษาได้จดั ทำโครงการ “การจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนานกั เรียนใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมอันพึงประสงค์” เพอ่ื พัฒนาการดำเนินงานของสภานักเรยี น ได้แก่ การเลือกตั้งคณะกรรมการสภา นกั เรียน มอบเขม็ สภานักเรียน บอรด์ คณะกรรมการสภานักเรยี น ศกึ ษาดงู านโรงเรียนท่ีประสบความสำเรจ็ ของ สภานักเรยี น อบรมสภานกั เรียน และรว่ มถอดบทเรียนสะท้อนคดิ รว่ มกัน เพื่อให้นกั เรยี นมีความมน่ั ใจ กล้า แสดงออกอยา่ งเหมาะสม และให้เกยี รตผิ ู้อื่น มมี นุษยสัมพันธ์ทดี่ ีตอ่ เพ่อื น ครู และผู้อน่ื 12.2.2 ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ 12.2.2.1 การจัดบรรยากาศบริเวณสถานศกึ ษา สถานศึกษาไดจ้ ดั ทำโครงการ “พฒั นาคุณภาพงานอาคารสถานท่ีและงานบรกิ าร สาธารณะ” เพื่อปรบั ปรุง ซ่อมแซมอาคารเรยี น เชน่ หลงั คา ทอ่ ประปา หน้าต่าง ประตู กระดานดำ ปรบั ซ่อม อาคารเรียน ห้องเรียนฯ อาคารประกอบการต่างๆ วสั ดุสำนกั งาน การใหบ้ ริการสาธารณะ และสิ่งอำนวย ความสะดวกโดยท่ัวไปของโรงเรียน เขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนปลอดขยะสู่ความยัง่ ยนื \"สะอาดบุรี จูเนียร\"์ กรม สง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ปรับสภาพแวดล้อมภมู ิทัศนท์ เี่ ป็น ป่ารกร้างใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ และเปน็ สถานทฝ่ี ึกปฏิบัติ 1 โรงเรียน 1 อาชพี

9 12.2.2.2 การวางมาตรการดแู ล และควบคมุ ความประพฤติผู้เรียน การปฏิบตั ิที่มี ประสทิ ธิภาพ สถานศึกษาได้จดั ทำโครงการ “พัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น” เพ่ือวางมาตรการ ดูแล และควบคุมความประพฤติผู้เรียน การปฏบิ ตั ทิ มี่ ีประสทิ ธิภาพโดยการดำเนนิ งาน ดังน้ี ระบบ PS school จดั ทำบัตรนกั เรยี น คู่มือนักเรียน การประชุมผู้ปกครอง งานสารวตั รนักเรียน การทำประกันชีวติ การเยีย่ ม บา้ น เพศวิถีศึกษา คลนิ กิ เสมารักษ์ การสมุ่ ตรวจปัสสาวะนกั เรียนกล่มุ เสย่ี ง กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติดโลก การอบรมแกนนำห้องเรยี นสีขาว และสอบถามปัญหาสาเหตุของนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ท่ีมีพฤตกิ รรมเส่ียง และ กำหนดแนวทางแก้ไขร่วมกนั โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อให้ครทู ปี่ รกึ ษาดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. เพอื่ ให้นักเรียนไดร้ บั การช่วยเหลือดแู ลอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพอื่ ให้ครแู ละนักเรยี นทุกคนเข้ารว่ มโครงการห้องเรยี นสีขาวเกิดความเข้าใจและเหน็ ประโยชน์ในการแสวงหาแนวทางสง่ เสริมปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ โรคเอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวยั อนั ควรอบายมขุ และอุบัติภัย 4. เพื่อให้นักเรียนทกุ คนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการหอ้ งเรยี นสีขาว เกิดกระบวนการรว่ มคดิ ร่วม ปฏบิ ัตใิ นการดูแลเอาใจใสห่ ้องเรียนให้สะอาดนา่ อยู่ น่าเรียนและเป็นศูนย์รวมกิจกรรมในช้นั เรียน และปลอด จากอุบตั ภิ ยั 5. เพ่อื ให้โรงเรียนมรี ะบบข้อมลู สารสนเทศ 12.2.2.3 การจัดระบบวธิ ีการจดั การเรยี นรู้ สถานศึกษาได้จดั ทำโครงการเพื่อจัดระบบวธิ ีการจัดการเรียนรู้ 2 โครงการ ไดแ้ ก่ โครงการส่งเสริมประสิทธภิ าพการเรยี นการสอนและการวัดผลประเมินผลการเรยี นการสอน และโครงการ พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา โดยมีแนวทางเพอ่ื พัฒนาจดั ระบบวธิ ีการจดั การเรียนรู้ในการสนบั สนุนวสั ดุสำหรบั การเรยี นการสอนรวมถงึ การจัดทำส่ือและเอกสารสำหรับการเรยี นการสอน และเพ่ือให้แจง้ ผลการเรยี นอยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ และดำเนินการสำรวจความต้องการของชุมชน เพอ่ื การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาและจดั ทำ หนว่ ยการเรยี นรู้บรู ณาการ รวมถงึ การจดั ซ้ือวัสดุ อุปกรณ์ตามความจำเปน็ ของแตล่ ะระดับช้นั รวมถึงมกี าร ประเมนิ การใช้หลกั สตู ร และมกี ารดำเนนิ การนเิ ทศโดยผูบ้ รหิ าร คณะครอู ย่างต่อเนื่องและเป็นกลั ยาณมติ ร 12.2.3 ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั 12.2.3.1 ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนขาดการส่งต่อของข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่ครทู ี่สอน และ ปญั หาการลอกงานส่งครูจำนวนมาก สถานศึกษาได้จดั ทำโครงการ “พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น” วางมาตรการ ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน โดยการดำเนินงาน ดงั น้ี งานระดับชัน้ ระบบ PS school จดั ทำบตั รนักเรียน การประชุมผู้ปกครอง การเย่ียมบ้าน เพือ่ ให้ครทู ่ปี รึกษาดูแลช่วยเหลือนักเรียนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และ นกั เรียนไดร้ ับการช่วยเหลือดูแลอย่างมีประสทิ ธิภาพ 12.2.3.2 ผเู้ รยี นขาดความรเู้ ท่าทันการใช้สื่อเทคโนโลยี Smart Phone และการติดเกม สถานศึกษาได้จัดทำโครงการ “พฒั นาศักยภาพนกั เรียนดว้ ย ICT” เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นโดย จัดกจิ กรรมบริการอนิ เตอร์เน็ต กจิ กรรมอบรมบอรด์ เกมส์ และกจิ กรรมเน็ตสรา้ งสรรค์ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี

10 1. สร้างนักเรยี นแกนนำด้านดิจิทัลและการเรยี นรู้ด้านอินเตอร์เนต็ 2. สร้างแกนนำด้านบอรด์ เกมส์และทักษะคอมพิวเตอร์ 3. นกั เรียนสามารถบริโภคส่อื และข้อมูลข่าวสารด้านอนิ เตอร์เน็ตได้อย่างปลอดภยั 12.2.3.3 ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ สถานศึกษาได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมการเรยี นรสู้ ู่อาชพี “การแปรรปู ผลิตภัณฑท์ ้องถนิ่ ” เพ่อื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ซอื้ วัสดุในการฝึกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรียนการสอนในรายวิชาการงานอาชพี และรายวิชาคหกรรม การจัดนทิ รรศการแสดงผลงานนักเรียน และเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของนักเรยี น โดยใช้ วทิ ยากรท้องถน่ิ โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั น้ี 1. เพือ่ ให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการศึกษาตอ่ ในระดับสูงขน้ึ ไป 2. เพ่ือให้นกั เรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 3. ผู้ปกครองลดภาระค่าใชจ้ ่ายในการทีน่ ักเรียนในความปกครองเขา้ ศึกษาตามโครงการน้ี 4. เพ่ือให้ผู้ปกครองและชุมชนมีสว่ นร่วมในการสนบั สนุนการสง่ เสริมอาชีพของนกั เรียนใหม้ ี รายไดม้ ากข้ึน

11 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปีของสถานศึกษา QR code แสดงผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 2. ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศกึ ษาโดยภาพรวม ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น 1. ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม 2. วิธีการพัฒนา/ผลการพัฒนา 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น วิธีการพัฒนา โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษกพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โดยม่งุ เนน้ การพฒั นานักเรยี นให้ เกิดการเรยี รู้อยา่ งเต็มศักยภาพ โดยกำหนดคา่ เป้าหมายในการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 8 กลุม่ สาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาตามคุณภาพมาตรฐาน โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนบรรลุและมี ความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในดา้ นความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่างๆ รวมถึงมีความกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ โดยอาศยั กระบวนการพฒั นาวงจร คณุ ภาพ PDCA ผา่ นการจัดทำโครงการพฒั นานักเรยี นสูค่ วามเป็นเลศิ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี น 8 กล่มุ สาระ โครงการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น และโครงการกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รเพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ ของผู้เรยี นใหส้ ูงกวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษากำหนด เน้นกจิ กรรมท่ีพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา ดำเนินการผา่ นกลุ่มสาระการเรียนรจู้ ัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ทั้งในและนอก หอ้ งเรียน กจิ กรรมในห้องเรียนครูจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ตามมาตรฐานหลกั สูตร สถานศกึ ษา มกี ารใชส้ ่ือ เทคโนโลยมี าช่วยในการจัดกจิ กรรม มกี ารวดั และประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อแก้ไข

12 หรือส่งเสริมผูเ้ รียนอย่างตอ่ เน่ืองตลอดปีการศึกษา มกี ารกำกับตดิ ตามพัฒนาการของผ้เู รียนโดยครผู ้สู อน มกี าร นิเทศการสอนจากผู้บรหิ าร ซ่ึงสง่ ผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู ร กิจกรรมนอกห้องเรียนเนน้ ให้ ผูเ้ รียนได้ประสบการณแ์ ละสรา้ งองคค์ วามรู้ สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์และ คา่ นยิ มที่ดี เคารพกตกิ า มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มคี วามภูมใิ จในท้องถิ่น สามารถยอมรับและอยู่รว่ มกับผอู้ ื่นอยา่ ง มีความสุข ครอบคลมุ ความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ โดยกลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ภาษาไทยใชห้ ลัก 5w1H ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบดว้ ย Who (ใคร) What (อะไร) Where (ที่ไหน) When (เมื่อไหร่) Why (เพราะ เหตใุ ด) และ How (อย่างไร) เพ่ือให้นักเรยี นมที กั ษะดา้ นการ อา่ นดีข้นึ มีการจับใจความสำคัญของเรอ่ื ง และสรปุ เรื่องที่อ่านได้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศได้จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีเน้นทักษะการอา่ น การเขียน และการสือ่ สาร โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี การเรียนภาษา ต่างประเทศกับครชู าวตา่ งชาติ รว่ มกับกจิ กรรมนอกหอ้ งเรียน เช่นกิจกรรม English & Chinese Camp กจิ กรรม English & Chinese with Multimedia กจิ กรรม English & Chinese Quiz กจิ กรรม Chinese Corner กิจกรรม Morning English & Chinese กจิ กรรม Christmas Day และ Chinese Day กลุม่ สาระ การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ได้จัดการเรียนรทู้ ใ่ี หน้ กั เรยี นไดฝ้ ึกคิดคำนวณผา่ นแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหา และเสริม ดว้ ยกิจกรรมค่ายคณติ ศาสตร์ Math Camp : สนกุ คดิ นอกหอ้ งเรยี น ปรบั เปลีย่ นมุมมองใหม่ ใส่ใจ Zero waste กจิ กรรมสัปดาหค์ ณิตศาสตร์ กิจกรรมคลนิ กิ คณิตศาสตร์ นอกจากนี้ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ส่งเสริม นักเรียนในกระบวนการ CODING เพื่อสง่ เสริมทกั ษะแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ทักษะ การแก้ปัญหา (Problem Solving) ทักษะสร้างสรรคน์ วัตกรรม (Innovate) ซ่ึงส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพด้าน ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็นและแกป้ ัญหา ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร ความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชพี โดยตรง เสริมด้วยกจิ กรรมที่กระตนุ้ ความสนใจและพฒั นาทักษะท่ี จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รยี น เช่น กจิ กรรมการแขง่ ขัน E-sport”Realm of Vaior” และ “Pro Evolution Soccer” กิจกรรมการสรา้ ง Web Applications การเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ การ ประกวดโครงงานคอมพวิ เตอร์ประเภทซอฟตแ์ วร์ การตดั ต่อภาพยนตร์ การสร้างการ์ตูนเรอ่ื งสนั้ (Comic Strip) การสรา้ งการ์ตูนแอนิเมชั่น (2D Animation) การออกแบบสงิ่ ของเครื่องใช้ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ การสรา้ ง Motion Infographic การสรา้ ง Webpage ประเภท Text Editor และการสร้าง Webpage ประเภท Web Editor ร่วมกับกจิ กรรมทจี่ ดั ในปีการศึกษา 2565 ดงั นี้ กจิ กรรมวนั สนุ ทรภู่และวันภาษาไทยแหง่ ชาติ “สบื สานศาสตรศ์ ิลปร์ ัตนกวี สดุดีพระสนุ ทรโวหาร แตง่ อาภรณ์ตามวรรณคดกี าล ยุวชนรว่ มต้านยาเสพตดิ ” กิจกรรมสัปดาห์ห้องสมดุ กจิ กรรมคลนิ กิ หมอ ภาษา กิจกรรมสปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “KRP The Next Gen กล้าคิด กลา้ ทำ เปน็ ผ้นู ำโลกยคุ ใหม่ด้วยหัวใจ Zero Waste” กจิ กรรมค่ายอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั นักเรยี น กิจกรรมสอนทักษะกีฬาหลังเลกิ เรียนเพ่ือให้นกั เรียนที่สนใจมาสร้างเสริมสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ กิจกรรมการแข่งขนั กีฬาภายใน กจิ กรรมเปดิ เวทีใหน้ ักเรียนแสดงออกถึงความสามารถของตนเองทางดนตรี นาฏศลิ ป์ กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในด้านทกั ษะอาชพี กิจกรรมการแข่งขนั ทักษะวชิ าการภายใน กจิ กรรมการ สอนทักษะการสอื่ สารในชีวติ ประจำวันโดยใช้สวนการเรยี นรอู้ งนุ่ และทุเรยี น (Grapery and Durian Learning Resource) กิจกรรมตลาดนัดพอเพยี ง กจิ กรรมเปดิ บ้านวชิ าการ กิจกรรมจากแหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน กิจกรรมแขง่ ขันทกั ษะท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน กิจกรรมเสรมิ สร้างความเป็นเลิศทางวชิ าการของทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เป็นต้น

13 ผลการพฒั นา โรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษก มีการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมที่ตอบสนองตามมาตรฐานการศึกษาและ กลยทุ ธใ์ นการจัดการศึกษาของโรงเรียน ตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีอย่าง เป็นระบบ ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถอ่าน เขียน ส่ือสาร และคิดคำนวณไดต้ ามศักยภาพของผู้เรียน ใชท้ กั ษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสนิ ใจในการ แก้ปัญหา ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการนำความรจู้ ากกิจกรรมในห้องเรียนและทโี่ รงเรียนจดั มาสร้างเป็น นวตั กรรม โดยสามารถใชเ้ ทคโนโลยีมาช่วยแก้ปญั หาทตี่ อ้ งการได้ มีการนำเสนอช้นิ งานตามศกั ยภาพอย่าง สรา้ งสรรค์ มคี วามรู้ และทักษะที่จำเป็นในการทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื จงึ เกิดผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียนในด้าน ต่างๆ ดังน้ี 1) มีความสามารถในการอา่ น เขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ โรงเรียนขลงุ รชั ดาภิเษกมกี ารวัดความสามารถในการอา่ น เขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ เป็นรายบุคคลผา่ นกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย ส่งผลให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ทีด่ ี ได้ฝกึ กระตุน้ ความ กระตือรือร้น เกิดทักษะการคิดอยา่ งเป็นระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ สามารถเช่ือมโยงความรู้เดิมกับความรใู้ หม่จน สรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ไดด้ ้วยตนเอง และตดั สนิ ใจแก้ปญั หาได้อย่างมสี ตสิ มเหตุผล ส่งผลใหน้ กั เรียนร้อยละ 87.44 มีความสามารถในการอ่าน และส่ือสารวชิ าภาษาไทย โดยใช้ผลจากการวัดและประเมนิ ผลการคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 จากสถาบันภาษาไทย สำนัก วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ นักเรียน รอ้ ยละ 63.95 มีความสามารถ การอ่าน-เขยี น และส่ือสารภาษาตา่ งประเทศ โดยใช้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศปีการศกึ ษา 2565 นกั เรียนรอ้ ยละ 53.15 มคี วามสามารถในการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชนั้ ในระดบั ดีข้ึนไป โดยใช้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 สรุปได้ว่าในปีการศกึ ษา 2565 นักเรียนโรงเรียนขลุงรัชดาภเิ ษกมีความสามารถ ในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ อยู่ในระดบั คุณภาพดี แสดงได้ดังแผนภมู ิตอ่ ไปน้ี รอ้ ยละของผูเ้ รยี นที่มีความสามารถในการอ่านเขยี น และสอื่ สารวชิ าภาษาไทย

14 รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มีความสามารถในการอ่าน-เขียน และสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ ร้อยละของผ้เู รยี นท่ีมีความสามารถในการคดิ คำนวณวิชาคณติ ศาสตรต์ ามเกณฑข์ องแตล่ ะระดบั ชนั้ ในระดบั ดขี ้ึนไป 2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา โรงเรยี นขลงุ รัชดาภเิ ษกได้สง่ เสริมให้ผู้เรยี นทำงานเป็นกลุ่ม รว่ มคดิ ร่วมทำ แลกเปล่ียนเรียนรู้ เพ่ือ ความคิดสร้างสรรค์ คิดแกป้ ัญหาและนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ โดยใช้เทคนิคการสอนที่ หลากหลาย เชน่ การจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน การใช้ปัญหาเปน็ ฐาน การใชค้ ำถามเปน็ ฐาน เช่น การเรียนรู้ วชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS) และคาบเรยี น 1 หอ้ งเรยี น 1 นวตั กรรม (One Classroom One Innovation) โดยให้นักเรยี นทกุ หอ้ งเรียนสร้างนวตั กรรมห้องเรยี นละ 1 นวตั กรรม ในหัวข้อ King of Fruits ซึ่งเป็นการบรู ณาการกับแหล่งเรยี นรู้สวนทเุ รียน ทำใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่าง มีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา สง่ ผลให้นักเรยี น รอ้ ยละ 95.66 มีความ สามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น ความคิดเห็น และแกป้ ญั หา อยู่ใน ระดบั คุณภาพยอดเยยี่ ม แสดงไดด้ งั แผนภูมิต่อไปนี้

15 ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดขี ึ้นไป 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษกจดั แหล่งเรียนร้จู ากสวนทเุ รียนภายในโรงเรยี นร่วมกบั รายวิชา OCOI (One Classroom One Innovation) เพอ่ื พัฒนาใหน้ ักเรยี นทุกคนไดร้ ว่ มกนั สรา้ งนวตั กรรมของห้องเรียน ใช้ กระบวน CODING ในการทำงาน และมีการคัดเลือกผลงานท่ีดที สี่ ดุ ของแตล่ ะระดับชน้ั มานำเสนอในงาน เปดิ บ้านวชิ าการ ปีการศึกษา 2565 ดังนี้ -ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 นักเรียนไดส้ รา้ งนวตั กรรม E-book มหศั จรรย์พันธ์ทุ เุ รียน เพอื่ ให้ความรูเ้ กย่ี วกับสายพันธ์ทเุ รยี นตา่ งๆ ท่ปี ลกู ในจังหวัดจันทบรุ ี และแหล่งเรียนรู้สวนทเุ รยี นของโรงเรยี น -ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 นักเรียนได้สร้างนวตั กรรม ปุ๋ยจากมลู ไสเ้ ดือน เพื่อใช้ในการบำรุง ต้นทเุ รียนของโรงเรยี น -ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 นักเรยี นสรา้ งนวัตกรรมเกย่ี วกับสื่อมลั ตมิ ีเดียเรื่อง “มากมาย คุณอนันต์ สารพันความรู้” เป็นการใชค้ อมพิวเตอรผ์ สมผสาน รปู แบบการนำเสนอข้อมูลต้นทุเรยี น เพื่อ ก่อใหเ้ กิดการรบั รู้ทีห่ ลากหลายตอ่ กล่มุ ไมว่ ่าจะเป็นการมองเห็น การไดย้ ินเสียง -ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรยี นได้สรา้ งนวตั กรรมส่อื โฆษณาประชาสัมพนั ธ์ซ่ึงส่งเสริม เทคนิคทางการตลาดใหก้ บั นักเรียน -ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 นักเรียนไดส้ รา้ งนวตั กรรมดา้ นการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ BioPack เพอ่ื ช่วยลดจำนวนการใช้ถุงพลาสตกิ และยงั สามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริงในชวี ิตประจำวัน -ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 นักเรียนได้สร้างนวัตกรรมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยทำ ไอศครมี จากทเุ รียน เพื่อเพ่ิมมูลค่าใหก้ ับทเุ รียน นอกจากนย้ี ังส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมในรายวิชาต่างๆ เช่น การพัฒนาสือ่ นวัตกรรมกับชมุ นมุ คอมพวิ เตอร์หรรษา นวตั กรรมด้านการจัดการขยะในโครงการ Zero waste เป็นต้น สง่ ผลให้นกั เรียนร้อยละ 86.72 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม การนำเสนอในรูปแบบของส่ือการเรียนรู้ สือ่ เทคโนโลยี อยู่ใน ระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม แสดงไดด้ ังแผนภมู ิตอ่ ไปนี้

16 รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โรงเรยี นขลุงรชั ดาภเิ ษกมผี ลการดำเนนิ งานจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทมี่ ุ่งเน้นทกั ษะดา้ น การใช้ เทคโนโลยีและการส่ือสารเพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถพฒั นาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพในทุกระดับชัน้ และกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถพัฒนานกั เรียนให้เป็นตัวแทนของเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษาจันทบรุ ี ตราด เข้ารว่ มการแขง่ ขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ภาคกลางและ ภาคตะวันออก คร้ังท่ี 70 ปกี ารศึกษา 2565 ในหมวดหมขู่ องการแขง่ ขนั คอมพิวเตอร์จำนวน 10 รายการ เช่น การแข่งขนั สรา้ ง Web Applications ม.4-ม.6 การแข่งขันตัดต่อภาพยนตร์ ม.4-ม.6 การแข่งขนั สรา้ ง การต์ นู แอนเิ มช่ัน (2D Animation) ม.1-ม.3 และไดร้ ับรางวลั ชมเชยการประกวดคลปิ วิดโี อ BIOGANG VDO CLIP CONTEST ภายใต้แนวคดิ “พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ด้วย BCG โมเดล” ระดบั ประเทศ ชิงถว้ ยรางวัล พระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นตน้ สง่ ผลใหน้ ักเรยี นรอ้ ยละ 98.40 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนา ตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ อย่ใู นระดับคุณภาพดีเยย่ี ม แสดงไดด้ งั แผนภมู ติ ่อไปนี้ รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

17 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนขลงุ รัชดาภิเษก มีโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยมี วัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้นักเรยี นบรรลแุ ละมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรูต้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา ในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่างๆ รวมทงั้ มีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดบั ชาติ โดยอาศัยกระบวน การพฒั นาวงจรคุณภาพ PDCA ผา่ นการจดั ทำโครงการพัฒนานักเรยี นสูค่ วามเปน็ เลิศ โครงการยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ มีการจดั คาบว่างของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และ 6 เป็นคาบตวิ O-NET โดยจัดครผู ูส้ อน 5 กลุ่มสาระหลักเปน็ ผู้ใหค้ วามรแู้ กน่ ักเรียน และเชิญวิทยากรภายนอกที่มีความสามารถมาให้ความรู้และเทคนิคดๆี แก่นกั เรยี น เพ่ือเปน็ การพัฒนา ผลสัมฤทธิข์ องผู้เรยี นให้สูงกว่าเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากำหนด และมผี ลการทดสอบระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) สูงขึน้ จากการที่ครมู ุง่ ม่ันจดั การเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นาศักยภาพของนักเรียน ทำให้นกั เรียนของโรงเรียน ขลุงรชั ดาภเิ ษกมผี ลงานทางวิชาการมากมาย และสรา้ งชื่อเสียงใหก้ ับโรงเรียน ทำให้นายอภฤิ ทธิ์ ภาระเปลอ้ื ง นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6/6 เป็นตัวแทนของจงั หวัดจันทบุรี ในการประเมนิ นักเรียนเพือ่ รบั รางวัล พระราชทานระดบั จังหวัดจนั ทบุรี ปกี ารศึกษา 2565 จะเห็นไดจ้ ากการทนี่ ักเรยี นไดเ้ ปน็ ตัวแทนไปแขง่ ขนั งาน ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก คร้ังที่ 70 ปกี าร ศึกษา 2565 จำนวน 29 รายการ ซง่ึ จดั เป็นอันดบั 1 ของโรงเรยี นในสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาจันทบรุ ีเขต 2 ผลการ แขง่ ขนั นักเรียนได้เหรยี ญทอง 8 รายการ เหรยี ญเงิน 7 รายการ เหรยี ญทองแดง 9 รายการ และไดเ้ ขา้ รว่ ม 5 รายการ ได้รับรางวัลชนะเลิศการจดั สวนแกว้ ม.4-ม.6 และรางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 การประกวด โครงงานอาชพี ม.4-ม.6 จงึ ทำให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นบรรลตุ ามคา่ เป้าหมายท้งั 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ในภาพรวมผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของปีการศึกษา 2564 เทยี บกับปีการศกึ ษา 2565 มีความก้าวหนา้ ร้อยละ 4.09 และมผี ลการทดสอบระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 สูงกว่าระดับประเทศ ทุกวิชา วชิ าภาษาไทยและภาษาองั กฤษมีคา่ เฉล่ียสงู กว่าระดบั ชาติมากกว่ารอ้ ยละ 2 สง่ ผลให้มีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนตามหลกั สูตรในภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ตารางแสดงรอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนทีผ่ า่ นคา่ เป้าหมาย(ผลการเรียน 2.5 ข้ึนไป) และระดับคุณภาพที่ได้ จำแนกตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ฯ สังคมฯ ตปท. ศลิ ปะ สุขศึกษาฯ การงานฯ คา่ เป้าหมายของ 73 65 70 72 70 75 80 75 สถานศกึ ษา รอ้ ยละของจำนวน 81.10 66.94 84.19 82.78 79.86 80.94 92.09 88.98 นักเรียนท่ผี ่าน ค่าเป้าหมาย ระดับคุณภาพ ยอด ดี ยอด ยอด ดเี ลิศ ยอด ยอด ยอด เยี่ยม เยย่ี ม เยยี่ ม เยี่ยม เยยี่ ม เย่ยี ม ร้อยละเฉล่ีย 82.11 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

18 ตารางแสดงร้อยละความก้าวหน้าของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนจากปีการศึกษา 2564 เทยี บกบั ปีการศึกษา 2565 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา 2564 ปีการศกึ ษา 2565 รอ้ ยละความก้าวหนา้ ภาษาไทย 73.84 78.46 +4.62 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 74.53 78.86 +4.33 ภาษาตา่ งประเทศ 70.54 75.17 +4.63 คณติ ศาสตร์ 66.55 68.19 +1.64 วทิ ยาศาสตร์ 72.69 74.77 +2.08 สุขศึกษาและพลศึกษา 80.71 87.45 +6.74 ศลิ ปะ 79.74 80.45 +0.71 การงานอาชพี 74.83 82.80 +7.97 รวม 8 กลุ่มสาระฯ 74.18 78.27 +4.09 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2565 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เปรยี บเทยี บระหว่างผลการทดสอบระดับโรงเรยี น และผลการทดสอบระดับประเทศ รายวิชา คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรยี น ระดบั ประเทศ การพฒั นาของโรงเรยี น ภาษาไทย 52.71 52.95 -0.24 คณติ ศาสตร์ 21.85 24.39 -2.54 วิทยาศาสตร์ 31.59 33.32 -1.73 ภาษาอังกฤษ 32.08 32.05 +0.03 คะแนนเฉลยี่ รวม 34.56 35.68 -1.12 รอ้ ยละของคะแนนท่ีสูงกว่าค่าเฉล่ยี ระดบั ชาติ -1.12 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 เปรยี บเทียบระหวา่ งผลการทดสอบระดับโรงเรียน และผลการทดสอบระดับประเทศ รายวิชา คะแนนเฉลย่ี ระดบั โรงเรียน ระดบั ประเทศ การพฒั นาของโรงเรยี น ภาษาไทย 46.18 44.09 +2.09 คณติ ศาสตร์ 33.70 33.00 +0.70 วิทยาศาสตร์ 23.93 23.44 +0.49 ภาษาอังกฤษ 24.50 21.61 +2.89 สงั คมศึกษา 29.19 28.08 +1.11 คะแนนเฉล่ียรวม 31.50 30.04 +1.46 รอ้ ยละของคะแนนท่ีสูงกว่าค่าเฉล่ยี ระดับชาติ +1.46 รายวชิ าภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ระดบั ประเทศมากกว่าร้อยละ 2 (บรรลุค่า เป้าหมายของสถานศึกษา

19 6) มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชีพ โรงเรียนขลงุ รัชดาภิเษกมผี ลการดำเนินงานจากการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาให้ผู้เรยี นทุกคน มคี วามรู้ ทกั ษะ และเจตคติที่ดพี ร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชัน้ ทสี่ งู ข้นึ หรือมีวุฒภิ าวะทางอาชีพท่เี หมาะสมกบั ช่วงวยั ผู้เรยี นไดร้ ับการจดั กิจกรรมแนะแนวทกุ คนอย่างต่อเนื่อง และจดั กจิ กรรมพฒั นาทักษะพื้นฐานด้าน อาชีพ เพื่อเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดป้ ระยุกตใ์ ชค้ วามรู้ และทักษะในการแก้ปญั หา การทำงานร่วมกับผ้อู น่ื ใน สถานการณจ์ ริง เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นรู้และเข้าใจโลกของงานอาชพี อยา่ งหลากหลาย มีเจตคติที่ดีตอ่ อาชีพสุจรติ มกี าร เตรียมตวั สู่อาชีพ สามารถวางแผนเพอื่ ประกอบอาชีพตามที่ตนเองถนัดและสนใจ รู้จกั แสวงหาและใช้ข้อมูล ประกอบการตัดสนิ ใจวางแผนการศึกษาต่อได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มีนิสยั ใฝเ่ รียนรู้ พร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขน้ึ หรือประกอบอาชีพ ทำใหผ้ ู้เรียนรอ้ ยละ 88.98 มคี วามสามารถในการผลดิ /จำหนา่ ยตามทักษะอาชีพท่ี สนใจ และผู้เรียนรอ้ ยละ 96.46 มคี วามสามารถศึกษาในระดบั ช้ันทสี่ ูงข้ึน และ/ไปประกอบอาชีพตามความ สนใจ ส่งผลให้นักเรยี นมคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ อย่ใู นระดับคณุ ภาพยอดเย่ียม 1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน วธิ ีการพฒั นา โรงเรียนขลุงรัชดาภเิ ษกพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคแ์ ละค่านิยมที่ดตี ามท่ีสถานศึกษา กำหนดโดยจดั กจิ กรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวยั พฒั นาคณุ ธรรมของผูเ้ รยี นตามโครงการส่งเสริมคุณธรรม- จรยิ ธรรม โครงการหอ้ งเรียนสีขาว โครงการ To BE Number One เพอื่ ให้ผ้เู รียนตระหนกั รู้ถึงพิษภยั ของ ยาเสพติด หลีกเลย่ี งตนเองจากสภาวะท่เี สีย่ งต่อความรนุ แรง โรคภยั อุบัติเหตแุ ละปัญหาทางเพศ เห็นคุณค่า ในตวั เอง มคี วามมนั่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสมั พนั ธ์ทด่ี ีให้เกยี รติผู้อื่น อีกท้ังโรงเรยี นยงั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยนอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อให้นักเรียนไดน้ ำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน จัดกิจกรรมตามวนั สำคญั ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ และกิจกรรมสบื สานประเพณี ทางศาสนา ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนตระหนักถึงความเป็นไทย วฒั นธรรมและวิถชี วี ิต จดั กิจกรรมออมเพ่ือพ่อ เพ่ือ ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นประหยัดและอดออม มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง จัดกจิ กรรมระบบดแู ลชว่ ยเหลือ นักเรยี นท่มี ปี ญั หาดา้ นต่างๆ ให้อยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ เชน่ ลกู เสือจิต อาสา การชว่ ยกันทำความสะอาดในพืน้ ทีร่ ับผิดชอบของหอ้ งเรยี น เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนรู้จกั ความเสยี สละเพื่อส่วนรวม การพัฒนาผเู้ รียนให้มีความภาคภมู ิใจในท้องถิน่ เห็นคณุ คา่ เกี่ยวกบั ความเป็นไทย โดยจัดกิจกรรมดา้ น ศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์ การเรียนรู้วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นจากปราชญ์ชาวบา้ นหรอื ชมุ ชน เช่นอาหารในท้องถิน่ กิจกรรมชกั กะเย่อเกวยี น ค่ายส่งเสรมิ การเรยี นรู้วิทยาศาสตรท์ างทะเล กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรมวนั ลอยกระทงเป็นต้น การพฒั นาผ้เู รียนให้มีการยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนจัด กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลอื กิจกรรมวันสำคญั ของตา่ งศาสนา เชน่ วนั คริสมาส วันตรุษจีน กจิ กรรมกีฬาสี การเข้าค่ายพักแรม การทศั นศึกษา เพื่อฝึกใหผ้ ู้เรยี นได้ปรับตัวอย่รู ่วมกบั ผอู้ นื่ ในสถานการณ์ ตา่ งๆ เขา้ ใจวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง ยอมรบั ความแตกต่างระหว่างบคุ คลในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การพัฒนาสขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสงั คม โรงเรียนจัดกจิ กรรมการตรวจสุขภาพอนามยั ใน โรงเรยี น การทำแบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) โดยสง่ เสริมให้ผู้เรยี นรู้จกั ดแู ลตนเองให้มีสุขภาพท่ี แขง็ แรง มนี ้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมท้ังส่งเสรมิ ผูเ้ รียนรู้จักตนเอง ยอมรับข้อดีและข้อบกพร่อง พฒั นาและปรบั ปรงุ ตนเองอย่างสมำ่ เสมอ มีความมั่นคงทางอารมณ์ ภาคภูมใิ จใน ตนเอง คิดบวก มกี ารแสดงออกไดอ้ ย่างมมี ารยาททางสงั คมเหมาะสมกบั เพศวัยและบทบาทหนา้ ที่ โรงเรียนมี

20 ความรว่ มมอื กบั โรงพยาบาลสขุ ภาพประจำตำบลและเทศบาลวนั ยาวในการจัดโครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพให้กับ นกั เรียนทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์และสงั คมอย่างสม่ำเสมอ ผลการพัฒนา 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ีดีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด โรงเรยี นขลุงรชั ดาภเิ ษกมผี ลการดำเนินงานเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ ของผเู้ รยี น ใหม้ ีคุณลักษณะ ท่พี ึงประสงคแ์ ละค่านยิ มท่ีดีตามที่สถานศึกษากำหนด สามารถเป็นแบบอยา่ งได้ ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข เน้นการพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทเ่ี หมาะสมกับวยั ของผเู้ รียน จัดกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นมี คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกำหนดและมีค่านิยมท่ีดีตามท่ีโรงเรียน กำหนด จัดกจิ กรรมออมเพื่อพอ่ สง่ เสริมใหน้ ักเรียนออมเงินและอยู่อยา่ งพอเพยี ง ทำให้ผู้เรียนร้อยละ 95.28 มพี ฤติกรรมด้านจรยิ ธรรม คุณธรรมทเ่ี หมาะสมตามที่สถานศกึ ษากำหนด และผู้เรียนร้อยละ 100 มลี กั ษณะ อยู่อยา่ งพอเพยี งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ส่งผลให้ผูเ้ รียนมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ีตามที่ สถานศึกษากำหนด อยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเยีย่ ม แสดงไดด้ งั แผนภมู ิต่อไปน้ี รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ดีขึ้นไป ร้อยละของผู้เรียนทม่ี คี ุณลักษณะอยอู่ ย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

21 2) ความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย โรงเรยี นขลงุ รัชดาภเิ ษกมีผลการดำเนินงานในการพฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ใน ความเป็นไทย เหน็ คุณคา่ เกี่ยวกบั ความเป็นไทย และแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิตประจำวัน โดยการ ส่งเสริมในด้านต่าง ๆ ดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย ประกอบด้วยครูจัดการเรยี นรู้ ใหเ้ ปน็ ไปตามศักยภาพของ ผ้เู รียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั ของหลักสตู ร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ทีเ่ หมาะสมกับ ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกจิ กรรม ทางด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ แสดงออกดา้ นวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยท่ีตนเองภาคภูมิใจในทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทำให้ผู้เรยี นรอ้ ยละ 95.22 มีสว่ นร่วมในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรปู ธรรม และผูเ้ รียนรอ้ ยละ 80 มีสว่ นร่วมในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม ประเพณแี ละภูมปิ ัญญาท้องถ่ินและเกิดความ ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นมคี วามภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย อย่ใู นระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3) การยอมรับทจี่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษก มีการจดั กจิ กรรมท่ีให้ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ ม เช่น กจิ กรรมระบบดูแลชว่ ยเหลือ ผ้เู รียน กิจกรรมจบั Buddy ระหวา่ งรุ่นพี่กับรุ่นน้อง กิจกรรมวันครสิ ต์มาส กิจกรรมวันสุนทรภู่ กจิ กรรมวนั วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมวนั ตรุษจีน กิจกรรมแหเ่ ทยี นพรรษา เป็นต้น เพือ่ ให้ผ้เู รียนเห็นคุณคา่ ในตนเอง มีความ มน่ั ใจ กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสมั พนั ธท์ ี่ดี และใหเ้ กยี รตผิ ู้อ่ืน ผ้เู รยี นสามารถยอมรบั ความคิดเหน็ และวัฒนธรรมท่ีแตกตา่ ง ยอมรบั ทจี่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างระหว่างบคุ คลในด้านเพศ วัย เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี ผู้เรียนสามารถเรยี นร้รู ่วมกนั เป็นกลุ่ม และแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ มีมนุษยสัมพันธด์ แี ละมีทกั ษะในการดำเนินชีวติ ได้อย่างเหมาะสมกับวยั และเข้าใจใน ความแตกตา่ งและความหลากหลายของสังคมในปัจจบุ ัน ทำให้ผ้เู รียนร้อยละ 98.22 สามารถอย่รู ว่ มกนั บน ความแตกต่างหลากหลายได้ มคี วามเขา้ ใจและยอมรบั ความแตกตา่ งของเพศวัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรรม และประเพณี อย่ใู นระดบั คุณภาพยอดเย่ียม 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภเิ ษก มกี ารดำเนนิ งานในกระบวนการส่งเสริมสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตของผเู้ รียน โดยการจดั ทำแบบทดสอบสมรรถภาพของนักเรยี น แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) แบบประเมนิ ภาวะซมึ เศรา้ ของนักเรียน และการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา โดยส่งเสริม สุขภาพกายด้วยการพัฒนาผูเ้ รยี น ให้ผเู้ รียนรจู้ กั ดแู ลตนเองให้มสี ขุ ภาพร่างกายท่ีแขง็ แรง มคี วามสามารถ ใน การดูแลสุขภาพรา่ งกายของตนเอง ให้มนี ำ้ หนัก สว่ นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน จดั กิจกรรมกีฬาภายในโรงเรยี น กิจกรรมแขง่ ขนั กีฬาภายนอก เพื่อสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นทุกคนได้เขา้ รว่ มกิจกรรม การออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ เพื่อใหม้ สี ุขภาพร่างกายท่สี มบูรณ์ แข็งแรง สง่ เสริมผู้เรยี นใหร้ ู้จักตนเองและ ยอมรบั คุณลักษณะของตนเองทั้งข้อดแี ละข้อบกพรอ่ ง แสดงออกได้อย่างมีมารยาททางสงั คม เหมาะสมกับ เพศวยั และบทบาทหน้าที่ สามารถอยูร่ ว่ มกับคนอ่ืนอยา่ งมีความสขุ ร้จู กั ปอ้ งกันตนเองจากส่ิงเสพตดิ ให้โทษ และหลีกเลีย่ งตนเองจากสภาวะที่เสีย่ งต่อความรุนแรง โรคภัย และ ปญั หาทางเพศ รู้จกั วธิ ีดูแลรักษาตนเองให้ ปลอดภัยทอี่ าจจะเกิดขนึ้ โดยไม่ร้ตู ัวจากอุบตั ิเหตตุ ่างๆ และผูเ้ รยี นไม่เพิกเฉยต่อปญั หาทีเ่ กิดขนึ้ กับผเู้ รียนและ สามารถหาหนทางแก้ไขปญั หาดว้ ยตนเองภายใต้ การสนับสนุนส่งเสรมิ จากผบู้ ริหาร ครู ผปู้ กครอง และเพ่ือน ผูเ้ รียน พบว่าผู้เรียนร้อยละ 80.67 มผี ลการประเมนิ ด้านสุขภาวะทางร่างกายตามเกณฑม์ าตรฐาน ผู้เรียน รอ้ ยละ 82.56 มผี ลการทดสอบสมรรถภาพอยูใ่ นระดบั ปานกลางขนึ้ ไป และผเู้ รียนร้อยละ 89.63 ไมย่ ุ่ง

22 เกี่ยวกับยาเสพติด ส่งผลใหร้ ้อยละ 84.29 มีสุขภาพรา่ งกายทแ่ี ข็งแรง และไมข่ ้องเกยี่ วกับยาเสพติด และจาก แบบรายงานจำนวนนักเรียนท่ีมีภาวะซมึ เศรา้ พบว่ามนี ักเรียนเป็นโรคซมึ เศร้า จำนวน 10 คน ไดร้ บั การรกั ษา จากโรงพยาบาล / คลนิ ิก จำนวน 6 คน และยงั ไม่ได้เข้ารับการรักษา จำนวน 4 คน จงึ ทำให้ผเู้ รยี นร้อยละ 98.78 มสี ขุ ภาพจิต อารมณ์ และสังคมท่ีดีตามเกณฑข์ องกรมสขุ ภาพจติ ส่งผลใหผ้ เู้ รยี นมสี ุขภาวะทาง ร่างกาย และจติ สังคม อยู่ในระดับคุณภาพดเี ลศิ แสดงได้ดังแผนภมู ิต่อไปน้ี รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายตามเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละของผู้เรียนที่ทดสอบสมรรถภาพอยู่ในระดับปานกลางขึ้นไป รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีไม่ยุ่งเกยี่ วกับยาเสพติด

23 ร้อยละของผเู้ รียนที่มีสุขภาพรา่ งกายทแี่ ข็งแรง และไม่ข้องเกี่ยวกบั ยาเสพติด รอ้ ยละของผ้เู รียนทมี่ สี ุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คมทด่ี ตี ามเกณฑ์ของกรมสุขภาพจิต 3. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ทส่ี นับสนนุ การประเมินตนเอง -แบบประเมินผลการคัดกรอง“ความสามารถในการอา่ นและการเขยี นภาษาไทย” -ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระ -ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น -ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ -รายงานผลการจดั กิจกรรม 1 ห้องเรยี น 1 นวตั กรรม (OCOI : One Classroom One Innovation) -ผลการประเมนิ สมรรถนะการใชเ้ ทคโนโลยี -ผลการททดสอบ O-NET ปกี ารศึกษา 2565 -แบบสรุปกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน -แบบสำรวจขอ้ มลู การศึกษาต่อ ม.3 และ ม.6 -รายงานผลการจัดกจิ กรรมค่ายคณุ ธรรมจรยิ ธรรม -รายงานผลการจดั กจิ กรรมตามโครงการ -รายงานผลการจัดกจิ กรรมอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ -รายงานผลโครงการโรงเรียนปลอดขยะ

24 -ขอ้ มลู นักเรียนเกี่ยวกบั เชื้อชาติ ศาสนา -แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย -รายงานข้อมูลเก่ียวกับยาเสพติด -ข้อมลู น้ำหนักสว่ นสูงของนักเรียน -แบบรายงานจำนวนนักเรียนทม่ี ภี าวะซมึ เศร้า 4. จุดเด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา และแผนการพัฒนาคุณภาพให้สูงข้นึ 4.1 จุดเด่น 4.1.1 โรงเรียนมีกิจกรรม 1 ห้องเรยี น 1 นวตั กรรม (OCOI : One Classroom One Innovation) จงึ ทำใหเ้ กิดนวตั กรรมทุกหอ้ งเรียน 4.1.2 นกั เรยี นโรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษกมศี ักยภาพทางวิชาการและทางอาชพี ไดร้ บั รางวัล ชนะเลศิ การแขง่ ขนั การจดั สวนแก้ว ม.4-ม.6 และรางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 การประกวดโครงงานอาชีพ ม.4-ม.6 4.1.3 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของท้ัง 8 กลุ่มสาระ บรรลตุ ามค่าเปา้ หมายของโรงเรยี น และมี ความกา้ วหน้าทุกกลุ่มสาระ ในภาพรวมมีความกา้ วหนา้ ร้อยละ 4.09 4.1.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2565 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ในระดบั โรงเรียนสงู กว่าผลการทดสอบระดับประเทศทุกรายวิชา 4.1.5 ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาใหม้ คี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สาร เพอื่ พัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำงานอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละมีคุณธรรม 4.1.6 ผู้เรียนได้รบั การพฒั นาให้มที กั ษะในการดำเนนิ ชวี ิตอย่างพอเพยี ง มคี ุณลักษณะที่พึง ประสงคต์ ามอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา “ผเู้ รยี นมีทักษะการดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 4.2 จดุ ท่คี วรพฒั นา 4.2.1 ควรพัฒนาความสามารถในการอ่าน-เขียน และสอ่ื สารภาษาตา่ งประเทศของนักเรียนให้ สามารถอ่าน-เขยี น และสื่อสารภาษาต่างประเทศไดม้ ากขึน้ 4.2.2 ควรพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ โดยจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้ เหมาะสมกบั ระดับชัน้ 4.3 แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานทสี่ งู ขน้ึ 4.3.1 จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ความสามารถในการอ่าน-เขียน และสอ่ื สารภาษาต่างประเทศใน หลายๆรูปแบบ 4.3.2 จัดกิจกรรมสง่ เสริมความสามารถในการคิดคำนวณใหก้ บั นกั เรียนในทุกระดบั ช้นั

25 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 1. ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ยี ม 2. วิธกี ารพฒั นา/ผลการพัฒนา วธิ ีการพฒั นา โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภเิ ษกมีการดำเนินการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาปีงบประมาณ 2565 - 2568 ตามบรบิ ทของสถานศึกษา และนโยบายทุกระดับ โดยอาศัยการมีสว่ นร่วมจากทุกสว่ น ได้แก่ ผบู้ รหิ าร คณะครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019 ในปีท่ีผ่านมา มีข้อจำกัดในการรวมกลุ่มของคนจำนวนมาก โรงเรียนขลุงรัชดาภเิ ษกจึงได้จัดทำแบบสอบถามในรูปแบบออนไลน์ ถงึ ความคาดหวงั ท่ีกลุ่มผมู้ ีส่วนได้ สว่ นเสีย คาดหวงั ตอ่ โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษก รวมถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค เพ่ือนำมาวเิ คราะหส์ ภาพ บรบิ ทของโรงเรียนในการจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และนำไปสู่การปฏบิ ตั ิเป็นแผนปฏบิ ัติการ ประจำปี ตามโครงการ/กิจกรรม โดยประกอบดว้ ยโครงการชองกลมุ่ บริหารงาน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลมุ่ บรหิ ารงาน วชิ าการ กล่มุ บริหารงานงบประมาณ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กล่มุ บริหารงานกิจการนักเรยี น และกลมุ่ บรหิ าร ท่ัวไป มีการขออนมุ ตั ิใช้เงนิ และการเบิกจ่ายงบประมาณ ตามขั้นตอนและเปน็ ระบบ มีการจดั ทำระบบการตดั งบประมาณแบบ Realtime ผ่านระบบออนไลน์ และดำเนินการสรปุ รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม เสนอตอ่ ฝา่ ยบริหารเป็นประจำทุกปี ในการพฒั นางานวชิ าการ โรงเรยี นขลงุ รัชดาภิเษกได้ต้งั คณะกรรมการบรหิ ารวิชาการร่วมกันพัฒนา กลุ่มสาระการเรยี นรู้พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกบั เป้าหมาย จดุ เน้น สาระท้องถิ่น และสอดคลอ้ ง กบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และความต้องการของสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรนู้ ำ หลกั สูตรสถานศึกษาไปจัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุมตัวชีว้ ดั ผลการเรยี นรขู้ องแตล่ ะมาตรฐานของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มกี ารปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร นอกจากน้ีโรงเรียนขลงุ รชั ดาภเิ ษกยังจดั ทำหลกั สูตร สถานศกึ ษาเหมาะสมกับบริบทและสอดคลอ้ งกับท้องถน่ิ จัดรายวชิ าเพมิ่ เติมท่ีหลากหลายใหผ้ เู้ รยี นเลือกเรียน ได้ตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ จัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนท่สี ่งเสรมิ และตอบสนองความ ต้องการ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรยี น ได้เปดิ สอนหลกั สตู รต่อเนื่องเชอ่ื มโยงการศึกษา ข้ันพ้นื ฐานกับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษา (CLC) และนำระบบ PS School มาใช้ในงานบรหิ ารจดั การผูเ้ รียน และสนบั สนนุ การเรยี นรู้ สง่ เสริมและสนับสนุนให้ครจู ดั กระบวนการเรยี นรู้ที่ทำให้ผู้เรียนได้ ลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ จนสรปุ ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง และมีการนเิ ทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบโดยผู้บริหาร และนำผลไป ปรบั ปรุงการเรียนการสอนอย่างสมำ่ เสมอ และมีการดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ ตรงตามความต้องการของครูและโรงเรยี น ด้วยโครงการพฒั นาครูและบคุ ลากร ส่งเสริมใหศ้ ึกษาต่อ ปริญญาโท ทำผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อน/ขอมีวิทยฐานะ มีการจดั อบรมสัมมนาภายในโรงเรยี น เชน่ อบรม ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร อบรมการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ อบรมหลักสูตรโรคซึมเศรา้ และทักษะการ ใหค้ ำปรกึ ษาสำหรับครผู สู้ อน ในการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นขลุงรัชดาภเิ ษก ไดจ้ ดั ทำโครงการพัฒนางานอาคารสถานท่ี มีกจิ กรรมโรงเรยี นปลอดภัยใส่ใจคุณภาพ กจิ กรรมหอ้ งเรยี นน่าอยู่ กิจกรรมโครงการ Zero Waste School กิจกรรมประกวดหอ้ งเรียนสะอาดปราศจากขยะ จดั ใหม้ เี ขตพ้ืนที่ รับผดิ ชอบให้แต่ละห้องเรยี นรับผิดชอบเขตพื้นท่ีของตนเอง โดยมกี ารตรวจใหค้ ะแนนความสะอาดและมอบ รางวัล จัดกิจกรรมสถานศึกษาปลอดภยั มกี ารปรบั ภมู ิทัศน์ภายในสถานศึกษา โดยเร่มิ ต้ังแต่หอ้ งเรียนไปจนถึง

26 สภาพแวดล้อมภายนอกหอ้ งเรยี น อาคารสถานที่ ที่นั่งพักผ่อนและบริเวณสวนหยอ่ มตา่ งๆ ภายในโรงเรยี นให้ นา่ อยนู่ ่ามอง เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ อย่างมคี ุณภาพและความปลอดภยั ผลการพฒั นา 2.1 มเี ป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน โรงเรียนขลุงรชั ดาภเิ ษกมแี ผนพฒั นาการศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกบั นโยบายทกุ ระดับและครอบคลมุ ภารกจิ หลักของสถานศึกษามกี ารประเมินความตอ้ งการจำเป็นของผู้เก่ยี วข้องหรือ มีกระบวนการจัดทำทุกขัน้ ตอน ผเู้ กีย่ วของมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนทกุ ข้นั ตอน ทำให้มีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจท่ตี รงกบั วัตถุ ประสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ และสอดคลอ้ งกับความต้องการของชุมชน ท้องถน่ิ อย่างชัดเจน โดยจดั ทำเป็น แผนปฏิบัติการประจำปีทส่ี อดคล้องกบั แผนกลยุทธ์ และผา่ นการตรวจสอบและเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา รวมถึงทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงโดยการดำเนนิ การพัฒนาและปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ ในทุกไตรมาสท่ีมกี ารสรุปการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ส่งผลใหโ้ รงเรยี นมีเป้าหมายวิสัยทศั น์และ พนั ธกิจท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน อยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ ทั้งในสว่ นการ วางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัตเิ พอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพฒั นางานอยา่ งต่อเนื่องมกี ารบรหิ ารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา นำระบบ PS School มาใช้ในงานบริหารจัดการผเู้ รียนและสนับสนุนการเรยี นรู้ ทำใหค้ รู ผูเ้ รยี นและผู้ปกครอง ได้รับขา่ วสารเก่ยี วกับตวั ผูเ้ รียนอย่างรวดเรว็ ทันสมัย เชน่ รายงานการมาโรงเรียน การเข้าเรยี นของผูเ้ รียน รายงานพฤตกิ รรมของผูเ้ รยี น รายงานผลการเรียน มีระบบการนเิ ทศภายในโดยผู้บรหิ าร ทำให้ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นครทู ม่ี ีคณุ ลักษณะท่ีดี เปน็ ผู้มีความรูม้ ีทักษะในการปฏบิ ตั ิงาน สามารถ จดั การเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ทำใหผ้ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนในภาพรวมเพิ่มข้ึน คะแนนคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนเม่ือพจิ ารณาตามเกณฑโ์ ดยรวมเพิ่มขนึ้ สง่ ผลให้ระบบบรหิ าร จดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา และทุก กลมุ่ เปา้ หมาย โรงเรียนขลงุ รัชดาภเิ ษกมุ่งพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล และพัฒนาทักษะ ในศตวรรษท่ี 21 ให้แกผ่ ู้เรยี น จัดหลักสูตรทสี่ นองนโยบายของรฐั ได้เปิดสอนหลักสตู รต่อเนื่องเชอื่ มโยง การศึกษาข้นั พน้ื ฐานกบั อาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษา (CLC) ไดแ้ ก่แผนการเรียนธุรกจิ ใหก้ ับนักเรยี นระดับ ม.ปลาย และจดั ใหม้ วี ชิ าเลอื กตามความสนใจของผเู้ รยี น กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ รายวิชาค้นควา้ อิสระ (IS) กจิ กรรม1 หอ้ งเรียน 1 นวัตกรรม กิจกรรมบูรณาการแหล่งเรยี นร้สู วนทุเรียน ส่งผลใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับการ พฒั นาอยา่ งรอบด้านและเกิดบรรยากาศใหม่ๆ ในการเรยี นรู้ นอกจากนยี้ งั มีการบรหิ ารจดั การเก่ยี วกับงาน วชิ าการดา้ นการพฒั นาหลกั สูตรทีเ่ ป็นระบบอย่างต่อเนื่อง มกี ารดำเนนิ การแต่งต้ังคณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู รและงานวิชาการของโรงเรียน แต่งต้งั คณะกรรมการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา เพ่อื จัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาทีม่ ีองคป์ ระกอบครบถ้วน เนน้ การพฒั นาผูเ้ รยี นรอบด้านเชอ่ื งโยง

27 วถิ ชี ีวิตจริง โดยผา่ นการเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียน นำไปสกู่ ารปฏิบัติ โดย ครูนำไปจดั ทำมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ รวมถงึ การวัดและการประเมินผล มีหลักสตู รทีห่ ลากหลายตอบสนองความต้องการ ความถนัดและความสนใจของ ผู้เรยี นทกุ ระดับช้ันอยา่ งหลากหลาย และครอบคลุมทุกกลุ่มเปา้ หมาย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและความ สนใจในปัจจุบนั รวมทง้ั มกี ารรายงานการใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษา ประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา เพ่ือ นำขอ้ มลู ทไ่ี ด้ไปทบทวน ปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา สง่ ผลให้การดำเนินงานพัฒนาวิชาการ ที่เน้น คุณภาพผ้เู รยี นรอบด้าน ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และกลุ่มเปา้ หมาย อยู่ในระดับคุณภาพดเี ลิศ 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชพี โรงเรยี นขลุงรัชดาภิเษกสง่ เสรมิ สนับสนนุ พฒั นาครู บุคลากร ใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี และจัด ใหม้ ชี ุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน ส่งเสรมิ ใหค้ รูและบุคลากร ทางการศึกษาพฒั นาตนเองเพ่ือให้มีความเชยี่ วชาญในสาขาวิชาท่ตี นสอนหรอื งานท่ตี นเองรบั ผิดชอบ สามารถ เลื่อนหรอื มวี ทิ ยฐานะท่ีสงู ข้นึ กลมุ่ บริหารบุคคลยังได้จัดโครงการพฒั นาบุคลากรทัง้ โรงเรียนเพ่ือให้ครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอื่ งทกุ ปีการศึกษา สง่ เสริมให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามี ความรูใ้ นวิชาชพี และจดั ให้บุคลากรได้ไปศึกษาดูงานนอกสถานท่ี เพื่อนำความรู้มาปรบั ปรุง และพฒั นาการ ตนเองในด้านวิชาชีพและเปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนตอ่ ไป สง่ เสริมให้ครูส่งผลงานเข้าประกวด แขง่ ขนั เช่น การแขง่ ขนั มหกรรมวิชาการ “รอ้ ยเร่ืองราวความสำเร็จ สพม.จนั ทต์ ราด วถิ ีคณุ ภาพ” (Success Story SESA Chan Trat Symposium : SSSS 2022) การคัดเลือกสรรหารูปแบบ/วิธีปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาการศึกษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซ่ึงทำให้นางสาวปาณริ สา สารสิทธิ์ นางสาวประทนิ พร ผวิ บาง และนางสาว เชษนิ ีร์ แสวงสขุ ไดร้ ับคัดเลือกเป็นผลงานยอดเยี่ยม “รองชนะเลศิ ระดับภาค” ด้านการนิเทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผล ในงาน Education Symposium 2022 “มหกรรมการศึกษา 2565” สำนักงานศกึ ษาธิการภาค 9 ส่งผลให้โรงเรียนมคี รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาตนเองให้มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ อยู่ใน ระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม คิดเป็นร้อยละ 100 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษกจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และ สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ท่เี อื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้ และมีความปลอดภัย กลมุ่ บรหิ ารทั่วไปจงึ ได้จดั ทำ โครงการซอ่ มบำรุงดูแลอาคารและสงิ่ แวดล้อม นกั เรียนและบคุ ลากรในโรงเรยี นมีความประทับใจในสถานศึกษา และมคี วามสุขและสามารถปฏิบตั หิ นา้ ทอี่ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ อันเกิด จากสภาพแวดล้อมและอาคารสถานท่ีทั้งภายนอกและภายใน อาคารมคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยและสวยงาม มีความปลอดภัยและมีการส่งเสรมิ สุขภาพภาพภายในโรงเรียน มสี ถานท่ีออกกำลังกายและใหบ้ ริการแก่ชมุ ชน หรอื หนว่ ยงานราชการต่างๆ ในการใช้อาคารสถานทจี่ ัดกจิ กรรมทางสงั คม เช่น จดั ประชุม จัดงานแตง่ งาน เป็นต้น มีการพฒั นารูปแบบการจดั การขยะในสถานศึกษาตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรยี นขลงุ รัชดาภิเษก โดยนายปรยิ วิศว์ วงษจ์ ันทร์ และไดร้ ับคัดเลอื กเป็นผลงานยอดเย่ียม “รองชนะเลิศ ระดับภาค” ด้านการบริหารจดั การ ในงาน Education Symposium 2022 “ มหกรรม การศึกษา 2565” สำนกั งานศกึ ษาธิการภาค 9 จงึ ส่งผลให้ พ.ศ. 2565 โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก ได้รบั คัดเลือกจากกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ได้รบั รางวัล

28 รองชนะเลิศอันดับ 2 ระดบั ประเทศ ในการดำเนินงานโครงการโรงเรียนปลอดขยะสู่ความยัง่ ยืน “สะอาดบุรี จูเนยี ร์” ประจำปี 2564 มีโรงเรยี นตา่ งๆมากมาย มาขอศึกษาดูงานโรงเรยี นปลอดขยะ และแหล่งเรยี นรใู้ น โรงเรียน เชน่ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 48 จ.จันทบุรี โรงเรียนบ้านผาลาด จ.พะเยา โรงเรยี นจา่ นกร้อง จ.พิษณุโลก โรงเรียนจุนวทิ ยาคม จ.พะเยา ฯลฯ ทำใหส้ ถานศกึ ษามกี ารจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมที่เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ อยู่ในระดับคณุ ภาพยอดเย่ียม 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษกมกี ารจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยใช้ระบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ มีห้องปฏบิ ัติหารคอมพวิ เตอร์ที่มีวสั ดุ-อปุ กรณ์ และมี ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ท่ีมีประสิทธภิ าพ เพียงพอต่อความตอ้ งการ เพื่อใหก้ ารจัดการเรียนการสอนและ การให้บรกิ ารดำเนินไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี ใหเ้ อ้ือต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และส่งเสริมการจัดกิจกรรมดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือให้ผู้เรียน ครู ชุมชน ได้ ศึกษาค้นคว้า จงึ ส่งผลให้โรงเรียนมีระบบสารสนเทศที่สนบั สนนุ ในการบรหิ ารและจดั การเรียนรู้ทีเ่ พียงพอต่อ ความตอ้ งการ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเย่ยี ม 3. ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ทสี่ นับสนุนการประเมนิ ตนเอง -แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (ปงี บประมาณ 2565-2568) -แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ 2565 -โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปี -รายงานผลสรุปการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจำปี -สรุปแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการจัดการการศึกษาของโรงเรียน -ระบบ PS School -แบบบันทึกการเย่ียมบา้ นนักเรียน -แบบการประเมนิ SDQ -คำสั่ง/แบบรายงานการอบรมสัมมนาศึกษาดูงาน -รายงานการประเมินตนเอง (SAR) -บันทกึ การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน -แบบรายงานการประชมุ ผปู้ กครอง -แผนการจดั การเรยี นรู้ -ผลการประเมินการนิเทศการสอน -รายงานการใชห้ ลักสูตร -หลกั สูตรสถานศึกษา -หลกั สตู รกล่มุ สาระฯ -รายงานการเข้ารบั การพฒั นาให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ของครู -สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี น -รายงานการใช้แหล่งเรยี นรู้ต่างๆภายในโรงเรยี น -ระบบ KRP:EDDS -Website ครผู ู้สอน

29 4. จุดเด่น จุดท่ีควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคุณภาพให้สงู ขน้ึ 4.1 จุดเด่น 4.1.1 แผนปฏิบัติการประจำปี ตามโครงการ/กิจกรรม มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา (ปีงบประมาณ 2565-2568) มีการขอใช้และการเบิกจ่ายงบประมาณ ตามขั้นตอนและเป็นระบบ มี การจดั ทำระบบการตัดงบประมาณแบบ Realtime ผ่านระบบออนไลน์ 4.1.2 โรงเรียนขลงุ รชั ดาภเิ ษก ไดเ้ ปิดสอนหลักสูตรตอ่ เนือ่ งเชือ่ มโยงการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานกับ อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา (CLC) ได้แก่แผนการเรยี นธรุ กจิ ให้กบั นักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มีการ เปิดสอนรายวิชาเพิม่ เติมกลุม่ วชิ าเลือกให้กบั นักเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ศลิ ปะและพลศึกษา เพ่ือให้นักเรียนไดเ้ ลือกเรยี นตามความสนใจและความถนดั ในอาชีพของตนเอง เชน่ กีฬาตามความถนัด ดนตรี ตามความถนัด ทัศนศิลปต์ ามความถนัด คหกรรม เกษตร และนอกจากนี้ยังมีการใหน้ ักเรยี นรวมกลุ่มกันต้ัง ชุมนมุ ตามความสนใจ โดยมคี รูเป็นท่ปี รกึ ษาชุมนุม 4.1.3 ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับประเทศ โรงเรยี นปลอดขยะสคู่ วามยงั่ ยนื “สะอาดบรุ ี จูเนียร”์ โดยกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม จึงทำให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม บรรยากาศทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้ พรอ้ มเปน็ แหล่งเรยี นรู้ และให้บริการแก่ชุมชน 4.1.4 โรงเรียนมีการสง่ เสริมใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศึกษาใชเ้ ทคโนโลยีมาใช้ในการจดั การ เรยี นการสอน และสง่ เสรมิ ความกา้ วหน้าทางวิชาชีพให้กับครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พร้อมทงั้ สนับสนุน การขอมแี ละเลื่อนวิทยฐานะตามเกณฑ์ ว.PA 4.2 จุดทีค่ วรพฒั นา 4.2.1 เน่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 ทม่ี ขี อ้ จำกัด ในการรวมกล่มุ ของบคุ คล ทำใหก้ ารรวบรวมขอ้ มลู ความคาดหวังทม่ี ีตอ่ โรงเรียนและทิศทางในการพัฒนาการ จัดการเรยี นรูข้ องโรงเรยี นจากผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องทำได้บางส่วนในช่องทางออนไลนเ์ ท่านั้น สำหรับการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาในคร้ังต่อไป โรงเรียนควรสำรวจขอ้ มลู จากผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งให้ได้มากท่สี ุด 4.2.2 ควรมีการกำกบั ตดิ ตาม การใช้หลกั สูตรของสถานศึกษาเป็นระยะๆ อยา่ งสม่ำเสมอ และมีการประเมนิ หลกั สตู รประจำปี เพ่ือนำผลการประเมินหลกั สูตรมาใช้ในการพัฒนาหลักสตู รในปีตอ่ ไป และควรใหน้ ักเรยี น และผ้ปู กครองมีสว่ นร่วมเพ่อื ให้ได้หลกั สตู รสถานศกึ ษาทต่ี อบสนองความตอ้ งการของ ชุมชนมากทีส่ ดุ 4.2.3 เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองได้มีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษาและเข้ามามีส่วนร่วมใน กจิ กรรมต่างๆกับทางโรงเรยี น เพ่อื ทราบข้อมลู ย้อนกลบั และนำไปพัฒนาโรงเรียนและพัฒนาผเู้ รียนตอ่ ไป 4.2.4 ควรใชร้ ปู แบบและกิจกรรมการนิเทศท่ีหลากหลายทง้ั แบบเป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ เช่น การนเิ ทศโดยใช้กระบวนการ PLC การนิเทศแบบให้คำช้แี นะ (Coaching) การนเิ ทศชั้นเรียนโดย การรักษาระยะห่าง เป็นต้น และกิจกรรมการนิเทศมีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีเข้ามา มีบทบาทการนิเทศมากขึ้นโดยการนิเทศแบบออนไลน์ เช่น การนิเทศผ่าน Platform online การนิเทศผ่าน E – Learning เป็นตน้ 4.3 แผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานทสี่ งู ข้ึน 4.3.1 กำหนดแนวทางในการจัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยสำรวจข้อมูลจากผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องให้ไดม้ ากที่สดุ เพื่อให้ได้แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกับความคาดหวงั ของผมู้ ีสว่ น เกย่ี วข้องมากทีส่ ุด

30 4.3.2 จดั ให้มกี ารประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู ร การจดั การเรียนการสอน โดยสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี น และผ้ปู กครอง นำผลประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร การจัดการเรยี นการสอน ใหม้ ี ความเหมาะสมสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรยี น และชุมชนอยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรียนอย่างรอบด้านและทุกกล่มุ เป้าหมาย 4.3.3 จัดให้มีการถอดบทเรียนของโรงเรยี นทมี่ รี ูปแบบการนเิ ทศภายในโรงเรียนทม่ี ีคณุ ภาพ มีรูปแบบการนิเทศท่ีน่าสนใจ และสามารถเป็นต้นแบบได้ เพ่ือเป็นประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ นำมาพฒั นาปรบั ปรงุ ต่อยอดใหด้ ยี ่งิ ข้นึ 4.3.4 พัฒนาและเสริมสร้างทักษะความเป็นผ้นู ำให้กบั บุคลากร ใหค้ รมู สี ่วนร่วมในการ ดำเนินงานทกุ กจิ กรรมของโรงเรียน วางแผนในการพัฒนาบคุ ลากรเพ่ือรองรับภาระงานใหมท่ ่ีได้รับมอบหมาย สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพัฒนาความรู้แกบ่ ุคลากรในโรงเรียน ให้มคี วามเขา้ ใจ มที ักษะ และความชำนาญใน การปฏบิ ัตงิ าน สร้างบคุ ลากรรุน่ ใหม่ในการเรียนรู้ระบบงาน เพ่อื ต่อยอดงานทปี่ ฏบิ ัตใิ ห้เข้มแข็ง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั 1. ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม 2. วิธีการพฒั นา/ผลการพัฒนา วิธีการพัฒนา โรงเรียนขลุงรชั ดาภเิ ษก มีโครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการ จดั การเรยี นร้ทู สี่ ่งผลตอ่ คณุ ภาพของผ้เู รียน โดยสง่ ครเู ขา้ รับการประชมุ อบรม สมั มนา ศึกษาดูงานเพ่ือ เสริมสรา้ งสนับสนุนให้ครูได้พัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานภายนอก และสง่ เสรมิ ให้ครู พัฒนาตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ทงั้ ดา้ นวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านกระบวนการ คดิ และใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือปฏบิ ัติจรงิ จนสรุปความรู้ไดด้ ้วยตนเอง เชน่ กิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 นวตั กรรม (OCOI : One Classroom One Innovation) กิจกรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ รายวชิ าค้นคว้าอิสระ(IS) และมกี ารตรวจสอบและประเมินความรู้ความเขา้ ใจของผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ ตอบสนอง ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสติปัญญา จดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนที่ส่งเสรมิ และตอบสนอง ความตอ้ งการความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียน สภาพแวดล้อมท้ังภายในภายนอกห้องเรยี น ทเ่ี อ้ือต่อการการเรียนรู้ ให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ผา่ นแหลง่ เรยี นรู้ของโรงเรียน เชน่ แหลง่ เรยี นรู้สวนทเุ รยี น ศูนย์ การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง การปลกู ผกั สวนครัว ปลูกไมด้ อกไมป้ ระดับ การเลี้ยงเป็ดไข่ การปลูกเมลอ่ น การปลกู พชื โดยไม่ใช้ดิน การปลูกองนุ่ เพ่ือให้นักเรียนสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน มกี ารวัดผล ประเมนิ ผลผเู้ รยี นด้วยเคร่ืองมอื และวิธีการท่ีหลากหลาย นำข้อมูลรายบุคคลไปใช้ในการพฒั นาผ้เู รยี น มีการ จดั การเรยี นรแู้ บบให้ข้อมูลย้อนกลับแกผ่ ู้เรียนและนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น เช่น ทำวจิ ยั ในช้ันเรียน สอนซ่อม เสรมิ กรณีนกั เรยี นสอบไม่ผา่ น และจดั กจิ กรรมยกย่องให้กำลงั ใจแกผ่ ู้เรยี น นอกจากนี้โรงเรียนยงั มกี จิ กรรม สร้างสขุ ด้วยสติในโรงเรยี นท่ีเชอื่ มโยงในการใชช้ วี ติ ประจำวัน โดยนำไปใช้กับผู้เรยี นในห้องเรียนอยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครั้งคือก่อนคาบที่ 1 และคาบท่ี 5 เปน็ เวลา 5 นาที โดยใหน้ ักเรียนนงั่ สมาธิเพ่ือให้นักเรยี นมีสติกอ่ นเริ่มเรยี น และก่อนลงมือปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ มีการนำไปใช้กบั ครทู ุกคนในโรงเรยี น คอื กอ่ นการเริ่มประชมุ แตล่ ะคร้งั จะมีการน่ังสมาธกิ ่อนเป็นเวลา 5 นาที เพอ่ื ให้ครมู สี ตใิ นการรับฟังวาระการประชุม มีชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ทางวชิ าชีพ (PLC) ระดบั สายชน้ั เรียน ระหว่างครูในกลุ่มสาระ ครูต่างกลุ่มสาระ และครูในโรงเรียน เพอื่ พัฒนา และปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

31 ผลการพัฒนา 3.1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ ริง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้ ครโู รงเรยี นขลงุ รัชดาภิเษก มีการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเน้นใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรูโ้ ดยผา่ นกระบวนการคิด ปฏบิ ัติจรงิ ดว้ ยวิธกี ารและนวัตกรรมทีห่ ลากหลาย โดยครูศึกษาทำความเข้าใจในเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รียนตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัดของหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยกำหนดเปา้ หมายคุณภาพ ผูเ้ รยี นครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ทเี่ นน้ ให้ ผู้เรยี นได้เรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ ให้ผเู้ รียนนำเสนอผลงานของตนเองได้ สรา้ งนวัตกรรมใน การจัดการเรียนรแู้ ละมีการเผยแพร่ มกี ารกำกับติดตาม ประเมนิ ผลและสรปุ ผล เพ่ือเปน็ แนวทางพัฒนา แผนการจดั การเรยี นรูต้ ่อไป โดยมโี ครงการและกิจกรรมที่สนบั สนนุ เช่น โครงการส่งเสรมิ ศกั ยภาพผูเ้ รยี นสู่ ความเป็นเลศิ กิจกรรมสัปดาหว์ ันวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรม Math Week กิจกรรมกฬี าสี กิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม-จรยิ ธรรม กจิ กรรมหอ้ งเรยี นสีขาว กจิ กรรมวันสำคญั ตามประเพณโี รงเรยี น เช่น วันสถาปนาโรงเรียน กจิ กรรมสบื สานประเพณีทางศาสนาและวฒั นธรรมไทย ทำบุญตักบาตร กิจกรรมวนั เขา้ พรรษา เป็นต้น ซึ่ง การจดั การเรียนรู้ทจ่ี ัดขึน้ เน้นให้ผเู้ รียนไดค้ ดิ ได้ลงมือปฏบิ ตั ิ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ ทำให้นักเรยี นได้รับการฝกึ ทักษะ ความกล้าแสดงออก การแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำทกั ษะทไี่ ดจ้ าก การปฏบิ ตั ิจริงไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ ผลการให้นักเรียนได้เรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ ทำให้ นกั เรียนไดร้ บั รางวัลต่างๆ ดังน้ี -รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันการจดั สวนแก้ว ม.4-ม.6 ในการแข่งขันงานศิลปหตั ถกรรม นักเรยี น ระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ไดแ้ ก่ นางสาวภัทรลภา แซฉ่ ว่ั นางสาววศินี ประสานวงษ์ และนางสาวอรกญั ญา กอดสนั เทียะ -รางวัล Best of the best ในการคัดเลอื กผลงานหน่ึงนักเรียนหนึง่ ความรู้ “One Child One Knowledge : One Child OK” กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ในการแขง่ ขันมหกรรม วิชาการ “รอ้ ยเรื่องราวความสำเร็จ สพม.จนั ท์ตราด วิถีคุณภาพ” (Success Story SESA Chan Trat Symposium : SSSS 2022) ได้แก่ นางสาวรัตนาภรณ์ เฉลียว -รางวลั รองชนะเลิศอันดับ1 การแขง่ ขันการประกวดโครงงานอาชพี ม.4-ม.6 ในการแข่งขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดบั ชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก คร้ังที่ 70 ปกี ารศกึ ษา 2565 ได้แก่ นางสาวจารุวรรณ นิกรมมุนนิ ทร์ นางสาวณัฐชนนั ท์ กลุ นอก และนางสาวอภิชญาน์ แกว้ ภักดี -รางวลั ชมเชยการประกวดคลิปวดิ ีโอ BIOGANG VDO CLIP CONTEST ภายใต้แนวคดิ “พฒั นาคุณภาพชวี ติ ด้วย BCG โมเดล” ระดับประเทศ ชงิ ถว้ ยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าช เจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ ในการแขง่ ขันมหกรรมวิชาการ “ร้อยเร่ืองราวความสำเรจ็ สพม.จนั ท์ตราด วถิ ีคุณภาพ” (Success Story SESA Chan Trat Symposium : SSSS 2022) นางสาววชั รมาตุ สมัครพงศ์ ได้รางวลั ชนะเลิศ Best of the best ระดบั คุณภาพดเี ยีย่ ม ผลงานวิธปี ฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ (Best Practices) /ผลงาน นวตั กรรม ของครผู ้สู อน กิจกรรมห้องสมุด และมีครูผ้สู อนได้รบั รางวลั ต่างๆ มากมายจากการแข่งขันวิชาการ ครรู อ้ ยละ 100 จดั กระบวนการเรียนรู้ท่ผี ่านกระบวนการคิดและให้ผเู้ รยี นไดล้ งมือปฏิบัติจริงจนสรปุ ความร้ไู ด้ ดว้ ยตนเอง และมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ความรูค้ วามเขา้ ใจของผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ ครรู ้อยละ 100 ออกแบบและจดั การเรยี นรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพัฒนาการทาง สติปัญญา ครูร้อยละ 100 มีการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนท่ีสง่ เสรมิ และตอบสนองความต้องการความสามารถ

32 ความถนัดและความสนใจของผเู้ รียน ส่งผลให้การจดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และ สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ อย่ใู นระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ โรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษก มสี ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้รวมทงั้ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ท่ี เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้มากมาย เชน่ แหลง่ เรียนร้สู วนทุเรียน โดยได้นำไปบรู ณาการกับหลักสูตรท้องถิน่ ใน รายวิชา OCOI (One Classroom One Innovation) ในหัวข้อ King of fruits ให้นกั เรียนแตล่ ะระดับชนั้ ได้ ศกึ ษาเก่ยี วกบั ทุเรียน ซ่ึงเป็นอาชพี หลักของชุมชน ดงั หวั ข้อต่อไปน้ี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มหศั จรรย์พันธุท์ เุ รียน ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 หลากหลายขยายพันธุ์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มากมายคณุ อนันต์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 นำเสนอสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑ์ 4.0 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นานาผลิตภณั ฑ์จากทุเรยี น นอกจากนี้ ยงั มกี ารนำแหลง่ เรยี นรสู้ วนทเุ รียนมาบรู ณาการกับ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และจัดทำ เปน็ วดิ ีโอนำเสนอผลงานของแต่ละห้องเรียน มกี ลุม่ ยุวเกษตรกร ศูนย์การเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ และลงมือปฏบิ ัติจริงเกีย่ วกับการปลกู ผักสวนครัว การปลกู ไมด้ อกไม้ประดับ การเลย้ี งเป็ดไข่ การปลูกเมล่อน การปลกู พืชโดยไม่ใช้ดิน การปลกู องนุ่ การทำป๋ยุ หมัก และมกี ารเก็บรวบรวม สอ่ื เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ของโรงเรยี นอย่างเป็นระบบและทันสมยั ม ใน Padlet ใหค้ รูสามารถเพมิ่ ส่ือ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ที่จัดทำขึ้นไดต้ ลอดเวลา จัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการใชเ้ ทคโนโลยขี องครู โดยมี การตดิ ต้ังโปรเจคเตอร์และโทรทศั น์ทกุ ห้องเรียน ซ่งึ เปน็ ห้องเรยี นที่อำนวยความสะดวกในการใชส้ ่ือเทคโนโลยี ของครู ทำให้ครูเกดิ การจดั รูปแบบการสอนไดห้ ลากหลายและส่งผลให้ผู้เรียนมีความตง้ั ใจในการเรยี นมากข้ึน และจากการทโี่ รงเรียนมแี หล่งเรียนรู้ทมี่ ีการบรู ณาการภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ทำให้นักเรยี นไดล้ งมือปฏิบัตแิ ละใช้ ประโยชนจ์ รงิ จากแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน มผี ลงานทน่ี ักเรยี นสรา้ งขึน้ เอง เช่น วิดโี อการบรู ณาการความรู้ 8 กลมุ่ สาระจากแหล่งเรยี นร้สู วนทเุ รียน ชิน้ งานตา่ งๆในรายวชิ า OCOI (One Classroom One Innovation) ทำให้ครรู ้อยละ 100 มกี ารใชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรยี นรู้ และครรู ้อยละ 100 ใช้แหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง สง่ ผลให้ การใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม QR code แสดงการเก็บรวบรวมหลักฐานดา้ นสื่อ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนใน

33 QR code รายงานการใชแ้ หล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2565 QR code แบบรายงานผลการพฒั นานวตั กรรมห้องเรียน (One Classroom One Innovation: OCOI) แตล่ ะระดับชน้ั QR code คลิปวิดโี อนวัตกรรมสวนทุเรียนของแตล่ ะห้อง 3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ครโู รงเรยี นขลงุ รัชดาภิเษกมีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก และตรวจสอบและประเมิน ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน โดยผ่านกระบวนการ PLC มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ ข้อมลู สะท้อนกลับด้วยงานวิจัยในชนั้ เรียน เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ครูผ้สู อนมีการบริหารจดั การช้ันเรยี น โดยเนน้ การมีปฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวก มกี ารจัดสภาพท้ังภายใน และภายนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ทำให้ครูกบั นักเรียน และนกั เรยี นกับนักเรียนสามารถเรียนรรู้ ่วมกัน อย่างมีความสุข มีการปฏิบตั ิกจิ กรรมสรา้ งสุขด้วยสติในโรงเรียนทเ่ี ชื่อมโยงสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้

34 ผลการพฒั นาพบว่า ครรู อ้ ยละ 100 สามารถจัดสภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี นท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ได้อย่างมีความสุข ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ สง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีความม่ันใจ กล้าคิด กลา้ แสดงออก เกิดแรงจูงใจในการเรียน ทำใหม้ ีความสุขในการเรียน ครชู มเชยยกย่องนักเรียนเม่อื นกั เรียนทำ ความดที งั้ ในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรียน มีการมอบเกียรติบัตรนกั เรยี นทท่ี ำความดี หรือได้รับรางวลั ตา่ ง ๆ เพอ่ื เปน็ กำลังใจใหน้ ักเรียนและเปน็ แบบอยา่ งที่ดีกับคนอ่ืนไดป้ ฏบิ ัติตาม และครรู ้อยละ 100 ใหน้ ักเรยี น ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสุขด้วยสติในโรงเรยี น โดยปฏิบัติพร้อมกนั ในทุกเช้าก่อนเขา้ คาบเรยี นที่ 1 เวลา 08.10 น. และก่อนเขา้ คาบเรียนที่ 5 ในเวลา 12.50 น. เพ่ือฝกึ ให้นักเรยี นมีสมาธิ และสติก่อนทจ่ี ะเรียนในภาคเชา้ และ ภาคบ่าย ส่งผลให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของทุกกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2565 สูงกวา่ ปีการศึกษา 2564 ใน ภาพรวมของ 8 กลุ่มสาระมีความก้าวหน้า ร้อยละ 4.09 ทำให้ครมู กี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก อยใู่ น ระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น ครโู รงเรยี นขลุงรัชดาภิเษก พัฒนาเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผลการเรยี นที่มีคุณภาพตามหลักการวดั และประเมนิ ผลสอดคล้องกับทุกมาตรฐานและตัวช้วี ดั ตามกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ พร้อมท้ังจัดเก็บเคร่ืองมือ อยา่ งเปน็ ระบบ วดั และประเมินผลพฒั นาการของผู้เรยี นด้วยวธิ ีการและเคร่อื งมอื ที่หลากหลาย เช่น ชิน้ งาน แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบประเมนิ การพูด การเขยี น การนำเสนอ รายงาน จดั ทำเกณฑ์การให้คะแนน เพือ่ ความยุติธรรมโดยให้นักเรียน และผปู้ กครองมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ และตัดสินผลการเรียนรู้ โดย พจิ ารณาคะแนนพฒั นาการ และให้ข้อมูลย้อนกลับแกผ่ ้เู รียนเพ่ือนำผลไปใช้พฒั นาการเรียนรู้โดยครูประเมิน ผ้เู รียนจากสภาพจรงิ มขี ้นั ตอนตรวจสอบและประเมินอย่างเปน็ ระบบ ผลการดำเนนิ การพบวา่ ครูร้อยละ 100 มกี ารวดั ผลประเมินผลผเู้ รียนดว้ ยเครอื่ งมือและวิธีการท่ีหลากหลาย และนำผลที่ได้มาใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รียน ครรู อ้ ยละ 100 มขี ้อมูลรายบุคคลและใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียน ครู นักเรยี นและผ้มู สี ว่ นเกยี่ วข้อง รว่ มกนั แลกเปล่ียนความรแู้ ละประสบการณร์ วมท้ังให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนไดแ้ จง้ ขอ้ มูลย้อนกลับใหน้ ักเรยี น ทกุ คนและผปู้ กครองทราบ เชน่ แจง้ พฤติกรรมความประพฤติของนักเรียน ผลการการเรียน เพื่อนำผลมา ปรับปรงุ พัฒนาตนเอง ให้นักเรยี นประเมนิ การสอนของครู การร่วมกันทำกจิ กรรม PLC เพ่อื พฒั นาปรับปรุง การเรียนรู้ การทำวจิ ัยในชั้นเรียน มกี ารการนเิ ทศภายในโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และเพื่อนครู อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ 1 ครั้ง พบว่าครูร้อยละ 100 มกี ารจดั การเรยี นรู้ แบบใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รียนและนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น ส่งผลให้ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม 3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ครโู รงเรยี นขลุงรัชดาภเิ ษก มีการแลกเปลย่ี นเรียนร้แู ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรุง การจดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการ PLC ซง่ึ โรงเรยี นได้จัดชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ(PLC) ไวใ้ นคาบ สดุ ท้ายของทุกวัน (เวลา 15.50 – 16.50 น.) ซ่ึงมที ้ังระบบสายชัน้ ท้ังในกล่มุ สาระการเรียนรู้ นอกกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ และระดับโรงเรียนเพ่ือแก้ไขปญั หาการจดั การเรียนรู้ และแกป้ ัญหางานกิจการนกั เรยี น ส่งผลสู่ การปรับปรงุ และพฒั นาเพือ่ เป็นข้อมูลในการทำวจิ ัยในช้ันเรียนของครูผ้สู อนและการบริหารงานกจิ การนักเรยี น

35 ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ครูมกี ารวดั และประเมนิ ผลด้วยความยตุ ิธรรมและหลากหลายตามสภาพจริงของ นกั เรยี น อีกท้ังทำให้เกิดสื่อ และนวตั กรรมทีส่ ร้างสรรค์ใหม่ๆ ที่หลากหลาย สถานศึกษาสนับสนนุ ให้ครูทำ กิจกรรมพัฒนาวชิ าชพี แบบชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) พบว่า ครรู อ้ ยละ 100 มีชมุ ชนแห่งการ เรียนรู้ทางวชิ าชพี ระหวา่ งครูและผูเ้ กย่ี วข้องเพื่อพฒั นา และปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ ทำให้ครมู กี ารแลก เปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยย่ี ม ส่งผลให้โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภเิ ษก ไดร้ บั คัดเลือกเป็นสถานศึกษาดีเด่น ดา้ นการพฒั นาครูโดยใชก้ ระบวนการ สอนงานแบบพ่ีเล้ียงดว้ ยการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน ผา่ นชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ ประจำปี 2565 3. ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ท่สี นับสนุนการประเมินตนเอง - แผนการจดั การเรียนรู้/บนั ทึกหลังสอน - การวเิ คราะหผ์ เู้ รียนเปน็ รายบุคคล - รายงานกจิ กรรมชุมนมุ /กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน - กจิ กรรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นโรงเรียน - สภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรยี น - รายงาน SDQ - รายงานการเยี่ยมบ้าน - แบบบนั ทกึ การให้คำปรึกษา - บนั ทกึ PLC - รายงานการประชมุ กลมุ่ สาระ - รายงานการใชส้ ่ือเทคโนโลยี - รายงานการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรียน - รายงานผลการพฒั นานวัตกรรมหอ้ งเรยี น - คลิปวิดีโอนวตั กรรมสวนทุเรียนของแต่ละห้องเรียน - วิจัยในชัน้ เรยี น - ช้ินงาน / ผลงานนกั เรยี น 4. จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา และแผนการพัฒนาคุณภาพใหส้ ูงข้ึน 4.1 จุดเด่น 4.1.1 ครูมีคณุ วฒุ สิ อนตรงตามวชิ าเอก มคี วามรู้ ความเข้าใจ เปา้ หมายการจัดการศกึ ษาและ หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน สามารถใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อพฒั นาการเรยี นร้ขู องตนเองและผเู้ รยี น มีการพัฒนา ตนเองอยา่ งสม่ำเสมอ 4.1.2 ครมู กี ารวางแผนในการพัฒนาหลักสูตร จดั ทำแผนการจดั การเรียนรแู้ ละจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ ทแี่ สดงถึงการพฒั นาการคุณภาพผู้เรียนดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ มีการจดั กจิ กรรมการ เรียนรู้ โดยเนน้ การมปี ฏสิ มั พันธเ์ ชิงบวก ระหวา่ งผูเ้ รียนกบั ครู และการทำงานร่วมกันของผ้เู รยี น โดยแสดงให้ เห็นถงึ การเรยี นรู้รว่ มกนั อย่างมีความสขุ 4.1.3 ครูนำส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจัดการเรยี นรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพผา่ น Platform ตา่ งๆ เช่น Google Classroom, Live Work Sheet , Line, YouTube, Class Dojo เป็นต้น พร้อมทงั้ สร้างโอกาสให้ผ้เู รยี นได้แสวงหาความร้ดู ้วยตนเองจากส่ือทหี่ ลากหลาย

36 4.1.4 ครใู ชก้ ารวดั ผลและประเมนิ ผลผู้เรยี นทหี่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกับสภาพการเรยี นรู้และ พฒั นาการของผู้เรยี น เชน่ ประเมินจากการทำกิจกรรมกลุ่ม ทักษะปฏิบัติการ การทำกิจกรรมระหวา่ งเรยี น การทำชิน้ งานที่ครูมอบหมายทงั้ งานเด่ียวและงานกลุ่ม การทดสอบด้วยเครื่องมือท่หี ลากหลาย แลว้ ครนู ำผล การประเมนิ ไปพัฒนาผเู้ รยี นต่อไป 4.1.5 โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภเิ ษกมแี หลง่ เรียนรู้รวมทัง้ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ทเี่ อือ้ ต่อการจดั การ เรียนรู้มากมาย และมีการนำแหล่งเรียนรสู้ วนทเุ รยี นไปบูรณาการกับหลกั สตู รท้องถน่ิ ในรายวิชา OCOI (One Classroom One Innovation) ทำให้มนี วตั กรรมทุกห้องเรียน 4.1.6 ครมู ชี ุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ท้ังระบบสายช้ันเรยี น กลุ่มสาระการ เรยี นรู้ นอกกล่มุ สาระการเรียนรู้ และระดบั โรงเรยี น เพ่ือรว่ มกนั พัฒนาการเรียนการสอน และแก้ปัญหางาน ตา่ งๆของโรงเรียน 4.1.7 โรงเรียนมกี ารปฏบิ ตั ิกจิ กรรมสร้างสขุ ด้วยสตใิ นโรงเรียน ทส่ี ามารถเช่อื มโยงนำไปใช้ใน ชวี ิตประจำวันได้ โดยครนู ำไปใช้กับผู้เรยี นในห้องเรียนอยา่ งนอ้ ยวันละ 2 ครัง้ ทำใหน้ ักเรียนมีสติในการรับรู้ และรบั ความรู้ไดม้ ากขน้ึ 4.2 จุดทค่ี วรพฒั นา 4.2.1 ครูควรเผยแพร่ความรู้ ผลงานและนวตั กรรม รวมท้งั การนำไปปฏิบตั ิจรงิ สูช่ ุมชนและ แลกเปล่ียนเรยี นรู้กบั องค์กรอ่ืนๆ ใหม้ ากขน้ึ 4.2.2 ครูควรฝึกให้นักเรียนได้ถอดบทเรยี นจากกิจกรรมต่างๆ ผ่านการน้อมนำหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมที ักษะการคิดขนั้ สูง รู้จกั แก้ปัญหา สร้างความสามารถในการสือ่ สาร ผา่ นกระบวนการคิดวเิ คราะห์ รจู้ ักออกแบบกระบวนการทำงาน และดำเนนิ งานด้วยตนเองได้ 4.2.3 การใหช้ ุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็นหรอื รว่ มจัดกจิ กรรมการเรียนการ สอนอย่างเป็นรูปธรรม ต่อเน่ืองและชัดเจนให้มากยิ่งขึ้น 4.3 แผนพัฒนาเพ่ือใหไ้ ด้มาตรฐานที่สงู ขนึ้ 4.3.1 สง่ เสริมให้ครมู ีการพฒั นานวตั กรรมและการวิจยั ในชั้นเรียน สง่ เสริมใหม้ กี ารประกวด แขง่ ขันแนวคดิ นวตั กรรมและส่ิงประดิษฐท์ ีแ่ ปลกใหม่ 4.3.2 สง่ เสรมิ ครใู ห้พัฒนาเทคนิควธิ กี ารสอนอยา่ งหลากหลาย มีการวิจัยเพ่ือพฒั นาการ เรยี นรู้ มกี ารพัฒนาตนเองเพื่อนำไปสู่การพัฒนาผู้เรยี นอย่เู สมอ 4.3.3 สนับสนุนให้ ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และนกั เรยี นได้มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา พฒั นาโรงเรยี นและท้องถ่นิ ยกระดบั คณุ ภาพของโรงเรียนเพือ่ กา้ วสูม่ าตรฐานสากล 4.3.4 ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สร้างเครอื ข่าย เพื่อนำแนวทางทห่ี ลากหลายมาปรับ พฒั นาใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียน

37 ส่วนท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพฒั นา และการต้องการการชว่ ยเหลอื ผลการป ระเมิน ตน เองของสถาน ศึก ษ าถือเป็ น ข้อมูลส ารสน เทศสำคัญ ท่ีสถาน ศึกษาจะต้ องน ำไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนำไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา และนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ดังนั้นจากผล การดำเนินงานของสถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ มาตรฐาน พรอ้ มทั้งแนวทางการพฒั นาในอนาคตเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ขนึ้ และความต้องการช่วยเหลอื ดังน้ี 1. สรุปผลการประเมนิ ภาพรวมของคุณภาพการศึกษา มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ระดบั คุณภาพ ผลการประเมิน บรรลุ ทตี่ ้งั เปา้ หมาย เปา้ หมาย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม / 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น ดเี ลศิ ยอดเยย่ี ม / 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ ดี ดี / การคดิ คำนวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ ดเี ลศิ ยอดเย่ียม / อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม / 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม / การส่ือสาร 5) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ ยอดเยีย่ ม / 6) มคี วามรู้ทกั ษะพื้นฐานและเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม / 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม / 1. การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม / 2. ความภาคภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย ดเี ลิศ ยอดเย่ียม / 3. การยอมรับท่ีจะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเลิศ ยอดเยยี่ ม / 4. สุขภาวะทางร่ายกายและจิตสงั คม ดีเลิศ ดเี ลศิ / มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลศิ ยอดเย่ียม / 1. การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษา ยอดเยยี่ ม ยอดเยย่ี ม / กำหนดชดั เจน 2. มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม / 3. ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผเู้ รียน ดเี ลิศ ดีเลิศ / รอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เปา้ หมาย 4. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญในวิชาชีพ ดีเลิศ ยอดเยยี่ ม / 5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ตอ่ ดเี ลิศ ยอดเย่ียม / การจัดการเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ 6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม / การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้

38 มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ระดับคุณภาพท่ี ผลการประเมิน บรรลุ ต้งั เป้าหมาย เป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้น ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม / 1. จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ ยอดเย่ียม ยอดเยย่ี ม / สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ 2. ใชส้ ่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ ่เี ออ้ื ต่อ ดีเลิศ ยอดเย่ียม / การเรยี นรู้ ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม / 3. มกี ารบริหารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก ดีเลศิ ยอดเยี่ยม / 4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบและ ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม / นำผลมาพฒั นาผู้เรยี น 5. มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือ ยอดเย่ียม พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ สรุปผลการประเมินโดยภาพรวม 2. จดุ เดน่ /จดุ ควรพัฒนา จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา ดา้ นคุณภาพผู้เรียน ด้านคณุ ภาพผเู้ รยี น 1. โรงเรียนมกี ิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 นวตั กรรม 1. ควรพัฒนาความสามารถในการอ่าน-เขยี น และ (OCOI : One Classroom One Innovation) ส่อื สารภาษาต่างประเทศของนกั เรยี นใหส้ ามารถ จงึ ทำใหเ้ กดิ นวัตกรรมทุกห้องเรยี น อา่ น-เขียน และสอ่ื สารภาษาต่างประเทศได้มากขนึ้ 2. นักเรยี นโรงเรียนขลุงรชั ดาภิเษกมศี ักยภาพทาง 2. ควรพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคดิ วิชาการและทางอาชพี ได้รับรางวัลชนะเลศิ การ คำนวณ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสม แข่งขนั การจดั สวนแกว้ ม.4-ม.6 และรางวลั รอง กับระดับชน้ั ชนะเลศิ อนั ดับ 1 การประกวดโครงงานอาชีพ ม.4-ม.6 3. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของท้ัง 8 กลมุ่ สาระ บรรลุตามคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา และมีความ กา้ วหน้าทุกกลุม่ สาระ ในภาพรวมมีความก้าวหน้า ร้อยละ 4.09 4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 ในระดบั โรงเรียนสูงกว่าผลการทดสอบ ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า 5. ผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาให้มีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เพ่อื พัฒนา ตนเอง และสังคมในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การ ทำงานอย่างสรา้ งสรรค์และมีคุณธรรม

39 จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา 6. ผู้เรียนได้รบั การพฒั นาให้มีทักษะในการดำเนิน ชีวติ อยา่ งพอเพยี ง มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตามอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา “ผเู้ รียนมที กั ษะการ ดำรงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ด้านการบริหารและการจดั การ ด้านการบริหารและการจัดการ 1. แผนปฏบิ ัติการประจำปี ตามโครงการ/กจิ กรรม 1. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด มีความสอดคล้องกบั แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 ทม่ี ีขอ้ จำกดั ในการรวมกลมุ่ (ปีงบประมาณ 2565-2568) มกี ารขอใช้และการ ของบุคคล ทำให้การรวบรวมข้อมูลความคาดหวงั ที่มี เบิกจ่ายงบประมาณ ตามขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ มี ต่อโรงเรยี นและทิศทางในการพัฒนาการจัดการ การจดั ทำระบบการตัดงบประมาณแบบ Realtime เรียนรู้ของโรงเรยี นจากผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องทำได้ ผ่านระบบออนไลน์ บางส่วนในช่องทางออนไลน์เทา่ น้ัน สำหรับการ 2. โรงเรยี นขลงุ รชั ดาภเิ ษก ไดเ้ ปิดสอนหลักสูตร จัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาในครง้ั ตอ่ เนื่องเช่อื มโยงการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกับอาชีวศึกษา ต่อไป โรงเรียนควรสำรวจข้อมลู จากผมู้ สี ่วน และอุดมศึกษา (CLC) ได้แกแ่ ผนการเรยี นธุรกิจ เกย่ี วขอ้ งให้ได้มากที่สุด ใหก้ ับนักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีการ 2. ควรมีการกำกบั ตดิ ตาม การใชห้ ลักสตู รของ เปิดสอนรายวิชาเพม่ิ เติมกลมุ่ วิชาเลือกให้กบั นักเรยี น สถานศึกษาเป็นระยะๆ อยา่ งสม่ำเสมอและมีการ ในกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ศิลปะและ ประเมินหลักสูตรประจำปี เพ่ือนำผลการประเมิน พลศึกษา เพ่ือให้นักเรยี นไดเ้ ลือกเรยี นตามความ หลกั สูตรมาใช้ในการพัฒนาหลักสตู รในปีต่อไป และ สนใจและความถนัดในอาชพี ของตนเอง เช่น กฬี า ควรให้นักเรยี น และผูป้ กครองมสี ว่ นรว่ มเพ่อื ให้ได้ ตามความถนดั ดนตรตี ามความถนัด ทัศนศลิ ปต์ าม หลักสตู รสถานศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ ความถนดั คหกรรม เกษตร และนอกจากนย้ี ังมี ชุมชนมากทีส่ ุด การใหน้ กั เรียนรวมกล่มุ กนั ตั้งชุมนุมตามความสนใจ 3. เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองได้มสี ่วนร่วมในการจดั โดยมคี รูเป็นทป่ี รกึ ษาชุมนมุ การศกึ ษาและเขา้ มามีส่วนรว่ มในกิจกรรมตา่ งๆกับ 3. ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 ระดับประเทศ ทางโรงเรยี น เพือ่ ทราบข้อมลู ยอ้ นกลบั และนำไป โรงเรียนปลอดขยะสู่ความยั่งยนื “สะอาดบรุ ี จูเนียร”์ พฒั นาโรงเรียนและพัฒนาผู้เรียนต่อไป โดยกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม จงึ ทำให้ 4.ควรใช้รปู แบบและกิจกรรมการนเิ ทศทห่ี ลากหลาย โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม บรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการ ทั้งแบบเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ เชน่ การ เรียนรู้ พรอ้ มเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ และให้บริการแก่ นิเทศโดยใช้กระบวนการ PLC การนิเทศแบบใหค้ ำ ชมุ ชน ชแ้ี นะ (Coaching) การนเิ ทศชั้นเรียนโดยการรกั ษา 4. โรงเรยี นมีการสง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการ ระยะห่าง เปน็ ต้น และกิจกรรมการนิเทศมคี วาม ศกึ ษาใช้เทคโนโลยีมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ยดื หยุ่นตามสถานการณ์ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีเขา้ มา และสง่ เสริมความกา้ วหน้าทางวชิ าชีพใหก้ ับครูและ มีบทบาทการนิเทศมากขน้ึ โดยการนเิ ทศแบบ บุคลากรทางการศึกษา พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ การขอมี ออนไลน์ เช่น การนิเทศผ่าน Platform online และเลอื่ นวทิ ยฐานะตามเกณฑ์ ว.PA การนิเทศผ่าน E – Learning เป็นต้น

40 จดุ เดน่ จดุ ควรพฒั นา ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี น ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียน เป็นสำคญั เปน็ สำคญั 1. ครูมีคุณวฒุ ิสอนตรงตามวิชาเอก มีความรู้ ความ 1. ครคู วรเผยแพร่ความรู้ ผลงานและนวัตกรรม เข้าใจ เปา้ หมายการจัดการศึกษาและหลักสูตร รวมทั้งการนำไปปฏบิ ัตจิ ริงสู่ชมุ ชนและแลกเปลยี่ น การศึกษาขนั้ พื้นฐาน สามารถใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ เรียนรู้กับองค์กรอืน่ ๆ ให้มากขน้ึ พัฒนาการเรยี นรู้ของตนเองและผเู้ รยี น มกี าร 2. ครูควรฝึกให้นักเรียนได้ถอดบทเรียนจากกิจกรรม พัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ ตา่ งๆ ผ่านการน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ 2. ครมู กี ารวางแผนในการพฒั นาหลักสตู ร จัดทำ พอเพยี ง เพ่ือให้นักเรยี นมีทักษะการคดิ ข้นั สูง รู้จัก แผนการจัดการเรียนรูแ้ ละจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ แก้ปัญหา สร้างความสามารถในการส่ือสารผ่าน ท่ีแสดงถึงการพัฒนาการคุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ รจู้ ักออกแบบกระบวนการ ดา้ นทักษะกระบวนการ มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ทำงาน และดำเนินงานด้วยตนเองได้ โดยเน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์เชงิ บวก ระหว่างผู้เรียน 3. การให้ชมุ ชนได้เขา้ มามีส่วนร่วม แสดงความ กบั ครู และการทำงานร่วมกนั ของผูเ้ รียน โดยแสดง คิดเหน็ หรอื ร่วมจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนอย่าง ให้เห็นถงึ การเรยี นรรู้ ่วมกนั อยา่ งมคี วามสุข เปน็ รูปธรรม ตอ่ เนื่องและชัดเจนให้มากยง่ิ ข้นึ 3. ครนู ำสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรียนร้อู ย่างมปี ระสิทธิภาพผา่ น Platform ตา่ งๆ เชน่ Google Classroom, Live Work Sheet , Line, YouTube, Class Dojo เป็นตน้ พรอ้ มท้งั สร้างโอกาสให้ผูเ้ รยี นได้แสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเองจากส่ือทหี่ ลากหลาย 4. ครูใช้การวัดผลและประเมินผลผูเ้ รยี นที่ หลากหลาย สอดคลอ้ งกับสภาพการเรยี นร้แู ละ พฒั นาการของผู้เรียน เช่น ประเมินจากการทำ กิจกรรมกลมุ่ ทกั ษะปฏิบตั ิการ การทำกิจกรรม ระหวา่ งเรยี น การทำชนิ้ งานที่ครูมอบหมายท้ังงาน เดย่ี วและงานกลุ่ม การทดสอบด้วยเคร่ืองมือที่ หลากหลาย แล้วครนู ำผลการประเมนิ ไปพัฒนา ผูเ้ รียนต่อไป 5. โรงเรียนขลงุ รชั ดาภเิ ษกมีแหลง่ เรียนรู้รวมทง้ั ภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ ทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้มากมาย และมีการนำแหลง่ เรียนรู้สวนทุเรียนไปบรู ณาการกับ หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ ในรายวิชาOCOI(One Classroom One Innovation) ทำให้มนี วตั กรรมทกุ ห้องเรียน 6. ครมู ชี ุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) ท้ัง ระบบสายชนั้ เรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ นอกกลุม่ สาระการเรียนรู้ และระดับโรงเรียน เพ่ือรว่ มกัน พฒั นาการเรยี นการสอน และแก้ปัญหางานต่างๆ ของโรงเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook