Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Groundwater

Groundwater

Published by Sakdanai Sawatpon, 2021-09-28 14:59:45

Description: น้ำใต้ดิน

Search

Read the Text Version

สรปุ เน้ือหา . แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์โลก 9 น้าใต้ดนิ GROUND WATER สันติ ภัยหลบล้ี

สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ใตด้ นิ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ 1. เพอ่ื จำแนกชั้นน้ำตำ่ งๆ ของนำ้ ใต้ดนิ ได้ 2. เพือ่ เขำ้ ใจกระบวนกำรทำงธรรมชำตขิ องนำ้ ใต้ดิน 3. เพือ่ ทรำบผลกระทบเนอ่ื งจำกกำรสูบน้ำใตด้ นิ มำใช้มำกเกินไป สารบัญ หนา้ 1 สำรบญั 2 1. นำ้ ใต้ดนิ (Groundwater) 6 2. ปจั จยั กำรไหลของนำ้ ใตด้ นิ (Factor of Groundwater) 10 3. ช้นั นำ้ ใต้ดนิ (Groundwater Layer) 16 4. กำรเคลื่อนที่ของนำ้ ใต้ดิน (Groundwater Movement) 19 5. บ่อนำ้ บำดำล (Groundwater Well) 22 6. กำรกดั กรอ่ นโดยนำ้ ใต้ดนิ (Erosion by Groundwater) 26 7. ผลจำกกำรใชน้ ำ้ ใต้ดนิ (Impact of Groundwater Usage) 31 47 แบบฝกึ หดั เฉลยแบบฝึกหดั 1

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใตด้ ิน 1 นำ้ ใตด้ นิ Groundwater น้าใต้ดิน (groundwater) คือ น้ำท่ีได้จำกกำรซึมผ่ำนของน้ำผิวดิน (surface water) และถูกกักเก็บอยู่ใต้ดินตำมช่องว่ำงระหว่ำงเม็ดตะกอน รวมทั้ง โพรงหรือรอยแตกของหินใต้ดิน ซ่ึงถึงแม้ว่ำโดยสัดส่วนของน้ำทั้งหมดท่ีมีอยู่ในโลก น้ำใต้ดินจะมปี รมิ ำณเพียง 0.62% ของน้ำทงั้ หมดท่ีมีอยู่ในโลก แตน่ ้ำใต้ดนิ ถือเป็น ทรัพยำกรแหล่งน้ำบริสุทธ์ิที่สำคัญแหล่งหนึ่งสำหรับมนุษย์ ซึ่งหำกพิจำรณำเร่ือง แหล่งกักเก็บน้ำใต้ดินเป็นเกณฑ์ นักวิทยำศำสตร์จำแนกชั้นดินหรือชั้นหินใต้ พืน้ ผวิ โลกออกเป็น 2 โซน คือ (รูป 1) 2

สนั ติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดนิ รปู 1. กำรกระจำยตวั ของนำ้ ใตด้ ิน 1) โซนอ่ิมอากาศ (vadose zone) หรือ โซนไม่อิม่ น้า (unsaturated zone) คือ โซนท่ีลึกจำกพืน้ ผวิ ดนิ ลงไปประมำณ 1-2 เมตร ซึ่งมีรพู รนุ จำนวนมำก ทเี่ กดิ จำกกำรชอนไชของทงั้ พชื และสัตว์ ทำใหน้ ำ้ ซึมผำ่ นลงสดู่ ำ้ นล่ำงไดด้ ี รพู รุนใน โซนอ่มิ อำกำศจึงประกอบด้วยอำกำศเปน็ ส่วนใหญแ่ ละมีน้ำเพยี งเลก็ น้อย (รปู 1) 2) โซนอ่ิมน้า (phreatic zone) หรือ โซนอ่ิมน้า (saturated zone) คือ โซนที่ลึกลงไปถัดจำกโซนอิ่มอำกำศ รูพรุนทั้งหมดเต็มไปด้วยน้ำที่ไหลซึมผ่ำน มำจำกโซนอิม่ อำกำศซึง่ อยูด่ ำ้ นบน (รูป 1) 3

สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำใตด้ นิ รอยต่อระหว่ำงโซนอ่ิมอำกำศและโซนอ่ิมน้ำ เรียกว่ำ ระดับน้าใต้ดิน (water table) ซ่ึงเปล่ียนแปลงได้ตำมฤดูกำลหรือปริมำณน้ำบนผิวดิน และ ระดับน้ำใต้ดินโดยส่วนใหญ่สัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศในแต่ละพื้นที่ เช่น ระดบั นำ้ ใตด้ นิ บนภเู ขำจะสูงกว่ำระดบั นำ้ ใต้ดินในพ้นื ท่ลี ุ่มต่ำ (รปู 1) สืบเน่ืองจำกควำมแตกต่ำงของระดับน้ำใต้ดินในแต่ละพ้ืนที่ ทำให้มีกำร ถ่ำยเทมวลน้ำระหว่ำงธำรน้ำบนผิวดินและน้ำใต้ดิน เกิดเป็นธำรน้ำท่ี มี ลกั ษณะเฉพำะแตกตำ่ งกนั 2 รูปแบบ คอื (รูป 2) รูป 2. (ก) ธำรนำ้ รับนำ้ (ข) ธำรนำ้ ใหน้ ำ้ 1) ธารน้ารับน้า (effluent stream หรือ gaining stream) หมำยถึง ธำรน้ำท่ีมีระดับท้องน้ำต่ำกว่ำระดับน้ำใต้ดิน ทำให้ชั้นน้ำใต้ดินสำมำรถซึมผ่ำนมำ ในร่องน้ำตลอดเวลำ จึงเป็นธำรน้ำท่ีมีน้ำไหลตลอดทั้งปี เรียกอีกอย่ำงว่ำ ธารน้า ถาวร (permanent stream) (รปู 2ก) 4

สนั ติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดิน 2) ธารน้าให้น้า (influent stream หรือ losing stream) คือธำรน้ำ ที่มีระดับท้องน้ำสูงกว่ำระดับน้ำใต้ดิน ทำให้น้ำในร่องน้ำซึมผ่ำนลงไปยังชั้นน้ำใต้ ดิน ธำรน้ำจึงมีน้ำเฉพำะช่วงเวลำอันส้ัน หลังจำกฝนตกเท่ำนั้น เรียกอีกอย่ำงว่ำ ธารน้าช่วั คราว (intermittent stream) (รูป 2ข) ซ่ึงธำรน้ำใดๆ สำมำรถเปล่ียนแปลงได้ในแต่ละช่วงเวลำหรือฤดูกำล เช่น ในฤดูฝน ปริมำณน้ำมำก ระดับนำ้ ใต้ดินสูงกว่ำระดบั ท้องนำ้ ธำรน้ำจงึ เป็นชนดิ รับ นำ้ ในขณะทฤี่ ดแู ลง้ ระดบั น้ำใตด้ ินต่ำลง ธำรนำ้ จงึ เปน็ ชนดิ ให้นำ้ เป็นต้น 5

สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำใตด้ ิน 2 ปจั จยั กำรไหลของน้ำใตด้ นิ Factor of Groundwater Flow โดยธรรมชำติ น้ำใต้ดินจะไหลดว้ ยควำมเรว็ ในหนว่ ยเซนติเมตร/วันหรือปี ซ่ึงถือว่ำช้ำมำกเมื่อเปรียบเทียบกับกำรไหลของน้ำผิวดินตำมธำรน้ำ โดยควำมเร็ว ของกำรไหลของน้ำใต้ดินจะข้ึนอยู่กับปัจจัยหรือลักษณะทำงกำยภำพของช้ันหิน หรอื ชั้นดิน 2 ปัจจัย คือ 1) ความพรุน (porosity) คือ ปริมำณช่องว่ำงภำยในดินหรือหิน มี หนว่ ยเป็น % ของปริมำตรท้งั หมด เป็นตวั บ่งช้ีควำมสำมำรถในกำรกักเก็บนำ้ ใต้ดิน ในแต่ละพ้ืนท่ี โดยนักวิทยำศำสตร์จำแนกรูพรุนออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.1) รูพรุน ปฐมภมู ิ (primary Porosity) หมำยถึง ช่องวำ่ งที่อยรู่ ะหวำ่ งเม็ดตะกอนหรอื ผลึก 6

สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำใตด้ นิ แร่ในหิน และ 1.2) รูพรุนทุติยภูมิ (Secondary porosity) คือ ช่องว่ำงที่เกิด จำกรอยแตกหรือโพรงภำยในหนิ ซง่ึ เกดิ หลังจำกกำรเกิดหนิ รูป 3. ลักษณะเฉพำะของตะกอนที่ส่งผลต่อรูพรุน (ก) คัดขนำดดี รูพรุนมำก (ข) คัดขนำดแย่ รูพรุนนอ้ ย (ค) รพู รนุ ที่ไม่มีทำงเช่ือมตอ่ ระหวำ่ งกัน (ง) รูพรุน ท่มี ีควำมตอ่ เน่ืองกัน ในกรณีของตะกอนหรือหินตะกอน ปริมำณของช่องว่ำงหรือรูพรุนจะ ขนึ้ อยูก่ บั 1) ขนำด 2) รูปร่ำง และ 3) กำรคัดขนำดของตะกอน (รปู 3ก-ข) โดยหิน 7

สันติ ภยั หลบล้ี น้ำใต้ดนิ ที่ประกอบด้วยตะกอนขนำดใหญ่ เม็ดตะกอนรูปร่ำงใกล้ทรงกลมและมีกำรคัด ขนำดที่ดี จะมีปริมำณรูพรุนมำก (ดูตำรำง 1 ประกอบ) ส่วนกรณีของหินอัคนีหรือ หินแปรจะมีรูพรนุ นอ้ ยกว่ำตะกอนหรอื หินตะกอน แต่หำกมีรอยแตกเกดิ ขนึ้ รพู รุน สำมำรถเพิม่ ขึ้นได้ 2) ความสามารถในการซึมผ่านได้ (permeability) คือ ควำมสำมำรถ ในกำรส่งผ่ำนน้ำไปยังช่องว่ำงข้ำงเคียง (รูป 3ค-ง) ซ่ึงไม่ได้ข้ึนอยู่กับขนำดหรื อปริมำณของรูพรนุ แต่เก่ียวกับสภำพกำรเชื่อมต่อกันระหวำ่ งช่องว่ำง เช่นตะกอน ท่มี ีขนำดหลำกหลำย มีกำรบีบอัดช้ันตะกอน หรือมีกำรเช่ือมประสำนระหว่ำงเม็ด ตะกอน ทำใหค้ วำมสำมำรถในกำรซมึ ผำ่ นไดน้ น้ั น้อยลง (ตำรำง 1) ตาราง 1. ควำมพรนุ และควำมสำมำรถในกำรซมึ ผำ่ นได้ของวัสดชุ นิดตำ่ งๆ วัสดุ ความพรุน ความสามารถในการ (%) ซึมผ่านได้ กรวด 25-40 เยีย่ ม ทราย 30-50 ดมี ำก-เยี่ยม ทรายแปง้ 35-50 ปำนกลำง ดิน 35-80 แย่ หนิ กรวดมน 10-30 ปำนกลำง-เยีย่ ม หนิ ทราย คดั ขนาดดี 20-30 ดี-ดมี ำก หนิ ทราย คดั ขนาดปานกลาง 10-20 ปำนกลำง-ดี หนิ ทราย คัดขนาดแย่ 0-10 แย่-ปำนกลำง หินดินดาน 0-30 แยม่ ำก-แย่ 8

สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ใตด้ นิ หนิ ปูน โดโลไมต์ 0-20 แย่-ดี หินอัคนีบาดาลและหินแปรที่ไม่มี 0-5 ดีมำก รอยแตก หินอัคนีบาดาลและหินแปรท่ีไม่มี 5-10 แย่ รอยแตก หินอคั นภี เู ขาไฟ 0-50 แย่-ดีมำก ปัจจบุ นั กรมทรพั ยำกรน้ำบำดำล ได้มีกำรจดั ทำแผนที่น้ำ บำดำล มำตรำสว่ น 1:50,000 ที่แสดงศักยภำพแหลง่ น้ำใต้ ดนิ ทัง้ ในเชงิ ปรมิ ำณและคุณภำพ ซงึ่ สำมำรถนำไปใช้ บรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกรนำ้ บำดำลในระดบั ท้องถ่ินได้ 9

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดนิ 3 ชน้ั นำ้ ใตด้ ิน Groundwater Layer จำกคุณสมบัติควำมพรุนและควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนของชั้นดินหรือ ชั้นหนิ ดังที่อธิบำยในขำ้ งตน้ นักวิทยำศำสตร์จำแนกช้นั หนิ ตำมศักยภำพในกำรเป็น ชน้ั น้ำบำดำลออกเปน็ 2 ชนิด คอื (รปู 4) 1) ช้ันหินขวางน้า (aquitard) คือ ชั้นหินท่ีมีควำมสำมำรถในกำรซึม ผ่ำนได้ต่ำหรือไม่สำมำรถซึมผ่ำนได้เลย เช่น ช้ันหินดินดำนหรือหินแปรเนื้อแน่น เปน็ ต้น 2) ชัน้ หินอุ้มน้า (aquifer) คือ ชั้นหนิ ท่ีน้ำสำมำรถซึมผ่ำนได้อย่ำงอิสระ เช่น ช้ันหินทรำยที่มีกำรคัดขนำดดี ชั้นกรวด เป็นต้น โดยช้ันหินอุ้มน้ำยังสำมำรถ แบ่งย่อยออกเปน็ 2 ชนดิ คอื 10

สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำใตด้ ิน รูป 4. แบบจำลองแสดงกำรจำแนกช้ันหินตำมศักยภำพในกำรเป็นช้ันน้ำบำดำล พนื้ ท่ีรับและจ่ำยน้ำ ตลอดจนระยะเวลำกำรไหลของนำ้ ในแต่ละช้นั นำ้ 2.1) ชั้นหินอมุ้ น้าไมม่ ีขอบเขต (unconfined aquifer) คือ ชั้นหนิ อุ้ม น้ำที่ไม่มีชั้นหินขวำงน้ำปิดทับอยู่ด้ำนบน ระดับน้ำใต้ดินในช้ันหินชนิดน้ีข้ึนอยู่กับ ระดับน้ำใต้ดนิ ในบรเิ วณนั้น เป็นช้ันหินท่ีรองรับกำรซึมผ่ำนของน้ำลงมำจำกน้ำผิว ดินโดยตรง ดงั นัน้ จึงเป็นช้นั นำ้ ใต้ดนิ ทนี่ ำมำใช้ได้งำ่ ยทส่ี ุด แต่เนอื่ งจำกเป็นชัน้ น้ำใต้ ดินชั้นบนสุด จึงมีโอกำสปนเป้ือนได้ง่ำยจำกกำรซึมผ่ำนลงมำของสำรเคมีต่ำงๆ ท่ี ตกคำ้ งอยู่บนผวิ ดิน บำงคร้ังหำกมีช้ันหินขวำงน้ำวำงตัวรองรับชั้นหินอุ้มน้ำบนเขำสูงเหนือ ระดับน้ำใต้ดินปกติ อำจทำให้เกิดลักษณะท่ีเรียกว่ำ ระดับน้าใต้ดินลอย (perched water table) (รูป 5) ซึ่งเมื่อน้ำไหลออกมำตำมรอยแตกบนเขำ ทำ ใหเ้ กิด นา้ ซับ (spring) ไหลหรือตกลงมำจำกบนเขำสูงได้ (รูป 6) 11

สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ใต้ดนิ รูป 5. แบบจำลองแสดงระดับน้ำใต้ดินลอย (perched water table) บ่อน้ำ บำดำล (well) และตัวแปรสำหรับกำรวิเครำะห์ ควำมต่ำงศักด์ิของแรงดัน นำ้ ใต้ดนิ (hydraulic gradient) รูป 6. น้ำซับ (spring) บริเวณเทือกเขำเทียนฉำน (Tien Shan) ประเทศคีร์กีซ สถำน [Miller M.] 12

สนั ติ ภยั หลบลี้ นำ้ ใต้ดนิ 2. ช้ันหินอุ้มน้ามีขอบเขต (confined aquifer) คือ ชั้นหินอุ้มน้ำท่ีมี ชั้นหินขวำงน้ำปิดทับอยู่ด้ำนบน (รูป 4) ทำให้น้ำมีแรงดันจำกกำรกดทับมำกกว่ำ ช้ันหินอุ้มน้ำไม่มีขอบเขต บำงครั้งเรียกว่ำ ช้ันหินอุ้มน้าแรงดัน (pressure aquifer) หรือ ชั้นหินอุ้มน้าลกึ (artesian aquifer) ระดบั น้ำใต้ดินในช้ันหินอุ้ม น้ำมีขอบเขตถูกควบคุมโดยโครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำของช้ันหินขวำงน้ำ เช่น กำร เอยี งเทของชน้ั หิน รอยแตกหรอื รอยเลื่อน เปน็ ต้น (รปู 7) รูป 7. (ก) ระดบั นำ้ ใต้ดนิ ลอย (ข) นำ้ ซบั ในรัฐไอดำโฮ ประเทศสหรฐั อเมริกำ เนื่องจำกมีชั้นหินขวำงน้ำปิดทับอยู่ด้ำนบน น้ำในช้ันหินอุ้มน้ำมีขอบเขต จึงถูกปนเป้ือนได้ยำก แต่หำกปนเป้ือนจะใช้เวลำนำนมำกในกำรกลับมำเป็นน้ำ บริสุทธเ์ิ หมือนเดิม ซง่ึ หำกเจำะช้ันหินอ้มุ น้ำมีขอบเขตในบริเวณท่ีอยู่ภำยใต้ ความ ดันการไหล (hydrostatic pressure) น้ำจะพุ่งไหลขึ้นมำเอง โดยไม่ต้องใช้ 13

สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำใต้ดนิ เคร่อื งมอื สูบนำ้ เรียกว่ำ บ่อน้าพุ (artesian well) (รูป 7) คล้ำยกับกำรสบู น้ำข้ึน ไปบนแทงคน์ ้ำบนอำกำร เพอ่ื ใหม้ ีแรงดนั ในกำรจำ่ ยน้ำไปยังพ้นื ทต่ี ำ่ งๆ (รูป 7) อย่ำงไรก็ตำม น้ำพุซึ่งเป็นน้ำที่มีแรงดันและพุ่งขึ้นมำน้ัน ไม่ได้เกิดจำก ควำมแตกต่ำงของระดับน้ำเสมอไป ตัวอย่ำงเช่นในกรณีของ น้าพุร้อน (hot spring หรือ greyser) เกิดจำกน้ำใต้ดินที่ซึมผ่ำนลงไปและสัมผัสกับแหล่งควำม ร้อนใต้พื้นดิน เช่น กะเปำะแมกมำ ทำให้น้ำร้อนมีแรงดันและพุ่งขึ้นมำ (รูป 8) คล้ำยกับกำรปะทุของภูเขำไฟ โดยส่วนใหญ่กำรปะทุหรือพุ่งขึ้นมำของน้ำพุร้อน ไม่ได้พุ่งขึ้นมำอย่ำงต่อเนื่องเหมือนกับน้ำพุท่ีมนุษย์ทำข้ึนดังที่ พบเห็นตำม สวนสำธำรณะ แต่จะพุ่งข้ึนมำเป็นจังหวะ (รูป 9ก) นอกจำกนี้ในบำงครั้งอำจพบ โคลนภูเขาไฟ (mud volcano) (รูป 9ข) ซ่ึงเป็นผลมำจำกน้ำใต้ดินผสมกับโคลน ทส่ี ะสมตวั อยูใ่ ต้พ้นื ดินและไดร้ ับแรงดนั ทำให้โคลนผดุ ขน้ึ มำ รูป 8. แบบจำลองกำรไหลเวียนของน้ำในพ้ืนท่ีใกล้เคียงกะเปำะแมกมำ ทำให้เกิด น้ำพรุ อ้ น (geyser) 14

สันติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดนิ รูป 9. (ก) น้ำพุร้อนในอุทยำนแห่งชำติเย็นโลว์สโตน (ข) โคลนภูเขำไฟที่ประเทศ ไอซแ์ ลนด์ 15

สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ใตด้ นิ 4 กำรเคลอื่ นท่ีของน้ำใต้ดิน Groundwater Movement 4.1. พื้นที่รบั น้าและจ่ายนา้ (Recharge and Discharge Areas) ดงั ที่อธิบำยในข้ำงต้น ว่ำน้ำใต้ดินคือน้ำท่ีได้จำกกำรซมึ ผ่ำนของน้ำผิวดิน ดงั น้นั ในกำรพิจำรณำกำรเคลอื่ นท่ขี องน้ำใตด้ ิน นักวทิ ยำศำสตร์จงึ จำแนกพืน้ ทบ่ี น ผิวดนิ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ (รปู 4) 1) พื้นทร่ี ับนา้ (recharge area) ซึ่งเปน็ พ้ืนท่ซี ่ึงรบั นำ้ จำกผวิ ดินหรอื ฝน ทตี่ กลงมำและไหลซึมเข้ำเติมในระบบของนำ้ ใตด้ ิน ซง่ึ โดยส่วนใหญจ่ ะเป็นทส่ี งู 2) พนื้ ที่จ่ายนา้ (discharge area) ซ่งึ เปน็ พืน้ ทลี่ ่มุ ต่ำ ทีน่ ำ้ ใต้ดนิ จ่ำยนำ้ ให้กับธำรน้ำหรือน้ำผิวดินอื่นๆ โดยเมื่อมีกำรเติมน้ำเข้ำสู่ระบบน้ำใต้ดินจำกพ้ืนที่ รับนำ้ น้ำจะซึมผำ่ นชั้นหินต่ำงๆ และมีกำรไหลของนำ้ ใต้ดนิ เป็นชน้ั ๆ ซ่งึ ระยะเวลำ 16

สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำใต้ดิน ท่ีน้ำใช้ในกำรไหลจำกพ้ืนที่รับน้ำไปยังพื้นท่ีซ่ึงจ่ำยน้ำจะขึ้นอยู่กับอัตรำกำรไหล และระยะทำงซ่ึงอำจใช้เวลำเพียงไม่กี่วันหำกเป็นช้ันน้ำในระดับต้ืน หรืออำจใช้ เวลำหลำยพันปีสำหรับชนั้ น้ำในระดบั ลกึ (รปู 4) 4.2. ความตา่ งศกั ดิข์ องแรงดนั นา้ ใต้ดนิ (Hydraulic Gradient) ทิศทำงกำรไหลของน้ำใต้ดินจะข้นึ อยกู่ ับ ความตา่ งศักดิ์ของแรงดนั นา้ ใต้ ดิน (hydraulic gradient, HG) ที่เกิดข้ึนในแต่ละพื้นท่ี ซึ่งในทำงอุทกวิทยำ สำมำรถคำนวณควำมตำ่ งศกั ด์ิดงั กลำ่ วไดจ้ ำกสมกำร (1) (ดูรปู 5 ประกอบ) HG = h1 − h2 สมการ (1) d กำหนดให้ h1-h2 คือ ควำมแตกต่ำงของระดับน้ำใต้ดินในแต่ละจุดศึกษำ และ d คอื ระยะทำงจำกจุดตรวจวดั ควำมสูงทั้ง 2 จดุ โดยน้ำจะไหลจำกจดุ ทีม่ ี HG สูงไป ยงั จดุ ที่มี HG ตำ่ ด้วยอัตรำกำรไหลของน้ำใต้ดินท่ีเพม่ิ ขึ้นตำมควำมควำมต่ำงศักดิ์ ของแรงดนั นำ้ ใต้ดนิ 4.3. กฏของดาร์ช่ี (Darcy’s Law) เพ่ือที่จะศึกษำประสิทธิภำพกำรให้น้ำของแหล่งน้ำใต้ดนิ ในแต่ละพื้นที่ ปี พ.ศ. 2399 อังรี ดำร์ซ่ี (Darci H.) วิศวกรชำวฝรั่งเศส ได้นำเสนอสมกำร ควำมสัมพันธ์แสดงอัตรำกำรไหลของน้ำใต้ดิน เรียกว่ำ กฏของดาร์ซี่ (Darcy’s Law) ดังแสดงในสมกำร (2) 17

สันติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดิน Q = KiA สมการ (2) กำหนดให้ Q คือ อัตรำกำรไหลของน้ำ (ลูกบำศก์เมตร/วัน) K คือ ค่ำสัมประสิทธิ์ กำรซึมผ่ำน (hydraulic conductivity) i คือ ควำมต่ำงศักด์ิของแรงดันน้ำใต้ดิน (hydraulic gradient) ซ่งึ ประเมนิ ได้จำกสมกำร (1) และ A คือ ภำพตัดขวำงพืน้ ท่ี ซึ่งนำ้ ใต้ดนิ ไหลผำ่ น 18

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใตด้ ิน 5 บ่อน้ำบำดำล Groundwater Well บ่อน้าบาดาล (groundwater well) คือ บ่อหรือหลุมท่ีมนุษย์ขุดหรือ เจำะลึกลงไป เพ่ือสูบน้ำใต้ดินข้ึนมำใช้ประโยชน์ (รูป 10ก) ซึ่งโดยปกติโดยส่วน ใหญ่เจำะให้ผ่ำนช้ันหินอุ้มน้ำ ใต้ระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งในกำรจัดสร้ำงบ่อน้ำบำดำลใน แต่ละบ่อมีขัน้ ตอนในกำรทำงำน 5 ขัน้ ตอน ดังน้ี 1) การสารวจแหล่งน้าใต้ดิน (groundwater exploration) ในอดีต ชำวบ้ำนสำรวจหำแหล่งน้ำใต้ดิน โดยกำรถือกิ่งไม้ 2 อัน (รูป 10ข) เดินไปตำมที่ ต่ำงๆ ซ่ึงหำกก่ิงไม้ดังกล่ำวหมุนเข้ำมำหำกัน ชำวบ้ำนเช่ือว่ำใต้พ้ืนท่ีน้ันจะมีน้ำใต้ ดินอยู่ แต่จำกกำรศึกษำในทำงวิทยำศำสตร์ปัจจุบันบ่งชี้ว่ำวิธีกำรดังกล่ำวน้ันเป็น เพยี งกำรเดำสมุ่ ของคนในอดตี เท่ำน้ัน 19

สันติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดิน รูป 10. (ก) บ่อน้ำบำดำล (groundwater well) (ข) สำธิตกำรใช้กิ่งไม้ในกำรสุ่ม หำชัน้ นำ้ ใต้ดนิ (ค-ง) เคร่อื งมือเจำะน้ำใตด้ นิ และกำรพฒั นำบอ่ น้ำบำดำล ปจั จุบนั เพือ่ ดูวำ่ ใต้พ้ืนดินน้ันมนี ้ำใต้ดินอยู่หรอื ไม่ ปริมำณมำกน้อยเท่ำใด นักวิทยำศำสตร์ใช้วิธีสำรวจทำงวิทยำศำสตร์หลำยๆ ด้ำนร่วมกัน เช่น ธรณีวิทยำ อุทกธรณีวิทยำ รวมทั้งกำรสำรวจทำงทำงธรณีฟิสิกส์ เช่น การสารวจความ ตา้ นทานไฟฟา้ จาเพาะ (resistivity method) เปน็ ต้น 20

สนั ติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดิน 2) การเจาะบ่อ (well drilling) มีวิธีกำรหลำยๆ แบบท่ีใช้เครื่องมือ แตกต่ำงกันออกไป ซ่งึ กำรเลอื กวิธกี ำรเจำะบ่อ โดยท่วั ไปจะข้ึนอยู่กับ ชนิดของหิน ที่อยู่ใต้ผิวดินและควำมลึกท่ีต้องกำรเจำะ วิธีกำรท่ีนิยมใช้ ได้แก่ กำรเจำะแบบ กระแทกหรือกำรเจำะแบบหมนุ เป็นต้น (รูป 10ค-ง) 3) การปรับปรุงและพัฒนาบ่อ การปรับปรุงบ่อ (well completion) ได้แก่ กำรขยำยหลุมเจำะให้เป็นบ่อน้ำ กำรป้องกันกำรพังทลำยของบ่อ ป้องกัน ไม่ให้ทรำยไหลเข้ำไปในบ่อ ทำให้บ่อมีอำยุกำรใช้งำนได้นำนขึ้น โดยหลักกำร ทำงำนคอื ทำให้เมด็ กรวดทรำยทอี่ ย่รู อบบอ่ เรียงตัวอยำ่ งเปน็ ระเบียบ ทำให้มีควำม พรนุ และควำมสำมำรถในกำรซึมผำ่ นได้สงู ซง่ึ วธิ ีกำรท่นี ยิ มคือกำรเป่ำล้ำงด้วยลม 4) การสูบทดสอบ (pumping test) ทำภำยหลังจำกกำรปรับปรุงและ พัฒนำบ่อเรียบร้อยแล้ว ซึ่งวัตถุประสงค์ของกำรสูบทดสอบคือเพ่ือให้ได้ข้อมูล เก่ียวกับปริมำณน้ำที่จะสำมำรถสูบขึ้นมำใช้ได้ โดยข้อมูลดังกล่ำวสมีประโยชน์ต่อ กำรเลือกเครื่องสูบน้ำใหถ้ ูกตอ้ งและเหมำะสม 5) การตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพน้า (water quality test) คณุ ภำพนำ้ ใต้ดินมีควำมสำคญั ตอ่ กำรพฒั นำบอ่ น้ำบำดำล เนือ่ งจำกคณุ ภำพของน้ำ ใต้ดินจะเป็นตัวบ่งช้ีถึงควำมสำมำรถในกำรนำน้ำไปใช้ประโยชน์ โดยทั่วไปอำจ จำแนกกำรใช้น้ำใต้ดินได้เป็น 3 ประเภท คือ 5.1) เพ่ืออุปโภค-บริโภค 5.2) เพ่ือ กำรเกษตรกรรมหรือกำรชลประทำน และ 5.3) เพื่อกำรอุตสำหกรรม ซ่งึ กำรใช้น้ำ ใต้ดนิ ในแต่ละประเภท จะมีมำตรฐำนคุณภำพนำ้ ทแ่ี ตกตำ่ งกนั ออกไป 21

สันติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดนิ 6 กำรกัดกร่อนโดยนำ้ ใตด้ นิ Erosion by Groundwater 6.1. ถ้าหินปูน (Limestone Cave) ถ้าหินปูน (limestone cave) (รูป 11) เกิดจำกกำรกัดกร่อนของน้ำใต้ ดิน ในขณะท่ีหินปูนอยู่ต่ำกว่ำระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่ น้ำใต้ดินจะมี คณุ สมบัติเป็นกรดเจือจำง เน่ืองจำกฝนชะล้ำงก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์จำกอำกำศ กลำยเปน็ กรดคำร์บอนิก หรอื ฝนกรด (acid rain) และซมึ ผ่ำนลงใต้ดิน ฝนกรดน้ันเมื่อทำปฏิกิริยำกับหินปูน ซึ่งเป็นแคลเซยี มคำร์บอเนตที่อยู่ใต้ ดิน ทำให้หินปูนเกิดกำรผุพังทำงเคมี (chemical weathering) กลำยเป็น แคลเซียมไบคำร์บอเนต (Ca(HCO3) 2) เรียกว่ำ กระบวนการคาร์บอเนชัน (carbonation) 22

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใตด้ ิน รูป 11. แบบจำลองกำรกดั ก่อนจำกน้ำใต้ดนิ CaCO3 + H2O + CO2 → Ca (HCO3) 2 แคลเซยี มคารบ์ อเนต + น้า + คาร์บอนไดออกไซด์ → แคลเซียมไบคาร์บอเนต หลังจำกนนั้ แคลเซยี มไบคำร์บอเนต (Ca (HCO3) 2) ท่ไี ด้จำกกระบวนกำร คำร์บอเนชัน สำมำรถละลำยและถูกชะล้ำงออกได้ด้วยน้ำใต้ดิน ส่งผลให้เกิดโพรง หรือถ้ำอยู่ใต้ดิน (รูป 11) และมีกำรสะสมตัวของหินปูนใหม่กลำยเป็น ตะกอนถ้า (speleothem) รูปแบบต่ำงๆ เช่น หินงอก (stalagmite) งอกหรือพอกพูน ข้ึนมำจำกพื้นถ้ำ และหินย้อย (stalactite) ท่ีย้อยตัวลงมำจำกเพดำนหรอื ผนังถ้ำ เปน็ ต้น (รปู 12ก) 23

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดนิ รูป 12. (ก) ตะกอนถ้ำ (speleothem) รูปแบบต่ำงๆ (ข) หลุมยุบในรัฐฟลอริดำ ส ห รัฐ อ เม ริก ำ [Miller M.] (ค ) ภู มิ ป ระ เท ศ แ บ บ ค ำ ส ต์ (karst topography) 6.2) หลุมยุบ (Sink Hole) หลุมยุบ (sink hole) (รูป 12ข) เป็นกำรทรุดตัวเนื่องจำกกำรถล่มของ โพรงหรือถ้ำใต้ดินอย่ำงทันทีทันใด ซ่ึงโพรงหรือถ้ำดังกล่ำวเกิดขึ้นได้ท้ังจำก ธรรมชำติ เชน่ กำรกัดเซำะหนิ ปนู ของนำ้ ใตด้ ินจนกลำยเป็นโพรงหรือถ้ำใต้ดิน (รูป 24

สันติ ภัยหลบลี้ น้ำใต้ดิน 11 และรูป 12ก) หรือเกิดจำกกิจกรรมของมนุษย์ เช่น กำรทำเหมืองใต้ดิน เหมือง เกลือ เป็นต้น ซ่ึงโดยปกติหลุมยุบที่เกิดจำกน้ำใต้ดินกัดเซำะหินปูนจะไม่ยุบเม่ือมี ระดับน้ำใต้ดินสูง แต่เมื่อน้ำใต้ดินลดต่ำลง ไม่มีน้ำพยุงโครงสร้ำงของโพรงใต้ดิน อำจเกิดกำรถล่มได้ หรือหำกมีกำรกระตุ้น เช่น แผ่นดินไหวช่วยเหนี่ยวนำหรือ กระตุ้นให้โพรงใต้ดินถลม่ ได้ง่ำยข้นึ หลงั จำกเหตกุ ำรณแ์ ผ่นดนิ ไหวขนำด 9.2 ทเ่ี กำะสุมำตรำ ประเทศอนิ โดนเี ซีย พ.ศ. 2547 เกิดหลุมยบุ > 30 ครั้ง ในชว่ ง 4-5 เดือน บริเวณภำคใตต้ อนลำ่ งของประเทศไทย 6.3) ภมู ิประเทศแบบคาสต์ (Karst Topography) ภูมิประเทศแบบคาสต์ (karst topography) (รูป 12ค) คือ ลักษณะ ภมู ิประเทศที่เกิดจำกกำรกัดกร่อนหินปูนของน้ำใต้ดิน หลงั จำกน้ันเม่อื ระดับนำ้ ใต้ ดินลดลด เกิดกำรถล่มและยุบตัวของพื้นท่ี (รูป 11) ซึ่งเมื่อมีกำรยุบตัวมำกขึ้น พื้นท่ีที่แสดงระดับพื้นผิวเดิมลดลง พ้ืนท่ีดังกล่ำวจึงกลำยเป็น ลักษณะสูง-ต่ำ ตะปุ่มตะป่ำ คล้ำยกับภูมิประเทศแบบเตำขนมครกคว่ำ เรียกว่ำ ภูมิประเทศแบบ คำสต์(karst topography) (รปู 12ค) 25

สันติ ภยั หลบลี้ น้ำใต้ดิน 7 ผลกระทบจำกกำรใช้นำ้ ใตด้ ิน Impact of Groundwater Usage 7.1. การทรุดตัวของพน้ื ดนิ (Land Subsidence) การอัดตัวของตะกอน (Soil Compaction) ตะกอนขนำดโคลนเม่ือมี นำ้ เปน็ องค์ประกอบจะเกำะกันอย่ำงหลวมๆ แต่เมอ่ื มีกำรนำนำ้ ออกไป โคลนจะถูก กดทับจำกน้ำหนักของตัวเอง ทำให้โคลนนั้นทรุดลงอย่ำงช้ำๆ เช่นกำร ทรุดตัว เนื่องจำกกำรสูบน้ำใต้ดินมำใช้มำกเกินไปในพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกำ ในช่วงปี พ.ศ. 2468-2518 ทำให้พ้ืนที่ > 5,000 ตำรำงกิโลเมตร ทรุดตัว > 9 เมตร (รูป 13) นอกจำกนี้กำรลดต่ำลงของระดับน้ำใต้ดิน ยังทำให้ พื้นทขี่ ้ำงเคยี งแหง้ แลง้ กว่ำปกติด้วยเชน่ กนั 26

สันติ ภยั หลบล้ี น้ำใตด้ ิน รปู 13. กำรทรุดตัวของพ้ืนดินในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกำ เนื่องจำก กำรสูบนำ้ ใตด้ นิ มำใชม้ ำกเกินไป กรงุ เทพมหำนคร และจงั หตรวจวดั ขำ้ งเคียง เคยประสบ ปญั หำเกย่ี วกบั กำรทรดุ ตัวของระดบั พ้ืนดนิ เน่อื งจำกกำรสบู นำ้ ใต้ดินมำใช้มำกเกินไป โดยสังเกตุเห็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2503 มีอัตรำกำรทรุดตวั ประมำณ 5-10 ซม/ ปี แต่ หลังจำกออกมำตรกำรควบคุมกำรใช้นำ้ ใตด้ นิ อตั รำกำร ทรดุ ตวั ของพ้ืนดินในปจั จบุ นั ลดลงเหลอื 1 ซม/ ปี 27

สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ใตด้ ิน 7.2. กรวยน้าลด (Cone of Depression) โดยปกติ บ่อน้าบาดาล (groundwater well) ในพ้ืนท่ีต่ำงๆ จะมี ประสิทธิภำพในกำรให้น้ำแตกต่ำงกัน โดยศักยภำพของบ่อจะข้ึนอยู่กับควำมพรุน ควำมสำมำรถในกำรซมึ ผำ่ นได้ ควำมหนำของช้ันหนิ อมุ้ น้ำ ตลอดจนอัตรำกำรจ่ำย และรับน้ำในแต่ละพ้ืนที่ โดยระดับน้ำในบ่อเทียบเคียงได้กับระดับน้ำใต้ดินใน บริเวณแถบนั้น แต่หำกมีกำรสูบน้ำออกจำกบ่อเร็วเกินไปจะทำให้ระดับน้ำใต้ดิน น้ันยุบตัวลง (drawdown) โดยรอบบ่อน้ำ เน่ืองจำกน้ำใต้ดินไหลเข้ำมำเติมไม่ทัน มีลักษณะคล้ำยกับกรวย เรียกว่ำ กรวยน้าลด (cone of depression) (รูป 14) โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง ช้ันหินอุ้มน้าไม่มีขอบเขต (unconfined aquifer) ซ่ึงเป็น ชั้นน้ำใต้ดินที่ไม่มีแรงดัน เมื่อสูบขึ้นมำใช้ในอัตรำท่ีมำกกว่ำอัตรำกำรรับน้ำเป็น เวลำนำน อำจจะทำให้ระดบั น้ำใต้ดินลดลงไปอยำ่ งต่อเน่อื ง ทำให้บอ่ ท่ีเดมิ เคยเจำะ ไว้ในระดับตืน้ นนั้ แหง้ (รปู 14ข) หำกตอ้ งเจำะบ่อใหม่อำจจะตอ้ งเจำะใหล้ ึกขนึ้ รูป 14. กำรเกิดกรวยน้ำลด (cone of depression) และกำรลดระดับของน้ำใต้ ดิน เนอ่ื งจำกกำรสูบนำ้ ใต้ดินมำใช้มำกเกินไป 28

สันติ ภยั หลบล้ี น้ำใตด้ นิ 7.3. การปนเป้ือนของน้าใต้ดนิ (Groundwater Contamination) กำรปนเป้ือนน้ำใตด้ ินเกิดจำกสิ่งปฏิกูล (รปู 15) เชน่ ของเสียจำกโรงงำน อุตสำหกรรม ฟำร์มปศุสัตว์ บ่อขยะหรือแม้แต่ของเสียท่ีเกิดจำกสำรเคมีในกำรทำ เกษตรกรรม เช่น ยำปรำบศัตรูพืช เป็นต้น ซึ่งเม่ือสิ่งสกปรกหรือสำรพิษดังกล่ำว ซึมผ่ำนลงไปในช้ันน้ำใต้ดิน โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง ช้ันหินอุ้มน้าไม่มีขอบเขต (unconfined aquifer) ซ่ึงปนเป้ือนได้ง่ำย อำจส่งผลให้ช้ันน้ำดังกล่ำวไม่ สำมำรถใช้ในกำรอปุ โภค-บริโภคได้ รูป 15. สำเหตุกำรปนเปอื้ นของน้ำใต้ดนิ นอกจำกน้ี ผลกระทบเนอื่ งจำกกำรสูบนำ้ มำกเกินไปและกำรเกิดกรวยน้ำ ลด อำจทำให้เกิดควำมชนั ของระดบั น้ำใต้ดินในท้องถน่ิ เปน็ ผลทำใหค้ วำมตำ่ งศกั ด์ิ ของแรงดันน้ำใต้ดิน นั้นสงู มำกและกำรไหลของน้ำใต้ดนิ เกิดกำรเปล่ียนทิศทำงทำ ให้เกดิ กำรปนเปือ้ นได้ (รปู 116) 29

สนั ติ ภยั หลบล้ี น้ำใตด้ ิน รูป 16. กำรเปลี่ยนแปลงทศิ ทำงและกำรปนเปอ้ื นของน้ำใตด้ ิน เนอ่ื งจำกกำรสูบน้ำ ใตด้ ินมำใชม้ ำกเกนิ ไป 7.4. การรุกลา้ ของนา้ เคม็ (Salt Water Intrusion) โดยธรรมชำติ น้ำเค็มมีควำมหนำแน่นมำกกว่ำน้ำจืด ทำให้ในบริเวณใต้ พนื้ ที่รอยต่อระหวำ่ งแผน่ ดินกับทะเล นำ้ จดื จะลอยอยู่เหนอื นำ้ เค็ม (รปู 17ก) และ เม่ือสูบน้ำข้ึนมำจำกชั้นหินอุ้มน้ำเร็วเกินไป มวลน้ำเค็มจะยกตัวสูงข้ึนไปแทนที่น้ำ จืดส่วนท่ถี กู ดดู ไป และปนเปื้อนไปกับน้ำใตด้ ินท่เี รำไปใช้ (รูป 11ข) รูป 17. กำรรกุ ลำ้ ของนำ้ เค็มในน้ำจดื เนือ่ งจำกกำรสบู นำ้ ใต้ดนิ มำใช้มำกเกนิ ไป 30

สันติ ภัยหลบลี้ น้ำใตด้ นิ แบบฝึกหดั วตั ถุประสงคข์ องแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่ำนมีโอกำส 1) ทบทวนเน้ือหำ และ 2) ค้นควำ้ ควำมรู้เพิม่ เติม โดยผำ่ นกระบวนกำรสอ่ื สำรแบบถำม-ตอบ ระหว่ำงผูเ้ ขยี น- ผ้อู ่ำน เท่ำนัน้ โดยไม่มีเจตนำวเิ ครำะห์ขอ้ สอบเก่ำหรอื แนวข้อสอบแตอ่ ย่ำงใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้ำคำบรรยำยด้ำนขวำ และเติมในช่องว่ำงด้ำนซ้ำย ของแต่ละข้อทม่ี ีควำมสมั พันธก์ ัน 31

สันติ ภยั หลบลี้ น้ำใตด้ นิ 1. _____ ก. พ้ืนทจ่ี ่ำยนำ้ (discharge area) 2. _____ ข. ชัน้ หนิ กนั นำ้ (confining bed) 3. _____ ค. หลกั วนั 4. _____ ง. หลกั ปี 5. _____ จ. บอ่ นำ้ บำดำลมแี รงดนั (artesian well) 6. _____ ฉ. หลกั รอ้ ยปี 7. _____ ช. พนื้ ท่ีรบั นำ้ (recharge area) 8. _____ ซ. หลักพนั ปี 9. _____ ฌ. ระดบั นำ้ ใตด้ ิน (water table) 10. _____ ญ. ช้นั หนิ อุ้มนำ้ ไมม่ ีขอบเขต (unconfined aquifer) 2) แบบฝึกหัดถูก-ผิด คาอธิบาย : เติมเคร่ืองหมำย T หน้ำข้อควำมที่กล่ำวถูก หรือเติมเคร่ืองหมำย F หนำ้ ข้อควำมท่ีกลำ่ วผิด 1. _____ ธำรนำ้ แขง็ คือแหลง่ น้ำจดื ทใี่ หญ่ทีส่ ดุ บนโลก 2. _____ นำ้ ใต้ดนิ เกิดจำกน้ำฝนหรือหิมะท่ีละลำยบนพื้นผิวแล้วซึมผ่ำน ชน้ั ดนิ และหินลงไปใต้พื้นดนิ 3. _____ หนิ ทีม่ ีควำมพรนุ สงู โดยส่วนใหญ่มคี วำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำน ไดส้ ูงตำมไปด้วย 4. _____ หินที่มีควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้สูง โดยส่วนใหญ่มีควำม พรุนสูงตำมไปด้วย 32

สนั ติ ภัยหลบล้ี น้ำใต้ดนิ 5. _____ ระดบั น้าใตด้ ิน (water table) คอื ระดบั บนสุดชั้นหนิ อุม้ น้ำ 6. _____ หิ น ท รา ย (sandstone) ป ก ติ จ ะ มี ค ว ำม พ รุน สู งเม่ื อ เปรียบเทยี บกับหนิ ชนดิ อืน่ ๆ 7. _____ หินทราย (sandstone) ปกตจิ ะมีควำมสำมำรถในกำรซึมผำ่ น ไดไ้ ด้สูงเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั หนิ ชนดิ อืน่ ๆ 8. _____ หินดินดาน (shale) ปกติจะมีควำมพรุนสูงเม่ือเปรียบเทียบ กับหินชนิดอืน่ ๆ 9. _____ หินดินดาน (shale) ปกติจะมีควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ สงู เม่อื เปรียบเทียบกับหนิ ชนิดอนื่ ๆ 10. _____ นา้ ใตด้ นิ (groundwater) คือแหล่งทรพั ยำกรที่ใช้แลว้ ไมห่ มด ไป สำมำรถสรำ้ งมำทดแทนใหม่ได้ทันปริมำณกำรใช้ 11. _____ ชั้นหินอุ้มนา้ (aquifer) คือแหลง่ กักเกบ็ หลกั ของน้ำใตด้ นิ 12. _____ ชั้นหินอุ้มน้า (aquifer) ท่ีอยู่ระหว่ำง ชั้นหินขวางน้า (aquitard) จะไม่มนี ้ำใต้ดินอยู่ 13. _____ บ่อนา้ บาดาลมแี รงดัน (artesian well) ไมน่ ำ้ ตลอดท้ังปี 14. _____ โซนอ่ิมอากาศ (vadose zone) โดยส่วนใหญ่เป็น ชั้นหินอุ้ม นา้ (aquifer) ทด่ี ี 15. _____ แม่น้ำและทะเลสำบสำมำรถจำ่ ยน้ำลงไปเป็นน้ำใตด้ นิ ได้ 16. _____ ความดันชลศาสตร์ (hydraulic head) บำงครั้งสำมำรถดัน น้ำข้นึ ไปบนภเู ขำหรือท่ีสูงได้ 17. _____ กำรหยุดสูบน้ำข้ึนมำใช้ช่วยให้ ช้ันหินอุ้มน้า (aquifer) สำมำรถฟน้ื ฟใู หร้ ะดับนำ้ กลบั มำท่เี ดิมได้ 33

สันติ ภยั หลบลี้ น้ำใตด้ นิ 18. _____ น้าใต้ดินไม่สำมำรถปนเปอ้ื นจำกน้ำพ้นื ผวิ ได้ 19. _____ นำ้ ใต้ดินทีป่ นเปือ้ นฟืน้ ฟูใหด้ ขี ึ้นได้งำ่ ยกว่ำนำ้ พื้นผิว 20. _____ น้ำใตด้ ินไม่สำมำรถใชเ้ ป็นน้ำดม่ื ได้ทันที เน่อื งจำกมีสำรละลำย ของแรต่ ่ำงๆ จำนวนมำกปนอยู่ 3) แบบฝึกหัดปรนัย คาอธิบาย : ทำเคร่ืองหมำย X หน้ำคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว จำก ตัวเลอื กทกี่ ำหนดให้ 1. สัดส่วนของช่องวำ่ งในหินตอ่ มวลทงั้ หมดของหนิ เรยี กวำ่ อะไร ก. ควำมสำมำรถในกำรซมึ ผำ่ นได้ ข. แรงดึงดดู ค. ควำมหนดื ง. ควำมพรุน 2. ข้อใดคือขอบเขตระหว่ำง โซนอิ่มอากาศ (vadose zone) และ โซนอ่ิมน้า (phreatic zone) ก. ชนั้ หินอุม้ นำ้ (aquifer) ข. ระดับน้ำใตด้ นิ (water table) ค. ชน้ั หนิ ซับน้ำ (aquiclude) ง. กรวยนำ้ ลด (cone of depression) 3. นำ้ ซึ่งอยู่ภำยในโซนอิ่มน้ำ (phreatic zone) เรียกว่ำอะไร ก. ควำมชื้น (moisture) ข. นำ้ ใตด้ นิ (groundwater) ค. น้ำลึก (artesian water) ง. น้ำเค็ม (salt water) 4. หนิ ชนิดใดมคี ณุ สมบัติเปน็ ชน้ั หนิ อมุ้ นา้ (aquifer) ทีด่ ีที่สุด ก. หนิ แกรนติ (granite) ข. หินแกรบโบ (gabbro) ค. หนิ ทรำย (sandstone) ง. หินดินดำน (shale) 34

สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำใต้ดิน 5. ข้อใดคือผลกระทบจำกกำรสูบน้ำใต้ดินขึ้นมำใช้ในอัตรำท่ีมำกกว่ำอัตรำกำรเติม นำ้ (recharge) ในธรรมชำติ ก. ระดับน้ำใตด้ นิ ลดตำ่ ลง ข. บอ่ น้ำท่ีเจำะต้นื ๆ จะแห้ง ค. แมน่ ำ้ แหง้ ในชว่ งฝนตก ง. ถกู ทกุ ขอ้ 6. ข้อใดคือพ้นื ท่ีใกล้พื้นผิวซง่ึ ชอ่ งวำ่ งระหว่ำงหินทั้งหมดเตม็ ไปดว้ ยน้ำ ก. ระดบั น้ำใตด้ นิ (water table) ข. ระนำบชั้นหนิ (bed plane) ค. โซนอม่ิ น้ำ ง. โซนอิ่มอำกำศ (phreatic zone) (vadose zone) 7. ควำมสำมำรถของหินหรือตะกอนซ่งึ ของเหลวสำมำรถซึมผ่ำนไดเ้ รยี กว่ำอะไร ก. permeability ข. permittivity ค. porosity ง. ไม่มขี อ้ ใดถูก 8. ข้อใดคือ โซนอ่มิ น้า (phreatic zone) ก. ชน้ั หินอ้มุ นำ้ ข. ระดบั น้ำใต้ดิน ค. ช้ันใกล้พื้นผิวซ่ึงช่องว่ำงทั้งหมด ง. โซนอิ่มอำกำศ เต็มไปดว้ ยน้ำ 9. ขอ้ ใดคอื ชนั้ หนิ อุม้ น้า (aquifer) ก. หินซึง่ ประกอบด้วยนำ้ ข. หินซงึ่ ซับน้ำไว้ไม่ให้ไหลผ่ำนไป ค. หนิ ทีน่ ้ำสำมำรถซึมผ่ำนได้ง่ำย ง. หินหรือตะกอนท่ีน้ำสำมำรถ ซึมผ่ำนไดง้ ่ำย 10. หินชนดิ ใดมคี ุณสมบตั เิ ป็น ชัน้ หนิ อ้มุ นา้ (aquifer) ทดี่ ีที่สดุ ก. หินแกรนติ (granite) ข. หนิ ทรำยแปง้ (siltstone) ค. หินไนส์ (gneiss) ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู 35

สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ใตด้ นิ 11. หินชนิดใดที่มโี อกำสมคี วำมพรุน (porosity) สงู ที่สุด ก. หนิ ดินดำน (shale) ข. หินทรำยแป้ง (siltstone) ค. หินกรวดมน (conglomerate) ง. หนิ ทรำย (sandstone) 12. หนิ ชนิดใดท่ีมีควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ (permeability) สูงทสี่ ุด ก. หินแกรนติ (granite) ข. หินทรำยแปง้ (siltstone) ค. หนิ ทรำย (sandstone) ง. หนิ ดนิ ดำน (shale) 13. ข้อใดคือชนั้ บนสุดของ โซนอ่ิมน้า (saturated zone) ก. ระดบั น้ำใตด้ ิน (water table) ข. ชั้นหนิ ขวำงนำ้ (aquitard) ค. ชนั้ หนิ อมุ้ นำ้ (aquifer) ง. ไม่มขี ้อใดถกู 14. ข้อใดคอื ควำมเร็วของกำรไหลของน้ำใตด้ นิ (groundwater flow) ก. ควำมดันน้ำ ข. ควำมสำมำรถในกำรซมึ ผ่ำนได้ ค. ระดบั ควำมสูง ง. ถูกทกุ ข้อ 15. ขอ้ ใดกล่ำวถูกตอ้ งเกีย่ วกบั การไหลของนา้ ใตด้ ิน (groundwater flow) ก. จำกบริเวณ ท่ีมีควำมดันชล ข. จำกบริเวณที่มีควำมสำมำรถใน ศำสตร์ (hydraulic head) สูง กำรซึมผ่ำนได้ (permeability) ไปต่ำ สงู ไปต่ำ ค. จำกบริเวณท่ีมีระดับควำมสูง ง. ถูกทกุ ขอ้ (elevation) สูงไปต่ำ 16. หำกระดบั นำ้ ใตด้ ินสูงใกล้เคียงระดับพ้ืนผวิ จะทำใหเ้ กดิ อะไร ก. น้ำพุ (spring) ข. บอ่ น้ำ (well) ค. ถ้ำ (cave) ง. ช้ันหนิ อุ้มนำ้ (aquifer) 36

สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ใตด้ นิ 17. ข้อใดคือระดับน้ำใต้ดินท่ีลดลงโดยรอบบริเวณที่มีกำรสูบน้ำจำกบ่อน้ำบำดำล ข้นึ มำใช้มำกเกนิ ไป ก. artificial recharge ข. artesian well ค. cone of depression ง. vadose zone 18. นำ้ เค็มที่รุกลำ้ เข้ำมำใช้ชนั้ น้ำใตด้ นิ โดยส่วนใหญเ่ กิดจำกสำเหตุใด ก. ระดับน้ำข้ึน-น้ำลง (tide) ต่ำ ข. เกลือจำกกำรเกษตรกรรมท่ี อย่ำงผดิ ปกติ พ้นื ผวิ ซมึ ลงไปสู่นำ้ ใต้ดิน ค. ระดบั น้ำใตด้ นิ ใกล้ชำยฝ่ังลดลง ง. ถกู ทุกขอ้ 19. ข้อใดคอื แหล่งนำ้ ทใี หญ่ทสี่ ุด ก. ไอนำ้ ในชน้ั บรรยำกำศ ข. น้ำใต้ดิน ค. นำ้ แข็งข้ัวโลก ง. มหำสมทุ ร 20. หยาดน้าฟ้า (precipitation) ซ่ึงไหลซึมลงมำเป็นน้ำใต้ดินคิดเป็นกี่ เปอร์เซ็นตข์ องหยำดนำ้ ฟำ้ ท้งั หมด ก. 1-20% ข. 20-40% ค. 40-60% ง. ถูกทกุ ขอ้ 21. ขอ้ ใดกล่ำวถูกตอ้ งเกยี่ วกับ นา้ พรุ อ้ น (geyser) ก. มอี ุณหภมู สิ ูงเสมอ ข. พบไดท้ ว่ั ไปทั่วโลก ค. คือน้ำที่เกดิ จำกภเู ขำไฟ ง. เกิดจำกน้ำใต้ดินได้รับควำม รอ้ นจำกแหล่งควำมรอ้ นใต้โลก 22. สดั ส่วนของ นา้ ใตด้ ิน (groundwater) คิดเป็นก่เี ปอร์เซ็นตข์ องน้ำบนโลก ก. 33% ข. 25% ค. 10% ง. < 1% 37

สนั ติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดนิ 23. ถา้ (cave) เกิดขึ้นไดอ้ ยำ่ งไร ก. น้ำใต้ดินละลำยหินปูนและหิน ข. กำรสูบนำ้ ออกจำกชัน้ หินอมุ้ นำ้ โดโลไมตใ์ ต้ดนิ ค. นำ้ เคลือ่ นท่ีผ่ำนช้นั หินอ้มุ น้ำ ง. แมกมำไหลออกจำกกระเปำะ 24. หินชนดิ ใดท่ีโดยปกติจะมคี วำมพรุน (porosity) มำกที่สุด ก. หนิ ดนิ ดำน (shale) ข. หินกรวดมน (conglomerate) ค. หนิ ทรำยแป้ง (siltstone) ง. หินทรำย (sandstone) 25. ข้อใดคือกระบวนกำรเกดิ ถำ้ (cave) ก. นำ้ ใต้ดนิ กดั เซำะหนิ ปนู ใต้ดิน ข. กำรท่ีน้ำไหลออกไปจำกชั้นหิน อมุ้ นำ้ ค. รอยแตกของช้ันหินเน่ืองจำก ง. กำรไหลออกของแมกมำภำยใน กระบวนกำรธรณแี ปรสัณฐำน กระเปำะของแมกมำระหว่ำง กำรปะทุของภเู ขำไฟ 26. หนิ ชนดิ ใดมีสมบัติเปน็ ชนั้ หนิ ขวางน้า (aquitard) ก. หนิ ทรำย ข. หนิ ดินดำน ค. หนิ ชนวน ง. หินแกรนติ ผุ 27. กำรที่เทือกเขำสูงแต่มีน้ำไหลออกมำจำกเทือกเขำดังกล่ำว เนื่องจำกภำยใน ภูเขำนั้นมีคณุ สมบัตเิ กีย่ วกบั ช้นั น้ำใตด้ นิ อย่ำงไร ก. ชั้นหนิ อุ้มนำ้ ลอย ข. ชั้ น หิ น อุ้ ม น้ ำ มี ข อ บ เข ต (perched aquifer) (confined aquifer) ค. ช้ั น หิ น อุ้ ม น้ ำ ไม่ มี ข อ บ เข ต ง. ชนั้ หนิ ขวำงน้ำ (aquitard) (unconfined aquifer) 38

สนั ติ ภยั หลบลี้ นำ้ ใตด้ ิน 28. ชนั้ นำ้ แบบใดมีแรงดนั มำกทสี่ ดุ และมีโอกำสกอ่ ใหเ้ กิดน้ำพุ (spring) ได้ ก. ช้ันหินอมุ้ นำ้ ลอย ข. ชน้ั หนิ อุ้มนำ้ มีขอบเขต (perched aquifer) (confined aquifer) ค. ช้นั หินอุ้มน้ำไม่มีขอบเขต ง. ชน้ั หนิ ขวำงน้ำ (unconfined aquifer) (aquitard) 29. ขอ้ ใดคือแหล่งน้ำที่สำคญั และใหญท่ ี่สดุ ในโลก ก. ไอน้ำในชน้ั บรรยำกำศ ข. น้ำพื้นผิว ค. น้ำใตด้ ิน ง. มหำสมุทร 30. ขอ้ ใดคอื ระดบั สงู ที่สุดของ โซนอิม่ น้า (phreatic zone) ก. ระดับนำ้ ใต้ดิน (water table) . ข. ชัน้ หนิ อมุ้ น้ำ (aquifer) ค. ควำมดนั ชลศำสตร์ ง. ช้นั หินขวำงนำ้ (aquitard) (hydraulic head) 31. หินชนดิ ใดทมี่ ี ความพรนุ (porosity) สงู ท่ีสุด ก. หนิ ดนิ ดำน (shale) ข. หนิ กรวดมน (conglomerate) ค. หนิ ทรำยแป้ง (siltstone) ง. หนิ ทรำย (sandstone) 32. หินชนิดใดทมี่ ี ความสามารถในการซึมผา่ นได้ (permeability) สงู ที่สดุ ก. หนิ แกรนิต (granite) ข. หินทรำย (sandstone) ค. หินทรำยแป้ง (siltstone) ง. หนิ ดินดำน (shale) 33. ข้อใดคอื ตัวควบคมุ ควำมเร็วของกำรไหลของนำ้ ใตด้ ิน ก. ควำมดันน้ำ ข. ควำมชนั ของชั้นน้ำ ค. ควำมสำมำรถในกำรซมึ ผ่ำนได้ ง. ถกู ทุกข้อ 39

สนั ติ ภยั หลบล้ี น้ำใตด้ นิ 34. ขอ้ ใดกล่ำวถูกต้องเก่ยี วกบั กำรไหลของน้ำใตด้ ิน ก. ไหลลงจำกเขำเสมอ ข. ไหลจำกพ้ืนที่ซ่ึงมีระดับสูงไป ระดบั ต่ำ ค. ไหลจำกพ้ืนท่ีซ่ึงมีควำมสำมำรถ ง. ไหล จำกพื้ น ท่ี ควำมดั น ชล ในกำรซึมผ่ำนได้สูงไปตำ่ ศำสตรส์ ูงไปต่ำ 35. รอยต่อระหว่ำง โซน อ่ิมน้า (saturated zone) และ โซนไม่อ่ิมน้ า (unsaturated zone) เรยี กว่ำอะไร ก. ระดับนำ้ ใตด้ ิน (water table) ข. ช้นั หนิ ซบั นำ้ (aquiclude) ค. ชนั้ หนิ อมุ้ น้ำ (aquifer) ง. ควำมพรนุ (porosity) 36. การซมึ ผ่าน (infiltration) ของนำ้ พ้ืนผวิ ลงไปยังใตด้ ิน เรียกว่ำอะไร ก. ไหลเขำ้ มำ (influent) ข. ไหลออกไป (effluent) ค. จำ่ ยน้ำ (discharge) ง. รับน้ำ (recharge) 37. ข้อใดคือชน้ั ทนี่ ำ้ ใต้ดินไม่สำมำรถซมึ ผำ่ นได้ ก. บ่อนำ้ บำดำลมีแรงดัน (artesian well) ข. ชั้นหินอมุ้ นำ้ (aquifer) ค. ช้นั หนิ ซบั นำ้ (aquiclude) ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู 38. กำรสูบน้ำขึ้นมำใช้ในปริมำณที่เกินกว่ำท่ีได้รับจำกพ้ืนที่รับน้ำ ส่งผลอะไรงต่อ ระบบนำ้ ใตด้ ิน ก. ระดบั นำ้ ใต้ดนิ ลดลง ข. เกิดกรวยน้ำลด ค. บอ่ น้ำบำดำลแห้งลง ง. ถูกทกุ ข้อ 39. ขอ้ ใดคอื กรดท่ีพบมำกทสี่ ุดในธรรมชำติ ก. กรดไนตรกิ (nitric) ข. กรดคำรบ์ อนิก (carbonic) ค. กรดไฮโดรคลอรกิ (hydrochloric) ง. กรดซติ ริก (citric) 40

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดนิ 40. ในประเทศไทย นำ้ ใต้ดนิ ทล่ี ดลงมีสำเหตุสำคัญมำจำกอะไร ก. อตุ สำหกรรม ข. เกษตรกรรม ค. นำ้ ด่ืม ง. ถูกทุกข้อ 41. หนิ ชนดิ ใดที่ทำใหเ้ กดิ ถ้ำได้งำ่ ยทส่ี ดุ ก. หินแกรนติ (granite) ข. หินดนิ ดำน (shale) ค. หนิ ปูน (limestone) ง. หนิ ทรำย (sandstone) 42. หินงอก (stalactite) และ หินย้อย (stalagmite) ในถ้ำมีองค์ประกอบเป็น แร่ชนิดใด ก. แรค่ วอตซ์ (quartz) ข. แรฮ่ ีมำไทต์ (hematite) ค. แร่เฮไลด์ (halide) ง. แรแ่ คลไซต์ (calcite) 43. นำ้ กระด้ำง (hard water) คือนำ้ ทมี่ อี งคป์ ระกอบของอะไรปะปนอยู่ในนำ้ ก. ตะกว่ั (lead) ข. โซเดยี ม (sodium) ค. แคลเซยี ม (calcium) ง. ซลิ ิกอน (silicon) 44. ข้อใดมีควำมพรุน (porosity) ตำ่ ทส่ี ุด ก. หนิ ดินดำน (shale) ข. กรวด (gravel) ค. หินแกรนิต (granite) ง. หินทรำย (sandstone) 45. โซนอิ่มน้า (saturated zone) และ โซนไม่อิ่มน้า (unsaturated zone) มีควำมแตกตำ่ งกนั อย่ำงไร ก. โซนอ่ิมน้ำมีควำมพรุนสูงกว่ำ ข. โซนอ่ิมน้ำมีควำมพรุนต่ำกว่ำ โซนไม่อ่ิมน้ำ โซนไมอ่ ิ่มน้ำ ค. รูพรุนในโซนอิ่มน้ำมีน้ำอยู่เต็ม ง. รูพรุนในโซนอิ่มน้ำมีน้ำบำงส่วน แต่โซนไม่อ่มิ นำ้ มนี ้ำบำงสว่ น แตโ่ ซนไม่อมิ่ น้ำมนี ้ำอยูเ่ ตม็ 41

สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำใตด้ ิน 46. ขอ้ ใดกลำ่ วถูกตอ้ งเก่ยี วกับ ธารนา้ ใหน้ า้ (influent stream) ก. พบไดโ้ ดยทั่วไปในพนื้ ทีแ่ ห้งแล้ง ข. พบไดโ้ ดยท่วั ไปในพ้ืนที่ช่มุ ชนื้ ค. พบเฉพำะในพ้นื ท่หี นำวเย็น ง. พบในบรเิ วณหลมุ ยบุ 47. หนิ ชนดิ ใดท่เี กิดถ้ำได้ง่ำยทสี่ ดุ ก. หินแกรนติ (granite) ข. หนิ ดินดำน (shale) ค. หนิ ปูน (limestone) ง. หนิ ทรำย (sandstone) 48. หลุมยุบ (sinkhole) คืออกี รูปแบบหนงึ่ ของธรณีภัยพิบัติ ซ่ึงโดยสว่ นใหญ่เกิด ในบริเวณทีม่ ีหินชนิดใด ก. หนิ แกรนติ (granite) ข. หนิ ทรำย (sandstone) ค. หินดนิ ดำน (shale) ง. หินปนู (limestone) 49. ขอ้ ใดคอื แหลง่ นำ้ จดื ท่ใี หญ่ทส่ี ดุ ก. บรรยำกำศ (atmosphere) ข. ชีวภำค (biosphere) ค. นำ้ ใตด้ ิน (groundwater) ง. แมน่ ำ้ (river) 50. นักวิทยำศำสตร์ประเมินว่ำน้ำที่ถูกกักเก็บในช้ันหินอุ้มน้ำใต้ดินมีประมำณ เทำ่ ใดของน้ำท้งั หมดท่มี ีอยู่ในโลก ก. < 1% ข. 5% ค. 10% ง. 20% 51. สัดสว่ นของปริมำตรโดยรวมของหินตอ่ ชอ่ งว่ำงท่อี ยูภ่ ำยในหนิ เรียกวำ่ อะไร ก. ควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ ข. พืน้ ที่รับน้ำ (recharge area) (permeability) ค. ชน้ั หนิ อมุ้ นำ้ (aquifer) ง. ควำมพรนุ (porosity) 42

สนั ติ ภัยหลบล้ี น้ำใตด้ นิ 52. แหล่งน้ำใต้ดนิ ทีด่ ีควรมคี ณุ สมบตั ิอยำ่ งไร ก. ควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ ข. ควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ ตำ่ และควำมพรนุ ตำ่ สูงและควำมพรนุ ตำ่ ค. ควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ ง. ควำมสำมำรถในกำรซึมผ่ำนได้ ตำ่ และควำมพรุนสงู สูงและควำมพรุนสูง 53. ควำมสำมำรถของวสั ดุทอี่ นญุ ำตให้นำ้ ไหลผ่ำนไปไดเ้ รยี กวำ่ อะไร ก. porosity ข. chemical cement ค. aquifer ง. permeability 54. กำรลดระดบั นำ้ ใต้ดินไปถึงฐำนล่ำงของบ่อนำ้ บำดำลเนื่องจำกกำรสูบน้ำข้ึนมำ ใชม้ ำกเกนิ ไปเรียกว่ำอะไร ก. บ่อน้ำบำดำลมีแรงดนั ข. กรวยนำ้ ลด (artesian well) (cone of depression) ค. ชัน้ หนิ ซับน้ำ (aquiclude) ง. ตะกอนหนิ ปนู (speleothem) 55. ระดบั นำ้ ใตด้ นิ ท้องถ่ินทส่ี ูงกวำ่ ระดบั น้ำใตด้ นิ โดยรวมในภูมภิ ำคเรยี กว่ำอะไร ก. stranded ข. perched ค. depressed ง. displaced 56. ข้อใดคือหลักฐำนท่ีบ่งช้ีว่ำพื้นท่ี น้ันมีภูมิประเทศแบบคำร์สต์ (karst topography) ก. หลุมยุบ (sinkhole) ข. ตะกอนหนิ ปูน (speleothem) ค. บอ่ น้ำบำดำลมแี รงดนั ง. กรวยน้ำลด (artesian well) (cone of depression) 43

สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ใตด้ ิน 57. ขอ้ ใดกล่ำวถูกต้องเกย่ี วกบั บอ่ น้าบาดาลมีแรงดนั (artesian well) ก. บ่อน้ำท่ีมีน้ำใช้ได้โดยไม่ต้องสูบ ข. บ่อน้ำที่มีน้ำใช้ได้โดยต้องสูบ ขึ้นมำ ขน้ึ มำ ค. พฒั นำได้ในชนั้ หนิ ขวำงน้ำ ง. บอ่ น้ำท่ีมีกำรพัฒนำกรวยน้ำลด เมอื่ มกี ำรสบู นำ้ ขึน้ มำใช้ 58. ข้อใดคือปรมิ ำณไอน้ำในอำกำศท่ีระดับอณุ หภมู ใิ ดๆ ก. จดุ นำ้ ค้ำง (dew point) ข. อัตรำหยำดนำ้ ฟำ้ (precipitation rate) ค. อัตรำกำรระเหย ง. ควำมชน้ื สัมพัทธ์ (evaporation rate) (relative humidity) 59. พน้ื ทใ่ี ดเสย่ี งต่อกำรปนเปือ้ นของน้ำใตด้ นิ ก. บอ่ ขยะ ข. พนื้ ท่ีเกษตรกรรม ค. สถำนจี ำ่ ยน้ำมัน ง. ถกู ทุกข้อ 60. ขอ้ ใดแสดงควำมสัมพนั ธข์ องวฏั จกั รอุทกวิทยำ (hydrological cycle) ถกู ต้อง ก. หยำดน้ำฟ้ำ = กำรระเหย - ข. หยำดน้ำฟ้ำ = น้ำท่ำ - กำร นำ้ ท่ำ ระเหย ค. หยำดน้ำฟ้ำ = กำรระเหย + ง. หยำดน้ำฟ้ำ = กำรระเหย x นำ้ ท่ำ นำ้ ท่ำ 61. หนิ ชนดิ ใดทมี่ ี ความสามารถในการซึมผ่านได้ (permeability) สูงที่สดุ ก. หนิ ดินดำนทไ่ี ม่มีรอยแตก ข. หินทรำยทม่ี ีกำรเช่ือมประสำน ค. หนิ ทรำยไมม่ กี ำรเชอื่ มประสำน ง. ถกู ทุกขอ้ 44

สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ใต้ดนิ 62. ข้อใดกล่ำวผดิ เกย่ี วกับ ระดบั น้าใตด้ นิ (water table) ก. เปลี่ยนแปลงได้หำกพื้นท่ีจ่ำยน้ำ ข. ใ น ท ะ เล ส ำ บ จ ะ สู ง ก ว่ ำ ไม่สมดุลกับพนื้ ท่รี ับน้ำ พืน้ ผวิ โลก ค. โดยปกติระดบั จะรำบเรียบ ง. ลดลงในบริเวณท่ีมีกำรสูบน้ำ ขึน้ มำใช้ 63. โซนอม่ิ นำ้ (saturated zone) คอื อะไร ก. ช้ันหนิ อุ้มน้ำ (aquifer) ข. บริเวณใกล้พื้นผิวซ่ึงรูพรุนเต็ม ไปดว้ ยนำ้ ค. ระดับนำ้ ใต้ดิน (water table) . ง. เหมอื นกบั โซนอิ่มอำกำศ (vadose zone) 64. ชนั้ หนิ อุม้ น้า (aquifer) คอื อะไร ก. ช้นั หนิ ซึ่งประกอบดว้ ยน้ำ ข. ชนั้ หินขดั ขวำงกำรไหลของนำ้ ค. ช้ันหินท่ีมีควำมสำมำรถในกำร ง. หินหรือตะกอนซ่ึงน้ำสำมำรถ ซมึ ผ่ำนได้ เคล่ือนผำ่ นได้งำ่ ย 65. หนิ ชนดิ ใดทมี่ ีโอกำสเป็นชัน้ หินอุม้ น้ำ (aquifer) ทด่ี ี ก. หินไนส์ (gneiss) ข. หินแกรนติ (granite) ค. หนิ ทรำยแปง้ (siltstone) ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก 66. ถ้า (cave) โดยส่วนใหญเ่ กิดจำกกระบวนกำรใด ก. น้ำใต้ดินละลำยหินปูนและหิน ข. ช้ันหนิ อุ้มน้ำถกู สูบนำ้ ไปใช้ โดโลไมต์ ค. น้ำเคลื่อนที่ผ่ำนช้ันหินอุ้มน้ำ ง. กำรปะทุออกไปของแมกมำใน และละลำยช้ันหิน กระเปำะแมกมำ 45

สนั ติ ภยั หลบลี้ นำ้ ใต้ดนิ 67. ขอ้ ใดกล่ำวถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั ธารนา้ รบั นา้ (effluent stream) ก. น้ำไหลออกจำกธำรน้ำไปยัง ข. น้ำไหลออกจำกธำรน้ำไปยังโซน โซนอม่ิ น้ำ อ่ิมอำกำศ ค. น้ำไหลออกจำกโซนอิ่มน้ำไปยัง ง. น้ำไหลออกจำกโซนอ่ิมอำกำศ ธำรน้ำ ไปยงั ธำรน้ำ 68. ข้อใดกลำ่ วถกู ต้องเก่ียวกับ นา้ พุร้อน (hot spring) ก. เกิดจำกน้ำใต้ดินได้รับควำม ข. น้ำใต้ดินระดับลึกท่ีมีแรงดัน รอ้ นจำกแหล่งควำมร้อนใตด้ นิ เนือ่ งจำกกำรเอยี งเทของหนิ ค. ภูเขำไฟของน้ำ ง. ไม่มีข้อใดถูก 69. ข้อใดคอื กระบวนกำรทำใหน้ ้ำเขำ้ ไปอยตู่ ำมรูปพรนุ ของชัน้ หินได้ ก. transpiration ข. inflitration ค. precipation ง. sublimation 70. ขอ้ ใดกลำ่ วถูกตอ้ ง ก. อำกำศเย็นยึดไอน้ำได้ดีกว่ำ ข. อำกำศอบอุ่นยึดไอน้ำได้ดีกว่ำ อำกำศอบอนุ่ อำกำศเย็น ค. อำกำศเย็นและอำกำศอบอุ่นยึด ง. อำกำศไมส่ ำมำรถยึดไอน้ำได้ ไอน้ำได้ใกล้เคยี งกนั 46

สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ใต้ดนิ เฉลยแบบฝกึ หัด 1) แบบฝกึ หดั จบั คู่ 3. ฌ 4. ญ 5. ฎ 1. ก 2. ช 8. ง 9. ฉ 10. ซ 6. ข 7. ค 11. จ 3. F 4. T 5. F 8. T 9. F 10. F 2) แบบฝกึ หัดถกู -ผิด 13. F 14. F 15. T 18. F 19. F 20. F 1. F 2. T 3. ข 4. ค 5. ง 6. T 7. T 8. ค 9. ง 10. ง 13. ก 14. ง 15. ก 11. T 12. F 18. ค 19. ง 20. ข 23. ก 24. ง 25. ก 16. T 17. T 28. ข 29. ข 30. ก 33. ง 34. ง 35. ก 3) แบบฝึกหัดปรนยั 47 1. ง 2. ข 6. ข 7. ก 11. ก 12. ค 16. ก 17. ค 21. ง 22. ง 26. ข 27. ก 31. ก 32. ข

สันติ ภยั หลบล้ี น้ำใตด้ นิ 36. ง 37. ข 38. ง 39. ข 40. ง 41. ค 42. ง 43. ค 44. ค 45. ค 46. ก 47. ค 48. ง 49. ค 50. ง 51. ง 52. ง 53. ง 54. ข 55. ข 56. ก 57. ง 58. ง 59. ง 60. ค 61. ค 62. ค 63. ข 64. ง 65. ง 66. ก 67. ค 68. ก 69. ข 70. ข 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook