Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดการทวิภาคี

แนวทางการจัดการทวิภาคี

Published by Aj.pan Rattanaumporn, 2022-08-22 04:42:56

Description: แนวทางการจัดการทวิภาคี

Search

Read the Text Version

แผนการฝึกอาชีพ การจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี ระหว่าง วิทยาลยั .........(ชอื่ สถานศ ปกี ารศึกษา .................... หลกั สตู ร  ปวช.  ปวส.  ป อาชีพ / ตำแหนง่ งาน. .................................................................................ชา่ งานหลกั 1 ...งานซอ่ มระบบเคร่อื งลา่ งและส่งกำลงั ยานยนต์.................... งานย่อย 1.1 ...งานซอ่ มระบบรองรับน้ำหนกั และระบบกนั สะเทือน........ 1.2 ...งานซ่อมระบบบังคบั เลย้ี ว................................................ 1.3 ...งานซอ่ มระบบเบรก.......................................................... 1.4 ...งานซ่อมเกียรแ์ ละเฟอื งทา้ ย............................................. เวลาฝึก ...280...ชวั่ โมง ครูฝกึ .................นาย ข.................. ตำแหน่ง...................หัวหนา้ ชา่ งซ่อมรถย ระดับความสามารถทีต่ อ้ งการ ที่ จดุ ประสงค์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ การ ประยกุ ตใ์ ช้ 1 อธบิ ายโครงสร้างและหลกั การทำงานของระบบเคร่ือง ล่างและส่งกำลังยานนยนต์ไดถ้ ูกต้อง ✓ ๑. ส่งก 2 อธิบายขั้นตอนการตรวจสภาพชิ้นส่วนและข้อขัดข้อง ✓ 2. ของระบบเครื่องล ่างและส ่งกำลังยานนยน ต์ ต า ม เคร ข้อกำหนดคมู่ อื ซ่อม ✓ 3. ✓ ยาน 3 วิเคราะห์ปัญหาความผิดปกติของระบบเครื่องล่าง 4. และสง่ กำลังยานนยนต์ไดถ้ กู ต้อง ✓ ยาน ๕. 4 ซอ่ ม/เปล่ยี นชน้ิ สว่ นระบบเครอ่ื งลา่ งและส่งกำลังยาน ๖. ยนตไ์ ดต้ ามขอ้ กำหนดคมู่ อื ซ่อม ๗. 5 ปรับแต่งด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ตาม ✓ ขอ้ กำหนดคูม่ อื ซอ่ ม 6 มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงตอ่ เวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษา สภาพแวดลอ้ ม แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

พรายหน่วย (ต่อ) ศกึ ษา)........ กบั บริษัท...............(ช่อื สถานประกอบการ)......................... ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า ...............เทคนคิ เคร่อื งกล..................................... างซ่อมรถยนต์................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................... ยนต์………......... หน่วยงาน.......................ฝ่ายซอ่ มรถยนต์................................ หัวขอ้ เร่อื ง วิธสี อน เครื่องมอื / วิธกี ารประเมนิ อปุ กรณ์/ โครงสร้างและหลักการทำงานของระบบเครอื่ งล่างและ - บรรยาย ส่ือการสอน - แบบสงั เกต กำลังยานนยนต์ - สาธติ - แบบสมั ภาษณ์ การตรวจสภาพชิ้นส่วนและการทำงานของระบบ - ปฏิบตั ิ - ชิ้นงานจริง - แบบทดสอบ รือ่ งล่างและสง่ กำลงั ยานนยนต์ - ใชก้ รณตี วั อย่าง - ใบงาน - ทดสอบปฏิบตั ิ การวิเคราะห์ปัญหาของระบบเครื่องล่างและส่งกำลงั - ใชก้ ารจำลอง - มัลติมเี ดีย นนยนต์ การซ่อม/เปลี่ยนช้ินส่วนระบบเครอ่ื งลา่ งและส่งกำลัง นนยนต์ โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำหรบั งานยานยนต์ ................................................................................... ................................................................................... หน้า ๔๓

แผนการฝกึ อาชีพ การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ระหว่าง วิทยาลัย.........(ช่ือสถานศ ปกี ารศึกษา .................... หลักสตู ร  ปวช.  ปวส.  ป อาชีพ / ตำแหนง่ งาน. .....................................................................ชา่ งซอ่ มร งานหลัก 1 ...งานซอ่ มไฟฟา้ ยานยนต์........................................................ งานยอ่ ย 1.1 ...งานซ่อมระบบไฟฟา้ ตวั ถงั ................................................ 1.2 ...งานซ่อมระบบไฟฟา้ อำนวยความสะดวก......................... 1.3 ...งานซอ่ มระบบไฟฟา้ เครือ่ งยนต์........................................ ๑.๔ ...งานซ่อมระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สค์ วบคมุ เครื่องยนต์.............. เวลาฝกึ ….240...ชัว่ โมง ครฝู ึก.....................นาย ค................ ตำแหนง่ .....................หวั หน้าชา่ งซอ่ มร ระดบั ความสามารถท่ตี ้องการ ท่ี จุดประสงค์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ การ ประยุกตใ์ ช้ 1 อธิบายระบบไฟฟ้าตัวถัง ระบบไฟฟ้าอำนวย ความสะดวก ระบบไฟฟ้าเครื่องยนต์ และระบบ ✓ ๑. อเิ ล็คทรอนิกส์ควบคมุ เคร่อื งยนตไ์ ด้ถกู ตอ้ ง ๒. ✓ ๓. 2 อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบระบบไฟฟ้าตัวถัง ✓ คว ระบบไฟฟ้าอำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้า ✓ ๔. เครื่องยนต์ ระบบอิเล็คทรอนิกส์ควบคมุ เครื่องยนต์ อำ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ✓ ระ ๕. 3 วเิ คราะห์ปญั หาระบบไฟฟา้ รถยนตไ์ ด้ถกู ตอ้ ง ตวั 4 ซ่อม/เปลี่ยนชิ้นส่วน แก้ไขปัญหาระบบไฟฟา้ ตัวถงั เค ๖. ระบบไฟฟ้าอำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้า เครื่องยนต์ ระบบอิเล็คทรอนิกส์ควบคมุ เคร่อื งยนต์ ๗. ไดต้ ามข้อกำหนดคู่มือซ่อม ๘ 5 ปรับแต่งด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ตามข้อกำหนด คมู่ อื ซ่อม ✓ ๖ มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและรักษา สภาพแวดลอ้ ม แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี

พรายหนว่ ย (ต่อ) ศกึ ษา)........ กบั บรษิ ัท...............(ชอ่ื สถานประกอบการ).......................... ปริญญาตรี สาขาวิชา ...............เทคนคิ เครือ่ งกล...................................... รถยนต์................................................................................................................ ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... รถยนต์................. หน่วยงาน...................ฝ่ายซอ่ มรถยนต์.................................. เคร่อื งมือ/ หวั ข้อเรอื่ ง วิธสี อน อปุ กรณ์/ วธิ กี ารประเมิน สื่อการสอน . ระบบไฟฟา้ ตวั ถัง - บรรยาย - ชนิ้ งานจริง - แบบสงั เกต . ระบบไฟฟา้ อำนวยความสะดวก - สาธิต . ระบบไฟฟ้าเครื่องยนต์ และระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ - ปฏบิ ตั ิ - ใบงาน - แบบสัมภาษณ์ วบคุมเครอ่ื งยนต์ - ใช้กรณีตวั อยา่ ง - มัลติมีเดยี - แบบทดสอบ . การวเิ คราะห์ปญั หาระบบไฟฟา้ ตัวถงั ระบบไฟฟ้า - ใชก้ ารจำลอง - ทดสอบปฏบิ ัติ ำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้าเครื่องยนต์ และ ะบบอเิ ลค็ ทรอนกิ สค์ วบคุมเครือ่ งยนต์ . การซอ่ ม/เปลย่ี นชนิ้ ส่วน แกไ้ ขปัญหาระบบไฟฟ้า วถงั ระบบไฟฟ้าอำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้า ครอ่ื งยนต์ และระบบอเิ ล็คทรอนิกสค์ วบคมุ เคร่อื งยนต์ . การปรับแตง่ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ . ........................................................................... ............................................................................ หน้า ๔๔

แผนการฝึกอาชีพ การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ระหวา่ ง วิทยาลยั .........(ชอื่ สถานศ ปกี ารศกึ ษา .................... หลกั สตู ร  ปวช.  ปวส.  ป อาชพี / ตำแหน่งงาน. .........................................................................ช่างซอ่ งานหลกั 1 ...งานซอ่ มระบบปรับอากาศยานยนต์...................... งานยอ่ ย 1.1 ...งานตรวจสอบการรว่ั ระบบปรบั อากาศยานยนต 1.2 ...งานซอ่ มระบบปรับอากาศยานยนต์................................. เวลาฝกึ ...240...ชัว่ โมง ครูฝึก........................นาย ง........................ ตำแหน่ง..................หวั หน้าช่างซ ระดบั ความสามารถท่ตี ้องการ ท่ี จุดประสงค์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ การ ประยุกต์ใช้ 1 อธิบายโครงสร้างและหลักการทำงานของระบบปรับ ✓ 1 อากาศยานยนต์ได้ถูกต้อง อา 2 อธิบายขั้นตอนการบำรุงรักษาระบบปรับอากาศยาน ✓ 2 ยนตไ์ ด้ถูกต้อง 3 3 ตรวจสภาพและวิเคราะห์การทำงานของระบบปรับ ✓ ยา อากาศยานยนต์ได้ถูกตอ้ ง ๔ 4 ซ่อม/เปลี่ยนชิ้นส่วนอุปกรณร์ ะบบไฟฟ้าปรับอากาศ ระ และระบบปรับอากาศยานยนตไ์ ด้ตามข้อกำหนดคู่มือ ✓ ๕ ซ่อม ๖ 5 ทดสอบการทำงานของระบบไฟฟ้าปรับอากาศ และ ✓ ระบบปรับอากาศยานยนตไ์ ด้ตามขอ้ กำหนดค่มู อื ซอ่ ม 6 มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและรักษา ✓ สภาพแวดล้อม แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี

พรายหนว่ ย (ต่อ) ศกึ ษา)........ กบั บรษิ ัท...............(ชื่อสถานประกอบการ)........................... ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา ...............เทคนิคเครอื่ งกล....................................... อมรถยนต์……………………………………………………………………………….................... ............................................................................................................................ ต์.......................................................................................................................... ............................................................................................................................ ซ่อมรถยนต์……........... หน่วยงาน...................ฝ่ายซอ่ มรถยนต์........................... เครื่องมอื / หวั ข้อเรื่อง วิธสี อน อปุ กรณ์/ วิธกี ารประเมิน สอื่ การสอน 1. โครงสร้างและหลักการทำงานระบบระบบปรับ - บรรยาย - ชิ้นงานจรงิ - แบบสงั เกต อากาศยานยนต์ - สาธิต - ใบงาน - แบบสัมภาษณ์ 2. การบำรุงรักษาระบบปรับอากาศยานยนต์ - ปฏบิ ตั ิ - มลั ติมีเดีย - แบบทดสอบ 3. การวิเคราะห์การทำงานของระบบปรับอากาศ - ใชก้ รณตี ัวอย่าง - ทดสอบปฏบิ ัติ านยนต์ - ใชก้ ารจำลอง ๔. การซ่อม/เปลี่ยนชิ้นส่วนอุปกรณ์ และทดสอบ ะบบปรบั อากาศยานยนต์ ๕ ................................................................................ ๖. ............................................................................... หน้า ๔๕

แผนการฝกึ อาชีพ การจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี ระหว่าง วิทยาลัย.........(ช่อื สถานศ ปีการศึกษา .................... หลกั สูตร  ปวช.  ปวส.  ป อาชพี / ตำแหน่งงาน. ............................................................................ชา่ งซ งานหลกั 1 ...ตรวจเช็ครายการตามคู่มือ (วชิ า ฝกึ งาน 1)...................... งานย่อย 1.1 ...งานเช็คระยะตามคมู่ อื 1,000 กโิ ลเมตร......................... 1.2 ...งานเช็คระยะตามคมู่ อื 10,000 กโิ ลเมตร...................... 1.3 ...งานเชค็ ระยะตามคมู่ อื 20,000 กโิ ลเมตร...................... เวลาฝกึ ...240...ช่ัวโมง ครูฝกึ .....................นาย จ....................... ตำแหนง่ .......................หวั หน้าชา่ งซ ระดบั ความสามารถทีต่ อ้ งการ ที่ จดุ ประสงค์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ การ ประยกุ ต์ใช้ 1 อธิบายการซ่อม/เปลี่ยน/บำรุงรักษายานยนต์ระยะ 1,000 กิโลเมตร 10,000 กิโลเมตร และ ✓ 1. 20,000 กโิ ลเมตร ได้ถูกต้อง 2. ✓ ขอ 2 ซอ่ ม/เปลีย่ น/บำรงุ รกั ษายานยนต์ตามระยะตา่ งๆ ได้ ✓ ๓ ตามขอ้ กำหนดคู่มือซ่อม 1, ✓ กโิ ๓ ทดสอบการทำงานของระบบตา่ งๆ กอ่ นสง่ มอบงาน ๔. 4 มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต ๕. ๖. รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและรักษา สภาพแวดล้อม แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี

พรายหน่วย (ต่อ) ศึกษา)........ กบั บริษทั ...............(ชื่อสถานประกอบการ)........................... ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า ...............เทคนิคเครื่องกล....................................... ซอ่ มรถยนต์......................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ซอ่ มรถยนต์................ หนว่ ยงาน...........ฝา่ ยซอ่ มรถยนต์................................... หัวขอ้ เรือ่ ง วิธีสอน เครอื่ งมือ/ วิธีการประเมนิ อปุ กรณ์/ . การบรกิ ารเช็คระยะตามคมู่ อื - บรรยาย สอื่ การสอน - แบบสงั เกต . ขั้นตอนการเปลี่ยนถ่ายสารหล่อลื่นระบบต่างๆ - สาธติ - แบบสัมภาษณ์ องยานยนต์ - ปฏบิ ัติ - ชนิ้ งานจริง - แบบทดสอบ . การซ่อม/เปลี่ยน/บำรุงรักษายานยนต์ระยะ - ใช้กรณีตวั อยา่ ง - ใบงาน - ทดสอบปฏิบัติ ,000 กิโลเมตร 10,000 กิโลเมตร และ 20,000 - ใชก้ ารจำลอง - มลั ตมิ เี ดยี โลเมตร . การทดสอบการทำงานของระบบตา่ งๆ ของยานยนต์ . ............................................................................. . ............................................................................. หน้า ๔๖

แผนการฝึกอาชีพ การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี ระหวา่ ง วิทยาลยั .........(ชอื่ สถานศ ปีการศึกษา .................... หลักสตู ร  ปวช.  ปวส.  ป อาชพี / ตำแหน่งงาน. .......................................................................ชา่ งซอ่ ม งานหลกั 1 ...ตรวจเชค็ รายการตามคมู่ อื (ฝกึ งาน 2)................................ งานย่อย 1.1 ...งานเชค็ ระยะตามคู่มอื ๘0,000 กิโลเมตร................... 1.2 ...งานเชค็ ระยะตามคมู่ ือ 120,000 กิโลเมตร................ 1.3 ...งานเชค็ ระยะตามคู่มือ 150,000 กิโลเมตร................ เวลาฝกึ ...240...ชั่วโมง ครฝู ึก..................นาย ฉ.......................... ตำแหน่ง.................หวั หนา้ ชา่ งซ่อม ระดบั ความสามารถทต่ี ้องการ ที่ จดุ ประสงค์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ การ ประยกุ ต์ใช้ 1 อธิบายการบริการการซอ่ ม/เปลี่ยน/บำรุงรกั ษายาน 1. ยนตร์ ะยะ ๘๐,000 กโิ ลเมตร 1๒0,000 กิโลเมตร ✓ 2. และ ๑๕0,000 กิโลเมตรได้อย่างถกู ต้อง ๘ 2 ซ่อม/เปลยี่ น/บำรุงรกั ษายานยนต์ระยะต่างๆ ไดต้ าม ✓ ๑๕ ข้อกำหนดคู่มือซ่อม ๓. 3 ทดสอบการทำงานของระบบตา่ งๆ ก่อนส่งมอบงาน ✓ ยา 4 มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต ๔. รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและรักษา ✓ ๕. สภาพแวดล้อม จดุ ประสงค์ ครอบคลมุ ด้านความรู้ , ดา้ นทกั ษะ , ดา้ นเจตคติ , ดา้ นการประยกุ ต์ใช้ ด้านความรู้ หมายถงึ ความรู้เกย่ี วข้องกับขอ้ เท็จจริง หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบตั ติ ่างๆ ทเ่ี ก่ีย ดา้ นทกั ษะ หมายถงึ ความสามารถในการปฏบิ ัติงานซง่ึ บุคคลนนั้ ควรทำได้เมอ่ื ได้รับมอบหมาย ด้านเจตคติ หมายถงึ ความเป็นผูม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี เจตคตแิ ละกิจนิสัยท ดา้ นการประยกุ ต์ใช้ หมายถงึ ความสามารถของบุคคลทเ่ี กิดจากกระบวนการเรยี นรู้ การใชค้ วามรู้ ท แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

พรายหน่วย (ต่อ) ศึกษา)........ กับ บริษัท...............(ชื่อสถานประกอบการ)........................... ปริญญาตรี สาขาวิชา ...............เทคนิคเครื่องกล....................................... มรถยนต์.............................................................................................................. ............................................................................................................................ ........................................................................................................................... ............................................................................................................................ ........................................................................................................................... มรถยนต์…….......... หนว่ ยงาน.................ฝา่ ยซอ่ มรถยนต์................................... หวั ขอ้ เร่ือง วธิ ีสอน เครื่องมอื / วิธกี ารประเมิน อุปกรณ์/ . การบริการเชค็ ระยะตามคมู่ อื - บรรยาย สอื่ การสอน - แบบสงั เกต . การซ่อม/เปลี่ยน/บำรุงรักษายานยนต์ระยะ - สาธติ - แบบสัมภาษณ์ ๐,000 กิโลเมตร 1๒0,000 กิโลเมตร และ - ปฏบิ ัติ - ช้ินงานจรงิ - แบบทดสอบ ๕0,000 กโิ ลเมตร - ใชก้ รณีตัวอย่าง - ใบงาน - ทดสอบปฏิบตั ิ . การทดสอบการทำงานของระบบต่างๆ ของ - ใช้การจำลอง - มัลตมิ เี ดยี านยนต์ . ............................................................................... . ............................................................................... ยวข้องกับสาขาวิชาท่ีเรียนหรอื ทำงาน โดยเน้นความรเู้ ชงิ ทฤษฎีและหรอื ข้อเท็จจริงเป็นหลกั ที่ดี ทักษะทางสงั คมในการทำงานหรอื การศึกษาอบรมเพ่ือการพัฒนาวชิ าชีพของบคุ คล หนา้ ๔๗

การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มสี ถานประกอบการให้ความร่วมมือกับ สถานศกึ ษา จำนวนมาก ปจั จบุ ันมีการขยายการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีสตู่ ่างประเทศ ซง่ึ เป็นการยกระดับ กำลงั คนในสาขาวิชาชีพท่ีตรงกับการจัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษาโดยสอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการ ขั้นตอนการดำเนินการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ในต่างประเทศ ๑. การสำรวจความพรอ้ ม ๑.๑ สถานศึกษา ๑.๑.๑ ดา้ นบุคลากรทางการศกึ ษา ๑.๑.๒ ด้านระบบงานตามสาขาวชิ าชพี ๑.๑.๓ ดา้ นหอ้ งเรยี น อปุ กรณก์ ารเรยี น ๑.๑.๔ งบประมาณ ๑.๒ สถานประกอบการ ๑.๒.๑ มคี วามเหมาะสมกบั การจัดอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ๑.๒.๒ มคี รฝู ึก ๑.๒.๓ มสี ถานท่ีฝึกอาชพี ตรงตามสาขาวิชาชีพ ๑.๒.๔ สาขาวิชาทจ่ี ัดทวภิ าคีต้องสอดคลอ้ งกบั สาขาที่ผ้เู รียนไปฝกึ อาชีพดว้ ย ๒. การประสานงานระหวา่ งประเทศ (การวเิ ทศสมั พันธ์) ๒.๑ ความพรอ้ มของประเทศท่ีทำความร่วมมอื ๒.๒ ความพรอ้ มของสถานประกอบการผ่านหน่วยงานของคสู่ ัญญา ๒.๓ การกำหนดวันเวลาเขา้ ออกประเทศคู่สัญญา (ระยะเวลาทีน่ ักศึกษาอยูใ่ นประเทศน้ัน ๆ) ๒.๔ ประสานงานกบั กระทรวงการต่างประเทศ ๓. การลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ (MOU) ๓.๑ ตดิ ต่อประสานงานกับหน่วยงาน/สถานประกอบการ ๓.๒ กำหนดข้อตกลงรว่ มกันเพอื่ ที่จะลงนามบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมอื ๓.๓ แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งานการลงนามบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ ๓.๔ ลงนามในบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมอื ตามสถานท่ที ่กี ำหนด ๓.๕ เกบ็ รกั ษาบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมอื แห่งละ ๑ ฉบับ ๔. การจัดทำแผนการเรยี นตลอดหลักสูตร (จัดแผนการเรยี น/แผนการฝึกอาชพี ) ๔.๑ สถานศกึ ษาและสถานประกอบการหารอื รว่ มกัน ๔.๒ เขียนโครงการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาครี ่วมกับตา่ งประเทศ ๔.๓ กำหนดรายวิชาให้สอดคลอ้ งกับการฝึกอาชพี ของนกั ศกึ ษา ๔.๔ จัดทำแผนการเรยี นการฝึกตลอดหลักสตู รโดยมุ่งเนน้ สมรรถนะ ๕. การประชาสมั พันธ์ ๕.๑ ทำหนงั สอื แจ้งสถานศกึ ษาเปา้ หมาย ๕.๒ ประกาศผ่านสอื่ อนิ เตอรเ์ นต็ ๕.๓ ติดป้ายประกาศ ๕.๔ แนะแนวการศกึ ษาโดยรนุ่ พี่ทไี่ ด้มโี อกาสกลับไปยังสถานศกึ ษาเดมิ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๔๘

๕.๕ จัดแสดงผลงานต่างๆ เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ ๖. การคัดเลือกนักศกึ ษา ๖.๑ ทดสอบสมรรถนะด้านร่างกายและจิตใจ ๖.๒ ตรวจสขุ ภาพตามทแี่ ต่ละประเทศกำหนด ๖.๓ ทดสอบให้ปฏิบัติงานจริง ๖.๔ ทดสอบและสมั ภาษณ์ เพื่อใหเ้ ป็นไปตามความต้องการหรอื ขอ้ ตกลงของทง้ั สองฝา่ ย ๗. การทำสัญญาการฝกึ อาชพี ๗.๑ ดำเนินการจัดทำสญั ญาการฝกึ อาชพี เช่นเดยี วกบั การฝกึ อาชพี ในประเทศ ๗.๒ นักศึกษาที่อายุต่ำกว่า ๒๐ ปีบริบูรณ์ ต้องมีหนังสือยินยอมจากผู้ปกครองให้เดินทาง ไปต่างประเทศ ๘. การปฐมนเิ ทศผู้เรยี นและผู้ปกครอง ๘.๑ สร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การฝึกอาชีพใหผ้ เู้ รียนและผูป้ กครอง ๘.๒ แจ้งผู้เรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับสัญญาการฝึกอาชีพ ค่าตอบแทน และค่าใช้จ่ายก่อน การเดินทาง ๙. การเตรยี มเอกสารกอ่ นการเดนิ ทาง ๙.๑ เอกสารในการผอ่ นผนั การเกณฑท์ หาร ๙.๒ เอกสารตรวจประวตั อิ าชญากรรมเพื่อส่งตำรวจสนั ติบาล ๙.๓ เอกสารการตรวจสุขภาพ ๙.๔ เอกสารการยน่ื ขอ VISA และหนังสือเดินทาง (PASSPORT) ๙.๕ หนงั สือขออนุญาตสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือนำนกั ศึกษาไปฝึกอาชีพ ในต่างประเทศ ๑๐. การเตรียมครูและผเู้ รยี น ๑๐.๑ ความพรอ้ มดา้ นร่างกายและจติ ใจ ๑๐.๒ ความพร้อมด้านทักษะวิชาชีพ ๑๐.๓ ความพรอ้ มด้านภาษาองั กฤษหรอื ภาษาของประเทศนนั้ ๆ ๑๐.๔ ศึกษาวฒั นธรรมของประเทศน้ันๆ ๑๐.๕ ระเบียบวนิ ัยในการทำงาน ๑๑. การเรยี นในสถานศึกษา ๑๑.๑ เรียนตามรายวิชาหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลางและรายวิชาหมวดวิชาสมรรถนะ วชิ าชีพ ๑๑.๒ ฝกึ ทักษะฝมี ือเฉพาะดา้ นที่มีการกำหนดร่วมกันระหว่างทั้งสองฝา่ ย ๑๒. การฝกึ อาชีพ การเรยี นในสถานประกอบการ ๑๒.๑ การฝกึ อาชพี ในตา่ งประเทศตามลกั ษณะงานที่สถานศึกษาและสถานประกอบการ จัดไว้ ในแผนการฝึก ๑๒.๒ สถานประกอบการรายงานผลการฝึกอาชพี มายังสถานศึกษา ๑๓. การนเิ ทศการฝึกอาชีพ ๑๓.๑ ให้ครูนเิ ทศก์ไปนเิ ทศอยา่ งน้อยหน่ึงครงั้ ตอ่ ภาคเรียน ๑๓.๒ ใหภ้ าคีเครือขา่ ยในตา่ งประเทศเปน็ ผู้นิเทศแทนในแต่ละภาคเรยี น แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๔๙

๑๓.๓ ให้ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนิเทศต่างประเทศอย่างสมำ่ เสมอ ๑๔. การวดั ผลประเมนิ ผล ๑๔.๑ เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๔.๒ วัดผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ ๑๕. เอกสารต่างๆ ท่ตี อ้ งจดั เตรียม ๑๕.๑ เอกสารในการผ่อนผันการเกณฑ์ทหาร ๑๕.๑.๑ สำเนาทะเบียนบา้ น จำนวน ๔ ชุด ๑๕.๑.๒ สำเนาบัตรประชาชน จำนวน ๔ ชดุ ๑๕.๑.๓ สำเนา ส.ด. ๙ จำนวน ๔ ชดุ ๑๕.๑.๔ สำเนาหมายเรยี กเข้ารับราชการทหาร จำนวน ๔ ชดุ ๑๕.๑.๕ สำเนาหนงั สอื เดินทาง (PASSPORT) จำนวน ๔ ชดุ ๑๕.๑.๖ สำเนา VISA จำนวน ๔ ชุด ๑๕.๑.๗ สำเนาหนังสอื รบั รองจากสถานทตู จำนวน ๔ ชุด ๑๕.๑.๙ สำเนาโครงการจัดการเรียนการสอน ระบบทวิภาครี ะหวา่ งประเทศ จำนวน ๔ ชดุ ๑๕.๒ เอกสารตรวจประวตั ิอาชญากรรมเพ่ือสง่ สนั ตบิ าล ๑๕.๒.๑ สำเนาทะเบียนบา้ น จำนวน ๑ ฉบับ ๑๕.๒.๒ สำเนาบตั รประชาชน จำนวน ๑ ฉบับ ๑๕.๑.๓ สำเนา ส.ด.๙ , ส.ด.๘ จำนวน ๑ ฉบบั ๑๕.๑.๔ หลักฐานการเปล่ยี นช่อื -สกุล (ถา้ มี) จำนวน ๑ ฉบับ ๑๕.๑.๕ สำเนาหนังสือเดินทาง (PASSPORT) จำนวน ๑ ฉบบั ๑๕.๑.๖ รูปถ่ายขนาด ๑ น้วิ จำนวน ๑ รปู ๑๕.๓ เอกสารการตรวจสขุ ภาพ ๑๕.๓.๑ รปู ถ่ายขนาด ๑ นว้ิ จำนวน ๑ รูป ๑๕.๓.๒ สำเนาหนังสือเดนิ ทาง (PASSPORT) จำนวน ๑ ฉบบั ๑๕.๓.๓ สำเนาบตั รประชาชน จำนวน ๑ ฉบบั ๑๕.๔ เอกสารการขอ VISA ๑๕.๔.๑ รูปถ่ายขนาดตามท่รี ะบุของประเทศนั้น ๆ จำนวน ๑๒ รปู ๑๕.๔.๒ สำเนาหนังสือเดนิ ทาง (PASSPORT) จำนวน ๒ ฉบับ ๑๕.๔.๓ สำเนาบตั รประชาชน จำนวน ๒ ฉบับ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๕๐

แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๕๑

๑. แสดงความประสงค์ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี กอ่ นเร่มิ จดั การอาชวี ศึกษา สถานประกอบการ ระบบทวิภาคี ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคีเขตพนื้ ที่ สถาบนั การอาชวี ศึกษา/ สถานศกึ ษา ๑. แสวงหาเครอื ขา่ ยสถานประกอบการท่ีจะเขา้ ร่วม ๑. เสนอความต้องการ การรับนักศกึ ษาระบบทวิภาคี จดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ๒. ติดตอ่ ประสานงาน ๓ หนว่ ยงาน ดงั นี้ ๒. หารอื กบั สถานประกอบการเพ่ือชแี้ จง ๒.๑ ศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคี สำนกั ความรว่ มมอื การจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ๒.๒ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคเี ขตพืน้ ที่ และสิทธิประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับ ๒.๓ งานอาชวี ศึกษาทวิภาคี สถาบนั อาชีวศึกษา / ๓. เปดิ สอนหลกั สตู รตามความต้องการของสถาน สถานศกึ ษา ประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ และหน่วยงานของรัฐ แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๕๒

สถานศึกษา ๒. สำรวจความพร้อม สถานประกอบการ สำรวจความพร้อม ๑. ด้านกำลงั คน ๑.๑. สถานศกึ ษา ๑.๑.๑ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ๑.๑.๒ ครผู ้สู อน ๑.๑.๓ ครนู เิ ทศก์ ๑.๑.๔ บคุ ลากรทางการศึกษา ๑.๒. สถานประกอบการ ๑.๒.๑ ผ้บู รหิ ารสถานประกอบการ ๑.๒.๒ ผู้ควบคุมการฝกึ ๑.๒.๓ ครฝู ึก ๑.๓. ปริมาณผู้เรยี น/สาขาวิชาที่ต้องการหรอื ขาดแคลน ๒. ด้านงบประมาณทใ่ี ช้ดำเนนิ การ ๒.๑. สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ๒.๑.๑ ผู้เรยี น ๒.๑.๒ ครูผู้สอน ๒.๑.๓ ครนู ิเทศก์ ๒.๑.๔ ผู้ควบคมุ การฝึก ๒.๑.๕ ครฝู ึก ๒.๒. วสั ดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ เครือ่ งจักร อปุ กรณ์สำนกั งาน หอ้ งฝึกอบรม สถานทีพ่ ัก คา่ สาธารณปู โภค และค่าใช้จา่ ยอื่นๆ ๓. ด้านการบริหารจัดการ เชน่ หลักสตู ร สัญญาการฝกึ แผนการเรยี น แผนการฝกึ อาชีพ แผนการนเิ ทศ ขอ้ กำหนดและระเบยี บปฏิบัตใิ นการดำเนินการฝกึ อาชพี ฯลฯ ๔. ด้านสวัสดกิ าร ๔.๑. สถานศกึ ษาเจรจาขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั สวัสดกิ ารทผ่ี ู้เรยี นจะไดร้ บั ๔.๒. สถานประกอบการแจ้งขอ้ มูลสวัสดกิ ารท่ผี เู้ รียนจะไดร้ ับ แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๕๓

๓. บันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ สถานศึกษา ดำเนินการจัดทำบันทกึ ขอ้ ตกลง สถานประกอบการ ความรว่ มมือรว่ มมอื (MOU) คณะทำงานประชมุ ร่วมกัน พิจารณากรอบการดำเนนิ งานและความรว่ มมอื (ระยะเวลาเรยี น/ฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพ คา่ ใช้จ่าย บุคลากร ฯลฯ) คณะทำงาน รา่ งบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ ทง้ั สองฝ่ายพจิ ารณาในรายละเอียด นำเสนอผูม้ อี ำนาจลงนาม ลงช่ือบันทึกขอ้ ตกลง ผู้มอี ำนาจลงนาม/ตดั สนิ ใจทั้งสองฝ่าย และพยานลงนามทัง้ สองฝ่าย รายงานผล บนั ทึกข้อมลู ลงใน web site ฐานขอ้ มลู ความร่วมมือท่ี http://boc2.vec.go.th ของสำนักความร่วมมือ http://dvec.vec.go.th ของศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคี แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๕๔

๔. วางแผนรว่ มกบั สถานประกอบการ สถานศึกษา จัดทำแผนการเรยี น สถานประกอบการ แผนการฝกึ อาชพี ตลอดหลกั สูตร ๑. ชแ้ี จงทำความเข้าใจเกีย่ วกบั ๑.๑ ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เร่อื ง มาตรฐานการจดั การอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑.๒ โครงสร้างหลักสตู ร และหลักเกณฑ์การใช้หลกั สตู ร ๑.๓ ระเบยี บท่ีเกี่ยวขอ้ ง เชน่ การวัดผลและการประเมินผล การนิเทศ ฯลฯ ๒. ทำแผนการเรยี น แผนการฝกึ อาชพี แผนการนเิ ทศร่วมกันตลอดหลกั สูตร ๓. ดำเนนิ การในกรอบขอ้ ตกลงของท้งั สองฝ่าย ๓.๑ การส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษา ๓.๒ ลกั ษณะงานทฝี่ กึ อาชพี ๓.๓ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ของสถานประกอบการ สถานศกึ ษา และผเู้ รียน แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๕๕

๕. ประชาสมั พันธ์แนะแนวผเู้ รยี น สถานศึกษา ประชาสัมพนั ธ์ แนะแนวผ้เู รยี น สถานประกอบการ ๑. ดา้ นการประชาสัมพันธ์ ๑.๑ สถานศึกษาจัดให้มีการประชาสัมพันธ์ แนะแนวเส้นทางอาชีพให้ผู้เรียนที่จะเข้า ร่วมเรียนในระบบทวิภาคีด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ การโฆษณาทางสอ่ื มวลชน แผ่นบันทกึ ข้อมูล เวบ็ ไซต์ ฯลฯ ๑.๒ สถานประกอบการ จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ แนะแนวเส้นทางอาชีพให้ผู้เรียน ทจ่ี ะเขา้ รว่ มเรยี นในระบบทวภิ าคดี ้วยวิธีทห่ี ลากหลาย ๒. แนะแนวการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคตี ามกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ ๒.๑ สถานศกึ ษา เช่น โรงเรยี นมัธยมศกึ ษา โรงเรียนขยายโอกาส ๒.๒ บคุ คลท่ีเกีย่ วข้อง เช่น ผู้เรียน ผูป้ กครอง ชุมชน ๒.๓ สถานประกอบการ แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๕๖

สถานศึกษา ๖. คดั เลือกผู้เขา้ เรยี น สถานประกอบการ คดั เลอื กผเู้ ขา้ เรียน ดำเนินการร่วมกันสองฝ่าย ๑. คุณสมบัติผเู้ รยี น ๑.๑ มีคุณสมบัตติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยการจัดการศกึ ษา และ การประเมนิ ผลการศกึ ษา ๑.๒ มีคุณสมบัติตามทส่ี ถานประกอบการกำหนด ๒. ประชุมวางแผนการรับผูเ้ รยี น กำหนดขั้นตอน วธิ ีการรับสมัคร วิธีการคดั เลอื ก เชน่ การสอบขอ้ เขยี น การสอบสัมภาษณ์ การสอบปฏบิ ัติ เปน็ ต้น ๓. ดำเนินการตามแผนงานทก่ี ำหนด ๔. ประกาศผล มอบตัว ลงทะเบยี น แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๕๗

สถานศึกษา ๗. ทำสัญญาการฝกึ อาชพี สถานประกอบการ การทำสัญญาการฝกึ อาชพี รว่ มพจิ ารณาสัญญาการฝึกอาชีพโดย ทำสัญญาการฝกึ อาชีพโดยใหค้ ำนงึ ถึง ให้คำนึงถงึ สิทธิประโยชนข์ องผู้เรียน สิทธปิ ระโยชนข์ องผเู้ รยี นเปน็ สำคญั เป็นสำคัญ (หา้ มมกี ารเรียกทนุ คนื ) (หา้ มมีการเรยี กทนุ คนื ) สถานศึกษา+ผ้เู รียนและผ้ปู กครอง+สถานประกอบการ สัญญาการฝึกอาชีพระหวา่ งสถานประกอบการกับผูเ้ รียนและผู้ปกครอง ให้สถานศกึ ษาเปน็ ผ้ปู ระสานงานและลงช่อื เปน็ พยานในสัญญาการฝกึ อาชพี โดยในสญั ญาตอ้ งระบุเกี่ยวกบั เรอ่ื งตอ่ ไปนี้ ๑. ระยะเวลาการฝึกอาชพี ๒. ขอ้ บังคบั หรือระเบียบในการฝึกอาชพี ๓. วันหยุดประจำสัปดาห์ ๔. สวัสดิการ เชน่ เบย้ี เลี้ยง ทพี่ ัก เคร่อื งแตง่ กาย ประกันอุบตั ิเหตุ ฯลฯ ๕. เงือ่ นไขการเลิกสญั ญาการฝกึ อาชีพ ๖. อื่นๆ ตามขอ้ ตกลงเพ่มิ เติม กรณที ่จี ะนำสญั ญาการฝกึ อาชีพไปประกอบเพอ่ื ขอความเหน็ ชอบรายละเอียดฝึกเตรียม เข้าทำงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ใช้รูปแบบสัญญาการฝึกอาชีพของกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๕๘

๘. ปฐมนเิ ทศผ้เู รยี น/ประชมุ ผู้ปกครอง สถานศึกษา ปฐมนิเทศผู้เรียน สถานประกอบการ ประชุมผปู้ กครอง เตรยี มความพรอ้ ม ช้แี จงขอ้ มลู ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ๑. สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างผู้เรียน ผ้ปู กครอง สถานศกึ ษา สถานประกอบการ เพ่อื เตรียมความพร้อมของผูเ้ รยี นก่อนเขา้ ฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ ๒. ระเบียบตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา ข้อบงั คับตา่ งๆ ของสถานประกอบการ ๓. แนวทางการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา และการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ๔. ผู้รบั ผิดชอบ และครูทป่ี รึกษา ๕. คู่มอื ผเู้ รยี น ๖. หลกั เกณฑก์ ารปฏิบตั ิของผ้เู รยี นระบบทวภิ าคี ๗. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเขา้ เรียนอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๕๙

๙. จัดการเรยี นการสอน/การฝึกอาชพี สถานศกึ ษา การจดั การเรยี นการสอน/ สถานประกอบการ การฝกึ อาชีพ ๑. ประชุมชแ้ี จงทำความเขา้ ใจกับครู บคุ ลากรของสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ได้แก่ ๑.๑ ประกาศ ระเบยี บ หลักเกณฑท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งในการจัดอาชวี ศกึ ษาระบบ ทวภิ าคี ๑.๒ กระบวนการจดั การเรียนการสอน ๑.๓ กระบวนการฝกึ อาชีพ ๒. แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งานและกำหนดหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบของผเู้ กย่ี วข้อง ๒.๑ สถานศกึ ษา แต่งตงั้ ครนู ิเทศก์ ครูฝึก ๒.๒ สถานประกอบการ แต่งตง้ั ผูค้ วบคมุ การฝึก ๓. อบรม สมั มนาครูผ้สู อน ครนู เิ ทศก์ ครูฝึกและผคู้ วบคมุ การฝึก ๔. จัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนและฝึกอาชพี ตามแผนการฝึก ๕. ประชมุ สัมมนา อบรม ผเู้ รียนระบบทวิภาคี เช่น ๕.๑ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกอาชีพ ๕.๒ ประชุมสมั มนาระหว่างการฝกึ อาชพี ๕.๓ ประชุมนำเสนอสรปุ ผลการฝกึ อาชพี ๕.4 อบรมเสริมความรเู้ ฉพาะงานในสถานประกอบการ ฯลฯ แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๖๐

๑๐. จดั การเรียนการสอน/การฝกึ อาชพี สถานศกึ ษา นิเทศการฝึกอาชีพ สถานประกอบการ นิเทศการฝกึ อาชพี ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เร่อื ง มาตรฐานการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศการฝกึ อาชพี ๒. จดั ทำแผนการนิเทศ ๓. นเิ ทศการฝึกอาชพี ๔. ตรวจสมดุ บันทึกการฝึกอาชีพ/แฟม้ สะสมผลงาน ๕. รายงานผลการนิเทศ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๖๑

11. วดั และประเมนิ ผลรายวชิ า/การฝกึ อาชีพ สถานศึกษา การวดั และประเมินผลรายวชิ า สถานประกอบการ /การฝกึ อาชีพ วดั และประเมินผลรายวชิ า วดั และประเมนิ ผลการฝึกอาชพี ๑. เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ๑. เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมินผลตามหลักสูตร แต่ละ ว่าด้วยการประเมินผลตามหลักสูตร แต่ละ ระดับทเี่ กีย่ วข้อง ระดับทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๒. การวดั ผลและประเมนิ ผลรายวชิ าการฝึก ๒. การประเมินผลรายวิชาตามหลักเกณฑ์ อาชพี ขั้นตอนการดำเนินงานของสถานศกึ ษา ๒.๑ การประเมินสมรรถนะวชิ าชีพตาม ๒.๑ ผู้ประเมิน ประกอบด้วยครูผู้สอน สภาพจรงิ ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนการฝกึ อาชพี ผเู้ รยี น เพอ่ื นผเู้ รียน และผู้ปกครอง ๒.๒ การประเมินสรุปผลการเรียน แต่ละ ๒.๒ สรปุ ผลและดำเนินการตามข้ันตอน ภาคเรยี น ของสถานศกึ ษา - ผู้ประเมินคือ ครูฝึก ผู้ควบคุม การฝึก ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมายตามข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ - สรุปคะแนน และดำเนินการตาม ขนั้ ตอนของสถานศึกษาตามระเบียบการวัดผล ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แต่ละระดบั แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๖๒

๑๒. ทดสอบมาตราฐานวิชาชีพแต่ละระดับ สถานศกึ ษา การทดสอบมาตราฐานวชิ าชพี แตล่ ะระดับอาชพี สถานประกอบการ การวดั และทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ ๑. การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ ประเมินเมอ่ื ลงทะเบยี นครบตามโครงสร้างหลักสตู ร และผา่ นทกุ รายวิชา ๑.๑ ผปู้ ระเมินประกอบด้วย - ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา - หัวหนา้ แผนกวิชา - หัวหนา้ งานพัฒนาหลักสตู ร การเรยี นการสอน - หวั หนา้ งานวัดผลและประเมนิ ผล - ครผู ู้สอนทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ - ผู้แทนสถานประกอบการ ๒. สรปุ ผล และดำเนินการตามข้ันตอนของ สถานศกึ ษา แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๖๓

๑๓. สำเรจ็ การศกึ ษา สถานศกึ ษา เอกสารการสำเร็จการศกึ ษา สถานประกอบการ ประกาศนียบตั ร (ปวช./ปวส.) ใบรับรองการผ่านงาน ปรญิ ญาบัตร (ปริญญาตรี) ใบผ่านมาตรฐานวิชาชพี สถานศึกษา + สถานประกอบการ วฒุ ิการศกึ ษา ๑. ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สูง และปริญญาบตั รในระดบั ปรญิ ญาตรี หมายถงึ เอกสารทส่ี ถานศกึ ษาออกให้ตามระเบยี บการวัดผลและการประเมนิ ผลเมื่อสำเรจ็ การศกึ ษา ๒. ระเบียนแสดงผลการเรียน หมายถึง เอกสารที่สถานศึกษารับรองว่าผู้เรียนผ่านการเรียนรู้ การฝึกอาชพี และสำเรจ็ การศกึ ษา ๓. ใบผ่านมาตรฐานวิชาชีพ หมายถึง เอกสารท่ีสถานศึกษาออกให้เมื่อผู้เรียนผ่านการทดสอบ มาตรฐานวชิ าชีพ ๔. ใบรับรองการผ่านงาน หมายถึง เอกสารที่สถานประกอบการออกให้เพื่อแสดงว่า ผู้เรียน ไดผ้ า่ นการฝึกอาชีพระบบทวภิ าคี การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจ สำหรับการสำเร็จการศกึ ษาของผ้เู รียน ๑. พธิ มี อบเกยี รติบัตร ๒. พธิ ีมอบประกาศนียบัตร/ปรญิ ญาบัตร ใบผา่ นมาตรฐานวิชาชีพ ใบรับรองการผา่ นงาน แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๖๔

๑๔. ติดตามการมีงานทำหรือการศึกษาต่อของผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา การติดตามผู้เรียนระบบทวภิ าคี สถานศกึ ษา ๑. สำรวจความพึงพอใจการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี ๑.๑ ผูเ้ รยี น ๑.๒ ผู้ปกครอง ๑.๓ สถานประกอบการ ๒. จัดทำฐานข้อมูลการมงี านทำหรือการศกึ ษาต่อของผสู้ ำเรจ็ การศึกษา ๑๕. สรุปผลการดำเนินงานและรายงานประจำปี สรุปผลการดำเนินงาน สถานศกึ ษา สรปุ ผลการดำเนนิ งานในรูปแบบที่สถานศกึ ษากำหนด เช่น ๑. รปู แบบ PDCA ๒. รูปแบบงานวิจยั ๓. รปู แบบข้อมูลอิเลก็ ทรอนิกสไ์ ฟล์ แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๖๕

สำนกั งานคณะกรรม เกียรติบัตรน้ีให ………………(ชือ่ ผไู้ ด้รบั ก ได้ผ่านการอบรมหลกั สูตร การพ โดย สถาบันการอา ระหวา่ งวันท่ี............... ขอจงประสบความสขุ ควา ให้ไว้ ณ วนั ท่.ี ........... ลงชอื่ ....................... (..................... เลขาธกิ ารคณะกรรม แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี

DVE ๐๑ มการการอาชีวศกึ ษา .pdf .docx ห้ไว้เพอ่ื แสดงว่า หน้า ๖๖ การพัฒนา) ……………… พฒั นาครฝู กึ ในสถานประกอบการ าชวี ศึกษา............. ................................... ามเจรญิ ก้าวหน้าตลอดไป ................................... ............................... ..............................) มการการอาชีวศึกษา

DVE ๐2 คำสัง่ ......(ชอ่ื สถานศกึ ษา)........ ที่ ............./.............. เร่อื ง คำสงั่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนินการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี (แผนกวชิ า................................) ประจำปีการศกึ ษา................ ตามทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนดให้สถานศึกษาในสงั กดั รว่ มมอื กบั ...... (สถานประกอบการ/รัฐวิสาหกจิ /หน่วยงานของรัฐ)..........ในการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ตลอดจนใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ฝกึ อาชีพผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ความสามารถตรงกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และเพื่อให้ผู้เรียนมรี ายไดร้ ะหว่างเรยี น…(ชื่อสถานศกึ ษา).....จึงได้ร่วมมือกับ.........(สถานประกอบการ/ รฐั วสิ าหกิจ/หนว่ ยงานของรฐั )...........จัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หลกั สูตร ........................... สาขาวชิ า.......................สาขางาน.........................ปีการศกึ ษา ....................... เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ร่วมกับ......(สถานประกอบการ/รัฐวิสาหกิจ/ หน่วยงานของรัฐ)......เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สนองตอบความต้องการของสถานประกอบการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ .....(ชื่อสถานศึกษา)........จึงแต่งตั้งผู้มีรายนามดังต่อไปน้ี เป็นท่ีปรึกษา และคณะกรรมการดำเนินงานจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้ ๑. ท่ีปรึกษาจากสถานประกอบการ/รัฐวสิ าหกจิ /หน่วยงานของรัฐ ๑.๑ ......................................................................................................ประธานกรรมการ ๑.๒ ......................................................................................................กรรมการ ๑.๓ ......................................................................................................กรรมการ ๑.๔ ......................................................................................................กรรมการและเลขานุการ ๑.๕ ......................................................................................................กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๒. คณะกรรมการอำนวยการ ๒.๑ ................................ผู้อำนวยการวิทยาลัย.....................................ประธานกรรมการ ๒.๒ ................................รองผู้อำนวยการวทิ ยาลัย...............................กรรมการ ๒.๓ ................................รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั ...............................กรรมการ ๒.๔ ................................รองผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั ...............................กรรมการ ๒.๕ ................................รองผู้อำนวยการวิทยาลัย...............................กรรมการ ๒.๖ ................................หวั หน้างานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี............. กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร มีหน้าที่ สนับสนุน แนะนำ ให้คำปรึกษา วางแผนดำเนินงานร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษาและ สถานประกอบการ ตลอดจนอำนวยความสะดวก แก่คณะกรรมการดำเนินงานจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ประสบผลสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๖๗

๓. คณะกรรมการดำเนนิ งาน ๓.๑ ....................................ผู้อำนวยการวิทยาลัย ประธานกรรมการ ๓.๒ ....................................หัวหน้างานพฒั นาหลกั สตู รและการสอน กรรมการ ๓.๓ ....................................หวั หนา้ งานวัดผลและประเมนิ ผล กรรมการ ๓.๔ ....................................หวั หน้างานการเงนิ กรรมการ ๓.๕ ....................................หวั หนา้ งานทะเบียน กรรมการ ๓.๖ ....................................หวั หนา้ งานประชาสัมพนั ธ์ กรรมการ ๓.๗ ....................................หัวหน้างานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน กรรมการ ๓.๘ ....................................หวั หน้าแผนกวชิ า...................... กรรมการ ๓.๙ ....................................หนา้ งานอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ดำเนินการจัดทำแผนการเรียน โครงการสอน ตารางสอน แผนปฏิบัติงาน แผนการฝึก ทะเบียนผู้เรยี น ระเบียบผลการเรียน ใบรับรองผลการเรียน ตลอดจนรายงานผลการดำเนินงานส่งสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ตามระเบียบของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เพือ่ ให้เกดิ ผลดีและมปี ระสิทธภิ าพในการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ทงั้ น้ี ตั้งแต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป สัง่ ณ วันท่ี..............................................พ.ศ................ ลงช่ือ.............................................................. (............................................................) ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัย...................................... แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี .pdf .docx หนา้ ๖๘

DVE ๐3 แบบสำรวจความพร้อมของสถานประกอบการ ชื่อสถานประกอบการ............................................................................................................................. ...................................... ที่อยู.่ .......ถนน/ซอย..............ตำบล..................อำเภอ....................จงั หวดั .................................รหัสไปรษณีย.์ ............................ โทรศพั ท์.................................................โทรสาร.................................................E-Mail………………………….…………………............ ประเภทธรุ กจิ .............................................................. ลกั ษณะงาน.............................................................................................. มาตรฐานระบบ ISO ทีใ่ ช.้ ............................................................................................................................................................. มาตรฐานข้อกำหนดอื่น ๆ.............................................................................................................................................................. ขนาดของกจิ การตามทย่ี ื่นจดทะเบียนธรุ กจิ ❑ ขนาดเล็ก ❑ ขนาดกลาง ❑ ขนาดใหญ่ ข้อมลู การทำความรว่ มมือจดั อาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ❑ ไม่เคยจัด ❑ เคยร่วมจัด (ระบ)ุ ........ปี มีความตอ้ งการทำความรว่ มมอื ในระดบั ❑ ปวช. ❑ ปวส. ❑ ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญงิ จำนวน..........คน สาขาวิชา..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญิง จำนวน..........คน สาขาวชิ า..................สาขางาน.......... เพศชาย จำนวน..........คน เพศหญงิ จำนวน..........คน คำชีแ้ จง กรณุ าใสเ่ ครื่องหมาย✓ ในชอ่ งท่ีตรงกับคณุ ลกั ษณะของสถานประกอบการ ❑ ๑. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั กิจกรรมพฒั นาเพือ่ ให้ผู้เรยี นมีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ❑ ๒. ลักษณะงานท่ีฝึกอาชพี สอดคล้องกบั การเรียนรู้ในสาขาวชิ าที่ผูเ้ รยี นกำลงั ศกึ ษา ❑ ๓. ทำบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือระหว่างสถานประกอบการกบั สถานศึกษา ❑ ๔. ทำสัญญาการฝกึ อาชีพระหว่างผู้เรยี นกับสถานประกอบการ ❑ ๕. ทำแผนการเรยี น แผนการฝกึ อาชีพและแผนการนเิ ทศร่วมกบั สถานศกึ ษาตลอดหลกั สตู ร ❑ ๖. ประเมนิ การฝกึ อาชีพร่วมกบั สถานศกึ ษา ❑ ๗. มีครฝู กึ ในสถานประกอบการ ❑ ๘. มผี ู้ควบคมุ การฝึกอาชีพ ❑ ๙. มีผปู้ ระสานงานการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคขี องสถานประกอบการ ❑ ๑๐. ประชาสมั พันธก์ ารจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีให้กับผเู้ รียน ผ้ปู กครองและชุมชน ❑ ๑๑. มสี วสั ดกิ ารและค่าตอบแทน วนั หยุด ที่เหมาะสมใหก้ ับผู้เรียน ตามข้อตกลงระหว่างสถานประกอบการ และสถานศึกษา สวัสดิการทจ่ี ัดให้ผเู้ รียน ❑ มีรถรบั ส่ง ❑ ค่าเดินทาง.......................บาท ❑ ประกนั อบุ ตั ิเหตุปีละ..................บาท ❑ ประกันชีวติ ปีละ..............บาท ❑ ชุดปฏบิ ัตงิ าน (UNIFORM) ❑ ทพ่ี ัก................บาท/เดือน ❑ ค่าอาหาร...........บาทต่อวัน /..........บาทต่อเดือน ❑ เบยี้ เลี้ยง...........บาทตอ่ วนั /..........บาทตอ่ เดือน ❑ ทุนการศกึ ษาภาคเรียนละ.................บาท / ปีละ......................บาท ❑ อปุ กรณ์ ❑ รองเทา้ นริ ภยั ❑ หมวกนริ ภัย ❑ แว่นตานิรภัย ❑ เครื่องอุดหู (Ears Plug) ❑ อน่ื ๆ (โปรดระบุ ) ............................................................................................................................................. .pdf .docx ลงชอื่ ........................................................... (.........................................................) แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ตำแหนง่ ........................................................ หน้า ๖๙

DVE ๐4 แบบสำรวจความต้องการผู้เรยี นตามลักษณะงานของสถานประกอบการ เพอ่ื ใหก้ ารฝึกอาชีพของผู้เรยี นระบบทวิภาคี ระดับ...............................สาขาวชิ า.................................. สาขางาน...........................ปกี ารศึกษา........................ระยะเวลาฝกึ ปฏิบตั ิงาน จำนวน....................วนั /สปั ดาห์ ชื่อสถานประกอบการ..................................................ตั้งอยู่เลขที่.........................หมู่......................................... ซอย/ถนน................................แขวง/ตำบล......................................เขต/อำเภอ.................................................. จงั หวดั ......................รหัสไปรษณีย์....................โทรศัพท์............................โทรสาร............................................. Email Address.................................................................................................................................................... ลำดบั ที่ ลักษณะงาน/สมรรถนะวชิ าชพี หมายเหตุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ความคดิ เห็นผ้ใู ห้ขอ้ มูลจากสถานประกอบการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ....................................................... (...................................................) ผ้บู ันทกึ ขอ้ มูล .pdf .docx หนา้ ๗๐ แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

DVE ๐5 แบบสรุปรายช่อื สถานประกอบการและรายวชิ าฝกึ อาชพี คำชแ้ี จง แผนกวิชา...............................รวบรวมและสรปุ ข้อมลู จากแบบสำรวจลกั ษณะงานของสถานประกอบการ 1. ชอื่ สถานประกอบการ...................................................................................................................................... ต้งั อยเู่ ลขท.ี่ ............หม.ู่ ..........ถนน..................................... ตำบล/แขวง......................................................... อำเภอ/เขต............................จังหวัด..................................รหัสไปรษณยี .์ ...................................................... โทรศัพท.์ ...........................โทรสาร..................................... E-mail ................................................................ ชื่อผปู้ ระสานงาน.................................................................ตำแหน่ง............................................................... สามารถใหก้ ารฝึกในรายวชิ าตอ่ ไปน้ี ๑.๑ รหสั วิชา.......................ช่อื วชิ า............................................หน่วยกิต.............................................. ๑.๒ รหัสวิชา.......................ชื่อวิชา............................................หนว่ ยกิต.............................................. ๑.๓ รหัสวชิ า.......................ชื่อวชิ า............................................หน่วยกิต.............................................. ๑.๔ รหัสวิชา.......................ชอ่ื วิชา............................................หน่วยกติ .............................................. ๒. ชอ่ื สถานประกอบการ...................................................................................................................................... ตั้งอยู่เลขที.่ ............หม.ู่ ..........ถนน..................................... ตำบล/แขวง........................................................ อำเภอ/เขต............................จังหวดั ..................................รหสั ไปรษณีย์....................................................... โทรศัพท์............................โทรสาร..................................... E-mail ................................................................ ชอ่ื ผปู้ ระสานงาน.................................................................ตำแหน่ง............................................................... สามารถให้การฝกึ ในรายวชิ าตอ่ ไปนี้ ๒.๑ รหัสวิชา.......................ชื่อวชิ า............................................หน่วยกติ .............................................. ๒.๒ รหสั วิชา.......................ชอ่ื วิชา............................................หนว่ ยกิต.............................................. ๒.๓ รหัสวิชา.......................ชอื่ วิชา............................................หนว่ ยกติ .............................................. ๒.๔ รหัสวิชา.......................ชอ่ื วิชา............................................หนว่ ยกิต.............................................. ๓. ชอื่ สถานประกอบการ...................................................................................................................................... ตั้งอยเู่ ลขท่ี.............หม่.ู ..........ถนน..................................... ตำบล/แขวง......................................................... อำเภอ/เขต............................จงั หวดั ..................................รหสั ไปรษณีย.์ ...................................................... โทรศัพท์............................โทรสาร..................................... E-mail ................................................................ ช่อื ผูป้ ระสานงาน.................................................................ตำแหนง่ ............................................................... สามารถใหก้ ารฝึกในรายวชิ าต่อไปน้ี ๓.๑ รหสั วชิ า.......................ชอ่ื วชิ า............................................หนว่ ยกติ .............................................. ๓.๒ รหัสวชิ า.......................ชือ่ วชิ า............................................หนว่ ยกติ .............................................. ๓.๓ รหสั วชิ า.......................ชื่อวิชา............................................หนว่ ยกิต.............................................. ๓.๔ รหสั วชิ า.......................ชื่อวิชา............................................หนว่ ยกิต.............................................. แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี .pdf .docx หนา้ ๗๑

DVE ๐6 ท่ี ศธ........../......... วทิ ยาลยั .................................. ............................................... ............................................... …………………………………. เรื่อง เชญิ เขา้ ร่วมจัดอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี จำนวน.......................ฉบบั เรยี น ................................................................ สงิ่ ทส่ี ง่ มาด้วย แบบตอบรบั การเข้าร่วมจดั อาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ตามที่วิทยาลัย.......................................... ได้จัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี ระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สูง (ปวส.) ซงึ่ เป็นการจัดการเรียนการสอน ร่วมกนั ระหวา่ งสถานศึกษากบั สถานประกอบการ ในการนี้ จึงขอเชิญสถานประกอบการของท่านเข้าร่วมจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับ วิทยาลัยฯ เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ แต่ละระดับและตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (...........................................................) ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั ........................................ ฝา่ ยวิชาการ/งานอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี .pdf .docx วิทยาลัย................................................................ โทร........................................................................ หนา้ ๗๒ โทรสาร ............................................................... E-mail ................................................................. แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

DVE ๐7 แบบสรุปผลการสำรวจ สถานประกอบการท่ีมีความประสงค์เขา้ รว่ มจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี แผนกวชิ า........................................................................................................ ปีการศกึ ษา..................................................................................................... ที่ ชือ่ สถานประกอบการ/ ผเู้ รียนระบบปกติ ผูเ้ รยี นระบบทวิภาคี ทีต่ ้งั ปวช. ปวส. ปวช. ปวส. ป.ตรี (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ๑ ชอ่ื ................................................................ เลขที่.............ถนน....................................... ตำบล........................อำเภอ........................ โทร. ............................................................ โทรสาร........................................................ E-mail………...............................…………….. ๒ ชอื่ ................................................................ เลขท่ี.............ถนน....................................... ตำบล........................อำเภอ........................ โทร. ............................................................ โทรสาร........................................................ E-mail………...............................…………….. ๓ ชอ่ื ................................................................ เลขท.ี่ ............ถนน....................................... ตำบล........................อำเภอ........................ โทร. ............................................................ โทรสาร........................................................ E-mail………...............................…………….. รวม...................แห่ง ลงช่ือ................................................................. (...............................................................) ตำแหนง่ ............................................................ แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี .pdf .docx หน้า ๗๓

DVE ๐8 ตรา หนว่ ยงาน บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื ระหวา่ ง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กบั ......................................................................... เพอื่ ......................................................................................................................................... บนั ทึกข้อตกลงฉบบั น้ที ำขึ้นระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.................................. ตำแหน่ง......................... .................................. สำนักงานตั้งอยู่เลขที่.................................................................................... ซ่ึงต่อไปน้ี ในบนั ทกึ ขอ้ ตกลงนี้เรยี กว่า “สอศ.” ฝา่ ยหนงึ่ กับ……………………………….………………………………. โดย…………………………………………………..……..ตำแหน่ง……………………………………………………..สำนักงานตั้งอยู่ เลขที่ ................................................................................................ ซึ่งต่อไปนี้ในบันทึกข้อตกลงนี้เรียกว่า “………………………………….” อีกฝา่ ยหนง่ึ โดยที่ สอศ. ซึ่งเป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการ อาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ เพื่อผลิตบุคลากรในระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี กับ......................................................... ซ่งึ เปน็ ......................................................................ท้งั สองฝ่ายตกลง รว่ มกนั ในการพัฒนาการจดั การอาชวี ศึกษา โดยมีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ วัตถุประสงค์ ๑. ................................................................................... ๒. .................................................................................. ๓. .................................................................................. ข้อ ๒ สถานทใ่ี นการดำเนินงานตามขอ้ ตกลง ๑. .................................................................................. ๒. .................................................................................. ๓. .................................................................................. ข้อ ๓ การดำเนินงานและกิจกรรมความร่วมมือ .pdf .docx ๓.๑ .................................................................................. ๓.๒ .................................................................................. ๓.๓ .................................................................................. ขอ้ ๔ หนา้ ทีข่ อง…………………………………. ๔.๑ .................................................................................. ๔.๒ .................................................................................. ๔.๓ .................................................................................. แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๗๔

๔.๔ ร่วมกบั สอศ. ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ ๔.๕ กจิ กรรมอน่ื ๆ ตามท่ที ้งั สองหนว่ ยงานจะใหค้ วามช่วยเหลอื สนับสนนุ ซ่ึงกนั และกัน ข้อ ๕ หน้าท่ี ของ สอศ. ๕.๑ .................................................................................. ๕.๒ .................................................................................. ๕.๓ .................................................................................. ๕.๔ ร่วมกบั .........................ตดิ ตามและประเมินผลโครงการ ๕.๕ กิจกรรมอ่นื ๆ ตามทท่ี ง้ั สองหนว่ ยงานจะใหค้ วามชว่ ยเหลอื สนับสนุนซึง่ กันและกัน ขอ้ ๖ ระยะเวลาความรว่ มมือ ข้อตกลงความร่วมมือนี้ มีระยะเวลา…..... ปี นับแต่วันที่ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือเปน็ ต้นไป ขอ้ ๗ การแก้ไข เปล่ียนแปลง และการยกเลิกบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ หากฝา่ ยใด ฝ่ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝา่ ยประสงค์จะแกไ้ ข เปล่ยี นแปลงรายละเอียด บันทกึ ข้อตกลง ความร่วมมือนี้ ให้แจ้งอีกฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้า เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ เดือน และเมื่อทั้งสองฝ่ายพิจารณา ตกลงเห็นชอบในการแก้ไข เปลี่ยนแปลงบันทึกข้อตกลงความร่วมมือแล้ว ให้จัดทำบันทึกเพิ่มเติม เป็นลายลกั ษณ์อักษร และให้มีผลสมบรู ณ์นับแตว่ นั ทท่ี ้งั สองฝ่ายได้ลงนามในบันทกึ เพิ่มเติมนน้ั หากฝา่ ยใด ฝ่ายหนึ่ง ประสงคจ์ ะยกเลิกบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือน้ีก่อนครบกำหนดระยะเวลา ตามขอ้ ๕ ให้แจ้งอีกฝ่ายหน่ึงทราบเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าเป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า ๖๐ วัน เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่ง พิจารณาโดยให้มีผลเมื่อทั้งสองฝ่ายพิจารณาเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรในการยกเลิกบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือแลว้ ขอ้ ๘ การลงนามความรว่ มมอื เพื่อแสดงถึงเจตนารมณ์และความตั้งใจจริงของทั้งสองฝ่ายในการดำเนินการตามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมอื น้ี จงึ ไดล้ งนามความรว่ มมือกัน เม่ือวันที่........เดอื น............ พ.ศ. ………… ณ ...................................... สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สถานประกอบการ) ลงชื่อ …………………………………………………….. ลงช่อื …………………………………………………….. (……………………………………………………) (……………………………………………………) เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลงชอ่ื …………………………………………………….. พยาน ลงชื่อ …………………………………………………….. พยาน (……………………………………………………) (……………………………………………………) ผู้อำนวยการสำนักความรว่ มมือ สถานประกอบการ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๗๕

DVE ๐9 บันทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื ตรา การจดั การศึกษาด้านอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ตราสถาน สถานศกึ ษา ระหวา่ ง ประกอบการ ............(ช่ือสถานศึกษา)...... กบั .........(ช่ือสถานประกอบการ)........... บันทกึ ข้อตกลงน้ที ำขน้ึ ระหว่าง วทิ ยาลยั …………………………………..……………….โดย…………………………………………ตำแหนง่ ………………. ผอู้ ำนวยการวิทยาลัย…………………………………ตัง้ อยเู่ ลขท่ี…………………………………………..……………………………. ซงึ่ ตอ่ ไปนีเ้ รยี กว่า “สถานศกึ ษา” ฝา่ ยหนึ่งกบั สถานประกอบการ……..… (ช่อื สถานประกอบการ)………....โดยมี ...............................ตำแหนง่ ......................................ต้งั อย่เู ลขท่.ี ............................................ซงึ่ ต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้ดำเนินการฝึก” อกี ฝา่ ยหนึ่ง โดยที่สถานศกึ ษา................................... เป็นส่วนราชการสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ และมีเจตนารมณ์ร่วมกันในการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพเพือ่ ผลิตบุคลากร ในระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ทักษะและประสบการณ์จริง จากสถานประกอบการ ท้งั สองฝ่ายได้ทำบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ในการจัดการเรยี นการสอนหลักสูตร……………… สาขาวิชา...................................................................................โดยให้ผู้เรียนได้ฝึกอาชีพในสถานประกอบการ และส่งเสริมสนบั สนุนให้ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาการเรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ โดยมรี ายละเอียดข้อตกลงดงั นี้ ข้อ ๑ วัตถุประสงค์ เพื่อประสานความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา โดยร่วมกันจัดการเรียน การสอน ใหแ้ ก่ผูเ้ รียนสาขาวิชา...........................................................เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนให้สอดคล้อง กับกฎหมายว่าดว้ ยการอาชวี ศึกษาและความตอ้ งการของสถานประกอบการ ข้อ ๒ สถานทีด่ ำเนนิ การ .................................................. ข้อ ๓ ความรับผิดชอบของแตล่ ะฝา่ ย ๓.๑ ความรบั ผิดชอบของ “สถานศกึ ษา” ๓.๑.๑ จัดครู ผู้เรียน เข้ารับฟังการบรรยายความรู้เกี่ยวกับเทคนิควิธีการใหม่ๆ และ จัดสง่ ผู้เรยี นเข้ารว่ มฝึกอาชีพตามหลกั สตู ร ๓.๑.๒ จัดผู้ประสานงานความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อเป็นคณะทำงานตาม โครงการความร่วมมือโดยรว่ มกนั พัฒนาหลักสตู ร พฒั นาสื่อการเรยี นการสอน ให้มีความทันสมัยและสอดคล้อง กับการเปลย่ี นแปลงของวิทยาการและเทคโนโลยีใหมๆ่ และนำเสนอผลการดำเนินงานให้ฝา่ ยบริหารรับทราบ เป็นระยะ ๓.๑.๓ จัดผู้สอนและบุคลากรสนับสนุน นิเทศการฝึกงานหรือฝึกอาชีพของผู้เรียน ให้เปน็ ตามหลักสูตรและมีมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง กรอบคณุ วุฒิอาชีวศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2562 ๓.๑.๔ ร่วมเสนอแนะแนวทางการดำเนินงาน ร่วมประชุม วางแผน จัดระบบระเบียบ และจัดกิจกรรมอื่นๆ ตามที่ทั้งสองฝ่ายจะให้ความชว่ ยเหลือสนับสนนุ ซึ่งกนั และกันเพือ่ พัฒนกำลังคนอย่างมี ประสิทธภิ าพและให้การดำเนนิ งานบรรลุตามวตั ถุประสงค์ของข้อตกลงความรว่ มมอื ๓.๒ ความรบั ผิดชอบของ “ผดู้ ำเนนิ การฝึก” แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๗๖

๓.๒.๑ สนับสนุนด้านวิชาการโดยจัดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ในหน่วยงาน รว่ มจัดทำแผนการเรียน แผนการฝกึ พัฒนาส่อื การเรยี นการสอน สาขาวิชา........................................................ ให้มีความทันสมยั และสอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงของวิทยาการและเทคโนโลยีใหมๆ่ ร่วมกับสถานศกึ ษา ๓.๒.๒ จัดผู้ควบคุมดูแลการฝึกอาชีพและ / หรือจัดครูฝึกเพื่อสอนงาน แนะนำให้คำปรึกษา แก่ผ้เู รียน ใหเ้ ป็นไปตามหลกั สูตรและรายงานผลการดำเนนิ งานให้ฝ่ายบรหิ ารรับทราบเปน็ ระยะ ๓.๒.๓ ประเมนิ ผลการฝกึ อาชีพของผ้เู รียน ตามหลกั สตู ร ๓.๒.๔ ออกใบรบั รองใหแ้ ก่ผเู้ รียนทผ่ี า่ นเกณฑ์ตามหลกั สูตร ๓.๒.๕ ใหเ้ บ้ยี เลีย้ งและสวัสดกิ ารตา่ งๆ ตามข้อตกลง ๓.๒.๖ ร่วมประชุม วางแผน จัดระบบ กำหนดระเบียบ พัฒนาหลักสูตร เสนอแนะแนวทาง การดำเนินงาน ประเมินผลและอนื่ ๆ เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การพัฒนากำลังคนท่ีครบวงจรเข้าสถานประกอบการอย่างมี ประสิทธภิ าพ และใหก้ ารดำเนนิ งานบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของข้อตกลงความร่วมมอื ๓.๒.๗ จัดบุคลากรผู้เชี่ยวชาญบรรยายให้ความรู้ ความเข้าใจ และอำนวยความสะดวก ในการเข้าศึกษาดูงานด้านเทคนิควิธีการต่างๆ สนับสนุนสถานที่เข้าฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติงานของ ผู้สอน และผเู้ รียนของหนว่ ยงานในสงั กัด ข้อ ๔ ระยะเวลาความร่วมมือ บันทึกข้อตกลงนี้มีผลนับตั้งแต่ทั้งสองฝ่ายได้ลงชื่อในบันทึก ความร่วมมอื ตัง้ แต่วนั ท่ี.................................ถงึ วันที่...................................... เป็นระยะเวลา……………..……ปี ข้อ ๕ การเปลี่ยนแปลงและการยกเลกิ บันทกึ ขอ้ ตกลง หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝ่ายมีความประสงค์จะแก้ไขรายละเอียดในบันทึกข้อตกลงให้แจ้ง อีกฝ่ายหนึ่งทราบ และเมื่อทั้งสองฝ่ายพิจารณาตกลงเห็นชอบร่วมกันในการแก้ไข ให้จัดทำเป็นบันทึก ความร่วมมือเพิ่มเตมิ เป็นลายลักษณ์อักษร และให้มีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันที่ทั้งสองฝ่ายได้ลงชื่อในบนั ทึก ความร่วมมือเพิ่มเติมนั้น หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายมีความประสงค์จะยกเลิกบันทึกข้อตกลง ให้แจ้งอีกฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า.........วัน (…จำนวนวันเป็น ตัวอักษร…) ข้อ ๖ การแสดงเจตนารมณ์และความตั้งใจของทั้งสองฝา่ ย เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์และความตั้งใจของทั้งสองฝ่าย ในการดำเนินงานตามบันทึกความร่วมมือน้ี จงึ ไดล้ งนามร่วมกัน เมื่อวันท่ี ........................................... ณ .................................................. ลงช่อื ...................................................... ลงชอ่ื ...................................................... (....................................................) (...................................................) ผู้อำนวยการ............................................ ผดู้ ำเนินการฝกึ ....................................... ลงช่อื ...................................................... พยาน ลงชือ่ ...................................................... พยาน (....................................................) (...................................................) รองผอู้ ำนวยการ………….......................... พยานฝา่ ยสถานประกอบการ................. แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี .pdf .docx หน้า ๗๗

DVE 10 สัญญาการฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ ทำที.่ ..................................................... วันที่........เดอื น..................... พ.ศ......... สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นระหว่าง.........(ชื่อสถานประกอบการ)............โดย..... .................(ชื่อผู้แทน สถานประกอบการ).......ผู้มีอำนาจทำการแทน.........(ชื่อหน่วยงาน/สถานประกอบการ)..................... ตั้งอยู่ เลขที่.....หมู่ที่......ถนน..................ตำบล/แขวง..................อำเภอ/เขต................จังหวัด................... รหัสไปรษณยี ์……………………………………….ซ่ึงต่อไปในสัญญาน้ีเรียกว่า “ผดู้ ำเนินการฝกึ ” ฝา่ ยหนึง่ กบั นาย/ นางสาว…………………………………..ผู้เรียนระดับ  ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร (ทล.บ.) วิทยาลัย............................. สังกัดคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เกิดวันที.่ ...............เดือน………..................พ.ศ................อายุ……….........ปี อยู่บ้านเลขที่...................หมู่ที่......ถนน................ .........ตำบล/แขวง....................................................... .. อำเภอ/เขต..................จังหวัด...........................โทรศัพท์........................... ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญาเรียกว่า “ผ้เู รียน” หรอื เปรยี บเสมอื นพนักงานฝึกหัดของสถานประกอบการอีกฝา่ ยหน่งึ คู่สญั ญาไดต้ กลงกันทำสัญญา มรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑. ผู้ดำเนินการฝึกยินยอมรับผู้เรียนเข้าทำการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ และผู้เรียน ยินยอมเข้ารับการฝึกอาชีพตามหลักสูตร  ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้นั สูง (ปวส.) และปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร (ทล.บ.) สาขาวิชา..........................ณ.............. (ชื่อสถานประกอบการ)........... ตั้งอยู่เลขที่ ...............หมู่ที่......ถนน ...............ตำบล/แขวง...................... อำเภอ/เขต.......................จงั หวัด.................................. ซง่ึ เป็นสถานประกอบการของผู้ดำเนินการฝกึ ตั้งแต่ วันท.่ี ......เดอื น..........................พ.ศ. ................ เป็นต้นไปจนครบตามกำหนด ข้อ ๒ ผู้ดำเนินการฝึกจะจัดสถานที่เรียนที่เหมาะสม ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ จัดครูฝึก หรือ ผู้ควบคุมการฝึกในสถานประกอบการที่มีความรู้ ความสามารถ จัดเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์สำหรับ การฝึกเพื่อฝึกอาชีพให้แก่ผู้เรียนตลอดระยะเวลาตามข้อ ๑ ให้สอดคล้องกับรายวิชาและสมรรถนะของ การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรและเหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้เรยี น แผนการฝกึ โดยผู้เรยี นไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ใดๆ ทงั้ สิ้นให้กบั ผูด้ ำเนินการฝึก ข้อ ๓ ผู้ดำเนินการฝึกจะต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การคุ้มครองผรู้ ับการฝกึ เตรียมคนเข้าทำงาน ซง่ึ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประกาศ ณ วันท่ี ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ หนา้ ๕๐ ข้อ ๔ ผู้ดำเนินการฝึกจะให้การฝึกแก่ผู้เรียนอายุไม่ต่ำกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ ห้ามดำเนินการฝึกงาน ในที่เป็นอัตรายต่อสุขภาพ ดำเนินการฝึกไม่เกินวันละ ๘ ชั่วโมง มีเวลาพักในแต่ละวันอย่างน้อย ๑ ชั่วโมง หลังได้รับการฝึกติดต่อกันไม่เกิน ๔ ชั่วโมง และมีวันหยุดประจำสัปดาห์อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ วัน โดยวันหยุดมีระยะห่างไม่เกิน ๖ วัน และยินยอมให้ผู้เรียนไปศึกษา และเข้าร่วมกิจกรรมตามที่สถานศึกษา ต้นสังกัดกำหนด ขอ้ ๕ ในระหว่างการฝกึ ผู้เรยี นมีสทิ ธิหยุดตามประเพณีของสถานประกอบการนน้ั ๆ หากมีความจำเป็น จะต้องลาหยุดด้วยเหตุใดๆ ผู้เรียนสามารถลาหยุดได้ตามความเป็นจริง และตามระเบียบข้อบังคับของ แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๗๘

ผู้ดำเนินการฝึก แต่ต้องมีระยะเวลาการฝึกไม่น้อยกว่าในหลักสูตร กรณีลาป่วยติดต่อกันตั้งแต่ ๓ วัน ขึ้นไป จะตอ้ งมใี บรับรองแพทย์แผนปัจจุบันชนั้ หนึง่ มาแสดง ข้อ ๖ ผู้เรียนจะต้องตั้งใจฝึกฝน เอาใจใส่ในการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเต็มกำลัง ความสามารถ จะเชื่อฟังครูฝึกหรือผู้ควบคุมการเรียนในสถานประกอบการ โดยยินยอมปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของผู้ดำเนินการฝึกทุกประการ และจะเก็บรักษาความลับของผู้ดำเนินการการฝึกไว้เป็นอย่างดี หากผู้เรยี นฝ่าฝืน ระเบียบ ข้อบังคับของผู้ดำเนินการฝกึ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ความผิดอย่างรา้ ยแรงตามระเบียบข้อบังคับ ของผู้ดำเนินการฝกึ ผ้ดู ำเนนิ การฝึก สามารถบอกเลิกสัญญาฉบับนีไ้ ดท้ นั ที ข้อ ๗ ผู้เรียนจะไม่กระทำความเสียหายใดๆ แก่ผู้ดำเนินการฝึก หากผู้เรียนกระทำการโดยเจตนา หรือประมาทเลินเล่อจนเกิดความเสียหายแก่ผู้ดำเนินการฝึกแล้ว โดยพิสูจน์ได้ว่าผู้เรียนจงใจทำให้เกิด ความเสียหายผู้เรียนยินยอมชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ดำเนินการฝึกตามที่เสียหายจริง โดยความเห็นชอบ ของผูด้ ำเนินการฝึก ผูป้ กครองหรือผูใ้ ห้ความยนิ ยอมรวมถงึ บดิ า - มารดาของผเู้ รียน และสถานศึกษา ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้เรียนประสบอุบัติเหตุในขณะที่รับการฝึกอยู่ในสถานประกอบการ และพิสูจน์ ไดว้ ่าเกิดจากความประมาทของผเู้ รียนเอง ผูเ้ รียนและผ้ปู กครองหรอื ผใู้ หค้ วามยนิ ยอมรวมถึงบิดา - มารดาของ ผู้เรียน จะไม่เรียกร้องค่าชดเชยสินไหมใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายทางคดีแพ่งและทางคดีอาญา กบั ผู้ดำเนินการฝึกและสถานศึกษา สัญญาน้ีทำขึน้ เป็น ๓ ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกนั คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจความโดยตลอด แลว้ จึงไดล้ งชอื่ ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ลงชือ่ ……………................... ผ้ดู ำเนินการฝกึ ลงชือ่ ………….…................... ผูเ้ รียน/ผรู้ ับการฝึกอาชีพ (………….....……………) (…………......……………) สถานประกอบการ นกั เรยี น/ผู้เรยี น ลงชื่อ ……………................... สถานศกึ ษา ลงชือ่ …………….................... ผ้ใู หค้ วามยนิ ยอม (………….....……………) (…………......……………) บดิ า/มารดา/ผูป้ กครอง ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา ลงชือ่ ……………................... พยาน ลงช่อื ……………….................. พยาน (………….....……………) (…………......……………) หัวหนา้ งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หวั หนา้ แผนกวิชา/ครทู ่ปี รกึ ษา ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) .............................................. บิดา/มารดา/ผู้ปกครองของ นาย/นางสาว ............................................ ผู้เรียน ยินยอมค้ำประกันความเสียหายอันเกิดจากการกระทำของ ผู้เรียนตามสญั ญาฉบบั น้ที กุ ประการ ลงชื่อ………..........………..………….…………. (บดิ า/มารดา/ผู้ปกครอง) .pdf .docx แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๗๙

DVE ๑1 โลโก้ สัญญาการฝึกอาชีพ สถาน ท่ีบริษัท....................................................................... ประกอบการ วันที่...........เดอื น........................พ.ศ. ........................ สัญญาฉบับนี้ทำขึ้นท่ี………….(ชื่อสถานประกอบการ)...........ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญานี้จะเรียกว่า “ผดู้ ำเนินการฝึก” ฝ่ายหนึ่งกบั นาย/นาง/นางสาว.....................................................อายุ..........ปี ปัจจุบันอยู่ บ้านเลขที่....................................ตำบล/แขวง............................อำเภอ/เขต................จังหวัด............... รหสั ไปรษณยี .์ .................. ซง่ึ ต่อไปน้ี ในสญั ญาจะเรียกว่า “ผเู้ รยี น” อกี ฝ่ายหนึง่ ค่สู ัญญาทัง้ สองฝ่ายได้ตกลง ทำสญั ญาไวต้ อ่ กัน มขี อ้ ความดังต่อไปนี้ ๑. ...(ชื่อสถานประกอบการ)...ตกลงรบั ผูเ้ รียนเข้าฝกึ อาชีพกับบรษิ ทั ประจำแผนก .......................... สว่ น.......................................ฝา่ ย....................................... ๒. เร่ิมฝึกอาชีพ ตั้งแต่วนั ท.ี่ ..............................ถงึ วันท.ี่ .......................รวมระยะเวลา...................วัน โดยกำหนดวันทำงานของผู้เรียนฝึกอาชีพ ใหม้ ีช่ัวโมงการฝึกไม่เกนิ วันละ ๘ ช่วั โมง และมเี วลาพักรับประทาน อาหาร วันละ ๑ ชั่วโมง หลังได้รับการฝึกติดต่อกันไม่เกิน ๔ ชั่วโมง และมีวันหยุดประจำสัปดาห์อย่างน้อย สัปดาห์ละ ๑ วัน โดยวันหยุดมีระยะห่างไม่เกิน ๖ วัน และยินยอมให้ผู้เรียนไปศึกษา และเข้าร่วมกิจกรรม ตามทส่ี ถานศกึ ษาต้นสงั กดั กำหนด ๓. บรษิ ทั จะจา่ ยเบีย้ เลย้ี งให้ผู้เรยี นฝกึ อาชพี ในอัตรา...............................................บาท/(วนั /เดือน) ซึ่งผู้เรียนจะต้องเป็นผู้เสียภาษีเงินได้เอง บริษัทจะหักภาษี ณ ที่จ่ายจากเบี้ยเลี้ยง และนำส่งกรมสรรพากร ตามทกี่ ฎหมายกำหนด ๔. ผู้เรียนฝึกอาชีพจะต้องไม่นำเอาความลับเก่ียวกับผลประโยชน์ของบริษทั ไม่เปดิ เผยและไม่กระทำ การใดๆ อันอาจทำให้บรษิ ทั เสือ่ มเสยี ชอื่ เสียงตลอดจนไม่แสวงหาผลประโยชน์เปน็ การส่วนตัวโดยอาศัยหน้าที่ การงานทที่ ำกบั บริษทั ๕. ผเู้ รยี นจะไม่กระทำความเสียหายใดๆ แกผ่ ูด้ ำเนินการฝึก หากผู้เรยี นกระทำการโดยเจตนาหรือ ประมาทเลินเล่อจนเกิดความเสียหายแก่ผู้ดำเนินการฝึกแล้ว โดยพิสูจน์ได้ว่าผู้เรียนจงใจทำให้เกิดความ เสียหายผู้เรียนยินยอมชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ดำเนินการฝึกตามที่เสียหายจริง โดยความเห็นชอบของ ผูด้ ำเนินการฝกึ ผูป้ กครองหรือผใู้ ห้ความยนิ ยอมรวมถึงบิดา - มารดาของผเู้ รียน และสถานศึกษา เพอื่ เปน็ หลักฐานแห่งการทำสัญญาฉบับน้ี คู่สัญญาท้ังสองฝ่ายได้อ่าน และเข้าใจข้อความในสัญญาน้ีดี ทกุ ประการแลว้ จึงได้ลงนามต่อพนกั งานขา้ งท้ายน้ี แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๘๐

ลงชอ่ื ……………............................... วิทยาลยั ลงชอ่ื ……………............................... บรษิ ทั (…………………………..............) (…………………………..............) ผ้อู ำนวยการ ผ้อู ำนวยการฝา่ ย….............. ลงชือ่ ……………............................... ผฝู้ ึกอาชีพ ลงช่อื ……………............................... ผูใ้ หค้ วามยินยอม (…………………………..............) (…………………………..............) ผเู้ รียน บดิ า/มารดา/ผปู้ กครอง ลงชอ่ื ……………............................... พยาน ลงช่อื ……………............................... พยาน (…………………………..............) (…………………………..............) หวั หน้างานของนักศกึ ษาผฝู้ กึ งาน หวั หนา้ งานอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) ........................................................... บิดา/มารดา/ผู้ปกครองของ นาย/นางสาว ...................................................................ผูเ้ รียน ยินยอมค้ำประกันความเสียหายอันเกดิ จาก การกระทำของผเู้ รียนตามสัญญาฉบับน้ที กุ ประการ ลงช่ือ………..………..…..............……… (บดิ า/มารดา/ผ้ปู กครอง) แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี .pdf .docx หนา้ ๘๑

DVE ๑2 แผนการเรยี น แผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับ..................................ประเภทวิชา........................สาขาวิชา......................สาขางาน............... .......... ปีการศึกษา...............ถึง…….......... วทิ ยาลัย....................................................................ร่วมกบั ..................................................................... คณะกรรมการผู้จัดทำ ๑.................................... ตำแหน่ง (สถานประกอบการ/สถานศกึ ษา) ประธานกรรมการ ๒.................................... ตำแหน่ง (สถานประกอบการ/สถานศกึ ษา) กรรมการ ๓.................................... ตำแหนง่ หัวหนา้ งานพฒั นาหลกั สตู รฯ กรรมการ ๔.................................... ตำแหนง่ หัวหน้าแผนกวิชา กรรมการ ๕.................................... ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการและเลขานกุ าร ๖.................................... ตำแหนง่ หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี กรรมการและ ผู้ชว่ ยเลขานุการ ผอู้ นุมตั ิ .................................................... (................................................) .................................................. (................................................) ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ตำแหนง่ ................................................... วิทยาลยั ........................................................... ชือ่ สถานประกอบการ…………………………. แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๘๒

แผนการฝึกอาชีพ ระดบั  ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.)  ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) สาขาวิชา…………………………………สาขางาน………………………………………. รายช่ือคณะกรรมการดำเนนิ งาน ๑. ......................................... หน่วยงาน.......................................... ตำแหน่ง........................................... ๒. ......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหนง่ ........................................... ๓. ......................................... หน่วยงาน.......................................... ตำแหนง่ ........................................... ๔. ......................................... หน่วยงาน.......................................... ตำแหน่ง........................................... ๕. ......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหนง่ ........................................... ๖. ......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหน่ง........................................... ๗. ......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหน่ง........................................... ๘. ......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหนง่ ........................................... ๙. ......................................... หน่วยงาน.......................................... ตำแหน่ง........................................... ๑๐.......................................... หนว่ ยงาน.......................................... ตำแหนง่ ........................................... แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี .pdf .docx หนา้ ๘๓

ตวั อ แบบวิเคราะห์งานเทยี บกบั รายวชิ าของผู้เรียนระบบทวภิ า ระดับช้นั ……………..สาขาวิชา…………… ท่ี สมรรถนะ หนว่ ยงาน งานหลกั แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี

อยา่ ง าคี วทิ ยาลยั ………..………..……….. ปีการศึกษา………………… …………………. สาขางาน……………………. ื่ชอรายวิชา..... เวลาฝกึ ื่ชอรายวิชา..... (ชัว่ โมง) ื่ชอรายวิชา..... ่ืชอรายวิชา..... รวมระยะเวลาการฝึกตลอดหลักสตู ร (.........สปั ดาห์) หนา้ ๘๔

รายวิชาทน่ี ำไปฝกึ ในสถานประกอบการ รหัสวชิ า……………………………………..ชอ่ื วิชา……………………………………………ท-ป-น…………..………………………… จดุ ประสงค์รายวชิ า 1………………………………………………………………..………….………………………..………………….……………… 2.…………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 3.………………………………………………………………………………………………………………………..……………… สมรรถนะรายวชิ า 1………………………………………………………………………….………………………………………..…………………… 2.…………………………………………………………………………………………………………………………..…………… 3.………………………………………………………………………………………………………….………..………………….. คำอธิบายรายวิชา 1………………………………………………………………………….…………………..……………………………………….. 2.……………………………………………………………………………………………..………………………………………… 3.……………………………………………………………………………………………………...…………..…………………… แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๘๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook