Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่

คู่มือศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่

Published by Aj.pan Rattanaumporn, 2022-06-07 08:16:22

Description: คู่มือการปฏิบัติงานศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคเขตพื้นที่ เป็นไปตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง การจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ลงวันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องร่วมประชุมหารือจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานศูนย์
อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ขึ้นเพื่อให้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ สถานศึกษา และสถานประกอบการ นำไปใช้
เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตาม
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเขตพื้นที่ต่อไป

Search

Read the Text Version

คำนำ การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษารูปแบบหนึ่งตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 ซึ่งมุ่งเน้นให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังคนให้มีคุณภาพตรงตามความต้องการของ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานภาครัฐ ในการขับเคลื่อนประเทศ เป็นรูปแบบของการจัดการศึกษาท่ี สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานทั้งกระบวนการอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้สอนทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมถึงการบูรณาการ ทรัพยากรเพื่อการศึกษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ พัฒนากำลังคนรองรับความต้องการ ในการพัฒนาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงประกาศจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ จำนวน 15 แห่ง ในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการแรงงานประเทศ การจัดตั้งศูนย์ อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนที่ เปน็ การสร้างความเข้มแขง็ ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีคุณภาพ ไดม้ าตรฐาน เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ ในทุกพืน้ ที่ของประเทศ โดยศูนยอ์ าชวี ศึกษา ทวิภาคีเขตพื้นที่จะมีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการจัดการอาชวี ศึกษาระบบ ทวิภาคีให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน จัดระบบฐานข้อมูลรองรับการดำเนินงานทั้งระบบ อาทิ เช่น ความต้องการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าฝึกงานและฝึกอาชีพของสถานประกอบการ จัดระบบการบริหารจัดการ ภายในศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ทใ่ี นการชว่ ยเหลอื สนับสนนุ ให้คำปรึกษา แก้ไขปญั หา และอำนวยความสะดวก ในทุก ๆ ดา้ นใหก้ บั สถานศกึ ษาในเขตพื้นทค่ี วามรับผิดชอบ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี สำนักความร่วมมือ ดำเนินการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี เขตพืน้ ที่ เป็นไปตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรอื่ ง การจดั ตงั้ ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพ้ืนที่ ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องร่วมประชุมหารือจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานศูนย์ อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพืน้ ที่ข้ึนเพื่อให้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ที่ สถานศึกษา และสถานประกอบการ นำไปใช้ เปน็ คู่มือในการปฏบิ ัติงานเพ่ือให้ผ้มู สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย และผเู้ ก่ยี วข้อง สามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตาม วตั ถุประสงค์ของการจัดต้ังศูนย์อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีเขตพน้ื ทีต่ อ่ ไป ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี สำนักความร่วมมือ คมู่ อื ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ที่ หนา้ ก

สารบัญ เรือ่ ง หน้า คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….. ก สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข บทนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1 1. ความเปน็ มาและหลกั การจดั ตัง้ ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ้ืนที่………………………………………………… 1 2. ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และแผนพฒั นาการอาชีวศึกษา…………………………………….. 2 3. นิยามศพั ท…์ …………………………………………………………………………………………………………………………. 5 4. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เร่อื ง การจัดตง้ั ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพืน้ ที่… 6 5. ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสถานศกึ ษาและสถานประกอบการกบั ศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคีเขตพ้นื ที่………. 11 6. วัตถปุ ระสงค์การจดั ตัง้ ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพ้นื ที่…………………………………………………………….. 12 โครงสร้างและหนา้ ท่ีของศูนย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนที่……………………………………………………………………. 12 1. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคีเขตพ้ืนท่ี ………………………………………………….…….. 12 2. หนา้ ท่กี ารบริหารงานในศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพืน้ ที่…………………………………………………………… 13 3. อำนาจหน้าท่คี ณะกรรมการศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนที่…………………………………………………….. 15 4. เปา้ หมายของการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รยี นอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี…………………….…….. 16 หลกั เกณฑ์การปฏบิ ตั งิ าน…………………………………………………………………………………………………………………. 17 1. หลักเกณฑ์การปฏิบตั งิ านของศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพื้นที่…………………………………………………… 17 2. วธิ กี ารดำเนนิ การของฝ่ายตา่ ง ๆ และผ้มู ีสว่ นเกยี่ วข้องกับหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ…………………..……… 21 3. ขอบเขตการดำเนนิ งาน………………………………………………………………………………………………………….. 22 4. เคร่ืองมือการดำเนินงานของศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพืน้ ท่ี……………………………………………………… 23 บรรณานกุ รม…………………………………………………………………………………………………………………………………… 24 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 25 ค่มู ือศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ท่ี หน้า ข

บทนำ 1. ความเปน็ มาและหลกั การจดั ตั้งศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพ้นื ที่ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 8 กำหนดการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม วิชาชีพจัดได้ 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาระบบทวิภาคี ทั้งนี้สถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยการศึกษาระบบ ทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังคนให้มีคุณภาพตรงตามความต้องการทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการขับเคลื่อนประเทศ สามารถพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะเท่าทันเทคโนโลยีปัจจุบันและเชื่อมโยงองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และเจตคตติ ามมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละระดบั การศึกษา สง่ ผลใหผ้ สู้ ำเรจ็ การศึกษาแต่ละระดับ มีคุณภาพตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีจึงเป็นการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งมีมาตรการสร้าง แรงจูงใจให้สถานประกอบการที่มีศักยภาพเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน อย่างใกล้ชิดระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ เกิดความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างเป็นระบบ ตง้ั แต่การพัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรยี นการสอน การพฒั นาผสู้ อนทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมถึงการสรา้ งแรงจูงใจใหผ้ ้เู รยี นเขา้ มาเรียนในระบบทวภิ าคี เพื่อพฒั นากำลังคนให้มีทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ตอบโจทย์ความต้องการกำลังคนของผูป้ ระกอบการทุกภาคส่วนรองรับการพัฒนาประเทศ โดยการจัดการอาชวี ศึกษา ทวิภาคีซึ่งเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่องมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563 ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคีคณุ ภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการแรงงานของประเทศ เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการกำลังคนในเขตพื้นที่ โดยศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่แต่ละแห่ง มีหน้าที่และ ความรบั ผิดชอบในการสง่ เสริม สนบั สนนุ สร้างความเข้าใจเกย่ี วกบั กระบวนการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีให้กับ สถานประกอบการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สำรวจข้อมูลความต้องการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าฝึกงาน และฝึกอาชีพ ของสถานประกอบการในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อเผยแพร่ให้กับสถานศึกษาในเครือข่าย จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงาน และจัดรูปแบบการบริหารงานภายในศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี นิเทศการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย และระเบียบที่เกีย่ วข้อง จัดเตรียมความพร้อม ส่งเสริมและจัดกิจกรรมก่อน ระหว่าง และหลังฝึกงานและฝึกอาชีพของนักเรียน นักศึกษาต่างเขตพื้นที่รับผิดชอบ จัดทำแนวทางการทำงาน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลอื แก้ไขปัญหา และอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียนที่มาฝึกงาน และฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการในเขตพืน้ ท่ี รบั ผิดชอบ สร้างความตระหนัก และความเข้าใจ เกี่ยวกับความปลอดภยั ในการฝึกงาน และฝกึ อาชีพทั้งในสถานศึกษา และในสถานประกอบการ ตลอดจนปฏบิ ัติหน้าท่อี นื่ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย คมู่ อื ศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพ้ืนที่ หน้า 1

2. ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการอาชีวศกึ ษา 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ“ประชารัฐ” โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยยุทธศาสตร์ที่มีเกี่ยวข้องกับ เร่ืองการศึกษาและการพฒั นาผู้เรยี นได้แก่ ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมี เน้ือหาดงั น้ี ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมาย การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่ขับเคลื่อนโดยภูมิปัญญาและนวัตกรรมในอีก ๒๐ ปีข้างหน้า ดังนั้น จึงจำเป็นต้อง มีการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ โดยจำเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคน ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนษุ ย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปข้างหนา้ ได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและ มีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษา ศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็น คนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัด ของตนเอง” ดังนั้น เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยสามารถได้รับการพัฒนาและยกระดับ ได้เต็มศักยภาพและเหมาะสม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์จึงได้กำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่เน้นทั้งการแก้ไขปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน การเสริมสร้างและยกระดับ การพัฒนาที่ให้ความสำคัญ ที่ครอบคลุมทั้งในส่วนของการพัฒนาทุนมนุษย์ และปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างครอบคลุม ประกอบด้วยการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปที่สำคัญทั้งในส่วนของการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม เพื่อให้คนมีความดีอยู่ใน ‘วิถี’ การดำเนินชีวิตและมีจิตสำนึกร่วมในการสร้างสังคมทีน่ ่าอยู่ และมีการปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลกิ โฉม ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถกำกับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเอง ได้อย่างต่อเนื่อง แม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถึงความตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ตลอดจนพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษของพหุปัญญาแต่ละประเภท และการปฏิรูประบบเสริมสร้าง ความรอบรู้และจติ สำนึกทางสุขภาพ เพอื่ ใหค้ นไทยมีศักยภาพในการจดั การสุขภาวะที่ดไี ดด้ ้วยตนเอง พร้อมกบั การสร้าง สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ท้งั การเสริมสร้างครอบครัวที่เข้มแข็งอบอุ่น ซึ่งเป็นการวางรากฐานการส่งต่อเด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วงอายุถัดไป โดยการส่งเสริมการเกิดที่มี คูม่ ือศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี หน้า 2

คณุ ภาพ การสร้างครอบครัว ที่เหมาะสมกับคนรุ่นใหม่ การสง่ เสริมบทบาทในการมสี ว่ นร่วมพัฒนาคน การพัฒนาระบบ ฐานขอ้ มูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทมี่ ีความเช่ือมโยงและบูรณาการข้อมูลด้านการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ระหว่าง กระทรวง/หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และการเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ในการใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่างครบวงจร และมคี ณุ ภาพมาตรฐาน รวมถงึ การพฒั นาทกั ษะดา้ นกฬี าสูค่ วามเปน็ เลิศและกีฬาเพื่อการอาชพี 2.2 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลัก ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติบรรลุเป้าหมายตามจุดมุ่งหมาย วิสัยทัศน์ และ แนวคดิ การจดั การศกึ ษา โดยมียทุ ธศาสตร์และความเชือ่ มโยงกับการศึกษาอาชีวศกึ ษาซึ่งได้บญั ญตั ิไว้ดังน้ี 2.2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยมเี ป้าหมายคือ 1) กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น มีฐานข้อมูล ความต้องการกำลังคน ( Demand) จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรมอย่างครบถ้วน สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา และ สัดส่วนผู้เรียนวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสังคมศาสตร์ กำลังแรงงาน ในสาขาอาชีพต่าง ๆ ท่ีไดร้ บั การยกระดบั คณุ วฒุ วิ ชิ าชีพเพ่มิ ขน้ึ เป็นตน้ 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบณั ฑิตที่มีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะด้าน มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น สัดส่วนการผลิตกำลังคนระดับกลางและระดับสูง จำแนกตามระดับ/ประเภท การศึกษา ในสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น ร้อยละ ของสถาบันการศึกษาจัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงานตามมาตรฐานที่กำหนด เพ่ิมขน้ึ จำนวนหลักสูตร ของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาทววิ ฒุ ิ (Dual Degree) เพิม่ ขน้ึ จำนวนสถาบนั อาชีวศึกษาและ อุดมศึกษาที่จัดหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษเพิ่มขึ้น และมีภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชพี และหนว่ ยงานท่ีจัดการศึกษาเพ่ิมขนึ้ เป็นต้น 2.2.2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมายดังน้ี 1) สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น ศูนย์เด็กเล็ก/สถานศึกษาระดับก่อน ประถมศึกษาที่จัดกิจกรรม การเรียนรู้ไดค้ ุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึ้น สถานศึกษา/สถานพัฒนา เด็กปฐมวัยจัดกิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกับหลักสูตร ปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เชื่อมโยงกับ มาตรฐานคุณภาพเด็กปฐมวัยของอาเซียนเพิ่มขึ้น สถานศึกษาในระดั บ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ เพิ่มขึ้น และสถาบันการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่ มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้มสี มรรถนะทีส่ อดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ เพ่มิ ขึ้น เปน็ ตน้ 2.3 แผนพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ.2560-2579 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ คู่มือศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพนื้ ที่ หนา้ 3

พ.ศ.2560 - 2579 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) เพื่อให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและขับเคลื่อนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาของประเทศ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและทิศทางของการพัฒนากําลังคนตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยกำหนดยุทธศาสตร์การอาชีวศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี้ 2.3.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มเี ปา้ หมายดงั นี้ 1) ผู้เรียนอาชีวศึกษามีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 2) ผู้เรียนอาชวี ศกึ ษามีความรู้และได้รับการดูแลป้องกันภยั คุกคามในชวี ิตรูปแบบใหม่ 3) ผู้เรียนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษและเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ได้รบั การศึกษาและเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ 2.3.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลติ และพัฒนากาํ ลังคนด้านการอาชวี ศึกษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศ มีเป้าหมายดังนี้ 1) กําลังคนอาชีวศึกษามีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศ 2) การผลติ และพฒั นากาํ ลังคนด้านการอาชวี ศกึ ษาทม่ี ีความเช่ยี วชาญและเปน็ เลิศเฉพาะทาง 3) การวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้ด้านอาชีวศึกษา เพื่อเพ่ิม ผลผลิตและมลู ค่าทางเศรษฐกิจประเทศ 2.3.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพกําลงั คนด้านการอาชีวศึกษาให้มสี มรรถนะสอดคล้อง กับความตอ้ งการในการพัฒนาประเทศ มเี ป้าหมายดังน้ี 1) กําลังคนด้านการอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะ ทัว่ ไปและสมรรถนะวชิ าชพี สอดคล้องกบั ความต้องการในการพฒั นาประเทศ สู่ประเทศไทย 4.0 2) ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาอาชวี ศึกษามีศักยภาพในการพัฒนากําลังคนด้านอาชวี ศึกษา 3) หลักสูตรอาชีวศึกษามีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างหลากหลายตามความต้องการในการพัฒนา ประเทศ 4) การพัฒนาความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพื่อเพิ่มศักยภาพกําลังคนด้านอาชีวศึกษา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการ ในการพฒั นาประเทศ 2.3.4 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทยี มในดา้ นการอาชีวศึกษา มีเป้าหมายดังน้ี 1) เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ให้ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ และ ทุกระดับการศึกษาไดร้ บั บรกิ ารทางการศึกษาด้านอาชวี ศึกษาอย่างมีคุณภาพ 2) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลของผู้เรียนอาชีวศึกษาที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผน การบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา การติดตามและประเมินผล คูม่ ือศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพนื้ ที่ หนา้ 4

มีเปา้ หมายดงั นี้ 2.3.5 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กบั สิ่งแวดล้อม 1) ผู้เรียนอาชีวศึกษามีจิตสํานึก ทัศนคติ ค่านิยมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 2) ผู้เรียนอาชวี ศกึ ษาสามารดำรงชวี ิตอย่างมีความสขุ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเป็นมิตร 2.3.6 ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบรหิ ารจดั การอาชวี ศกึ ษา มเี ป้าหมายดังนี้ 1) ระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่ีมีประสิทธภิ าพภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล 2) นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การอาชีวศกึ ษาทสี่ อดคล้องรองรบั กบั การพัฒนาประเทศ 3) สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษา 4) พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในการอาชีวศึกษาทุกระดับการศกึ ษา 3. นยิ ามศัพท์ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษากับสถานประกอบการในเรื่องการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดการฝึกอาชีพ การวัดและ การประเมนิ ผล สถานศึกษา หมายความว่า สถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สถานประกอบการ หมายความว่า สถานประกอบการที่ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบัน การอาชีวศกึ ษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เพื่อจดั การอาชวี ศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑท์ ่คี ณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ผู้เรียน หมายความว่า ผู้เรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หลักสตู รปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัตกิ าร บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หมายความว่า หนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่ง อย่างใดและตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่งโดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดง ความตอ้ งการอนั แนว่ แนข่ องผลู้ งช่อื ว่าจะปฏิบตั ดิ งั ที่ได้ระบุไว้ แผนการฝึกอาชีพ หมายความว่า แผนงานของสถานประกอบการในการฝึกอาชีพให้กับผู้เรียนระบบ ทวภิ าคีใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะในอาชีพ และพฤติกรรมที่พึงประสงคต์ ามลกั ษณะงานของสถานประกอบการ สอดคล้องกับหลกั สูตรแต่ละระดับ โดยจัดทำเป็นเอกสารใบงาน แผนการฝึกอาชีพรายวิชา หมายความว่า เป็นเอกสาร ที่ครูฝึกร่วมกับครูในสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชีวศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อกำหนดขั้นตอนการพัฒนาผู้เรียนที่เข้ารับการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการไว้ล่วงหน้า ตามลักษณะงานของสถานประกอบการ และผลลพั ธ์การเรยี นรู้ตามสาขาวิชาทผ่ี ู้เรยี นกำลงั ศกึ ษาอยู่ สัญญาการฝึกอาชีพ หมายความว่า สัญญาข้อตกลงในการฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ระหว่างสถานประกอบการ กบั ผูเ้ รียนระบบทวิภาคี คมู่ ือศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ้นื ที่ หนา้ 5

การฝึกงาน หมายความว่า การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพและ/หรือการฝึกอาชีพรูปแบบการศึกษา ระบบทวภิ าคี ของผูเ้ รยี น หลกั สูตรการอาชวี ศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ในสถานประกอบการ การฝึกอาชีพ หมายความวา่ การฝึกภาคปฏิบัตใิ นสถานประกอบการตามแผนการฝึกอาชีพ ครูนิเทศก์ หมายความว่า ครูที่สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษามอบหมายให้ทำหน้าที่นิเทศ ให้คำแนะนำและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ขณะที่ผู้เรียนฝึกงานหรือฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการ มีการนิเทศติดตาม ความก้าวหน้าของผเู้ รียน ตลอดจนการวดั ประเมินผลการฝกึ งานตามรายวิชาน้ัน ๆ ครฝู ึก หมายความวา่ ผู้ทำหน้าทส่ี อน ฝึกอบรมผูเ้ รียนในสถานประกอบการ ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการ การอาชีวศึกษากำหนด ผู้ควบคุมการฝึก หมายความว่า ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทำหน้าที่ประสานงานกับสถานศึกษา ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และรับผิดชอบดูแลการฝึกอาชีพของผู้เรียน ในสถานประกอบการ ผปู้ กครอง หมายความว่า บดิ า มารดา หรอื บคุ คลทีไ่ ด้รับมอบหมายให้ความอุปการะเลีย้ งดูผู้เรียน เบยี้ เล้ยี ง หมายความวา่ คา่ ตอบแทนท่ีสถานประกอบการจา่ ยให้ผูเ้ รียนท่ีเขา้ รบั การฝกึ งานหรอื ฝึกอาชพี 4. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เรือ่ ง การจัดตง้ั ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 มาตรา 8 กำหนดการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม วิชาชีพจัดได้ 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาระบบทวิภาคี ทั้งนี้สถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยความร่วมมือกับ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกัน เพื่อผลิต และพัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้ โดยการวางแผนความร่วมมือ จัดทำแผนการเรียน แผนการฝกึ อาชีพ การวัด และประเมินผล การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคน การจัดทำฐานข้อมูลกำลังคน การดูแลอำนวยความสะดวก และสวัสดิการของผู้เรียนระบบทวิภาคีในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศที่จะมาลงทุนในประเทศให้มาก ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังเร่งยกระดับคุณภาพกำลังคนในกลุ่มผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาและผู้อยู่ในภาคแรงงานให้มี สมรรถนะสูงข้นึ โดยใช้กระบวนการของการจดั อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีมีคุณภาพและประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการกำลังคน ในเขตพื้นที่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงประกาศจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่โดยใช้ สถานศึกษาเป็นที่ตงั้ จำนวน 15 แหง่ ดังน้ี 1. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคีภาคตะวันออก 1 1) จงั หวดั ปราจีนบุรี (วทิ ยาลยั เทคนิคปราจีนบรุ ี) ศูนย์หลัก 2) จงั หวดั นครนายก 3) จงั หวัดสระแก้ว 4) จังหวัดจนั ทบรุ ี 5) จงั หวดั ตราด คู่มือศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพืน้ ท่ี หนา้ 6

2. ศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคีภาคตะวันออก 2 หนา้ 7 1) จังหวัดระยอง (วิทยาลยั เทคนิคบา้ นคา่ ย) ศูนย์หลกั 2) จงั หวัดชลบรุ ี 3) จงั หวดั ฉะเชิงเทรา 3. ศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคภี าคกลาง 1 1) จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (วิทยาลัยอาชีวศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา) ศนู ยห์ ลัก 2) จงั หวดั ชยั นาท 3) จังหวัดลพบุรี 4) จังหวัดสระบรุ ี 5) จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี 6) จงั หวัดอา่ งทอง 4. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคภี าคกลาง 2 1) จงั หวดั ราชบรุ ี (วทิ ยาลยั เทคนคิ ราชบรุ ี) ศูนย์หลัก 2) จังหวัดกาญจนบุรี 3) จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี 4) จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ 5) จังหวดั เพชรบุรี 6) จงั หวัดสมุทรสงคราม 7) จังหวดั สมทุ รสาคร 5. ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคภี าคเหนือ 1 1) จังหวัดเชยี งใหม่ (วทิ ยาลัยเทคนคิ เชยี งใหม)่ ศูนยห์ ลัก 2) จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน 3) จังหวัดลำปาง 4) จงั หวัดลำพนู 5) จงั หวัดเชยี งราย 6) จงั หวัดนา่ น 7) จงั หวัดพะเยา 8) จงั หวดั แพร่ 6. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคภี าคเหนอื 2 1) จังหวัดนครสวรรค์ (วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค)์ ศูนยห์ ลัก 2) จงั หวดั กำแพงเพชร 3) จงั หวัดพิษณุโลก 4) จงั หวดั ตาก 5) จังหวดั อทุ ยั ธานี 6) จงั หวดั พจิ ิตร ค่มู อื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนที่

7) จงั หวัดเพชรบรู ณ์ หน้า 8 8) จงั หวดั สโุ ขทยั 9) จงั หวดั อุตรดติ ถ์ 7. ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 1) จงั หวัดอุดรธานี (วทิ ยาลยั เทคนิคอุดรธานี) ศูนยห์ ลัก 2) จังหวัดบงึ กาฬ 3) จงั หวดั เลย 4) จงั หวดั หนองคาย 5) จงั หวดั หนองบวั ลำภู 8. ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2 1) จงั หวัดนครราชสีมา (วทิ ยาลัยเทคนคิ นครราชสีมา) ศูนยห์ ลัก 2) จงั หวดั บุรรี มั ย์ 3) จงั หวดั กาฬสินธุ์ 4) จงั หวัดขอนแกน่ 5) จงั หวัดมหาสารคาม 6) จงั หวดั สุรนิ ทร์ 7) จังหวัดชัยภมู ิ 8) จงั หวัดร้อยเอด็ 9. ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3 1) จงั หวัดอุบลราชธานี (วทิ ยาลัยเทคนคิ อบุ ลราชธาน)ี ศูนย์หลกั 2) จังหวัดนครพนม 3) จังหวัดสกลนคร 4) จังหวัดมุกดาหาร 5) จงั หวดั ยโสธร 6) จังหวดั ศรสี ะเกษ 7) จังหวัดอำนาจเจรญิ 10. ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีภาคใต้ 1 1) จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี (วิทยาลบั เทคนิคสุราษฎรธ์ านี) ศูนย์หลกั 2) จังหวดั ชุมพร 3) จังหวดั นครศรธี รรมราช 4) จังหวดั พทั ลุง 11. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคีภาคใต้ 2 1) จังหวัดภเู ก็ต (วทิ ยาลยั เทคนิคภเู ก็ต) ศนู ย์หลกั 2) จังหวัดกระบ่ี 3) จังหวัดตรัง ค่มู อื ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนที่

4) จงั หวดั พังงา 5) จงั หวดั ระนอง 12. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคีภาคใต้ 3 1) จงั หวดั สงขลา (วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่) ศนู ย์หลัก 2) จังหวัดสตูล 3) จงั หวัดนราธวิ าส 4) จังหวดั ยะลา 5) จงั หวัดปัตตานี 13. ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีปรมิ ณฑล 1 1) จงั หวดั ปทมุ ธานี (วทิ ยาลยั การอาชวี ศึกษาปทุมธาน)ี ศูนยห์ ลกั 2) จงั หวัดนนทบรุ ี 14. ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีปริมณฑล 2 1) จังหวัดสมุทรปราการ (วิทยาลยั เทคนิคสมุทรปราการ) ศูนย์หลัก 2) จงั หวัดนครปฐม 15. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคีกรงุ เทพมหานคร วิทยาลัยบรหิ ารธรุ กจิ และการท่องเทีย่ วกรุงเทพ ศูนยห์ ลกั ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคีเขตพื้นท่ีแต่ละแห่ง มหี น้าที่และความรบั ผิดชอบ ดงั นี้ 1. ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ใหก้ บั สถานประกอบการในเขตพืน้ ทร่ี ับผิดชอบ 2. สำรวจข้อมูลความต้องการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าฝึกงาน และฝึกอาชีพของสถานประกอบการ ในพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบ และเผยแพรใ่ หก้ ับสถานศึกษาในเครอื ขา่ ย 3. จดั ทำแผนพฒั นาการดำเนินงานของศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคเี ขตพน้ื ที่ 4. จดั รูปแบบบรหิ ารงานภายในศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคเี ขตพื้นท่ี 5. นิเทศการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคใี หเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย กฎหมาย และระเบียบท่ีเก่ียวข้อง 6. จัดเตรียมความพร้อมส่งเสริมและจัดกิจกรรมก่อน ระหว่าง และหลังฝึกงานและฝึกอาชีพ ของนกั เรยี น นกั ศึกษาต่างเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ 7. จดั ทำแนวทางการทำงาน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แกไ้ ขปญั หา และอำนวยความสะดวกแก่นักเรียน นกั ศกึ ษาที่มาฝึกงาน และฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการในเขตพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบ 8. สร้างความตระหนัก และความเข้าใจ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกงาน และฝึกอาชีพ ท้งั ในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ 9. ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ่ืนตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย การแบ่งเขตพื้นท่ีเป็นพื้นทีจ่ ังหวัดในการประสานงานต่างๆ จำนวน 15 เขต และในแต่ละเขตมีสถานศกึ ษา ทม่ี ีความพรอ้ ม มีศักยภาพในการให้ความชว่ ยเหลอื กับสถานศกึ ษาทุกแหง่ และสถานประกอบการในเขตพ้ืนท่นี นั้ ๆ ค่มู อื ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นท่ี หนา้ 9

ค่มู ือศนู ย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นท่ี หนา้ 10

5. ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสถานศึกษาและสถานประกอบการกบั ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นที่ ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรอื่ ง จัดต้ังศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นท่ี เป็นประกาศ จากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการกำลังคนในเขตพื้นที่ และยังเป็นการเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และอำนวยความสะดวก ในการจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคีของสถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นที่ และจากหน้าท่ี และความรับผิดชอบ ของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ ทำให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ กบั ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคีเขตพ้ืนท่ี ซ่งึ สามารถเชอื่ มโยงไดด้ งั นี้ หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพนื้ ที่ เชือ่ มโยงระหวา่ งสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ สถานศึกษา สง่ เสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจเกยี่ วกับกระบวนการจดั การ สถานประกอบการ สถานศึกษา อาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีให้กับสถานประกอบการในเขตพ้ืนท่ี สถานประกอบการ สถานศกึ ษา รับผิดชอบ สถานประกอบการ สำรวจข้อมลู ความต้องการรับนกั เรยี น นักศึกษา เข้าฝึกงาน และ ฝึกอาชีพของสถานประกอบการในพน้ื ที่รับผดิ ชอบ และเผยแพร่ ให้กบั สถานศกึ ษาในเครอื ขา่ ย จัดทำแผนพัฒนาการดำเนนิ งานของศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคเี ขตพื้นที่ สถานศึกษา จัดรปู แบบบริหารงานภายในศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพืน้ ท่ี สถานประกอบการ สถานศกึ ษา นิเทศการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคใี ห้เปน็ ไปตามนโยบาย สถานประกอบการ สถานศกึ ษา กฎหมาย และระเบียบทเ่ี กยี่ วข้อง สถานประกอบการ สถานศกึ ษา สถานประกอบการ จัดเตรียมความพร้อมสง่ เสรมิ และจดั กจิ กรรมก่อน ระหวา่ ง และ สถานศกึ ษา หลังฝกึ งานและฝึกอาชีพของนกั เรยี น นกั ศกึ ษาต่างเขตพ้นื ท่ี สถานประกอบการ รบั ผิดชอบ จัดทำแนวทางการทำงาน ให้คำปรกึ ษา ชว่ ยเหลอื แก้ไขปญั หา และอำนวยความสะดวกแกน่ กั เรยี น นกั ศึกษาที่มาฝึกงาน และฝึก อาชพี ในสถานประกอบการในเขตพนื้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ สรา้ งความตระหนัก และความเข้าใจ เก่ียวกับความปลอดภัยใน การฝกึ งานและฝกึ อาชพี ท้งั ในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ สถานศึกษา ปฏบิ ัติหน้าท่อี ่นื ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย สถานประกอบการ คูม่ ือศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพนื้ ท่ี หน้า 11

6. วัตถปุ ระสงคก์ ารจัดตั้งศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพนื้ ท่ี 1. เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการ กำลงั คนในเขตพืน้ ที่ 2. เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ และด้านความสามารถในการประยกุ ต์ใช้ 3. เพื่อวางแผนความร่วมมือ จัดทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ การวัดและประเมินผล การวิเคราะห์ ความตอ้ งการกำลงั คน การจัดทำฐานข้อมลู กำลงั คน 4. เพื่อดูแลอำนวยความสะดวกด้านสวัสดิภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิการของผู้เรียนระบบทวิภาคี ในเขตพื้นที่รับผดิ ชอบ 5. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อตอบสนองความต้องการของ ภาคเอกชน ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ โครงสรา้ งและหน้าที่ของศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพน้ื ที่ 1. โครงสรา้ งการบริหารงานศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคีเขตพืน้ ท่ี เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย สำนกั ความรว่ มมอื โดยศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี สถานศึกษา ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคี คณะกรรมการ เขตพืน้ ที่ 15 แห่ง ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคี สถานประกอบการ/ หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง เขตพ้นื ที่ ฝา่ ยอำนวยการ ฝา่ ยพัฒนาวิชาการ ฝา่ ยส่งเสริม ฝา่ ยสวสั ดภิ าพ ทวภิ าคี ความรว่ มมอื ทวิภาคี และความปลอดภัย คมู่ ือศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพ้ืนท่ี หน้า 12

2. หนา้ ท่ีการบรหิ ารงานในศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพนื้ ท่ี ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง การจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ เป็นประกาศเพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีคุณภาพและประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการ กำลังคนในเขตพื้นที่และพื้นที่อื่นๆ ตามความเหมาะสม จึงมีการจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่จำนวน 15 แห่ง และมีการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละแห่งไว้ในประกาศ โดยการดำเนินงานตามหน้าท่ี ความรับผิดชอบของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่แต่ละแห่งสามารถแบ่งฝ่ายการบริหารไว้ 4 ฝ่าย เพื่อกระจาย ให้แต่ละฝ่ายสามารถดำเนินงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบได้อย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ โดยสามารถแบ่งฝ่าย หน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบได้ดงั น้ี 2.1 ฝา่ ยอำนวยการ ฝ่ายอำนวยการ มีหน้าท่ีจัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ โดยสอดคล้องกับเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนสถานศึกษา จำนวน สถานประกอบการ จำนวนผู้เรียน ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และมีการ ปรับปรุงแผนพัฒนาเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง และเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บเพจของ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ และช่องทางอื่นๆ และทำการสำรวจข้อมูลความต้องการรับผู้เรียน เข้าฝึกงาน และ ฝึกอาชีพของสถานประกอบการในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อเผยแพร่ให้กับสถานศึกษาในเครือข่าย และให้จัดทำ เป็นฐานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีไว้ในระบบสารสนเทศ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ สำหรบั การนำขอ้ มลู มาพัฒนาการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคใี หม้ คี ุณภาพย่งิ ขึ้นไป 2.1.1 จดั ตั้งคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพื้นท่ี 2.1.2 วเิ คราะหค์ วามต้องการและแนวโน้มของตลาดแรงงานในพืน้ ที่ 2.1.3 จดั ทำแผนพฒั นาศูนยท์ วิภาคเี ขตพ้นื ทร่ี ะยะเวลา 3-5 ปี 2.1.4 จัดทำแผนปฏิบตั ิการประจำปี 2.1.5 รวบรวม จัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านความปลอดภัยในแต่ละประเภทของสถานประกอบการ ในเขตพน้ื ที่ 2.1.6 สรุปผลการฝึกงาน และฝกึ อาชีพในเขตพน้ื ท่ี และรายงานเข้าระบบฐานข้อมลู http://dve.vec.go.th 2.1.7 บรหิ ารจดั การ ปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูลและ Webpage ของศูนยอ์ าชีวศึกษาเขตพน้ื ที่ให้เป็นปัจจุบัน และเชือ่ มโยงกับฐานขอ้ มูลตามภารกิจใหใ้ ชง้ านได้จริง 2.1.8 เผยแพร่ขอ้ มูลสู่สถานศึกษา/สถานประกอบการในเครือข่าย 2.1.9 ปฏบิ ัติหน้าทอ่ี ื่นตามท่ีได้รบั มอบหมาย 2.2 ฝา่ ยพฒั นาวิชาการทวภิ าคี ฝา่ ยพฒั นาวิชาการทวิภาคี มหี นา้ ทจ่ี ัดนเิ ทศการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคใี ห้เปน็ ไปตามนโยบาย กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีการจัดอบรมครูนิเทศในเขตพื้นที่รับผิดชอบเป็นไปตามมาตรฐานของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อผ่านการอบรม ให้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่รับรองผลการอบรม โดยออกใบผ่านการอบรมครูนิเทศก์ หรือออกใบรับรองให้กับผู้ผ่านการอบรม และจัดทำทะเบียนครูนิเทศก์ภายใน เขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และให้มีการจัดอบรมครูฝึกในสถานประกอบการในเขตพื้นที่รับผิดชอบเป็นไปตามมาตรฐาน คูม่ อื ศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นที่ หนา้ 13

ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อผ่านการอบรม ให้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่รับรองผล การอบรมโดยออกใบผ่านการอบรมครูฝึกในสถานประกอบการ หรือออกใบรับรองให้กับผู้ผ่านการอบรม และจัดทำ ทะเบยี นครูฝกึ ในสถานประกอบการภายในเขตพ้นื ที่ท่รี ับผดิ ชอบเช่นเดยี วกัน 2.2.1 สร้างการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับ สถานประกอบการในเขตพืน้ ที่ 2.2.2 พัฒนาครูนิเทศก์ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ควบคุมคุณภาพ การออกใบรับรอง และจัดทำ ทะเบยี นครนู เิ ทศก์ 2.2.3 พัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการในเขตพื้นที่ที่รบั ผิดชอบ ควบคุมคุณภาพ การออกใบรับรอง จดั ทำทะเบยี นครูฝกึ ในสถานประกอบการ 2.2.4 พฒั นาการเขียนแผนการฝกึ อาชีพ ให้กับสถานศกึ ษาและสถานประกอบการในเขตพืน้ ท่ี 2.2.5 จัดแผนการนเิ ทศและออกนิเทศตามปฏทิ ินสำหรับผเู้ รียนต่างเขตพ้นื ที่รบั ผิดชอบ 2.2.6 ประสานงานครูนิเทศก์ ครูฝึก และนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคขี องสถานศกึ ษาและสถานประกอบการในเขตพ้ืนที่ 2.2.7 ปฏิบัติหนา้ ทีอ่ ่ืนตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 2.3 ฝ่ายสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ทวิภาคี ฝ่ายส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคี มีหน้าที่ทำการส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กบั สถานประกอบการในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ แนะแนว ประชาสมั พันธ์ เน้นความเข้าใจให้กับสถานประกอบการที่ยังไม่ได้จัดทวิภาคี รวมถึงประโยชน์ที่สถานประกอบการจะได้รับ และ เมื่อสถานประกอบการทำการจัดทวิภาคีอย่างมีคุณภาพ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่จัดให้มีการยกย่องเชิดชูเกียรติ เพื่อแสดงถึงความร่วมมือในการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคีอย่างแท้จริง อีกทั้งยกย่องบุคคลที่มีส่วนร่วมในการจัด อาชีวศึกษาทวิภาคี เช่น ครูนิเทศก์ ครูผู้สอนระบบทวิภาคี ครูฝึกในสถานประกอบการ เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจ ให้ปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี ยา่ งมคี ณุ ภาพต่อไป 2.3.1 แสวงหาความร่วมมือกับสถานประกอบการ ประเมินความพร้อมของสถานประกอบการ และ ทำบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั สถานประกอบการในพ้นื ที่ 2.3.2 รวบรวมข้อมูลจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ครูฝึก ครูนิเทศก์ สถานประกอบการในเขตพื้นที่และ ส่งต่อไปยังฝา่ ยที่เกย่ี วขอ้ ง 2.3.3 ให้ความรเู้ กี่ยวกับสิทธปิ ระโยชน์สำหรบั การจดั การศกึ ษาทวภิ าคี 2.3.4 ส่งเสริมให้ครูมีการพฒั นาวิชาชีพในสถานประกอบการ 2.3.5 ยกย่องเชิดชูเกียรติ ครูฝึก ครูนิเทศก์ สถานประกอบการและสถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคตี ามมาตรฐาน 2.3.6 ส่งเสริมและประสานงานดูแลสวัสดิการ รับข้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้งเสนอ แนวทางแก้ไขแกผ่ เู้ รยี นทม่ี าฝกึ งานตา่ งเขตพ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบ 2.3.7 ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีอนื่ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย คู่มือศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพนื้ ที่ หนา้ 14

2.4 ฝา่ ยสวัสดภิ าพและความปลอดภัย ฝ่ายสวัสดิภาพและความปลอดภัย มีหน้าที่จัดทำแนวทางการทำงาน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แก้ไข ปัญหา และอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียนที่มาฝึกงาน และฝึกอาชีพในสถานประกอบการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยแนวทางดังกลา่ วต้องครอบคลมุ ถงึ หลังเสรจ็ ส้นิ การฝึกงาน และฝึกอาชพี จนกว่าผู้เรยี นทวิภาคจี ะกลับต้นสงั กัด และ มีแนวทางการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกรณีที่ผู้เรียนประสบปัญหา อุบัติเหตุ หรือเกิดเหตุภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือ แก้ไข ได้ทันท่วงที มีการจัดเตรียมความพร้อม ส่งเสริมและจัดกิจกรรม ก่อน ระหวา่ ง และหลงั ฝกึ งานและฝกึ อาชพี ของผเู้ รียนตา่ งเขตพืน้ ทรี่ ับผดิ ชอบ - กิจกรรมก่อนฝกึ งานและฝึกอาชพี เช่น การปฐมนเิ ทศ การเตรียมตัว การเรียนรูว้ ัฒนธรรม ภาษา สำหรับการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นในพน้ื ท่ี การแนะนำพ้ืนทีแ่ ละเสน้ ทางคมนาคมเบอื้ งตน้ การแนะนำผ้รู บั ผดิ ชอบดูแลและ ประสานงานด้านตา่ งๆ - กิจกรรมระหว่างฝึกงานและฝึกอาชีพ เช่น การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การให้คำปรึกษา การดูแล ความปลอดภัย การแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่างๆ - กิจกรรมหลังฝึกงานและฝึกอาชีพ เช่น การปัจฉิมนิเทศ การแนะแนวการมีงานทำและการศึกษาต่อ การส่งเสริมการทำงานอย่างต่อเนื่องกับสถานประกอบการที่ผู้เรียนฝึกงาน และฝึกอาชีพ การส่งต่อผู้เรียนกลับ สถานศึกษาต้นสังกัด และสร้างความตระหนัก และความเข้าใจ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกงาน และฝึกอาชีพ ทั้งในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ โดยการให้ความรู้ความเข้าใจในการทำงานอย่างปลอดภัย สร้างลักษณะ นสิ ยั ทีด่ ีในการทำงานเพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศึกษาและสถานประกอบการ 2.4.1 คู่มือปฏบิ ัติการอำนวยความสะดวกต่างเขตพื้นที่ (ครู/นกั เรียน) 2.4.2 การเตรียมความพร้อม ส่งเสริม และจดั กิจกรรมให้กับผู้เรียนที่ฝกึ งานต่างเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ 2.4.3 จัดกิจกรรมซกั ซ้อมแนวปฏบิ ัตแิ ผนเผชิญเหตุ 2.4.4 ดูแลสวัสดิภาพ ความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกรับข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางแกไ้ ขแกผ่ ูเ้ รยี นทีม่ าฝกึ งานต่างเขตพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบ 2.4.5 สง่ เสริม สนบั สนุนการทำงานบนความปลอดภัยในสถานประกอบการ 2.4.6 ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อน่ื ตามที่ได้รบั มอบหมาย 3. อำนาจหนา้ ท่คี ณะกรรมการศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคีเขตพน้ื ที่ ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษา ทวิภาคีเขตพื้นท่ี เปน็ ประกาศเพื่อให้การดำเนนิ งานของศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นท่ีขับเคลื่อนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มีการบูรณาการ การทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงประกาศคณะกรรมการ ศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคเี ขตพนื้ ที่ โดยมีอำนาจหนา้ ทด่ี งั น้ี 3.1 กำหนดนโยบาย แผนพฒั นา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปเี ก่ียวกับการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของเขตพ้นื ทีท่ ี่รับผิดชอบ 3.2 ส่งเสริม สนับสนุนงานอำนวยการ งานพัฒนาด้านวิชาการทวิภาคี งานส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคี งานสวัสดิภาพและความปลอดภยั ของศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่ 3.3 ประสานงานกับหน่วยงานภาครฐั และเอกชนในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี คู่มือศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนท่ี หนา้ 15

3.4 จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเขตพื้นที่ต่อสำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 3.5 ให้คำปรึกษาด้านการนิเทศ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา อำนวยความสะดวก และดูแลความปลอดภัย ในการฝกึ งานและฝึกอาชีพทัง้ ในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ 3.6 กำกับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามกิจกรรมภายใต้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี เขตพืน้ ท่ี 3.7 แตง่ ต้งั คณะทำงานเพ่อื ดำเนนิ การตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 4. เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรยี นอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา โดยดำเนินการขยาย และยกระดับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ในการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการร่วมมือด้วยมาตรการต่าง ๆ เช่น สิทธปิ ระโยชน์ทางภาษี การยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ จัดทำประกาศ ระเบยี บ กฎหมาย ข้อกำหนดต่าง ๆ เพื่อเช่ือมโยง กบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคีให้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์อยา่ งมคี ุณภาพ เปา้ หมายของการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของผูเ้ รยี นอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 1. ผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชาในระบบทวิภาคีต้องมีคุณภาพครอบคลมุ 4 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านความสามารถ ในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ที่กำหนดและมคี ุณลักษณะพเิ ศษ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาทฝ่ี ึกอาชีพไดท้ ันที 2. ผสู้ ำเร็จการศึกษาทผี่ ่านการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑม์ าตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาในหลักสูตร แต่ละระดับ และผ่านการฝึกอาชีพจากสถานประกอบการตามแผนการฝึกอาชีพ ซึ่งมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน โดยมีครูฝึกเป็นผู้สอนการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ จึงเป็นตัวชี้วัดว่า ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถ ปฏิบตั งิ านไดใ้ นทนั ที 3. พัฒนาหลกั สูตรใหเ้ หมาะสมกบั การจดั การศึกษา และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น ชุมชน และ สถานประกอบการ สร้างความเข้าใจให้ครูผู้สอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ให้สามารถนำหลักสูตร ไปจัดกิจกรรม การเรียนการสอนท่สี อดคล้องกับการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคีได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 4. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีทักษะ และสามารถ ปฏิบัติงานได้ทันทเี มอ่ื สำเร็จการศึกษา 5. พัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พัฒนารูปแบบและ ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ พัฒนาครูให้มีความสามารถในจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยยดึ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ สามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ 6. พัฒนาสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริม สนับสนุนให้มี การปรับปรงุ พัฒนาอาคารเรียนและสิ่งแวดลอ้ ม ค่มู อื ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่ หน้า 16

เมื่อผู้เรียนสำเร็จการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทวิชา และสาขาวิชาในระบบทวิภาคีจะต้องมีคุณภาพ ครอบคลุม 4 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านความสามารถ ในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ โดยผ่านการทดสอบตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละหลักสูตร มีสมรรถนะวิชาชีพเป็นไปตามความต้องการ ของสถานประกอบการน้ัน ๆ จึงเป็นตวั ชี้วดั ว่า ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั งิ านได้ในทันที หลกั เกณฑ์การปฏบิ ัตงิ าน 1. หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงานของศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนที่ การจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ เป็นการกระจายหน้าที่ความรับผิดชอบของศูนย์อาชีวศึกษา ทวิภาคีสู่ผู้มีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในแต่ละพื้นที่ โดยส่งเสริม สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือ ในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีให้มีคณุ ภาพและประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถอา้ งอิงจากหลักเกณฑก์ ารปฏิบัตงิ าน ของแตล่ ะฝา่ ย ภายในศูนย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคเี ขตพ้นื ที่ ดังนี้ 1.1 ฝ่ายอำนวยการ 1.1.1 ประกาศจัดตัง้ คณะกรรมการศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพ้นื ท่ี โดยปฏิบัติดงั นี้ 1) ศึกษาตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษา ทวิภาคเี ขตพืน้ ที่ ลงวันที่ ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ (แบบฟอร์ม DVEC001) 2) ประสานและสรรหาคณะกรรมการตามองค์ประกอบของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี (แบบฟอรม์ DVEC002/1-2) ๓) รวบรวมจัดทำร่างคณะกรรมการศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นที่ ๔) เสนอร่างคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพ้ืนที่ต่อเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษาเพอื่ ลงนาม (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๓) ๕) เผยแพร่ประกาศแตง่ ต้งั จากสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรอ่ื ง คณะกรรมการศนู ย์ อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพน้ื ที่ (แบบฟอร์ม DVEC001) 1.1.2 สำรวจขอ้ มูลความตอ้ งการของสถานประกอบการในการรบั ผู้เรียนเขา้ ฝึกงาน 1) สำรวจข้อมูลความต้องการ (แบบฟอรม์ DVE๐๐๔/๑-๕) ๒) รวบรวมข้อมูลความตอ้ งการ(แบบฟอร์ม DVE๐๐๔/๑-๕) 3) บนั ทึกข้อมลู ลงในระบบงานทวิภาคี (DVE data) http://dve.vec.go.th (แบบฟอร์ม DVEC005) 4) สรุปรายงานผลข้อมูลความต้องการของสถานประกอบการในการรับผู้เรียนเข้าฝึกงาน (แบบฟอร์ม DVEC005) 1.1.3 จัดทำแผนพฒั นาศนู ย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพน้ื ท่รี ะยะเวลา 3-5 ปี (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๗/๑-๕) ๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ๒) นำผลการวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผลเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด ความสำเร็จ และโครงการ ๓) รวบรวมยกร่างแผนพฒั นาฯ เพ่ือเสนอขออนมุ ตั ิ ค่มู อื ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพนื้ ท่ี หนา้ 17

๑.๑.๔ จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี (แบบฟอรม์ DVEC๐๐๗/๑-๕) 1.1.๕ กำกับ ติดตาม เรียกดูข้อมูล วิเคราะห์ สรุปรายงานผลการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลระบบ งานทวภิ าคี (DVE data) http://dve.vec.go.th ของสถานศึกษาในเขตพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบ 1.1.๖ บรหิ ารจดั การ Webpage และ Social Media ของศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ 1) มอบหมายผ้ดู แู ละระบบ ๒) กำกับ ติดตาม ปรับปรุงฐานข้อมูลของ Webpage และ Social Media ของศูนย์อาชีวศึกษา เขตพน้ื ที่ให้เป็นปัจจุบนั และเช่ือมโยงกับฐานขอ้ มลู ตามภารกจิ ให้ใชง้ านได้จรงิ 1.1.7 เผยแพรข่ ้อมูลตา่ ง ๆ สูส่ ถานศึกษา และสถานประกอบการในเครอื ขา่ ย ได้แก่ 1) ประกาศจัดตง้ั คณะกรรมการศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่ ๒) ข้อมลู ความตอ้ งการของสถานประกอบการในการรบั ผู้เรียนเข้าฝึกงาน ๓) แผนพฒั นาศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ที่ระยะเวลา 3 - 5 ปี 4) แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 5) ข่าวสาร ข้อมลู ท่ีประชาสมั พันธ์ผา่ น Webpage และ Social Media ใหเ้ ปน็ ปจั จุบัน 1.2 ฝา่ ยพัฒนาวชิ าการทวภิ าคี 1.2.1 ส่งเสริมสนับสนุนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ใหก้ บั สถานประกอบการในเขตพ้ืนที่รบั ผิดชอบ 1) จัดทำโครงการ กิจกรรม ในการสรา้ งความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคใี ห้กบั สถานประกอบการในเขตพื้นที่ (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๘/๑-๔) 2) ติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ สรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกบั กระบวนการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีให้กับสถานประกอบการ 3) สรปุ /รายงานผลการดำเนินงาน 1.2.2 พฒั นาครนู ิเทศกใ์ นเขตพ้ืนทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ การออกใบรบั รอง และจัดทำทะเบียนครนู ิเทศก์ 1) อบรมครนู เิ ทศก์ในเขตพื้นทที่ ี่รับผิดชอบ (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๘/๑-๔) 2) ออกใบรับรองครนู เิ ทศก์ในเขตพ้ืนท่ีท่ีรับผดิ ชอบ (แบบฟอรม์ DVEC๐๐๙/๑-๒) ๓) จัดทำทะเบียนครนู ิเทศก์ในเขตพ้นื ท่ที ี่รับผดิ ชอบ ๔) สรปุ /รายงานผลการฝึกอบรม 1.2.3 พัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ การออกใบรับรอง จัดทำทะเบียน ครูฝกึ ในสถานประกอบการ 1) อบรมครูฝกึ ในเขตพื้นที่ท่ีรับผดิ ชอบ (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๘/๑-๔) 2) ออกใบรับรองครูฝึกในเขตพืน้ ที่ที่รับผดิ ชอบ (แบบฟอรม์ DVEC๐๑๐/๑-๒) 3) จดั ทำทะเบยี นครฝู ึกในเขตพืน้ ท่ที ่รี บั ผดิ ชอบ ๔) สรุป/รายงานผลการฝกึ อบรม 1.2.4 พัฒนาการเขียนแผนการฝึกอาชีพ ใหก้ บั สถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นท่ี 1) อบรมการเขียนแผนการฝึกอาชีพ ให้กับสถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นท่ี (แบบฟอร์ม DVEC๐๐๘/๑-๔) ค่มู ือศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนที่ หน้า 18

๒) สรปุ /รายงานผลการอบรม ๓) ติดตามผลการใช้แผนการฝกึ อาชพี ของสถานศกึ ษาและสถานประกอบการในเขตพน้ื ที่ 1.2.5 จดั ทำแผนการนิเทศและออกนเิ ทศผูเ้ รยี น 1) ประสานงานสถานศกึ ษาท่สี ่งผู้เรยี นเข้าฝึกงานในเขตพน้ื ท่ี 2) รวบรวมขอ้ มลู การฝกึ งานของผ้เู รียนทง้ั ในเขตพืน้ ท่แี ละตา่ งเขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบ ๓) จัดทำแผนการนเิ ทศสำหรบั ผู้เรยี นทง้ั ในเขตพนื้ ทีแ่ ละตา่ งเขตพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบ (แบบฟอร์มDVEC ๐๑๑) ๔) ออกนเิ ทศตามแผนการนิเทศ (แบบฟอร์ม DVEC๐๑๒/๑-๓) ๕) ตดิ ตามการฝึกงานของผเู้ รียนให้เปน็ ไปตามแผนการฝกึ อาชีพ (แบบฟอรม์ DVEC๐๑๒/๑-๓) ๖) สรปุ /รายงานผลการออกนเิ ทศตามแผนการนิเทศสำหรับผเู้ รียนตา่ งเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ 1.2.6 ประสานงานครูนิเทศก์ ครูฝึก และนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคขี องสถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นที่ 1) รวบรวมขอ้ มลู ครนู ิเทศก์ ครฝู กึ ของสถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นที่ 2) ประสานและนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาและ สถานประกอบการในเขตพ้นื ท่ี 3) สรุป/รายงานผล การดำเนินงานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาและ สถานประกอบการในเขตพน้ื ที่ 1.3 ฝา่ ยสง่ เสริมความรว่ มมือทวภิ าคี 1.3.1 แสวงหาความร่วมมือกับสถานประกอบการ ประเมินความพร้อมของสถานประกอบการ และทำบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือระหว่างสถานศึกษาท่วั ประเทศกับสถานประกอบการในพื้นที่ 1) แสวงหาความร่วมมือกับสถานประกอบการระหว่างสถานศึกษาทั่วประเทศกับสถานประกอบการ ในพืน้ ท่ี (แบบฟอร์ม DVEC๐๑๓) (แบบฟอรม์ DVEC๐๑๔/1-3) 2) ประเมนิ ความพรอ้ มของสถานประกอบการในพนื้ ที่ (แบบฟอรม์ DVEC๐๐๔/๑-๔) 3) ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาทั่วประเทศกับสถานประกอบการ ในพน้ื ที่ (แบบฟอร์ม DVEC๐๑๔/๑-๓) (แบบฟอร์ม DVEC๐๑๕/๑-๓) 4) สรปุ /รายงานผล บันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาท่ัวประเทศกับสถานประกอบการ ในพน้ื ท่ี 1.3.3 สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับสทิ ธิประโยชน์ในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 1) ส่งเสริม อบรม สัมมนา เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (แบบฟอรม์ DVEC๐๐๘/๑-๔) ๒) สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน 1.3.๔ ยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้เกี่ยวข้องในการจัดการอาชีวศึกษาศึกษาระบบทวิภาคี (แบบฟอร์ม DVEC ๐๐๘/๑-๔) 1) สถานประกอบการ 2) สถานศึกษา ค่มู อื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพ้นื ท่ี หนา้ 19

๓) ครฝู ึก ๔) ครูนเิ ทศก์ 1.๓.5 ส่งเสริมและประสานงานดูแลสวัสดิการ รับข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้งเสนอ แนวทางแก้ไขแกผ่ ู้เรียนที่มาฝึกงานต่างเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ 1) ดแู ลสวัสดกิ าร ให้เป็นไปตามบนั ทึกข้อตกลงและสญั ญาการฝกึ อาชพี ๒) รับฟังข้อเสนอแนะและปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขแก่ผู้เรียนท่ีมาฝึกงาน ตา่ งเขตพน้ื ที่รับผิดชอบ 1.4 ฝ่ายสวัสดิภาพและความปลอดภัย ๑.๔.๑ จัดทำแนวทางการทำงาน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา และอำนวยความสะดวก แกผ่ เู้ รยี นทมี่ าฝกึ งาน และฝึกอาชพี ในสถานประกอบการในเขตพืน้ ท่รี บั ผดิ ชอบ ๑) จดั ทำแนวทางในการอำนวยความสะดวก ๒) กำหนดบุคลากรในการแก้ไขปัญหา ใหค้ ำปรึกษาและให้การช่วยเหลือ ๓) เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ ๔) สรุปรายงานผล 1.4.2. จัดเตรียมความพร้อม ส่งเสริม และจัดกิจกรรมก่อน ระหว่าง และหลังฝึกงานของผู้เรียน ตา่ งเขตพน้ื ท่ี (แบบฟอรม์ DVEC๐๐๘/๑-๔) 1) ปฐมนเิ ทศ การเตรียมตัวผเู้ รียนกอ่ นเข้าฝึกงาน ฝึกอาชพี ในเขตพน้ื ท่ี 2) สมั มนาการฝึกงาน ฝึกอาชีพ ประสานเครือข่ายใหช้ ่วยเหลอื เตมิ เตม็ องค์ความรูท้ ี่จำเป็น 3) ปจั ฉิมนเิ ทศ เม่ือสน้ิ สุดการฝกึ งาน ฝกึ อาชีพของผเู้ รียนก่อนกลบั สถานศึกษาตน้ สังกดั 1.4.3 สร้างความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในการฝึกงาน ทั้งในสถานศกึ ษาและ สถานประกอบการ 1) จดั ทำคู่มือแนวปฏบิ ัติเก่ียวกับความปลอดภยั ในการฝึกงาน 2) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งานเมื่อเกิดเหตกุ ารณภ์ ยั พบิ ัติ หรืออุบัติภัย เพ่อื ระดมความชว่ ยเหลือ ตลอดจนประสานการปฎิบตั ิระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 3) เตรียมความพร้อมและเฝ้าระวัง ๔) สรา้ งความตระหนักและความเข้าใจด้านความปลอดภยั แกผ่ ูเ้ รยี น ๕) สรุป/รายงานผล 1.4.4 ดูแลสวัสดิภาพ และอำนวยความสะดวกรับข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้งเสนอ แนวทางแกไ้ ขแกผ่ เู้ รยี นที่มาฝกึ งานต่างเขตพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ ๑) ดูแลสวสั ดิภาพ และอำนวยความสะดวกแก่ผเู้ รยี น ท่ีมาฝึกงานตา่ งเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบ ๒) รับฟังข้อเสนอแนะและปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขแก่ผู้เรียนที่มาฝกึ งาน และ ฝกึ อาชพี ตา่ งเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบ ค่มู ือศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพืน้ ท่ี หนา้ 20

2. วิธกี ารดำเนินการของฝา่ ยตา่ ง ๆ และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ ตามประกาศ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อง จัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ ทำให้การดำเนนิ งานเปิดโอกาส ให้ผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้องได้มสี ว่ นร่วมในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพอื่ ให้การดำเนนิ งานอย่างมีคุณภาพ ซึ่งแต่ละ อำนาจหนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบ มผี ้รู บั ผิดชอบและผูม้ สี ่วนเก่ียวข้องดังต่อไปนี้ หนา้ ที่ความรับผิดชอบ ฝ่ายทเ่ี กยี่ วข้อง ผูม้ ีส่วนเก่ียวข้อง ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจ 1. ฝ่ายอำนวยการ 1. สถานประกอบการ เกยี่ วกบั กระบวนการจดั การอาชวี ศึกษา 2. ฝ่ายพัฒนาวชิ าการทวิภาคี 2. สถานศึกษา ระบบทวิภาคีให้กับสถานศึกษาและ 3. ฝ่ายสง่ เสริมความรว่ มมอื ทวภิ าคี 3. ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ท่ี 4. อาชีวศึกษาภาค/อาชีวศึกษา ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น เ ข ต พ ื ้ น ที่ จงั หวัด รับผิดชอบ สำรวจข้อมูลความต้องการรับนักเรียน 1. ฝ่ายอำนวยการ 1. สถานประกอบการ นักศึกษา เข้าฝึกงานและฝึกอาชีพ 2. ฝ่ายพฒั นาวิชาการทวิภาคี 2. สถานศึกษา ของสถานประกอบการในพื้นท่ี 3. ฝ่ายส่งเสรมิ ความร่วมมอื ทวภิ าคี 3. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคเี ขตพน้ื ทอี่ ่ืน 4. หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง รับผิดชอบ เพื่อเผยแพร่ให้กับ สถานศึกษาในเครือข่าย จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานของ 1. ฝ่ายอำนวยการ 1. คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษา ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคีเขตพ้ืนที่ ทวิภาคเี ขตพ้นื ที่ จัดรูปแบบบริหารงานภ า ยใน 1. ฝ่ายอำนวยการ 1. คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษา ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ที่ ทวิภาคีเขตพื้นที่ นิเทศการจัดการอาชีวศึกษาระบบ 1. ฝา่ ยพัฒนาวชิ าการทวิภาคี 1. สถานประกอบการ ทวิภาคีให้เป็นไปตามนโยบาย 2. ฝ่ายส่งเสริมความรว่ มมือทวิภาคี 2. สถานศึกษา 3. ผู้เรียน กฎหมาย และระเบียบทเี่ กย่ี วขอ้ ง จดั เตรยี มความพร้อมส่งเสริมและจัด 1. ฝา่ ยอำนวยการ 1. สถานประกอบการ กิจกรรมก่อน ระหว่าง และหลัง 2. ฝ่ายสวสั ดิภาพและความปลอดภัย 2. สถานศกึ ษา 3. ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี ฝึกงาน และฝึกอาชีพของผู้เรียนต่าง 4. หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เขตพื้นทรี่ บั ผดิ ชอบ คมู่ อื ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพ้ืนท่ี หน้า 21

หน้าที่ความรับผดิ ชอบ ฝา่ ยท่ีเกยี่ วข้อง ผู้มีส่วนเก่ยี วข้อง จดั ทำแนวทางการทำงาน ใหค้ ำปรกึ ษา 1. ฝา่ ยสวสั ดภิ าพและความปลอดภยั 1. หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา และอำนวย ความสะดวกแก่ผู้เรียนที่มาฝึกงาน และฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการ ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ สรา้ งความตระหนัก และความเข้าใจ 1. ฝ่ายอำนวยการ 1. สถานประกอบการ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกงาน 2. ฝ่ายสวัสดิภาพและความปลอดภยั 2. สถานศกึ ษา 3. ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพน้ื ที่ และฝึกอาชีพทั้งในสถานศึกษาและ 4. หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในสถานประกอบการ 5. ผเู้ รยี น ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอน่ื ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 1. ฝา่ ยอำนวยการ 1. สถานประกอบการ 2. ฝ่ายพฒั นาวชิ าการทวิภาคี 2. สถานศกึ ษา 3. ฝา่ ยส่งเสรมิ ความรว่ มมือทวิภาคี 3. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ที่ 4. ฝ่ายสวัสดิภาพและความปลอดภัย 4. หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง 5. ผูเ้ รยี น 3. ขอบเขตการดำเนนิ งาน การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน จัดให้มี ระบบบริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคีให้มีคุณภาพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงได้ปรับแนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้มี ความคลอ่ งตวั และสอดคล้องกับบริบทพืน้ ทแ่ี ละตอบสนองความต้องการกำลงั คนของอตุ สาหกรรมต่างๆ โดยสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ขึ้น 15 แห่งทั่วประเทศ เพื่อวางแผน ความร่วมมือ จัดทำฐานข้อมูลกำลังคน การดูแลอำนวยความสะดวก และสวัสดิการของผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคีในเขตพื้นที่ต่างๆ และส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ความร่วมมือกับ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม และรวมทั้งยกระดับคุณภาพกำลังคนในกลุ่มผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา รวมถึงกำลังคนใน สถานประกอบการให้มีสมรรถนะในมติ ขิ องวิชาชีพสูงข้นึ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่เปรียบเสมือนตัวกลางที่จะเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถานประกอบการ และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการประสานการพัฒนากำลังคน โดยศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่แบ่งเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ 1. ฝ่ายอำนวยการ ดำเนินการสำรวจข้อมูลความต้องการ รับผูเ้ รยี น เขา้ ฝึกงานและฝึกอาชีพของสถานประกอบการในพ้ืนที่รับผิดชอบ และการติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 2. ฝ่ายพัฒนาวิชาการทวิภาคี จะจัดทำแผนพัฒนาการฝึกงาน และอบรมครูนิเทศก์และครูฝึกในพื้นที่รับผิดชอบ คมู่ อื ศูนย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนท่ี หนา้ 22

3. ฝ่ายส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคี จะดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับสถานศึกษาและสถานประกอบการในเขตพื้นทีร่ ับผิดชอบ และ 4. ฝ่ายสวัสดิภาพและ ความปลอดภัย ดูแลและเตรียมความพร้อมผู้เรียนในการสร้างความตระหนัก และความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการฝึกงาน และฝึกอาชีพท้ังในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ 4. เครื่องมอื การดำเนินงานของศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพ้นื ที่ การปฏิบัติงานของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ มีความสอดคล้องกับอำนาจหน้าที่และภารกิจต่างๆ เพื่อใหก้ ารจัดการอาชีวศึกษาทวภิ าคีมีประสิทธภิ าพ จึงมีการกระจายอำนาจหน้าที่และภารกิจไปยังฝ่ายทั้ง 4 ฝ่าย ทำให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน และในภารกิจของแต่ละฝ่ายซึ่งประกอบไปด้วยแบบฟอร์มเอกสารต่างๆ เช่น เอกสารในกระบวนการจัดตั้งคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ เอกสารแบบฟอร์มหนังสือภายนอกและ หนังสือภายใน เอกสารแบบฟอร์มโครงการ เป็นต้น ในการจัดทำเอกสารดังกล่าว ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี สามารถจัดทำเอกสารโดยอ้างอิงรหัสตัวพยัญชนะ ชื่อย่อ และเลขประจำเจ้าของได้ตามบันทึกข้อความ เรื่อง กำหนด รหัสตัวพยัญชนะ ช่อื ยอ่ และเลขประจำเจา้ ของเรื่องของศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพน้ื ท่ี ซงึ่ มีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ๑. ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคภี าคตะวันออก ๑ ศธ ๐๖๑๗.๘ (ศพท. ๐๑)/... ๒. ศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคีภาคตะวันออก ๒ ศธ ๐๖๒๓.๗ (ศพท. ๐๒)/... ๓. ศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคภี าคกลาง ๑ ศธ ๐๖๑๕.๑๐ (ศพท. ๐๓)/... ๔. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคภี าคกลาง ๒ ศธ ๐๖๑๘.๘ (ศพท. ๐๔)/... ๕. ศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีภาคเหนือ ๑ ศธ ๐๖๒๙.๑ (ศพท. ๐๕)/... ๖. ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีภาคเหนอื ๒ ศธ ๐๖๓๒.๒ (ศพท. ๐๖)/... ๗. ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๑ ศธ ๐๖๒๔.๘ (ศพท. ๐๗)/... ๘. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคภี าคตะวันออกเฉียงเหนอื ๒ ศธ ๐๖๒๘.๑ (ศพท. ๐๘)/... ๙. ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคภี าคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ ศธ ๐๖๒๗.๑ (ศพท. ๐๙)/... ๑๐. ศูนย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคีภาคใต้ ๑ ศธ ๐๖๒๐.๑ (ศพท. ๑๐)/... ๑๑. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีภาคใต้ ๒ ศธ ๐๖๒๑.๓ (ศพท. ๑๑)/... ๑๒. ศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคีภาคใต้ ๓ ศธ ๐๖๒๒.๗ (ศพท. ๑๒)/... ๑๓. ศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคปี รมิ ณฑล ๑ ศธ ๐๖๑๕.๔ (ศพท. ๑๓)/... ๑๔. ศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคปี รมิ ณฑล ๒ ศธ ๐๖๑๗.๕ (ศพท. ๑๔)/... ๑๕. ศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคกี รงุ เทพมหานคร ศธ ๐๖๗๐.๐๖ (ศพท. ๑๕)/... การบริหารงานภายในศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพ้ืนที่ แบ่งออกเป็น ๔ ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายอำนวย ฝ่ายพัฒนา วิชาการ ฝา่ ยส่งเสรมิ ความร่วมมือทวภิ าคี และฝา่ ยสวัสดิภาพและความปลอดภยั โดยแต่ละฝ่ายมภี ารกิจและเคร่ืองมือ ในการดำเนินการดงั น้ี ค่มู ือศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนท่ี หน้า 23

บรรณานุกรม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี . (๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๒๓๙ ง หนา้ ๔. ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เร่อื ง กรอบคณุ วฒุ ิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒. (๖ มีนาคม ๒๕๖๒). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ง หน้า ๙ - ๑๑. ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๖๒. (๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๓ - ๑๘. ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชัน้ สูง พ.ศ. ๒๕๖๒. (๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง หน้า ๑๙ - ๒๔. ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓. (๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๑๙๑ ง หน้า 29 - 33. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕. ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๓ ก. หนา้ ๑๖ - ๒๑. พระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑. (๕ มีนาคม ๒๕๕๑). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๓ ก. หน้าที่ ๑ - ๒๔. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๖๒. (๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๘๙ ง หน้า ๑ - ๑๙. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (มปป.). คู่มือการจัดทำแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ. ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคี. สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. (๒๕๕๘). คมู่ อื การใช้หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๕๖. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๕๘). แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคีตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๗. ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาค.ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. (๒๕๖๒). แนวปฏบิ ัติการขอรับสิทธิประโยชนข์ องผู้ประกอบกิจการในการ จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปเข้าฝึกงานและฝึก เตรยี มเข้าทำงานกับผ้ปู ระกอบกจิ การ. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าค.ี กรงุ เทพฯ : วิทยาลัยสารพดั ชา่ งพระนคร. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๖๒). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๒. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (๒๕๖๓). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๓. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. ค่มู ือศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพน้ื ที่ หน้า 24

ภาคผนวก ค่มู อื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ท่ี หน้า 25

DVEC001/1-1 ค่มู อื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ้นื ที่ หน้า 26

DVEC001/1-2 ค่มู อื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ้นื ที่ หน้า 27

DVEC00๒/๑-1 ท่ี ศธ .............(ศพท. ......)/ ศูนย์อาชวี ศึกษาเขตพน้ื ท.ี่ ......... .................................................. .................................................. .................................... เรื่อง ขอเชญิ ร่วมเปน็ คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพน้ื ที่............................................................... เรียน ...................................................................................................................... ........................................... สิ่งที่ส่งมาดว้ ย แบบตอบรับ จำนวน 1 ฉบับ ด้วยศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ .................... สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีความประสงค์ดำเนินการสรรหาคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษ าทวิภาคีเขตพื้นท่ี .................................................ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อง การจัดตั้งศนู ย์อาชีวศึกษา ทวิภาคีเขตพื้นที่ ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2564 เพื่อทำหน้าที่ด้านการบริหารจัดการศึกษาระบบทวิภาคี การพัฒนา วิชาการ การส่งเสริมความร่วมมือ การดูแลสวัสดิภาพและความปลอดภัยของผู้เรียนในการฝึกงานและการฝึกอาชีพ ในแต่ละเขตพื้นท่ี 15 แห่ง นนั้ ในการน้ี ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่........... จึงขอเชิญท่านเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ ศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคีเขตพ้ืนท.ี่ ..........โดยขอความกรณุ าลงนามในเอกสารและแนบสำเนาเอกสาร ตามสง่ิ ทส่ี ่งมาดว้ ย จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณา ขอแสดงความนบั ถือ () ผู้อำนวยการศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวิภาค.ี ....................... คู่มือศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้นื ท่ี .pdf .docx หน้า 28

DVEC00๒/๑ - ๒ แบบตอบรบั เรอ่ื ง ตอบรับเข้ารว่ มเปน็ คณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่ เรยี น ผู้อำนวยศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคีเขตพืน้ ท่ี............................ ตามทศ่ี นู ย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคีเขตพ้นื ที่......................เชิญขา้ พเจ้า...................................................... ตำแหน่ง....................................เขา้ รว่ มเป็นคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นท.ี่ ....................................น้ัน ขา้ พเจา้ ขอเรยี นทา่ นให้ทราบวา่  ยนิ ดีเขา้ ร่วมเปน็ คณะกรรมการศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพน้ื ท่.ี ..................................................  ไม่สามารถเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพน้ื ท่.ี ........................................ เนื่องจาก ....................................................................................................................................... จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงช่อื …………………………......………… (…………………………………………) ............................................................ หมายเหตุ โปรดตอบรบั ทางโทรสารหมายเลข …………………………………E-mail …………………..........................…………………………. AMS e-office ................................................................................................................................................................ ภายในวันที่ .................................................................................................................................................................... และสามารถติดต่อประสานงานท่.ี ........................................... ตำแหน่ง..........................โทรศัพท์.................................. คมู่ อื ศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพนื้ ที่ หนา้ 29

DVEC00๓/๑ ท่ี ศธ .............(ศพท. ......)/ ศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี…………………….. …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… เรอื่ ง โปรดลงนามและแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ…นื้ ท…่.ี…......................... เรยี น เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส่ิงทส่ี ง่ มาด้วย ร่างคำสงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการศูนย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคเี ขตพนื้ ที่ จำนวน ๑ ฉบับ ด้วยศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่....................... ได้จัดทำร่างคณะกรรมการศูนย์อาชีวศึกษา ทวิภาคีเขตพื้นที่ขึ้นภายใต้อำนาจหน้าที่ของศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี เพื่อกำหนดและจัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และแผนปฏิบัติการประจำปี ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของฝ่ายภายใต้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นท่ี ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและเอกชน ให้คำปรึกษาด้านการนิเทศ ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก และดูแล ความปลอดภัยในการฝึกงานและการฝึกอาชีพ ทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ กำกับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนนิ งาน รวมถงึ แตง่ ต้ังคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย ในการนี้ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่............จึงใคร่ขอความเห็นชอบลงนามและดำเนินการ ประกาศแตง่ ตงั้ คณะกรรมการศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคีเปน็ ลำดบั ต่อไป จึงเรียนมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา ขอแสดงความนับถือ (..........................................) ผอู้ ำนวยการศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคเี ขตพนื้ ท่ี............... ............................................... ............................................... ............................................... ............................................... .pdf .docx คมู่ อื ศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพื้นท่ี หนา้ 30

DVEC00๔/๑ แบบสำรวจความพร้อมของสถานประกอบการ ชอื่ สถานประกอบการ................................................................................................................................................................................. ท่ีอยู่........ถนน/ซอย...................ตำบล.........................อำเภอ............................จังหวัด..................................รหัสไปรษณยี ์...................... โทรศัพท.์ ................................................โทรสาร.................................................E-Mail……………………………………....………………….…........ ประเภทธุรกิจ.............................................................. ลักษณะงาน............................................................................................................ มาตรฐานระบบ ISO ที่ใช้............................................................................................................................................................................. มาตรฐานข้อกำหนดอื่น ๆ............................................................................................................................................................................ ขนาดของกจิ การตามท่ีย่ืนจดทะเบียนธรุ กจิ ❑ ขนาดเลก็ ❑ ขนาดกลาง ❑ ขนาดใหญ่ ข้อมลู การทำความรว่ มมือจัดอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ❑ ไม่เคยจดั ❑ เคยรว่ มจดั (ระบุ)........ปี มคี วามต้องการทำความร่วมมือในระดับ ❑ ปวช. ❑ ปวส. ❑ ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญิง จำนวน..........คน สาขาวิชา..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญงิ จำนวน..........คน สาขาวิชา..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญิง จำนวน..........คน คำชีแ้ จง กรุณาใสเ่ ครือ่ งหมาย✓ ในช่องที่ตรงกบั คุณลักษณะของสถานประกอบการ ❑ ๑. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมพัฒนาเพือ่ ให้ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ❑ ๒. ลักษณะงานทฝี่ ึกอาชพี สอดคลอ้ งกับการเรียนร้ใู นสาขาวิชาทีผ่ เู้ รยี นกำลงั ศกึ ษา ❑ ๓. ทำบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ระหว่างสถานประกอบการกับสถานศกึ ษา ❑ ๔. ทำสญั ญาการฝึกอาชีพระหวา่ งผู้เรยี นกับสถานประกอบการ ❑ ๕. ทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพและแผนการนิเทศร่วมกบั สถานศึกษาตลอดหลกั สตู ร ❑ ๖. ประเมินการฝกึ อาชพี ร่วมกบั สถานศกึ ษา ❑ ๗. มีครูฝึกในสถานประกอบการ ❑ ๘. มีผคู้ วบคมุ การฝึกอาชพี ❑ ๙. มีผู้ประสานงานการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีของสถานประกอบการ ❑ ๑๐. ประชาสัมพันธ์การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กบั ผเู้ รยี น ผปู้ กครองและชมุ ชน ❑ ๑๑. มีสวัสดิการและค่าตอบแทน วันหยุด ที่เหมาะสมให้กับผู้เรียน ตามข้อตกลงระหว่างสถานประกอบการและ สถานศกึ ษา สวสั ดิการทจี่ ัดให้ผเู้ รยี น ❑ มรี ถรับสง่ ❑ คา่ เดินทาง.......................บาท ❑ ประกันอุบตั เิ หตปุ ีละ..................บาท ❑ ประกันชีวติ ปลี ะ..............บาท ❑ ชุดปฏบิ ัติงาน (UNIFORM) ❑ มที พี่ ัก................บาท/เดอื น ❑ คา่ อาหาร...........บาทตอ่ วนั /..........บาทตอ่ เดอื น ❑ เบ้ียเล้ยี ง...........บาทต่อวัน /..........บาทตอ่ เดือน ❑ ทนุ การศึกษาภาคเรยี นละ.................บาท / ปลี ะ......................บาท ❑ อปุ กรณ์ ❑ รองเท้านิรภยั ❑ หมวกนริ ภยั ❑ แว่นตานริ ภยั ❑ เครือ่ งอุดหู (Ears Plug) ❑ อน่ื ๆ (โปรดระบุ ) ............................................................................................................................................................ ลงชือ่ ............................................ (...........................................) ตำแหน่ง............................................... .pdf .docx หนา้ 31 คู่มอื ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ที่

DVEC00๔/๒ แบบสำรวจความต้องการผู้เรียนตามลกั ษณะงานของสถานประกอบการ เพอ่ื ให้การฝึกอาชพี ของผูเ้ รยี นระบบทวภิ าคีระดับ...............................สาขาวิชา................................................ สาขางาน..............................ปีการศกึ ษา....................ระยะเวลาฝึกปฏบิ ตั ิงานจำนวนวัน...............................ตอ่ สปั ดาห์ ชอ่ื สถานประกอบการ....................................................................ตั้งอยู่เลขที่.........................หมู่.................................... ซอย/ถนน............................................แขวง/ตำบล.........................................เขต/อำเภอ............................................... จังหวดั ...................................รหสั ไปรษณีย์.....................โทรศพั ท.์ ...........................โทรสาร........................................... Email Address................................................................................................................................................................ ตำแหน่งงาน.................................................................................................................................................................... .. ลำดบั ที่ ลกั ษณะงาน/สมรรถนะวชิ าชพี หมายเหตุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ความคดิ เห็นผใู้ ห้ขอ้ มลู (จากสถานประกอบการ).............................................................................................................. ................................................................................. ................................................................................................... ..... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................. (.............................................) ผบู้ ันทกึ ขอ้ มลู คูม่ ือศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพ้ืนท่ี .pdf .docx หน้า 32

DVEC00๔/3-1 ท่ี ศธ................................. ....................................................... ....................................................... ....................................................... วันที.่ .................................. เร่อื ง สำรวจข้อมลู ความต้องการรับผเู้ รยี น ฝึกงานในสถานประกอบการ ภาคเรียนท.ี่ ...........ปกี ารศกึ ษา...................... เรียน ........................................................................................................................................... ................................... สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสำรวจข้อมลู การรบั ผูเ้ รยี นฝึกงานหรอื ฝึกอาชีพในสถานประกอบการ จำนวน ๑ ฉบบั ประจำภาคเรียนที่ .......ปกี ารศึกษา.......... ด้วยวิทยาลัย........................................................ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี………………..…………........ ได้จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งผู้เรียนจะต้องได้รับการฝึกงานหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการ โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในการเรียน ทสี่ ถานศึกษา และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ ในการน้ี วิทยาลยั ฯ ศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าค.ี .......................................................... จึงขอความกรุณา ตอบแบบสำรวจความต้องการการรบั ผเู้ รียน ภาคเรยี นท่ี ........ปกี ารศึกษา................ เพ่อื เตรยี มความพร้อม ในการส่ง ผู้เรียนเขา้ ฝึกงานหรอื ฝกึ อาชพี กบั สถานประกอบการของทา่ น รายละเอยี ดดงั ส่ิงทีส่ ง่ มาดว้ ย จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดพิจารณา ……………………………………………….. ขอแสดงความนับถือ ……………………………………………….. (.........................................................) ………………………………………………... ............................................................ คมู่ อื ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นท่ี .pdf .docx หน้า 33

DVEC00๔/3-2 แบบสำรวจข้อมูลการรับผ้เู รยี นเข้าฝกึ งานหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ภาคเรียนที่ ………ปกี ารศึกษา……………… ชอ่ื สถานประกอบการ…………………………………………………………………………………………….. ผู้เรยี น ระดบั ปวช. ที่ สาขาวิชา สาขางาน ระบบ จำนวนผู้เรียน (คน) ปกติ ทวิภาคี ผู้เรียน ระดบั ปวส. สาขางาน ระบบ จำนวนผเู้ รียน (คน) ที่ สาขาวชิ า ปกติ ทวภิ าคี ผใู้ ห้ขอ้ มลู ลงช่ือ......................................................... (.........................................................) ตำแหน่ง............................................................ เบอรโ์ ทร..................................... คมู่ ือศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ หน้า 34

DVEC00๔/4-1 ที่ ศธ................................. ....................................................... ....................................................... ....................................................... วันท.่ี .................................. เรอ่ื ง ขอความอนเุ คราะห์รับผ้เู รียนฝึกงานหรอื ฝึกอาชีพในสถานประกอบการ เรยี น ................................................................................................... สงิ่ ทีส่ ง่ มาดว้ ย ๑. รายชอ่ื ผเู้ รยี น จำนวน ๑ ฉบบั ๒. หนังสอื ตอบรับผเู้ รียนฝึกงานหรอื ฝึกอาชีพ จำนวน ๑ ฉบับ ด้วย……………………………………..ได้จัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งผู้เรียนที่จะสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรต้องผ่านการฝึกงานหรือฝึกอาชีพ จากสถานประกอบการ ตามหลกั เกณฑ์การใชห้ ลักสตู ร วิทยาลัยฯ ได้พจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่า สถานประกอบการของท่าน มีความพรอ้ ม และเหมาะสมที่ผ้เู รียนจะไดเ้ รยี นรแู้ ละฝึกปฏิบตั ิงานทางวิชาชีพ นนั้ ในการนี้ วทิ ยาลัยฯ จงึ ขอความอนุเคราะห์จากท่าน อนญุ าตให้ผูเ้ รียนดังรายช่ือตามส่งิ ท่ีส่งมาด้วย 1 เข้าฝึกงานหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการของท่าน และใคร่ขอความกรุณากรอกข้อมูลหนังสือตอบรับผู้เรียน เขา้ ฝกึ งานหรือฝึกอาชพี รายละเอียดดังสง่ิ ทสี่ ง่ มาดว้ ย 2 พร้อมส่งกลบั มายงั วทิ ยาลัยฯ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณาให้ความอนุเคราะห์ จักขอบคณุ ยิ่ง ขอแสดงความนับถือ ……………………………………………….. (.........................................................) ……………………………………………….. ............................................................ ………………………………………………... .pdf .docx คู่มอื ศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคเี ขตพน้ื ท่ี หน้า 35

DVEC00๔/4-2 รายช่ือผเู้ รียนขอฝกึ งานหรือฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ ....................................................................................... ผเู้ รยี นระบบปกต…ิ ……………………………………..…จำนวน……………….คน ผ้เู รยี นระบบทวิภาค…ี …………………………………….จำนวน……………….คน ที่ ชอ่ื -สกุล ช้ันปที ี่ สาขาวิชา/สาขางาน ระบบปกติ ระบบทวิภาคี (จำนวนคน) (จำนวนคน) ค่มู อื ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพน้ื ท่ี หนา้ 36

DVEC00๔/๕ ชอื่ สถานประกอบการ....................................................... เลขท.ี่ ............หมู่.........ตำบล............................................ อำเภอ................................จงั หวัด................................... รหสั ไปรษณีย.์ ................................................................... วันท่ี........เดอื น.......................................พ.ศ.................. เรอ่ื ง ตอบรับผู้เรยี นเขา้ ฝึกงานหรือฝกึ อาชพี เรยี น …………………………………………………………………………. อ้างถึง หนังสอื ……………………… ที่ ศธ………………./..............ลงวันที.่ ................................................... ตามหนังสอื ท่ีอา้ งถงึ .............................................. ไดข้ อความอนเุ คราะห์ ให้ผู้เรยี นเข้ารับการฝึกงาน หรือฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ ความละเอียดแจ้งแลว้ นน้ั ในการนี้ สถานประกอบการไดพ้ จิ ารณาแล้ว และขอเรียนใหท้ ราบวา่ 〇 ยนิ ดีรับผเู้ รยี นเข้ารับการฝกึ งานหรือฝกึ อาชีพ จำนวน .....................คน ดังรายชอื่ ต่อไปนี้ ท่ี ช่ือ-สกลุ ช้ันปีท่ี สาขาวิชา/สาขางาน ระบบปกติ ระบบทวภิ าคี (จำนวนคน) (จำนวนคน) 〇 ไม่สามารถรับผเู้ รียนเขา้ ฝกึ งานหรอื ฝกึ อาชพี ได้ เนอื่ งจาก.......................................................................................................................... จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนบั ถือ ลงชอื่ ..................................................... .pdf .docx (....................................................) หน้า 37 ตำแหนง่ ............................................................. คมู่ อื ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพื้นที่

DVEC00๔/๖ - ๑ ที่ ศธ................................. ....................................................... ....................................................... ....................................................... วันที่................................... เร่อื ง ส่งตัวผ้เู รียนเข้าฝกึ งานหรือฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ เรยี น ................................................................................................................. ส่ิงทีส่ ง่ มาด้วย รายชอ่ื ผู้เรยี น จำนวน ๑ ฉบบั ตามท่ี ....................................................... ได้รับความอนุเคราะห์จากสถานประกอบการ ในการตอบรับผู้เรียนระดับ...........จำนวน.........คน เข้ารับการฝึกงานหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการของท่าน ความละเอียดแจ้งแล้ว นนั้ ในการนี้ วิทยาลัย................................................... จึงขอส่งตัวผู้เรียนดังกล่าว เข้าฝึกงานหรือฝึก อาชีพในสถานประกอบการของท่าน ตามรายชื่อผู้เรียนดังสิ่งที่ส่งมาด้วย หากมีข้อสงสัยประการใดกรุณาติดต่อ .................................................... หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE) เบอร์โทรศัพท์ .................................................... วิทยาลยั ฯ ขอขอบคุณทา่ นเป็นอย่างสงู ในการให้ความอนุเคราะห์ครัง้ น้ี จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ ขอแสดงความนับถอื ……………………………………………….. (.........................................................) ……………………………………………….. ............................................................ ………………………………………………... .pdf .docx ค่มู ือศูนยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพื้นท่ี หนา้ 38

DVEC00๔/๖ - ๒ รายชื่อผู้เรียนฝกึ งานหรือฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ ชื่อสถานประกอบการ.......................................................................................... ผู้เรียนสาขาวชิ า/สาขางาน………………………………………………จำนวน………….คน ระยะเวลาการฝึกระหวา่ งวนั ที่…………….…...……………………............………………… ลำดับ ช่อื – นามสกลุ ระดบั ช้นั เบอร์โทรศัพท์ หมายเหตุ ลงช่ือ (................................................) หวั หนา้ งานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี โทร...................................... ค่มู อื ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพืน้ ท่ี หนา้ 39

DVEC005/1-1 แบบฟอร์มโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ โครงการ……………………………………………………………………………. ลักษณะโครงการ : ( ) โครงการต่อเนื่อง ( ) โครงการใหม่ เร่ิมดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ.......... ประเภทโครงการ : ( ) โครงการเทยี บเท่าผลผลิต ( ) โครงการภายใต้ผลผลิต ความเชื่อมโยงกบั แผนระดับต่าง ๆ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ด้านการศึกษา (ฉบบั ปรับปรุง) ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าติ แผนด้าน.... กิจกรรมปฏริ ูปที่... ดา้ น.... ประเดน็ ท.่ี ... ความเช่อื มโยงกบั นโยบายรัฐบาล นโยบายเร่งดว่ น 12 เรอ่ื ง เรื่องท.ี่ ... นโยบายหลัก 12 ดา้ น ข้อท่.ี ... ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การปฏบิ ตั ริ าชการของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ........... ขอ้ เรื่อง 1. การจดั การศึกษาเพอ่ื อาชีพและสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ 2. การยกระดับพัฒนาคุณภาพการจดั การอาชวี ศึกษาโดย ใช้พน้ื ท่เี ปน็ ฐาน ๑. หลกั การและเหตุผล .............................................................................................. ............................................................................ ............... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ ............................................................................................................................................................................ ๒.๒ ......................................................................................................................... ................................................... ๒.๓ ........................................................................................................................ ................................................... ๒.๔ ........................................................................................................................................................... ................ ๒.๕ ........................................................................................................................................................................... คมู่ อื ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพ้นื ที่ หน้า 40

๓. กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เป้าหมาย DVEC005/๑ - ๒ จำนวน 1. 2. ค่าเป้าหมาย 3. 4. คา่ เป้าหมาย 5. ๔. ตัวช้ีวดั โครงการ ชอ่ื ตัวชว้ี ดั ๑. ๒. 3. 4. 5. 5. ตวั ชีว้ ัดงบประมาณ (ตาม แบบ สงป.301) ชื่อตัวชี้วดั ๑. ๒. ๓. 4. 5. คู่มือศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคเี ขตพนื้ ที่ หนา้ 41

DVEC005/๑ - ๓ 6. กิจกรรมโครงการและวิธกี ารใช้จา่ ยงบประมาณ ที่ กิจกรรมหลัก กจิ กรรมย่อย (ถา้ มี) วิธกี ารใช้จา่ ยงบประมาณ 1. 2. 3. 4. 5. โดยมีรายละเอยี ดการดำเนินงาน ตามแผนการดำเนินงานโครงการ แนบทา้ ยโครงการ ๗. งบประมาณ/แหลง่ งบประมาณ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ และผู้ประสานงานโครงการ ศนู ย์.............................................................................................................................................................................. ชอ่ื - นามสกลุ ผู้ประสาน………………………………………………………………………………………….…………………………………. ตำแหน่ง..............................................................................เบอร์ตดิ ต่อ (มือถือ).......................................................... 9. ระยะเวลาและพน้ื ท่ีดำเนนิ งาน ระยะเวลาดำเนินงาน……………………………………………………….……….…………………………………………………………………. พ้นื ทด่ี ำเนนิ งาน…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… 10. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ๑. ...................................................................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................................................................... 3. ...................................................................................................................................................................... 4. ...................................................................................................................................................................... 5. ...................................................................................................................................................................... 11. รปู แบบ/วิธีการประเมินผลการดำเนินงาน ๑. ...................................................................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................................................................... 3. ...................................................................................................................................................................... 4. .............................................................................................................................. ........................................ 5. ...................................................................................................................................................................... คู่มอื ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคีเขตพ้ืนที่ หนา้ 42

DVEC005/๑ -๔ 12. การรายงานผลการดำเนนิ งาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ค่มู อื ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพน้ื ที่ .pdf .docx หนา้ 43

แผนการดำเนนิ ง แนบท้ายโครงการ………………………………………………… ของศนู ย.์ ................................................................... ภายใต้แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. .. กิจกรรมหลกั /กจิ กรรมยอ่ ย วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรม/ กลุ่มเป้าหมาย กจิ กรรมหลกั ...... วธิ ดี ำเนนิ การ กิจกรรมยอ่ ย..... วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั ...... 1. …. กิจกรรมยอ่ ย..... 2. .... วธิ ีการดำเนนิ งาน กิจกรรมหลกั ...... 1. …. กิจกรรมยอ่ ย..... 2. .... วตั ถปุ ระสงค์ 1. …. 2. .... วิธกี ารดำเนินงาน 1. …. 2. .... วัตถุประสงค์ 1. …. 2. .... วิธีการดำเนนิ งาน 1. …. 2. .... คู่มอื ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคีเขตพน้ื ท่ี

DVEC005/๑ - ๕ งานโครงการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ …………………………………………………………………………. .................................................................................... ................. ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา จำนวน งบประมาณ ระยะเวลา กลมุ่ เปา้ หมาย (บาท) ดำเนินการ หน้า 44

DVEC006/๑ - ๔ แบบเสนอโครงการ.............................................................................................. 1. ชือ่ บุคคล/ หน่วยงานผ้รู ับผิดชอบ ..................................................... 2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการตาม พรบ.งบประมาณ  โครงการตามภาระงานประจำ  โครงการพิเศษ 3. ความสอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................... 4. หลกั การและเหตุผล ........................................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ......................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. .... ................................................................................................................................................................ .......................... ................................................................ ......................................................................................... ................................. 5. วตั ถปุ ระสงค์ในการดำเนนิ โครงการ ๕.๑ ............................................................................................................................................................................ ๕.๒ ............................................................................................................................................................................ ๕.๓ ........................................................................................................................................................................... ๕.๔ ........................................................................................................................................................................... ๕.๕ ............................................................................................................................. .............................................. 6. เปา้ หมาย 6.1 เชิงปริมาณ ๑ .................................................................................................................................................................... ๒ .................................................................................................................................................................... ๓ .................................................................................................................................................................. 6.2 เชิงคุณภาพ ๑ ............................................................................................................................. ........................................ ๒ ..................................................................................................................................................................... ๓ .................................................................................................................................................................... ค่มู อื ศูนยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนที่ หน้า 45

7. กิจกรรมและข้นั ตอนดำเนินการ/ระยะเวลา/สถานที่ ระยะเวลา DVEC006/๑ - ๔ 7.1 กิจกรรมและขนั้ ตอนดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ข้ันตอน 7.2 ระยะเวลา/สถานที่ ................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... 8. งบประมาณ/ทรพั ยากร และแหล่งที่มา การดำเนนิ โครงการ 8.1 จากเงนิ  เงนิ งปม.  เงินรายได้  เงินอุดหนนุ ฯ  เงนิ อดุ หนนุ เรยี นฟรี เปน็ งบประมาณท้งั สิ้น ................................... บาท (..........................................) 8.2 รายละเอียดการใชง้ บประมาณ รายการ แหลง่ จำแนกตามหมวดรายจ่าย การใช้เงิน ค่าตอบแทน คา่ ใชจ้ า่ ย ค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ รวม หมายเหตุ ขอถัวเฉลยี่ ค่าใช้จ่ายเทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ ทุกรายการ หน้า 46 คมู่ ือศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพนื้ ท่ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook