Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้งานอาชีพ

ความรู้งานอาชีพ

Published by Nicha, 2017-09-07 05:28:15

Description: Career

Search

Read the Text Version

จุดประสงค์รายวชิ า 1. เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจเก่ียวกบั มาตรฐานอาชีพ องคก์ รและการบริหารงานในองคก์ ร หลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพหลกั การบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทาํ งาน 2. สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้เก่ียวกบั งานอาชีพเพื่อการพฒั นาตนและงานอาชีพ 3. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและหลกั การบริหารงานใหม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพสมรรณะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั มาตรฐานอาชีพ องคก์ รและการบริหารงานในองคก์ ร หลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพหลกั การบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทาํ งาน 2. ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้เกี่ยวกบั งานอาชีพเพื่อการพฒั นาตน องคก์ รและงานอาชีพ 3. ประยกุ ตห์ ลกั การบริหารงานคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทาํ งานคาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกบั มาตรฐานอาชีพ องคก์ รและการบริหารงานในองคก์ ร หลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพ หลกั การบริหารงานคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทาํ งานบทที่ 1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกบั งานอาชีพบทนา ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั งานอาชีพ จะกล่าวถึงเน้ือหาในเรื่องของมาตรฐานอาชีพ ประวตั ิความเป็นมา การจดัประเภทมาตรฐานอาชีพ วตั ถุประสงค์ ประโยชน์ การดาํ เนินงาน กรอบแนวคิด หลกั การจดั ทาํ โครงสร้างการจดัประเภทอาชีพ วธิ ีการใส่เลขรหสั หลกั การใหช้ ่ืออาชีพ หลกั การเขียนนิยามอาชีพปัจจยั ของการประกอบอาชีพ ขอ้ แนะนาํ ในการเลือกอาชีพ การพฒั นาตนเองเขา้ สู่งานอาชีพและหลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพ เพอ่ื พฒั นาตนเองใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานอาชีพตอ้ งศึกษาใหไ้ ดม้ ากท่ีสุดสาระการเรียนรู้1. ความรู้เก่ียวกบั มาตรฐานอาชีพ2. โครงสร้างการจดั ประเภทอาชีพ3. การพฒั นาตนเองเขา้ สู่อาชีพ4. หลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพจุดประสงค์การเรียนรู้1. บอกความหมายและสาระสาํ คญั ของสมรรณได้2. บอกความหมายมาตรฐานอาชีพได้3. บอกวตั ถุประสงคแ์ ละประโยชน์ของการจดั ทาํ การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพได้4. อธิบายการดาํ เนินงานการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพได้5. อธิบายกรอบแนวคิดในการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพได้

6. บอกหลกั การจดั ทาํ โครงสร้างการจดั ประเภทอาชีพและวธิ ีการใหเ้ ลขรหสั ได้7. บอกหลกั การใชเ้ ลขรหสั หลกั การใหช้ ื่ออาชีพได้8. บอกหลกั การเขียนนิยามอาชีพได้9. บอกปัจจยั ของการประกอบอาชีพได้10.บอกขอ้ แนะนาํ ในการเลือกอาชีพได้11.จาํ แนกการพฒั นาตนเองเขา้ สู่งานอาชีพได้12.จาํ แนกหลกั การปฏิบตั ิตนในงานอาชีพได้1.สมรรถนะ คือ คุณลกั ษณะเชิงพฤติกรรมท่ีทาํ ใหบ้ ุคคลในองคก์ รปฏิบตั ิงานไดโ้ ดดเด่นกวา่ บุคคลอ่ืน2.ความเป็ นมา การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เดิมเป็นภารกิจของกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย จดั พมิ พ์เผยแพร่คร้ังแรก เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยใชห้ ลกั เกณฑก์ ารจดั แบ่งหมวดหมู่ และกาํ หนดรหสั ตามการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (International Standard Classification of Occupations : ISCO) ขององคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ(International Labour Organization : ILO) ท้งั น้ีเพื่อประโยชนใ์ นการจดั เกบ็ สถิติดา้ นแรงงานและสามารถเปรียบเทียบขอ้ มลู กบั นานาประเทศไดอ้ ยา่ งเป็นสากลปัจจุบนั การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) เป็ นภารกิจของกระทรวงแรงงาน โดยกรมการจดั หางานท่ีเป็ นหน่วยงานหลกั ในการดาํ เนินการจดั ทาํ ขอ้ มลู และ กาํ หนดรหสั หมวดหมูอ่ าชีพตามหลกั เกณฑเ์ ดียวกบั การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (ISCO) ซ่ึงทาง ILO ไดท้ าํ การปรับปรุง ISCO มาแลว้ 2 คร้ัง คร้ังล่าสุดคือปี 1988 ซ่ึงเป็นฐานของการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพของไทยในปัจจุบนั3.วตั ถุประสงค์ การจดั ทาํ การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี- เพอ่ื ปรับปรุงขอ้ มูลอาชีพของประเทศไทยใหถ้ ูกตอ้ งและสมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน รวมท้งั เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากลที่ไดม้ ีการปรับปรุงใหม่- เพือ่ ใหห้ น่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลทวั่ ไปมีความรู้ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งเก่ียวกบั ขอ้ มลู อาชีพ และสะดวกแก่การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์- เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิผลของการจดั เก็บขอ้ มลู ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั อาชีพ- เพื่อใชเ้ ป็ นฐานขอ้ มูลอาชีพของประเทศไทย4.ประโยชน์ กรมการจดั หางานไดด้ าํ เนินการจดั ทาํ การจดั ประเภทอาชีพเพ่ือใหห้ น่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชนไดม้ ีความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งตรงกนั ในเรื่องอาชีพ และเพ่ือการนาํ ขอ้ มูล ไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การบริหารงานดา้ นแรงงาน เช่น การกาํ หนดคา่ จา้ ง การแนะแนวอาชีพ การฝึกอบรม การจา้ งงาน รวมถึงการวเิ คราะห์ การเจบ็ ป่ วยหรือเสียชีวติ ที่เกิดข้ึนจากอาชีพ การที่ม่ีระบบฐานขอ้ มลู เดียวกนั สามารถจะนาํ ขอ้ มูลสถิติไปอา้ งอิงและเปรียบเทียบได้ท้งั ในระดบั หน่วยงานและกบั ระดบั ประเทศ

5.การดาเนินงาน เน่ืองจากองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ (International Labour Organization) ซ่ึง เป็นผรู้ ับผิดชอบดาํ เนินการ ไดม้ ีการปรับปรุงและเปล่ียนแปลงโครง สร้างการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ISCO) ประกอบกบั การเปลี่ยนแปลงและการพฒั นาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทย ทาํ ใหป้ ระเทศไทยตอ้ งทาํ การ ปรับปรุงขอ้ มลูอาชีพใหท้ นั สมยั และสอดคลอ้ งกบั การจดั ประเภทมาตรฐานสากล6.การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ ประเทศไทยฉบบั น้ีใชเ้ อกสารการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากล ฉบบั ปี 1988 ขององคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ เป็นหลกั และ แนวทางในการดาํ เนินงาน โดยกรมการจดั หางาน ไดด้ าํ เนินการดงั น้ี- แปลและศึกษาขอ้ มลู จากเอกสาร International Standard Classification of Occupation (ISCO) ปี 1988 ซ่ึงไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างให้ เหมาะสมกบั สภาพขอ้ เทจ็ จริง- สาํ รวจและเก็บรวบรวมขอ้ มลู อาชีพจากกิจการและสถานประกอบการต่าง ๆ ในประเทศ- ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสารตา่ ง ๆ เพิ่มเติม เช่น เอกสารหลกั สูตรการเรียนการสอนในระดบั ต่างๆ เอกสารประกอบการจดั ทาํ โครงสร้างอตั รากาํ ลงั และตาํ แหน่งงาน ในหน่วยงานภาครัฐ- เอกชน รวมท้งั การคน้ หาขอ้ มลู ทางอินเทอร์เน็ต เป็ นตน้- วเิ คราะห์และเขียนร่างนิยามอาชีพ- ประชุมผทู้ รงคุณวฒุ ิในสาขาอาชีพต่าง ๆ ท่ีไดร้ ับการแต่งต้งั เป็นคณะอนุกรรมการที่ปรึกษาเพอื่ การปรับปรุงการจดัประเภทมาตรฐานอาชีพเฉพาะสาขา เพื่อ พิจารณาตรวจแกไ้ ขร่างและใหค้ าํ แนะนาํ รวมท้งั ขอ้ มูลเพ่ิมเติมก่อนนาํ เสนอคณะกรรมการท่ีปรึกษาเพือ่ ปรับปรุงการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพและอุตสาหกรรม7.กรอบแนวคิด งาน (job) หมายถึง ภารกิจ (Task) หรือหนา้ ที่ (duties) ที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานหลายงาน ที่มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกนัรวมกนั เขา้ เป็น อาชีพ อาชีพ หมายถึง งานซ่ึงบุคคลใดบุคคลหน่ึงปฏิบตั ิอยไู่ ม่หมายรวมถึงอุตสาหกรรม กิจการ สถานะการทาํ งานหรือประสบการณ์ในการทาํ งาน ของผปู้ ฏิบตั ิงาน การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากลไดน้ าํ เอาทกั ษะ (skill) ซ่ึงหมายถึง ความสามารถในการทาํ งานท่ีไดร้ ับมอบหมายใหส้ าํ เร็จ มาพจิ ารณาโดยดูถึงระดบั ของ ทกั ษะ (skill level) และทกั ษะเฉพาะดา้ น (skill specialization) แบ่งทกั ษะออกเป็น 4 ระดบั โดยใชร้ ะดบั การศึกษาเป็นตวั แบ่งหรืออธิบายถึงความสามารถ แตท่ ้งั น้ี มิไดห้ มายความวา่ การทาํ งานท้งั หมดน้นั ตอ้ งไดร้ ับการศึกษาจากสถานศึกษาหรือการศึกษาในระบบ (Formal Education) เทา่ น้นั แต่อาจจะไดท้ กั ษะจากการฝึกอบรม อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ (Informal Training) หรือจากประสบการณ์การทาํ งาน (Experience) ก็ไดท้ กั ษะที่ตอ้ งการเพียงแตส่ ามารถปฏิบตั ิงานหรือทาํ หนา้ ที่ได้ โดยไม่ คาํ นึงวา่ ผปู้ ระกอบอาชีพน้นั จะมีทกั ษะในการทาํ งานมากหรือนอ้ ยกวา่ บุคคลอ่ืนท่ีอยใู่ นอาชีพเดียวกนั ตามทกั ษะท้งั 4 ระดบั ที่เปรียบเทียบกบั การศึกษาของไทยแลว้เป็นดงั น้ี1. ทกั ษะระดบั ท่ี 1 หมายถึง ผทู้ ่ีจบการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา2. ทกั ษะระดบั ท่ี 2 หมายถึง ผทู้ ี่จบการศึกษาในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา

3. ทกั ษะระดบั ท่ี 3 หมายถึง ผทู้ ี่จบการศึกษาในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาสายอาชีพ ปวช. ปวส. อนุปริญญา4. ทกั ษะระดบั ที่ 4 หมายถึง ผทู้ ี่จบการศึกษาต้งั แตป่ ริญญาตรีข้ึนไปโครงสร้างการจัดประเภทอาชีพ กรมการจดั หางาน ไดจ้ ดั แบ่งโครงสร้างการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) โดยใชห้ ลกั เกณฑก์ ารจดั แบง่ ประเภทอาชีพ เช่นเดียวกบั การจดั ประเภท มาตรฐานอาชีพสากล ปี 2531 (International Standard Classificationof Occupations 1988 : ISCO) โดย ISCO จะจดั แบง่ จดั ประเภทอาชีพ ออกเป็น หมวดใหญ่ (major) หมวดยอ่ ย (submajor) หมู่ (group) และหน่วย (unit) เทา่ น้นั ในระดบั ตวั อาชีพ (Occupation) จะเป็นหนา้ ท่ีของแตล่ ะประเทศในการพิจารณาจดั จาํ แนกและจดั ทาํ รายละเอียดอาชีพซ่ึงจะแตกไปตามโครงสร้างเศรษฐกิจและตลาดแรงงานของแตล่ ะประเทศ1.หลกั การจัดทาโครงสร้าง การจดั จาํ แนกประเภทอาชีพจะจดั แบง่ เป็นกลุ่มในระดบั ต่าง ๆ และกาํ หนดเลขรหสั ในแตล่ ะระดบั ดว้ ยเลขต้งั แต่1 - 6 หลกั โดยเลขรหสั อาชีพแตล่ ะหลกั จะแสดงถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอาชีพและกลุ่มอาชีพที่เก่ียวขอ้ งกนัหลกั การจดั ทาํ โครงสร้างการจดั ประเภทอาชีพและวธิ ีการใหเ้ ลขรหสั มีดงั น้ี 1.1 หมวดใหญ่ (major) เป็นกลุ่มอาชีพที่ใหญท่ ี่สุด จดั แบ่งออกเป็ น 10 หมวดใหญ่ แทนดว้ ย เลขรหสั หลกั ที่ 1 1.2 หมวดย่อย (sub major) เป็นกลุ่มอาชีพท่ีแบ่งยอ่ ยจากหมวดใหญ่ จดั แบ่งออกเป็น 28 หมวดยอ่ ย แทนดว้ ยเลขรหสั หลกั ท่ี 1 และ 2 1.3 หมู่ (group) เป็นกลุ่มอาชีพที่แบ่งยอ่ ยจากหมวดยอ่ ย จดั แบ่งออกเป็ น 116 หมู่ แทนดว้ ยเลขรหสั หลกั ที่ 1ถึง 3 1.4 หน่วย (unit) เป็นกลุ่มอาชีพท่ีแบง่ ยอ่ ยจากหมู่ จดั แบง่ ออกเป็ น 391 หน่วย แทน ดว้ ยเลขรหสั หลกั ท่ี 1 ถึง4 1.5 ตวั อาชีพ (occupation) เป็นอาชีพท่ีถูกจาํ แนกเขา้ ไวใ้ นกลุ่มอาชีพระดบั หน่วย แทนดว้ ยเลขรหสั หลกั ท่ี 1 -6 โดยแยกตวั เลขหลกั ท่ี 5 และ 6 ออกจาก 4 หลกั แรกดว้ ย จุดทศนิยม ซ่ึงตวั อาชีพถูกจดั รวมเขา้ ไวใ้ นหน่วยอาชีพน้นั2.หลกั การใช้เลขรหสั ในช่วงระหวา่ งการดาํ เนินการจดั ทาํ การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ไดม้ ีผเู้ ชี่ยวชาญจากองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ คือ Mr. Edwin Hoffman ซ่ึงเป็นผทู้ ี่ร่วมดาํ เนินการปรับปรุงและจดั ทาํ ขอ้ มูลการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากลมาใหค้ วามรู้และอธิบายถึงหลกั เกณฑโ์ ครงสร้างการจดั ประเภทมาตรฐาน อาชีพสากล และได้เนน้ ย้าํ ใหป้ ระเทศสมาชิกท่ีนาํ ISCO ไปปรับใชใ้ หก้ าํ หนดเลขรหสั ต้งั แต่ระดบั หมวดใหญ่ (major) ถึงหน่วย (group)เป็นเลขรหสั เดียวกบั สากล โดย แต่ละประเทศสามารถจะเพ่ิมเลขรหสั ต้งั แตร่ ะดบั หมวดยอ่ ยถึงหมู่ไดแ้ ต่ตอ้ งไมเ่ ป็ นเลขรหสั ที่ซ้าํ กบั เลขรหสั สากล และหากเลขรหสั ในระดบั ใดกต็ ามไมป่ รากฏกลุ่มอาชีพ ในประเทศน้นั กส็ ามารถจะคงเลขรหสั ไวห้ รือขา้ มเลขรหสั น้นั ไปได้ โดยตอ้ งไม่นาํ กลุ่มอาชีพถดั ไปหรือกลุ่มอาชีพที่เพิม่ เติมเขา้ มาใชเ้ ลขรหสัดงั กล่าว ท้งั น้ีเพอ่ื มิใหเ้ กิด ความสับสนของเลขรหสั ท่ีเป็ นสากล

- การใหเ้ ลขรหสั ของการจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ฉบบั น้ีต้งั แตเ่ ลขรหสั ระดบั หมวดใหญ่ หมวดยอ่ ยหมแู่ ละหน่วยจะใหเ้ ลขรหสั เหมือนกบั ของ การจดั ประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (ฉบบั ปี 2531) ท้งั น้ีเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามขอ้ เสนอแนะและเพ่อื ใหข้ อ้ มลู สามารถเปรียบเทียบกบั นานาประเทศได้- การใหเ้ ลขรหสั ในหม่อู าชีพ (group เลขรหสั 4 หลกั ) ซ่ึงลงทา้ ยดว้ ยเลข 9 หมายถึง อาชีพอ่ืน ๆ ซ่ึงไม่สามารถจดัประเภทไวใ้ นหมู่อาชีพใด ๆ จะมารวมกนั ไวใ้ น หมู่อาชีพน้ี- การใหเ้ ลขรหสั ตวั อาชีพ (occupations : เลขรหสั ตวั ที่ 5 และ 6) ซ่ึงแสดงถึงตวั อาชีพท่ีอยใู่ นหน่วยอาชีพใดหน่วยอาชีพหน่ึงน้นั จะใหเ้ ลขรหสั เรียงไปตาม ลาํ ดบั โดยปกติจะมีช่วงห่างระหวา่ ง 10 , 20 , 30 ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั จาํ นวนตวัอาชีพท่ีมีอยใู่ นหน่วยอาชีพเดียวกนั ถา้ ช่วงห่างระหวา่ งเลขรหสั อาชีพในหน่วยอาชีพส้นั แสดง ใหเ้ ห็นวา่ อาชีพเหล่าน้นัมีความสัมพนั ธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิดยง่ิ กวา่ อาชีพอื่น ๆ ท่ีอยใู่ นหน่วยอาชีพเดียวกนั เช่น อาจเป็น 10 , 15 หรือ 10 , 12 , 14 ,16 , 18 เป็นตน้- เลขรหสั สองตวั สุดทา้ ยของตวั อาชีพ เลขรหสั หลกั ท่ี 5 ท่ีลงทา้ ยดว้ ย 10 แสดงใหเ้ ห็นวา่ อาชีพน้นั เป็ นอาชีพที่มีลกั ษณะงานแบบทวั่ ๆ ไปหรือลกั ษณะงานของ อาชีพน้นั ครอบคลุมไปหมดทุกอาชีพที่อยใู่ นหน่วยเดียวกนั ไม่ได้ทาํ งานหรือมีความชาํ นาญงานดา้ นใดดา้ นหน่ึงโดยเฉพาะ- เลขรหสั สองตวั สุดทา้ ยของตวั อาชีพ เลขรหสั หลกั ท่ี 5 ที่ลงทา้ ยดว้ ย 90 หมายถึง ผทู้ ี่ปฏิบตั ิงานเบด็ เตล็ด ซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกบั อาชีพอ่ืน ๆ ในหน่วยอาชีพ เดียวกนั แต่เป็นงานซ่ึงไม่มีความสาํ คญั เพียงพอท่ีจะจดั ประเภทออกเป็ นตวั อาชีพเลขรหสั หลกั ท่ี 5 ได้3.หลกั การให้ชื่ออาชีพ สาํ หรับช่ือของกลุ่มอาชีพ ต้งั แตร่ ะดบั หมวดใหญ่ถึงหน่วยอาชีพน้นั จะใชต้ ามอยา่ งมาตรฐานสากล คือหมวดใหญ่ ใหช้ ื่อที่แสดงใหเ้ ห็นถึงลกั ษณะงาน ซ่ึงบุคคลน้นั ทาํ อยู่ เช่น งานจดั การ งานที่ตอ้ งใชว้ ชิ าชีพ งานบริการงานเสมียน พนกั งานหรืองานทาง ดา้ นการเกษตรหรืออุตสาหกรรม ฯลฯหมวดย่อย ใหช้ ื่อกลุ่มอาชีพท่ีจาํ แนกยอ่ ยจากหมวดใหญ่โดยจะแสดงถึงลกั ษณะงานท่ีจาํ แนกออกเป็นส่วน ๆ ชดั เจนข้ึนหมู่ จะเป็นช่ือกลุ่มอาชีพท่ีจาํ แนกยอ่ ยจากหมวดยอ่ ยและแสดงถึงลกั ษณะงานท่ีขีดวงจาํ กดั ข้ึน อาจใชช้ ่ืออยา่ งเดียวกบัหน่วยอาชีพซ่ึงอยใู่ นหมู่น้นั โดยรวม ชื่อหน่วยอาชีพทุกหน่วยหรือเพียงบางหน่วยหน่วย เป็นกลุ่มอาชีพท่ีจาํ แนกยอ่ ยจากหมู่และช่ือจะแสดงถึงกลุ่มตวั อาชีพที่อยใู่ นหน่วยอาชีพน้นั ๆตัวอาชีพ เป็นหน่วยที่เล็กท่ีสุด จาํ แนกยอ่ ยจากหน่วยอาชีพ การใหช้ ่ือตวั อาชีพและกลุ่มอาชีพน้ีไดใ้ ชช้ ่ือซ่ึงเป็ นชื่อสากลหรือใชเ้ รียกอยา่ งเป็นทางการ และ เป็นที่เขา้ ใจกนั โดยทว่ั ไป แต่อยา่ งไรก็ตามไดพ้ ยายามรวบรวมและใส่ชื่อที่ใช้เรียกกนั ในทอ้ งถิ่นหรือในตลาดแรงงานกาํ กบั ไวด้ ว้ ย เพื่อสะดวกแก่ผใู้ ชป้ ระโยชน์4.หลกั การเขียนนิยามอาชีพ นิยามอาชีพของกลุ่มอาชีพในระดบั หมวดใหญ่ หมวดยอ่ ย หมแู่ ละหน่วยน้นั ส่วนใหญ่เป็ นนิยามอาชีพท่ีทาํการคดั ลอกจากนิยามอาชีพสากล โดยผา่ นการ พจิ ารณาและปรับใหเ้ ขา้ กบั สภาพขอ้ เท็จจริงของประเทศ ซ่ึงนิยามแตล่ ะกลุ่มจะแสดงถึงความหมายของหนา้ ท่ีและลกั ษณะงานของกลุ่มอาชีพน้นั

นิยามอาชีพในเอกสารฉบบั น้ี ไดผ้ า่ นการพจิ ารณาจากผทู้ รงคุณวฒุ ิในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ ท่ีไดส้ ละท้งั เวลา ความรู้และ ความสามารถในการช่วยแกไ้ ขร่าง พร้อมใหข้ อ้ เสนอแนะจนไดน้ ิยามอาชีพแต่ละอาชีพโดยมีรูปแบบการเขียนนิยาม อาชีพ ดงั น้ี นิยามของตวั อาชีพแตล่ ะตวั จะแสดงถึงลกั ษณะงานอาชีพที่ตอ้ งปฏิบตั ิ โดยแยก เน้ือหาออกดงั น้ี ในประโยคแรกจะเป็น การอธิบายถึงลกั ษณะหนา้ ท่ีงานหลกั ของตวั อาชีพซ่ึงจะจบดว้ ยเคร่ืองหมาย : ประโยคหลงั เครื่องหมาย : จะเป็นการ บรรยายลกั ษณะงานหรือการปฏิบตั ิ ซ่ึงในบางหน่วยอาชีพจะบรรยายตามลาํ ดบั ข้นั ตอนงานและแยกประโยคดว้ ย เครื่องหมาย \",\" บางอาชีพมีการบรรยายถึงลกั ษณะงานส่วนยอ่ ยซ่ึงบางคนอาจทาํ งานส่วนน้ีอยดู่ ว้ ยหรือไมข่ ้ึนกบั ขนาด ของสถาน ประกอบการหรือองคก์ ร และจะข้ึนตน้ ประโยคดว้ ยคาํ วา่ \"อาจ\" ปัจจัยหลกั ของการประกอบอาชีพ ส่ิงสาํ คญั ของการเร่ิมตน้ ประกอบอาชีพอิสระ จะตอ้ งพิจารณาวา่ จะประกอบอาชีพอิสระอะไร โอกาสและความสาํ เร็จมี มากนอ้ ยเพียงไร และจะตอ้ ง เตรียมตวั อยา่ งไรจึงจะทาํ ให้ประสบผลสาํ เร็จ ดงั น้นั จึงตอ้ งคาํ นึงถึงปัจจยั หลกั ของการประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ 1. ทุน คือ สิ่งที่เป็นปัจจยั พ้ืนฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะตอ้ งวางแผนและแนวทางการดาํ เนินธุรกิจ ไวล้ ่วงหนา้ เพ่อื ท่ีจะทราบวา่ ตอ้ ง ใชเ้ งินทุนประมาณเทา่ ไร บางอาชีพ ใชเ้ งินทุนนอ้ ยปัญหายอ่ มมีนอ้ ย แต่ถา้ เป็นอาชีพ ที่ตอ้ งใชเ้ งินทุนมากจะตอ้ งพิจารณาวา่ มีทุนเพยี งพอหรือไม่ ซ่ึงอาจ เป็นปัญหาใหญ่ ถา้ ไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ ใด อาจจะไดจ้ ากเงินออม หรือจากการกยู้ มื จากธนาคาร หรือสถาบนั การเงินอ่ืน ๆ อยา่ งไรก็ตาม ในระยะแรกไม่ควร ลงทุน จนหมดเงินออมหรือลงทุนมากเกินไป 2. ความรู้ หากไม่มีความรู้เพยี งพอ ตอ้ งศึกษาขวนขวายหาความรู้เพิม่ เติม อาจจะฝึกอบรมจากสถาบนั ที่ให้ ความรู้ดา้ นอาชีพ หรือ ทาํ งานเป็นลูกจา้ งหรือทดลองปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง เพื่อใหม้ ีความรู้ ความชาํ นาญ และมี ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ 3. การจัดการ เป็นเร่ืองของเทคนิคและวธิ ีการ จึงตอ้ งรู้จกั การวางแผนการทาํ งานในเร่ืองของตวั บุคคลที่จะร่วม คิด ร่วมทาํ และร่วมทุน ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใชแ้ ละกระบวนการทาํ งาน 4. การตลาด เป็นปัจจยั ที่สาํ คญั มากท่ีสุดปัจจยั หน่ึง เพราะหากสินคา้ และบริการท่ีผลิตข้ึน ไม่เป็นท่ีนิยมและไม่ สามารถสร้างความพอใจใหแ้ ก่ผบู้ ริโภคไดก้ ถ็ ือวา่ กระบวนการท้งั ระบบไมป่ ระสบผลสาํ เร็จ ดงั น้นั การวางแผน การตลาด ซ่ึงปัจจุบนั มีการแขง่ ขนั สูง จึงควรไดร้ ับความสนใจในการพฒั นา รวมท้งั ตอ้ งรู้และเขา้ ใจในเทคนิคการผลิต การบรรจุและการหีบห่อ ตลอดจนการประชาสัมพนั ธ์ เพือ่ ใหส้ ินคา้ และบริการของเราเป็นที่นิยมของลูกคา้ กลุ่มเป้ าหมาย ต่อไป

การพฒั นาตนเองในงานอาชีพ อาชีพ หมายถึง การเล้ียงชีวติ การทาํ มาหากิน งานท่ีทาํ เป็นประจาํ เพอ่ื เล้ียงอาชีพ ซ่ึงในปัจจุบนั มีอาชีพมากมายเช่น การทาํ นา การทาํ สวนการทาํ ไร่ นกั แสดง นกั ธุรกิจ การพฒั นาตนเอง หมายถึง การที่บุคคลกาํ หนดวตั ถุประสงคห์ รือเป้ าหมายในชีวติ ของตนเองไวล้ ่วงหนา้ และหาวธิ ีพฒั นาการดาํ เนินชีวติ ใหบ้ รรลุเป้ าหมายที่วางไว้ การพฒั นาตนเองในงานอาชีพ หมายถึง การพฒั นาความรู้ ความสามารถของตนเองใหด้ ีข้ึนท้งั ร่างกาย จิตใจอารมณ์ และสงั คม เพอื่ ใหค้ นเป็นสมาชิกท่ีมีประสิทธิภาพของสงั คม และเป็นประโยชนต์ อ่ ผอู้ ื่น ตลอดจนเพื่อการดาํ รงชีวติ ของตนเองอยา่ งมีความสุขความสาคญั ของการพฒั นาตนเองในงานอาชีพ1. ความสาคัญต่อตนเอง 1.1 เตรียมตนเองใหพ้ ร้อมทุกดา้ น 1.2 ปรับปรุงสิ่งท่ีบกพร่อง และพฒั นาพฤติกรรมใหเ้ หมาะสม ขจดั คุณลกั ษณะที่ไมต่ อ้ งการออก พร้อมเสริมสร้างคุณลกั ษณะท่ีสงั คมตอ้ งการ 1.3 วางแนวทางใหพ้ ฒั นาไปสู่เป้ าหมายดว้ ยความมน่ั ใจ2. ความสาคัญต่อบุคคลอนื่ 2.1 การปรับปรุงและพฒั นาตนเองจึงเป็นการเตรียมตวั เพ่อื สร้างสิ่งแวดลอ้ มที่ดีตอ่ ผทู้ ่ีติดต่อดว้ ย 2.2 เป็นตวั อยา่ งอา้ งอิงใหเ้ กิดการพฒั นาแก่บุคคลอื่น3. ความสาคัญต่อสังคม 3.1 แขง่ ขนั ในเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพกบั สังคมอื่นไดส้ ูงข้ึน 3.2 ขจดั ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน อนั ทาํ ใหเ้ กิดความกา้ วหนา้ ท้งั ต่อตนเองและสังคมคุณสมบัติของบุคคลในการพฒั นาตนเอง1. มีความกระตือรือร้น2. มีมนุษยสมั พนั ธ์ที่ดีตอ่ กนั3. ตอ้ งพฒั นาทางร่างกาย4. เห็นส่วนดีของบุคคลอ่ืนมากกวา่ ขอ้ บกพร่อง5. ตอ้ งพฒั นาทางสงั คม6.ตอ้ งพฒั นาทางเชาวนป์ ัญญา

บทท่ี 2 ธุรกจิ และการเป็ นผู้ประกอบการบทนา ธุรกิจเป็นกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ก่อใหเ้ กิดการผลิต ไมว่ า่ จะเป็ นการผลิตสินคา้ หรือบริการ หรือการจดั จาํ หน่าย ซ่ึงในการจดั การธุรกิจจะมีบุคคลหรือคณะบุคคลท่ีเรียกวา่ ผปู้ ระกอบการ เป็ นผทู้ ี่มีบทบาทสาํ คญั ในการที่จะทาํ ธุรกิจอยู่รอดและยงั่ ยนื หรือไม่ ดงั น้นั ผปู้ ระกอบการจึงจาํ เป็ นตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความมุง่ มน่ั และยอมรับในความเสี่ยงในการเร่ิมตน้เป็นเจา้ ของกิจการจะเห็นไดว้ า่ ธุรกิจและการเป็นผปู้ ระกอบการจะเป็นองคป์ ระกอบที่ควบคูก่ นั ดงั เน้ือหารายละเอียดตอ่ ไปน้ีสาระการเรียนรู้1. ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั ธุรกิจ2. ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การประกอบการจุดประสงค์การเรียนรู้1. อธิบายความหมายของธุรกิจได้2. บอกความสาํ คญั ของธุรกิจได้3. อธิบายปัจจยั และประเภทขององคก์ ารธุรกิจได้4. อธิบายส่ิงแวดลอ้ มทางธุรกิจได้5. แจกแจงวตั ถุประสงคแ์ ละประโยชนข์ องธุรกิจที่มีต่อสังคมได้6. อธิบายความหมายของผปู้ ระกอบการและการประกอบการได้7. บอกลกั ษณะและคุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบการที่ดีได้8. ระบุหนา้ ที่ของผปู้ ระกอบการในการดาํ เนินธุรกิจได้9. บอกขอ้ ดีและขอ้ จาํ กดั ของการเป็นผปู้ ระกอบการได้ความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกบั ธุรกจิ ธุรกิจ เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงที่สาํ คญั ของสงั คม เพราะธุรกิจเป็นองคก์ รที่ผลิตสินคา้ บริการ และจดั จาํ หน่ายเพอ่ื สนองความตอ้ งการของสังคม เพอื่ หวงั ผลตอบแทนในรูปแบบของกาํ ไร ขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งยอมรับความเส่ียงจากกิจกรรมน้นั ๆ1. ความหมายของะธุรกจิ - ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆที่ก่อใหเ้ กิดการผลิตสินคา้ และบริการโดยมีการซ้ือขายแลกเปล่ียนกนั และมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ หวงั ผลกาํ ไร ความพยายามท่ีเป็นแบบแผนในการผลิตและการขายสินคา้ หรืบริการเพ่อื สร้างความพึงพอใจและตอบสนองความตอ้ งการของสังคม2. ความสาคญั ของธุรกจิ 2.1 สร้างความเจริญกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี เนื่องจากการท่ีผลิตสินคา้ หรืบริการใหม่ ๆ เกิดข้ึน หมายความวา่สินคา้ น้นั จะตอ้ งจาํ หน่ายให้กบั ประชาชนท้งั ในประเทศหรือตา่ งประภเท ทาํ ใหต้ อ้ งมีการใชเ้ ครื่องจกั ร เครื่องมือที่ทนั สมยั หรือใชเ้ ทคโนโลยสี ูง

2.2 ทาํ ใหเ้ ศรษฐกิจดีข้ึนจากผลการเกิดธุรกิจน้นั ประชาชนท่ีอยรู่ อบบริเวณบริษทั หรือโรงงานอุตสาหกรรมก็จะมีงานทาํ ก่อใหเ้ กิดรายได้ มีกระแสการเงินหมุนเวยี น ส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจดีข้ึนเมื่อมีการประกอบธุรกิจเกิดข้ึนภายในประเทศมาก ๆ 2.3 ยกระดบั ค่าครองชีพของประชาชนดีข้ึน เมื่อธุรกิจเกิดข้ึนในเขตชุมชนหรือเขตพ้ืนที่ใด จะทาํ ใหเ้ กิดรายได้หรือเมด็ เงินตราตกไปสู่ในเขต 2.4 เพือ่ สร้างรายไดใหก้ บั รัฐบาล เนื่องจากธุรกิจที่เกิดข้ึนจะตอ้ งมีการส่งสินคา้ ออกไปขายทุกภมู ิภาคของประเทศหรือตา่ งประเทศ จึงทาํ ใหไ้ ดเ้ งินตราของประเภทอื่นเขา้ มาหมุนเวยี นในประเทศ รัฐบาลมีรายไดเพม่ิ ข้ึนจากการเก็บภาษี 2.5 ช่วยเหลือดา้ นสวสั ดิการตา่ ง ๆ ใหก้ บั สังคม การท่ีประชาชนมีงานทาํ ทาํ ใหม้ ีรายไดม้ าเล้ียงครอบครัว3. ปัจจัยและประเภทขององค์กรธุรกจิ 3.1 ปัจจยั ในการประกอบธุรกิจ- คน เป็นปัจจยั ที่สาํ คญั ท่ีสุด เพราะธุรกิจตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนไดตอ้ งอาศยั ความคิดของคน- เงิน เป็ นปัจจยั ในการทาํ ธุรกิจเพือ่ ท่ีจะตอ้ งนาํ มาใชใ้ นการลงทุน- วสั ดุหรือวตั ถุดิบ ในการผลิตสินคา้ ตอ้ งอาศยั วตั ถุดิบคอ้ นขา้ งมากตอ้ งรู้จกั บริหารวตั ถุดิบใหม้ าประสิทธิภาพ- วธิ ีการปฏิบตั ิ เป็นวธิ ีการในแต่ละข้นั ตอนของการดาํ เนินธุรกิจ ซ่ึงตอ้ งมีการวางแผนและควบคุม 3.2 การแบง่ ประเภทขององคก์ รธุรกิจ- ธุรกิจการผลิต เป็นการเปลี่ยนรูปวตั ถุดิบให้เป็นผลิตภณั ฑส์ าํ เร็จรูปดว้ ยกระบวนการผลิต- ธุกิจเหมืองแร่ เป็นการหาและนาํ ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้- ธุรกิจคา้ ส่ง เป็นธุรกิจท่ีทาํ หนา้ ท่ีเป็นคนกลางท่ีซ้ือสินคา้ มาแลว้ ขายต่อใหค้ นกลางอีกทอดหน่ึง- ธุรกิจคา้ ปลีก เป็นธุรกิจท่ีซ้ือสินคา้ มาแลว้ ขายสินคา้ ต่อใหก้ บั ผบู้ ริโภคคนสุดทา้ ย 3.3 การแบง่ ประเภทขององคก์ รในรูปแบบของความเป็นเจา้ ของกิจการเจา้ ของคนเดียว (Owner’s Managerment) คือ กิจการขนาดเล็กท่ีดาํ เนินกิจการเพยี งคนเดียว ไดแ้ ก่ กิจการท่ีมีร้านเป็ นตึกแถว หรือบา้ นพกั เป็นร้านคา้ รวมถึงการขายเร่ แผงลอยต่างๆขอ้ ดีและขอ้ เสียของกิจการเจา้ ของคนเดียว ข้อดี1. ง่ายและสะดวกในการจดั ต้งั เพียงแต่จดทะเบียนพาณิชย์2. ผลกาํ ไรท้งั หมดจะเป็ นของเจา้ ของแต่ผเู้ ดียว3. มีความคล่องตวั ในการดาํ เนินงาน ไม่ตอ้ งปรึกษาคนอื่นสามารถตดั สินใจไดท้ นั ที4. มีขอ้ บงั คบั ทางกฎหมายนอ้ ย5. ลม้ เลิกกิจการไดง้ ่าย ถา้ กิจการดาํ เนินงานไม่ดีเท่าท่ีควรข้อเสีย1. ขยายกิจการใหใ้ หญข่ ้ึนยากเพราะมีทุนจาํ กดั2. เจา้ ของกิจการจะตอ้ งรับผิดชอบต่อหน้ีสินที่ไดเ้ กิดข้ึนท้งั หมดไมจ่ าํ กดั จาํ นวน

3. ใชค้ วามคิดในการตดั สินปัญหาธุรกิจคนเดียว อาจมีขอ้ ผดิ พลาดไดง้ ่าย4. ขาดความต่อเน่ืองในการดาํ เนินงาน เช่น เจา้ ของสุขภาพไมด่ ี ปัญหาเก่ียวกบั เงินทุน5. ความสามารถในการคิดและบริหารงานจาํ กดั เนื่องจากบริหารงานเพยี งคนเดียวหา้ งหุน้ ส่วน ( Partership ) หมายถึง กิจการท่ีมีบุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป รับผดิ ชอบร่วมกนั ในการดาํ เนินกิจการ ลงทุนตามอตั ราส่วนท่ีตกลงกนั และแบง่ ความรับผดิ ชอบในผลกาํ ไร-ขาดทุน ตามส่วนของเงินลงทุน ลกั ษณะของห้างหุ้นส่วน1. บุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ตกลงทาํ สญั ญากนั เป็นหุ้นส่วนกนั2. ทุนอาจเป็นเงินสด ทรัพยส์ ิน หรือแรงงานแลว้ แตต่ กลง3. มีหนา้ ท่ีร่วมกนั ตามที่ตกลงกนั ไว้4. มีความประสงคแ์ บง่ ผลกาํ ไร หรือเฉลี่ยแบง่ ผลขาดทุนร่วมกนั ประเภทของห้างหุ้นส่วน มี 3 ประเภท1. หา้ งหุน้ ส่วนสามญั คือ หา้ งหุน้ ส่วนซ่ึงผเู้ ป็นหุน้ ส่วนทุกคนตอ้ งรับผดิ ชอบในหน้ีสินท้งั หมดโดยไม่จาํ กดั จาํ นวนหา้ งหุน้ ส่วนสามญั จะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ ถา้ จดทะเบียนจะมีสภาพเป็น “นิติบุคคล” มีสิทธิตามกฎหมายมากข้ึน2. หา้ งหุน้ ส่วนจาํ กดั คือ หา้ งหุน้ ส่วนสามญั จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคล ซ่ึงมีลกั ษณะการดาํ เนินงานเช่นเดียวกบั หา้ งหุน้ ส่วนสามญั เพยี งแตห่ า้ งหุน้ ส่วนสามญั จะมีหุน้ ส่วน 2 ประเภท คือ ก. หุน้ ส่วนที่จาํ กดั ความรับผิดชอบ จะเป็ นคนเดียวหรือหลายคนก็ไดท้ ี่จาํ กดั ความรับผดิ ชอบ เพยี งไม่เกินวงเงินท่ีตกลงจะนาํ มาลงหุน้ ในหา้ งหุน้ ส่วนเทา่ น้นั เมื่อหา้ งหุน้ ส่วนเกิดการขาดทุนมีหน้ีสิน ผถู้ ือหุน้ ประเภทข้ีไมม่ ีอาํ นาจในดา้ นการจดั การโดยตรง แตส่ ามารถออกความคิดเห็นไดใ้ นกรณีผลตอบแทนท่ีไดร้ ับไม่มากนกั เพราะรับผดิ ชอบนอ้ ย ข. หุน้ ส่วนท่ีไม่จาํ กดั ความรับผดิ ชอบ เป็ นหุน้ ส่วนท่ีรับผิดชอบในหน้ีสินของหา้ งโดยไมจ่ าํ กดั จาํ นวน ซ่ึงถือเสมือนเป็ นหุน้ ส่วนสามญั ดงั น้นั หุน้ ส่วนประเภทน้ีจึงมีสิทธิเป็นเจา้ ของผจู้ ดั การของหา้ งหุน้ ส่วนในการดาํ เนินธุรกิจบริษทั จากดั (Corporation or Limited Company) คือ กิจการที่ก่อต้งั ดว้ ยการแบง่ ทุนออกเป็นหุน้ แตล่ ะหุน้ มีมลู คา่เทา่ ๆกนั โดยผถู้ ือหุน้ ตา่ งรับผดิ จาํ กดั ไม่เกินจาํ นวนเงินท่ีตนยงั ส่งใชไ้ มค่ รบมลู คา่ ของหุน้ ท่ีตนถือ ลกั ษณะและวธิ ีการดาเนินงาน1. มีผถู้ ือหุน้ ไม่นอ้ ยกวา่ 7 คน แต่ไมเ่ กิน 100 คน เขา้ ช่ือกนั ทาํ หนงั สือบริคณห์สนธิ แลว้ นาํ ไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียนบริษทั2. มลู คา่ หุน้ ไมต่ ่าํ กวา่ หุน้ ละ 5 บาท3. มีคาํ วา่ \"บริษทั \" นาํ หนา้ ชื่อ และต่อทา้ ยดว้ ยคาํ วา่ \"จาํ กดั \"4. การบริหารกิจการเป็นหนา้ ทีของกรรมการบริษทั ซ่ึงมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกวา่ 3 คน5. ที่ประชุมผถู้ ือหุน้ เป็นเพียงผแู้ ตง่ ต้งั หรือถอดถอนกรรมการบริษทั ตลอดจนกาํ หนดนโยบายและเงินปันผล6. บริษทั จะออกเอกสารให้ผถู้ ือหุน้ คือใบหุน้

4.สิงแวดล้อมทางธุรกจิ 4.1 สิ่งแวดลอ้ มภาใน เป็ นส่วนที่มีผลกระทบต่อการดาํ เนินงานของธุรกิจภายในองคก์ รแต่เม่ือเกิดข้ึนแลว้สามารถปรับเปล่ียนได้ 4.2 ส่ิงแวดลอ้ มภายนอก มีอิทธิพลและมีผลกระทบต่อองคก์ รท่ีเกิดจากภาวการณ์ต่าง ๆท่ีอยรู่ อบนอกองคก์ รไมส่ ามารถปรับเปลี่ยนได้5. วตั ถุประสงค์และประโยชน์ของธุรกจิ ทมี่ ีต่อสังคม 5.1 ความอยรู่ อด ธุรกิจยอ่ มตอ้ งการให้องคก์ รของตนสมารถดาํ รงอยแู่ ละดาํ เนินงานไดอ้ ยา่ งตอ่ ต่อเนื่องระยะยาว 5.2 การเจริญเติบโต เจา้ ของหรือนกั ธุรกิจตา่ งตอ้ งการท่ีจะเห็นองคก์ รธุรกิจของตนประสบผลสาํ เร็จกา้ วหนา้เจริญเติบโตอยา่ งตอ่ เน่ือง 5.3 ผลกาํ ไร ถือเป็นวตั ถุประสงคเ์ บ้ืองตน้ ของการประกอบธุรกิจและเป็นผลตอบแทนที่เจา้ ของและนกั ลงทุนตอ้ งการ 5.4 ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ธุรกิจและสงั คมตา่ งมีอิทธิพลซ่ึงกนั และกนั ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั การเป็ นผ้ปู ระกอบการ1.หมายของผู้ประกอบการ บุคคลหรือคณะบุคคลท่ีมารวมตวั กนั ในลกั ษณะต่าง ๆเพื่อกะทาํ กิจกรรมในการผลิต การจดั จาํ หน่ายการใหบ้ ริการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ ง มีการวางแผน การดาํ เนินงาน เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของสังคมให้เกิดความพงึ พอใจและไดผ้ ลตอบแทนในรูปของกาํ ไร2. ความหมายของคาว่า การประกอบการ เป็นกระบวนการที่จะนาํ เอาปัจจยั การผลิตชนิดตา่ ง ๆมาแปรสภาสินคา้ และบริการใหม้ ีประสิทธิภาพมากท่ีสุดโดยมุ่งหวงั ผลกาํ ไรผปู้ ระกอบการ เป็นบุคคลท่ีมองเห็นโอกาสทางธุรกิจ และสามารถหาช่องทางที่จะสร้างธุรกิจของตนเอง และพร้อมที่จะรับความเสี่ยงตา่ ง ๆ ที่จะเกิดข้ึน ต้งั แต่ตดั สินใจที่จะเริ่มดาํ เนินธุรกิจ ในการประกอบธุรกิจขนาดยอ่ ม ตอ้ งการผปู้ ระกอบการที่มีความสามารถหลาย ๆ ดา้ นซ่ึงอาจพจิ ารณาลกั ษณะผปู้ ะกอบการจากพฤติกรรมต่าง ๆ ดงั น้ี3. ลกั ษณะและคุณสมบัติของผ้ปู ระกอบการทดี่ ี 3.1 ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการทดี่ ี3.1.1 มีร่างกายท่ีแขง็ แรงสมบูรณ์3.1.2 มีความรู้เชี่ยวชาญพเิ ศษในเร่ืองท่ีตนรับผดิ ชอบ3.1.3 มีความสามารถรับรู้เรื่องราวต่าง ๆไดด้ ี เรียนรู้ไดเร็ว3.1.4 มีความจาํ ที่ดี3.1.5 มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์3.1.6 มีความสามารถในการตดั สินใจไดด้ ี

3.1.7 มีความอดทน กลา้ หาญ และความรับผิดชอบ 3.2 คุณสมบตั ิของผู้ประกอบการทด่ี ี3.2.1 มีความคิดสร้างสรรค์ (Creative) ในการเริ่มตน้ ธุรกิจ กล่าวคือ เป็นคนที่มองเห็นโอกาสและช่องทางในการสร้างธุรกิจข้ึนมาภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ3.2.2 เรียนรู้หรือสร้างนวตั กรรม (Innovation) ของการดาํ เนินธุรกิจ อนั จะก่อใหเ้ กิดผลิตภณั ฑ์ หรือบริการรูปแบบใหม่ ๆ รวมถึงกระบวนการผลิต การตลาด และการจดั การทรัพยากร เป็นตน้3.2.3 ยอมรับความเส่ียง (Risk) อนั อาจจะเกิดข้ึนจากการขาดทุนหรือลม้ เหลวในการดาํ เนินธุรกิจ ซ่ึงผปู้ ระกอบการจาํ เป็นตอ้ งมีความเป็นนกั เส่ียงอยา่ งมีหลกั การ คือตดั สินใจอยา่ งฉบั ไว และรอบคอบดว้ ยขอ้ มูลที่เช่ือถือได้3.2.4 มีความสามารถในการจดั การทว่ั ไป (General management) ท้งั ดา้ นการกาํ หนดแนวทางของธุรกิจและการจดั สรรทรัพยากร3.2.5 มีความมุง่ มน่ั ในการดาํ เนินงาน (Performance intention) เพื่อสร้างความเจริญเติบโต และกาํ ไรจากการดาํ เนินธุรกิจ4.หน้าทีข่ องผู้ประกอบการในการดาเนินธุรกจิ 4.1 หนา้ ท่ีดา้ นการผลิต การผลิต เป็นกิจกรรมหลกั ของธุรกิจการผลิตและธุรกิจอุตสาหกรรม ซ่ึงทาํ ใหเ้ กิดสินคา้ และบริการ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ ริโภค นอกจากน้ียงั รวบถึงการเลือกทาํ เลท่ีต้งั โรงงาน การติดต้งัเครื่องจกั ร การซ้ือวตั ถุดิบ การดาํ เนินการผลิต การเก็บรักษาสินคา้ ตลอดจนหนา้ ท่ีในการใหบ้ ริการและอาํ นวยความสะดวกต่างๆ ใหแ้ ก่ผบู้ ริโภค 4.2 หนา้ ที่ดา้ นการตลาด การตลาด เป็นกิจกรรมต่างๆ ท่ีทาํ ใหส้ ินคา้ หรือบริการเคล่ือนยา้ ยจากผผู้ ลิตไปสู่ผบู้ ริโภค ซ่ึงไดร้ ับความพึงพอใจดว้ ยการจาํ หน่ายจ่ายแจกและกระจายสินคา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเพ่ือใหส้ ามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ ผปู้ ระกอบการมีหนา้ ท่ีจดั การเกี่ยวกบั ผลิตภณั ฑ์ การกาํ หนดราคาการเลือกช่องทางจดั จาํ หน่าย การขนส่ง การเกบ็ รักษาสินคา้ และการส่งเสริมการตลาด เป็นตน้ 3.3 4.3 หนา้ ที่ดา้ นการเงิน ธุรกิจจะเริ่มตน้ และเจริญกา้ วหนา้ ไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองข้ึนอยกู่ บั ฐานะทางการเงินของธุรกิจน้นั ๆ หากบุคคลที่เกี่ยวขอ้ งจดั การดา้ นการเงินใหม้ ีความสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งรายรับและรายจา่ ยแลว้ จะลดปัญหาดา้ นการเงินลงได้ หนา้ ที่ดา้ นการเงินหมายรวมถึงการจดั หาเงินทุน การเก็บรักษา การใชเ้ งินทุนอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ธุรกิจมีเงินทุนหมุนเวยี นท่ีเหมาะสมเป็นการสร้างสภาพคล่องทางการเงินให้แก่กิจการ 3.4 4.4 หนา้ ที่ดา้ นขอ้ มลูขา่ วสาร ปัจจุบนั การดาํ เนินธุรกิจจะประสบความสาํ เร็จไดห้ รือไม่น้นั ยอ่ มอาศยั ขอ้ มูลข่าวสารทางธุรกิจเป็ นหลกั โดยมุ่งส่ือสารอยา่ งรวดเร็วและแม่นยาํ ในยคุ โลกาภิวตั น์ ข่าวสารทางธุรกิจสาํ หรับผปู้ ระกอบการจะตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ ผา่ นส่ือตา่ งๆ ไดม้ ากมาย เช่น หนงั สือพมิ พ์ ทางธุรกิจ วารสารอุตสาหกรรม โทรทศั น์ และอินเตอร์เน็ต เป็ นตน้

บทที่ 3 องค์กรและการบริหารจดการภายในองค์กรบทนาํ ความสาํ เร็จของธุรกิจข้ึนอยกู่ บั ทุกคนท่ีทาํ หนา้ ท่ีภายในองคก์ รน้นั ๆ ไมว่ า่ จะเป็ นเจา้ ของหรือผปู้ ระกอบการผบู้ ริหารระดบั สูง ผบู้ ริหารระดบั กลาง หรือพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีระดบั ล่าง ตา่ งส่งผลกระทบตอ่ ธุรกิจท้งั สิ้นความสาํ เร็จของธุรกิจจะมีปัจจยั สาํ คญั ในการวางรากฐานที่ดีต้งั แต่เร่ิมตน้ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั องคก์ รสาระการเรียนรู้1. บอกความหมายขององคก์ รและองคก์ รธุรกิจได้2. บอกข้นั ตอนการเติบโตขององคก์ รได้3. สรุปสาระสาํ คญั การจดั องคก์ รได้4. อธิบายโครงสร้างขององคก์ รได้5. สรุปสาระสาํ คญั การกาํ หนดความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานได้6. บอกความแตกต่างของการบริหารและจดั การได้7. บอกความหมายของการจดั การได้8. อธิบายระบบในการบริหารจดั การได้9. สรุป ตาํ แหน่ง คุณลกั ษณะ หนา้ ที่ บทบาทและทกั ษะของผบู้ ริหารได้ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั องค์กร1.ความหมายขององค์กร องคก์ รหมายถึง บุคคลกลุ่มหน่ึงท่ีมารวมตวั กนั โดยมีวตั ถุประสงคห์ รือเป้ าหมายอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ งร่วมกนั และดาํ เนินกิจกรรมบางอยา่ งร่วมกนั อยา่ งมีข้นั ตอนเพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคน์ ้นั โดยมีท้งั องคก์ รท่ีแสวงหาผลกาํ ไร คือองคก์ รที่ดาํ เนินกิจกรรมเพือ่ การแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจ เช่น บริษทั หา้ งหุน้ ส่วน หา้ งสรรพสินคา้ ร้านคา้ต่างๆ และ องคก์ รที่ไมแ่ สวงหาผลกาํ ไร คือองคก์ รท่ีดาํ เนินกิจกรรมเพอื่ สาธารณประโยชน์เป็นหลกั เช่น สมาคมสถาบนั มูลนิธิ เป็นตน้ สายการบงั คบั บญั ชา กค็ ือ สายแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผบู้ งั คบั บญั ชาการยดึ ถือปฏิบตั ิตามสายการบงั คบั บญั ชาจะก่อให้เกิดประโยชนค์ ือ ไม่ทาํ ใหฐ้ านะของผบู้ ริหารตอ้ งเสียไปและในขณะเดียวกนั ก่อจะก่อใหเ้ กิดความสบั สนแก่คนงาน ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตา่ ง ๆ เกิดความลาํ บากใจเสมอ ถา้ หากมีการละเลยไม่ปฏิบตั ิตามสายการบงั คบั บญั ชาโดยมีการติดตอ่ หรือ สง่ั ขา้ มข้นั มกั จะทาํ ใหผ้ ดิ ต่อหลกั ของการมีผบู้ งั คบั บญั ชาเพียงคนเดียวไดเ้ สมอแผนภมู ิองคก์ าร คือ รูปไดอะแกรมท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงลกั ษณะต่าง ๆ ที่สาํ คญั ขององคก์ ารรวมท้งั หนา้ ท่ีและความสัมพนั ธ์ของฝ่ ายตา่ ง ๆ หรือกล่าวไดว้ า่ เป็นการแสดงใหเ้ ห็นตาํ แหน่งต่าง ๆ ในองคก์ ารธุรกิจและความสัมพนั ธ์ของฝ่ ายตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งเกี่ยวขอ้ งผกู พนั กนั ทาํ ใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหวั หนา้ และผอู้ ยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชา แผนภมู ิองคก์ ารทาํ ใหบ้ ุคคลในองคก์ ารรู้วา่ ตนอยู่ ณ ตาํ แหน่งใด ทาํ หนา้ ท่ีอะไร ใครรับผดิ ชอบตน เป็ นตน้

2. ความหมายขององค์กรธุรกจิ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีการรวมตวั กนั โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอื่ ทาํ กิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ งก็ไดเ้ พื่อตอบสนอกความตอ้ งการของสงั คมและไดผ้ ลตอบแทนในรูปแบบของกาํ ไร3.ข้นั ตอนการเติบโตขององค์กร 3.1 ข้นั ธุรกิจครอบครัว หลายธุรกิจเร่ิมตน้ จากการดาํ เนินงานภายในครอบครัวมีหนา้ ท่ีในการดาํ เนินงานไม่มากและการตดั สินใจส่วนใหญข่ ้ึนอยกู่ บั บุคคลหน่ึงหรือสองคนเท่าน้นั 3.2 ข้นั ผปู้ ระกอบการ เป็นข้นั ท่ีองคก์ ารเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วในระยะแรก และจะลดอตั ราการเจริญเติบโตในตอนปลาย 3.3 ข้นั การจดั การแบบมืออาชีพ องคก์ รจะมีการเจริญเติบโตข้ึนอยา่ งมากจนตอ้ งใชผ้ จู้ ดั การมืออาชีพเขา้ มาช่วยในการวางแผน การจดั องคก์ ร การจูงใจ และการควบคุม4. การจัดองค์กร 4.1 ความหมายของการจดั องคก์ ร คือ การตดั สินใจเลือกวิธีการในการจดั แบง่ กลุ่มกิจกรรมและทรัพยากรตา่ งๆ 4.2 รูปแบบขององคก์ ร- องคก์ รอยา่ งเป็นทางการหรือองคก์ รรูปนยั-องคก์ รไม่เป็นทางการหรือองคก์ รรูปนยั 4.3 ความสาํ คญั ในการจดั องคก์ รที่มีความสาํ คญั ดงั น้ี- เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพขององคก์ ร- เพ่อื ความอยรู่ อดขององคก์ ร- เพอ่ื เป็นหลกั การประกนั ใหเ้ กิดความมน่ั ใจ- เพอื่ ส่งเสริมการปฎิสมั พนั ธ์- เพอ่ื จดั องคก์ รที่ดี5. โครงสร้างขององค์กร และการจัดแผนงาน 5.1 โครงสร้างขององคก์ ร คือ แบบแผนท่ีกาํ หนดขอบเขตของงานและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลในองคก์ รในรูปแบบของอาํ นาจหนา้ ที่และสายการบงั คบั บญั ชา 5.2 การจดั แผนงาน คือ กระบวนการในการจดั กลุ่มงานโดยถือเกณฑล์ กั ษณะตา่ ง ๆ แบง่ งานและกลุ่มคนออกเป็ นหน่วยงานหรือแผนกงานในองคก์ ร6. การกาหนดความสัมพนั ธ์ระหว่างงาน 6.1 สายบงั คบั บญั ชา คือ การแตกทิศทางของอาํ นาจหนา้ ท่ีจากระดบั บนลงมาระดบั ล่างขององคก์ ร 6.2 การกระจายอาํ นาจ ปัญญหาที่สาํ คญั จะรู้ไดอ้ ยา่ งรัยในการปฏิบตั ิงานในองคก์ รใหส้ าํ เร็รุล่วงไปไดด้ ี 6.3 การรวมอาํ นาจและการกระจายอาํ นาจ- การรวมอาํ นาจ คือ กระบวนการรักษาอาํ นาจอยา่ งเป็นระบบไวก้ บั ผบู้ ริหารระดบั สูง

- การกระจายอาํ นาจ คือ กระบวนการมอบอาํ นาจอยา่ งเป็ นระบบจากผบู้ ริหารระดบั สูงสู่ผบู้ ริหารระดบั กลางและผบู้ ริหารระดบั ตน้ 6.4 การประสานงาน เมื่อองคก์ รมีการออกแบบโดยแตกงานออกเป็นชิ้น ๆ เพื่อจดั สรรใหพ้ นกั งานแต่ละคนทาํกนั ตามความสามารถหรือความถนดัการบริหารจดั การภายในองคก์ รการบริหารจัดการภายในองค์กร1. ความหมายของความแตกต่างของคาว่า การบริหาร กบั การจัดการ องคก์ รต่าง มกั ใชส้ องคาํ คือ การบริหาร กบั คาํ วา่ การจดั การ ท้งั สองคาํ น้ีมีความหมายไม่ต่างกนั การบริหารมกัใชว้ งการสาธารณะหรืราชการ ในขณะท่ีการจดั การใชก้ นั ในวงการธุรกิจหรืเอกชนเป็ นหลกั2. ความหมายของการจัดการ นกั วชิ าการดา้ นการจดั การไม่นิยมใหค้ าํ จาํ กดั ความการจดั การหรือการบริหาร เนื่องจากมีขอบข่ายและความหมายเกินกวา่ จะนิยามดว้ ยประโยคส้ันๆ เพียงไมก่ ่ีประโยคได้ คาํ นิยามท่ีนกั วชิ าการในสมยั ก่อนนิยามไดแ้ ก่ความหมายองคป์ ระกอบ (บุคคลต้งั แต่สองคนข้ึนไปมาร่วมแรงร่วมใจกนั ปฏิบตั ิเพ่ือบรรลุเป้ าหมายร่วมกนั ) โดยดูวา่กิจกรรมใดบา้ งท่ีเขา้ ขา่ ยลกั ษณะงามตามภารกิจของการจดั การ อยา่ งไรก็ตามนกั วชิ าการดา้ นการจดั การในปัจจุบนั มีความเห็นไปในทางเดียวกนั วา่ ควรใหค้ าํ นิยามความหมายของการจดั การหรือการบริหารเพื่อใชเ้ ป็นแนวทางร่วมกนั ในการอธิบายขอบขา่ ยของลกั ษณะการจดั การ แมจ้ ะไม่สามารถอธิบายไดค้ รอบคลุม หรืออธิบายไดเ้ พยี งบางส่วนเท่าน้นัก็ตาม ก็เป็นส่ิงท่ีควรกระทาํ เพื่อใหเ้ กิดความกระจา่ งชดั เจนข้ึน ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ ไดใ้ หค้ วามหมายการจดั การ คือกระบวนการนาํ ทรัพยากรการบริหารมาใชใ้ ห้บรรลุวตั ถุประสงคต์ ามข้นั ตอนการบริหารคือ1 การวางแผน ( Planning )2 การจดั การองคก์ าร ( Organizing )3 การช้ีนาํ ( Leading )4 การควบคุม ( Controlling ) 2.1 INPUT คือ ทรัพยากรการบริหาร อนั ไดแ้ ก่ 4 M’s ประกอบดว้ ย คน ( Man ) เงิน ( Money ) วตั ถุดิบ (Material ) และวธิ ีการ / จดั การ ( Method / Management ) ถูกนาํ เขา้ ในระบบเพื่อการประมวลผลหรือการบริการท่ีเติบโตและพฒั นากา้ วหนา้ ไปพร้อมกบั อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการท่ีเติบโตและพฒั นาข้ึนไปอยา่ งรวดเร็ว 6M’s ไดแ้ ก่ เคร่ืองจกั รกล ( Machine ) และ การตลาด ( Market ) จึงเพิ่มขวญั และกาํ ลงั ใจ ( Morale ) เขา้ ไปเป็น 7 M’sและเมื่อโลกกา้ วเขา้ สู่ยคุ โลกาภิวตั น์ ( Globalization ) ระบบการส่ือสารไร้พรหมแดนที่ติดต่อเช่ือมโยงกนั เป็นระบบเครือขา่ ยครอบคลุมทวั่ โลกทาํ ใหก้ ารติดตอ่ สื่อสารรวดเร็วใครไมร่ ู้หรือไม่มีขอ้ มูลยอ่ มเสียเปรียบในเชิงธุรกิจจึงไดเ้ พ่ิมขอ้ มลู ขา่ วสาร ( Message ) เขา้ ไปในทรัพยากรกระบวนการผลิต รวมเป็น 8 M’s ซ่ึงทรัพยากรเหล่าน้ีจะเพม่ิ ข้ึนไป

เร่ือยๆ ไม่สิ้นสุดตราบเท่าท่ีระบบอุตสาหกรรมการผลิตการจดั จาํ หน่ายและการบริการยงั คงพฒั นาและกา้ วไปไม่หยดุ ย้งั 2.2 PROCESS คือ หนา้ ที่หรือกิจกรรมข้นั พ้นื ฐานท่ีผบู้ ริหารตอ้ งกระทาํ ในปัจจุบนั ยดึ ถือหนา้ ที่ 4 ประการไดแ้ ก่ (POLC) การวางแผน ( Planning ), การจดั องคก์ ร(Organizing ), การช้ีนาํ ( Leading ) และ การควบคุม (Controlling ) 2.3 OUTPUT คือ เป้ าหมาย ( Goals ) หรือ วตั ถุประสงค์ ( Objectives ) ขององคก์ าร ท่ีนาํ ออกมาจากกระบวนการแปรรูปในข้นั ตอนที่สอง เป้ าหมายขององคก์ ารสามารถแบง่ หยาบไดเ้ ป็น 2 ประเภทดว้ ยกนั คือ องคก์ ารที่มีเป้ าหมายท่ีมุง่ แสวงหากาํ ไร ( Profit ) และองคก์ ารท่ีมีเป้ าหมายไมม่ ุ่งแสวงหากาํ ไร ( Non ‟ profit ) หรืออาจแบง่ เป็ นองคก์ ารท่ีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื การผลิตสินคา้ กบั องคก์ ารท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ใหบ้ ริการ ( Services ) ก็ได้3.ระบบในการบริหารจัดการ ภายในองคก์ รก็จะมีระบบยอ่ ยท่ีสามารถแยกศึกษาระบบยอ่ ยตามหนา้ ที่4. ตาแหน่ง คุณลกั ษณะ หน้าท่ี บทบาท และทกั ษะของผู้บริหาร สมาชิในองคก์ รจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายปฏิบตั ิงาน กบั ฝ่ ายบริหารหรือฝ่ ายจดั การ โดยท่ีฝ่ ายปฏิบตั ิงานจะเป็นผลู้ งมือทาํ งานดว้ ยตนเองส่วนฝ่ าบริหารทาํ หนา้ ท่ีในการดูแลกบั ตรวจสอบหรือควบคุมงานของผอู้ ื่นโดยตรง 4.1 ตาแหน่งผู้บริหาร4.1.1 ผบู้ ริหารระดบั สูง (Top Manager) คือ ผบู้ ริหารที่อยใู่ นระดบั สูงสุดของสายบงั คบั บญั ชา ทาํ หนา้ ที่นาํ องคก์ ารไปสู่ความสาํ เร็จ เป็ นผทู้ ่ีตอ้ งรับผดิ ชอบองคก์ ารท้งั หมดและเป็นผกู้ าํ หนดวตั ถุประสงคแ์ ละนโยบายสาํ คญั ๆ ใหก้ บัองคก์ าร ขอบเขตการบริหารจดั การจึงเกี่ยวขอ้ งกบั ปัจจยั ต่างๆ ในสภาพแวดลอ้ มภายนอกและปัจจยั ตา่ งๆ ภายในองคก์ าร4.1.2 ผบู้ ริหารระดบั กลาง (Middle Manager) คือ ผบู้ ริหารที่อยรู่ ะดบั รองลงมาจากผบู้ ริหารระดบั สูง เป็ นผรู้ ับเอาเป้ าหมาย นโยบายและแผนงานจากผบู้ ริหารระดบั สูงใหน้ าํ ไปปฏิบตั ิ ทาํ หนา้ ท่ีประสานงานโดยพยายามรวบรวมผลสาํ เร็จของการทาํ งานภายในหน่วยงานท่ีตนรับผดิ ชอบอยู่ ส่งมอบใหก้ บั ผบู้ ริหารระดบั ที่อยสู่ ูงถดั ข้ึนไปขณะเดียวกนั ก็จะคอยร่วมมือช่วยเหลือในการเผชิญและแกไ้ ขปัญหาที่มากระทบจากภายนอกดว้ ย ผบู้ ริหารระดบั กลางยงั มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบต่อการทาํ งานของผบู้ ริหารที่อยรู่ ะดบั ล่างลงมา4.1.3 ผบู้ ริหารระดบั ตน้ (First-line Manager or First-line Supervisor) คือ ผบู้ ริหารระดบั ล่างสุด รับผดิ ชอบการปฏิบตั ิงานของพนกั งานปฏิบตั ิการ เป็ นผใู้ กลช้ ิดและส่ังการโดยตรงกบั พนกั งานปฏิบตั ิการและมีโอกาสรู้ความเป็นไปของปัญหาที่เกิดข้ึนในจุดปฏิบตั ิงาน ในบางองคก์ าร อาจจะมีกาํ หนดตาํ แหน่งงานของผบู้ ริหารระดบั ตน้ เป็ นLine Manager หวั หนา้ งาน Supervisor หวั หนา้ งาน Foreman ผนู้ าํ กลุ่ม (Crew Leader) เป็นตน้

4.2 ทกั ษะการจัดการ 4.2.1 ทกั ษะดา้ นความคิด (Conceptual Skill) เป็นความสามารถในการเขา้ ใจองคก์ ารโดยรวม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวสิ ยั ทศั นแ์ ละคาดการณ์สถานการณ์ต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี พร้อมกบั มีความคิดริเร่ิม โดยสามารถคิดกลยทุ ธ์วธิ ีตา่ งๆ หรือพฒั นาส่ิงใหม่ๆ ที่ดีกวา่ ออกมาไดเ้ สมอๆ 4.2.2 ทกั ษะดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์ (People Skill) เป็นทกั ษะท่ีสร้างความร่วมมือในกลุ่มงาน รู้ถึงจิตใจคน เขา้ ใจพฤติกรรมมนุษย์ รวมถึงทกั ษะในดา้ นการติดต่อส่ือสารและจงู ใจคน ซ่ึงจะทาํ ใหเ้ กิดการประสานงานกนั ท่ีดีและเกิดการทุ่มเททาํ งานอุทิศใหก้ บั องคก์ าร 4.2.3 ทกั ษะดา้ นเทคนิค (Technical Skill) เป็นการใชค้ วามรู้ ความเช่ียวชาญเฉพาะทางในการปฏิบตั ิงานเชิงเทคนิค รู้วธิ ีปฏิบตั ิงานและสามารถเขา้ ใจปัญหาดา้ นเทคนิคตา่ งๆ เป็นอยา่ งดี รวมถึงเขา้ ใจสภาพเง่ือนไขของทรัพยากรต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั ระบบการทาํ งานและรู้จกั ปรับปรุงวธิ ีการทาํ งานใหท้ ีประสิทธิภาพดว้ ย

บทท่ี 4 การบริหารเงิน คน และงานบทนา การประกอบธุรกิจใด ๆ ก็ตาม ตอ้ งอาศยั ปัจจยั การผลิต (Factory of Production) ในการผลิตสินคา้ และบริการเพือ่ ใหค้ นในสงั คมไดบ้ ริโภคตามความตอ้ งการ ซ่ึงปัจจยั การผลิต คือ ทรัพยากรธรรมชาติแรงงาน (ในที่น้ีหมายถึง)คน เงินทุน และผปู้ ระกอบการ ซ่ึงเป็นหนา้ ที่ทางธุรกิจที่จะทาํ ใหธ้ ุรกิจสามารถดาํ เนินไดแ้ ก่ ธุรกิจจะอยรู่ อดและสามารถเจริญเติบโตไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องจะตอ้ งมีการบริหารจดั การ (Management) ที่มีประสิทธิภาพโดยผบู้ ริหารสูงสุดในบทน้ีจะขอกล่าวในเร่ืองของหลกั การบริหารเงิน คน และงานสาระการเรียนรู้1. หลกั การบริหารเงิน2. หลกั การบริหารทรัพยากรมนุษย์3. หลกั การบริหารงาน4. ลกั ษณะของการบริหารงานท่ีดีจุดประสงค์การเรียนรู้1. สรุปประเด็นสาํ คญั ของหลกั การบริหารเงินได้2. สรุปหวั ขอ้ การบริหารทรัพยากรมนุษยไ์ ด้3. สรุปประเด็นสาํ คญั หลกั การบริหารงานได้4. อธิบายลกั ษณะของการบริหารท่ีดีได้หลกั การบริหารเงินทรัพยากรท่ีสาํ คญั อยา่ งยงิ่ ของการประกอบธุรกิจคือ เงิน เงินองคป์ ระกอบที่สาํ คญั ท่ีสุดในธุรกิจ แตย่ งั มีแนวคิดของอีกหลาย ๆ ทา่ นท่ีไม่เห็นดว้ ยแต่งอยา่ งไรก็ตามธุรกิจจะดาํ เนินต่อไปไม่ไดถ้ า้ ขาดเงิน ดงั น้นั ผบู้ ริหารหรือผปู้ ระกอบการจาํ เป็นอยา่ งยง่ิ ตอ้ งจดั สรรเงินให้เพียงพอต่อการดาํ เนินงาน1.ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั เงนิ1.1 ความหมายของเงิน เงินเป็นสิ่งท่ีทุกคนในสงั คมสมมุติข้ึน เพือ่ ใชเ้ ป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยน ใชเ้ ป็นเคร่ืองวดั มลู ค่า ใชเ้ ป็นมาตรฐานการชาํ ระหน้ีในอนาคต ใชเ้ ป็นเครื่องรักษามูลค่าและหนา้ ที่ประกอบอื่น ๆ การซ้ือขายแลกเปลี่ยนในระยะแรกๆ มนุษยไ์ ดน้ าํ เอาสินคา้ ตอ่ สินคา้ มาแลกเปลี่ยนกนั โดยตรง ต่อมาเม่ือเกิดความไม่สะดวกหลายประการ เงินจึงไดว้ วิ ฒั นาการจากส่ิงของมาเป็นเงินกษาปณ์ เงินกระดาษ และเงินเครดิต มาตรฐานเงินตราแบ่งออกเป็น มาตรฐานเงินตราท่ีอิงโลหะมีคา่ หรือมาตรฐานโลหะมาตรฐานเงินตราที่ไม่อิงโลหะมีค่า และมาตรฐานผสมภายใตก้ องทุนการเงินระหวา่ งประเทศ1.2 ความสาคัญของเงินความสาคญั ต่อการผลติ สินค้าและบริการ

ในการลงทุนผลิตสินคา้ และบริการ ผปู้ ระกอบการยอ่ มจะตอ้ งอาศยั เงินทุนมาลงทุนผลิตสินคา้ หรือบริการโดยหวงั กาํ ไรท่ีเป็นตวั เงินเป็ นผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นสาํ คญัความสาคญั ต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน ในการลงทุนผลิตสินคา้ และบริการ ผปู้ ระกอบการยอ่ มจะตอ้ งอาศยั เงินทุนมาลงทุนผลิตสินคา้ หรือบริการโดยหวงั กาํ ไรท่ีเป็นตวั เงินเป็ นผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นสาํ คญัความสาคญั ในสังคม ผใู้ ดที่ปรารถนาจะไดม้ าซ่ึงทรัพยส์ ิน ความมนั่ คง ความบนั เทิง จะมีฐานะหรือแมแ้ ต่จะแสวงหาอาํ นาจก็ตาม ก็ตอ้ งอาศยั เงินเป็ นประการสาํ คญั เพราะเงินสามารถซ้ือขายแลกเปลี่ยนสินคา้ และบริการไดท้ ุกชนิด เงินตราจะเป็นหลกั ประกนั ที่มนั่ คงในระบบการแลกเปลี่ยน แตล่ ะคนจึงเลือกงานแตเ่ ฉพาะที่ตนเองมีความชาํ นาญ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงเงินตราไปใชจ้ า่ ย การแบ่งงานกนั ทาํ เช่นน้ีเป็นลกั ษณะของสงั คมยคุ ปัจจุบนั ซ่ึงก่อให้เกิดการผลิตการคา้ และความเป็นอยขู่ องสังคมดีข้ึนความสาคญั ในระบบเศรษฐกจิ ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซ่ึงเป็นระบบเศรษฐกิจที่เอกชนทุกคนมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินท่ีเขามีอยู่ และมีเสรีภาพที่จะเลือกประกอบอาชีพอะไรก็ได้ การผลิตเป็ นเร่ืองของเอกชนท่ีจะดาํ เนินการไดโ้ ดยเสรี ในระบบเศรษฐกิจแบบน้ีเงินมีความสาํ คญั มาก การใชเ้ งินจะทาํ ใหร้ ะบบเศรษฐกิจและตลาดขยายตวั ออกไป สาํ หรับระบบสงั คมนิยมและระบบคอมมิวนิสตน์ ้นั เงินมีความสาํ คญั เช่นเดียวกนั การจ่ายค่าจา้ งแรงงานในระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยมหรือคอมมิวนิสตก์ จ็ า่ ยเงินและประชาชนกเ็ อกาเงินไปซ้ือสินคา้ และบริการเช่นเดียวกนั กบั ระบบเศรษฐกิจแบบนายทุน จะต่างกนั ตรงที่รัฐบาลของประเทศคอมมิวนิสตก์ จ็ ะเป็ นผตู้ ้งั ราคาสินคา้ และบริการเองเทา่ น้นั1.3 คุณสมบัตขิ องเงนิ 1.3.1 พกพาไดส้ ะดวก 1.3.2 แบง่ แยกได้ ถูกกาํ หนดข้ึนเป็นหน่วยท่ีชดั เจน 1.3.3 ทนทาน สามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง 1.3.4 มีเสถียรภาพ1.4 หน้าท่ีของเงิน1. เป็ นส่ือกลางในการแลกเปลย่ี น หมายถึง การท่ีบุคคลสามารถนาํ เอาเงินท่ีมีอยไู่ ปซ้ือสินคา้ และบริการไดต้ ามความพอใจโดยไม่ตอ้ งไปแสวงหาบุคคลที่ตอ้ งการสินคา้ หรือบริการของเขาเหมือนแต่ก่อน2. เป็ นเคร่ืองวดั ค่า ถา้ ไม่มีเงินเป็นส่ือกลางในการซ้ือขาย จะตอ้ งมีการเทียบคา่ ของสินคา้ หรือบริการที่ตอ้ งการกบั ส่ิงอื่นทวั่ ไป เมื่อมีเงินทาํ ไหง้ ่ายต่อการเทียบราคา และง่ายต่อการซ้ือขายแลกเปล่ียน3. เป็ นเคร่ืองสะสมค่า ส่ิงของหรือสินคา้ บางอยา่ งเก็บไวไ้ ดน้ าน บางอยา่ งเก็บไดไ้ มน่ านอาจเส่ือมราคาไดง้ ่าย แต่เงินนาํ มาเก็บไว้ มูลคา่ ของเงินคอ่ นขา้ งจะคงตวั เสมอไมเ่ สื่อมค่าง่าย เหมือนเก็บสินคา้ ไว้ ดงั น้นั เราจึงกล่าววา่ เงินทาํ หนา้ ที่ไดด้ ีกวา่ อยา่ งอื่น

4. เป็ นมาตรฐานในการชาระหนีใ้ นอนาคต สมยั ก่อนที่มีการใชเ้ งินเป็นส่ือในการแลกเปล่ียน ถา้ มีการกยู้ มื จะตอ้ งนาํส่ิงของที่เป็นชนิดเดียวกนั กบั ท่ีกยู้ มื ไปมาใชค้ ืน แต่เม่ือมีเงินเป็นส่ือกลางในการแลกเปล่ียนแลว้ การกยู้ มื น้นั จะกยู้ มื กนัเป็นตวั เงิน และการนาํ มาชาํ ระคืนกค็ ืนเป็นเงินเช่นเดียวกนั2.ระบบการเงิน ในระบบเศรษฐกิจเสรี ระบบการเงินเป็นกลไกสาํ คญั ยงิ่ ในการจดั สรรทรัพยากรระหวา่ งภาคเศรษฐกิจจากผทู้ ี่มีเงินออมไปยงั ผทู้ ี่ตอ้ งการเงินทุน ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดการลงทุน การผลิต และการจา้ งงานอนั เป็ นแรงขบั เคล่ือนสาํ คญั ที่ทาํใหเ้ ศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตและมีเสถียรภาพ ท้งั น้ี ระบบสถาบนั การเงินท่ีมีประสิทธิภาพ จะช่วยส่งเสริมหนา้ ที่ของระบบการเงินใหส้ ามารถดาํ เนินไปไดอ้ ยา่ งราบรื่น การอาํ นวยความสาํ คญั และใหบ้ ริการแก่ภาคธุรกิจสถาบนั การเงินมีหนา้ ท่ีดงั ต่อไปน้ี2.1 เป็นศนู ยก์ ลางทางการเงิน2.2 รับภาระความเส่ียง2.3 รักษาอตั ราดอกเบ้ีย2.4 รักษาผลประโยชน์ในการลงทุน2.5 รักษาผลประโยชน์ในการออม2.6 ช่วยรักษาเสถียรภาพและพฒั นาเศรษฐกิจ3. เงนิ ทุน ในการเริ่มตน้ ทาํ ธุรกิจ เงินทุนถือปัจจยั ที่สาํ คญั มากปัจจยั หน่ึง เพราะไมว่ า่ จะทาํ อะไรก็จาํ เป็นตอ้ งใชม้ นั ในการแลกเปล่ียนเพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงสิ่งที่จาํ เป็น สาํ หรับนกั ธุรกิจหนา้ ใหม่ท่ีมีฐานะร่าํ รวยอยแู่ ลว้ กค็ งไมม่ ีปัญหา แตส่ าํ หรับอีกหลายคนที่ไม่เป็นเช่นน้นั กจ็ าํ ตอ้ งหาแหล่งเงินทุนเพ่อื กยู้ มื3.1 ทุนและส่วนประกอบของทุน เงินทุนคงท่ีไดแ้ ก่ ทุนท่ีจาํ เป็ นในการลงทุนสาํ หรับ สินทรัพยถ์ าวร เงินทุนหมุนเวยี น ไดแ้ ก่ ทุนท่ีใชใ้ นการดาํ เนินธุรกิจ3.2 แหล่งเงินทุนแหล่งเงินทุนระยะส้ันเงินกาํ ไรสะสม ธนาคารพาณิชย์ เครดิตการคา้ การใชเ้ อกสารเครดิต การกยู้ มื เงินโดยใชส้ ินคา้เป็นประกนั การต้งั วงแชร์ เป็ นตน้แหล่งเงินทุนระยะยาว1. เงินทุนส่วนของผเู้ ป็ นเจา้ ของเอง ซ่ึงอาจเป็ นเจา้ ของคนเดียวหรือผถู้ ือหุน้2. กาํ ไรสะสม ซ่ึงเป็นการกนั กาํ ไรไวใ้ นแตล่ ะปี รวมกนั3. การขายหลกั ทรัพยต์ า่ ง ๆ เช่น หุน้ ทุน และพนั ธบตั ร4. เงินกจู้ ากสถาบนั การเงินต่าง ๆ เช่น บริษทั เงินทุนหลกั ทรัพย์ธนาคารพาณิชย์ บริษทั เงินทุน เป็นตน้5. การเช่าทรัพยส์ ินระยะยาว

ทรัพยากรมนุษย์ บุคลากรภายในองคก์ ร กลุ่ม หรือ ธุรกิจใดๆ ท่ีมีการใชม้ นุษยเ์ ขา้ มามีส่วนในการดาํ เนินงาน กิจการหรือกิจกรรมใดๆ โดยมีเป้ าหมายหรือวตั ถุประสงค์ ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่หรืองานน้นั ๆ ใหส้ าํ เร็จตามกรอบที่กาํ หนด โดยมีทกั ษะความรู้ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมหรืองานน้นั ๆ โดยดาํ เนินงานภายใตก้ รอบและกฏเกณฑท์ ี่กาํ หนดขององคก์ รกลุ่ม หรือ ธุรกิจ กิจการใดๆ1. ประเดน็ สาคัญของฝ่ ายบริหารในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1.1 ความสัมพนั ธ์ของบุคคลกบั งานเป็นหลกั การพ้ืนฐานของการจดั การทรัพยากรมนุษยท์ ี่บุคคลและงานตอ้ งมีความเหมาะสมกนั โดยการจา้ งงานในแต่ล่ะตาํ แหน่งจะตอ้ งตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการงาน 1.2 การจดั บุคคลใหเ้ หมาะสมกบั งาน โดยองคก์ รจะตอ้ งหาบุคคลที่มีความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ และทศั นคติที่เหมาะกบั ตาํ แหน่งงานน้นั ๆ ถา้ บุคคลและตาํ แหน่งงานมีความเหมาะสมกนั องคก์ รจะไดร้ ับผลประโยชน์จากการจา้ งงานอยา่ งเตม็ ท่ี2. การวางแผนงานทรัพยากรมนุษย์ การจดั การทรัพยากรมนุษยเ์ ป็นกระบวนการท่ีผบู้ ริหารทรัพยากรมนุษยจ์ ะนาํ หลกั การตา่ งๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการท่ีจะทาํ ใหอ้ งคก์ ารมีบุคลากรท่ีมีคุณภาพมาร่วมงานอยา่ งเพียงพอและต่อเน่ืองเพอ่ื ใหอ้ งคก์ ารสามารถปฏิบตั ิงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไว้ ดงั น้นั นกั บริหารทรัพยากรมนุษยท์ ี่มีความสามารถจะตอ้ งสามารถนาํ ความรู้ ประสบการณ์ และทกั ษะตา่ งๆ เขา้ มาประกอบในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพอ่ื ใหผ้ ลงานท่ีออกมามีคุณภาพและยงั ประโยชนส์ ูงสุดต่อองคก์ าร บุคลากร และสงั คมส่วนรวมได้ นอกจากน้ีการจดั การทรัพยากรมนุษยท์ ่ีประสบความสาํ เร็จจะตอ้ งอาศยั ข้นั ตอนที่ละเอียดออ่ นมากมาย โดยข้นั ตอนสาํ คญั ที่ขาดไม่ไดใ้ นงานทรัพยากรมนุษยค์ ือ1. การวเิ คราะห์งาน ศึกษางานอยา่ งละเอียดและมีระบบ2. จดั ทาํ สารสนเทศของงาน3. จดั ทาํ เอกสารกาํ หนดคุณสมบตั ิของงาน4. รวบรวมขอ้ มูล2.1 การสรรหาและการคัดเลือกบุคลาการ การสรรหา คอื กระบวนการกลน่ั กรอง และคดั เลือกบุคคลที่มีคุณสมบตั ิ คุณวฒุ ิทางการศึกษา มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการทาํ งาน ซ่ึงมาสมคั รงานในตาํ แหน่งต่าง ๆ ท่ีองคก์ ารเปิ ดรับสมคั ร

การคดั เลอื ก คือ เม่ือข้นั ตอนของการสรรหาสิ้นสุดลงบริษทั จะไดค้ นจาํ นวนหน่ึง ซ่ึงมีคุณสมบตั ิเบ้ืองตน้ ตรงตามความตอ้ งการ ซ่ึงคนกลุ่มน้ีจะตอ้ งมาผา่ นกระบวนกาเลือกสรร (Selection) เพอ่ื ให้ไดค้ นที่เหมาะสมท่ีสุด ในจาํ นวนที่บริษทั ตอ้ งการ ซ่ึงตอ้ งมีเกณฑม์ าตรฐานท่ีต้งั ไว้ เพ่อื ใชเ้ ปรียบเทียบกบั ผสู้ มคั รงานแตล่ ะคนเกณฑม์ าตรฐานน้ีไดม้ าจากการกาํ หนดคุณสมบตั ิของผปู้ ฏิบตั ิงาน2.2 การพฒั นาบุคลากร กระบวนการหรือกิจกรรม วิธีต่าง ๆ ท่ีมุง่ จะเพ่มิ พนู ความรู้ความชาํ นาญ ประสบการณ์ใหก้ บั บุคลากรในองคก์ ร ตลอดจนพฒั นาทศั นคติของผปู้ ฏิบตั ิงานใหเ้ ป็ นไปในทางท่ีดี มีความรับผดิ ชอบต่องาน อนั จะทาํ ใหง้ านมีประสิทธิภาพ วธิ ีการหรือกระบวนการ หรือกิจกรรมตา่ งๆ ท่ีนาํ มาพฒั นาบุคลากรในหน่วยงาน หรือองคก์ ารเพื่อเพิม่ พนู ใหบ้ ุคลากรในหน่วยงาน หรือในองคก์ ารเกิดความรู้ความสามารถ และเกิดทกั ษะในการทาํ งาน มีความกา้ วหนา้ ในอาชีพการทาํ งาน มีเจตคติที่ดีในการ ปฏิบตั ิงาน เพ่ือใหง้ านที่ปฏิบตั ิอยบู่ รรลุเป้ าหมาย ที่วางไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ คือ การฝึ กอบรม คอื การถ่ายทอดความรู้เพ่ือเพม่ิ พูนทกั ษะ ความชาํ นาญ ความสามารถ และทศั นคติในทางที่ถูกท่ีควร เพ่ือช่วยใหก้ ารปฏิบตั ิงานและภาระหนา้ ท่ีต่าง ๆ ในปัจจุบนั และอนาคตเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน และ..ไม่วา่ การฝึกอบรม จะมีข้ึนท่ีใดก็ตามวตั ถุประสงคก์ ็คือ เป็ นการเพ่มิ ขีดความสามารถในการปฏิบตั ิงาน หรือเพ่มิ ขีดความสามารถในการจดั รูปขององคก์ ร การฝึกอบรมที่นิยมใชใ้ นปัจจุบนั มีดงั น้ี 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การประชุม (Conference) 3. การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) 4. การใชใ้ นกรณีศึกษา (Case Study) 5. การสาธิต (Demonstration) 6. การสัมมนา (Seminar) 7. การฝึกงานในสถานประกอบการจริง (On-the-Job Training) การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน คือ กระบวนการท่ีเป็นระบบ ซ่ึงถูกพฒั นาข้ึน เพื่อทาํ การวดั คุณคา่ ของบุคคลในการปฏิบตั ิงานภายในช่วงระยะเวลาท่ีกาํ หนดวา่ เหมาะสมกบั มาตรฐานท่ีกาํ หนด และรายไดท้ ่ีบุคคลไดร้ ับจากองคก์ ารหรือไม่ ตลอดจนใชป้ ระกอบการพจิ ารณาศกั ยภาพของบุคคลในการปฏิบตั ิงานในตาํ แหน่งท่ีสูงข้ึน2.3 ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ ค่าตอบแทน ค่าจา้ งและเงินเดือน (Wage and Salary) ไดแ้ ก่ คา่ ตอบแทนท่ีองคก์ ารจา่ ยใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงาน เป็นรายไดป้ ระจาํ ทุกเดือน ค่าจงู ใจ (Wage Incentive) ไดแ้ ก่ คา่ ตอบแทนที่องคก์ ารจดั ใหเ้ ป็นพเิ ศษเพ่ือจูงใจใหม้ ีการปฏิบตั ิงานใหด้ ียง่ิข้ึน เช่น การใหร้ างวลั พเิ ศษในการปฏิบตั ิงาน การเล่ือนตาํ แหน่ง

โครงการประโยชน์ตอบแทน การใหผ้ ลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วยกระตุน้ และจูงใจใหก้ ารทาํ งานมีประสิทธิภาพ การทาํ ใหผ้ ลประโยชน์จะเป็นเครื่องจงู ใจใหบ้ ุคคลปฏิบตั ิงานจะทาํ ใหพ้ นกั งานมีทศั นคติที่ดีต่อองคก์ รงาน คือ องคป์ ระกอบสาํ คญั ท่ีหวงั เพียงคา่ ตอบแทน ทาํ เท่าท่ีเป็นหนา้ ที่ นอกเหนือจากน้นั ไมใ่ ช่งานของเรากไ็ มท่ าํไม่ตอ้ งช่วย ทนทาํ ใหถ้ ึงสิ้นเดือนเพื่อเงินเดือนท่ีต้งั ตารอ เป็นงานท่ีแสนทรมานและหนกั อ้ึง งานท่ีตอ้ งทนทาํ อยา่ งทรมานมกั ทาํ ใหก้ ารทาํ งานน้นั ไมม่ ีความสุข และไมค่ อ่ ยมีอนาคต เพราะสกั แต่จะทาํ ใหพ้ น้ ไปวนั ๆ ตลอดเวลาท่ีทาํ งานรู้สึกเหมือนร่างกายถูกพนั ธนาการไวท้ ี่อาคารหรือห้องส่ีเหล่ียม แต่หวั ใจล่องลอยโบยบินแสวงหาที่ทาํ งานแห่งใหม่อยู่ร่าํ ไป1. ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั งาน งาน คอื กระบวนการในการกาํ หนดความรับผดิ ชอบและส่ิงที่เก่ียวขอ้ งกบั งานของบุคคลแต่ละคน มาตรฐานการทาํ งานน้นั ควรจะเป็นอยา่ งไร เพือ่ ใหก้ ารทาํ งานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลรวมท้งั เกิดความปลอดภยั ตอ่ ตวัผปู้ ฏิบตั ิงานเอง และบรรลุเป้ าหมายขององคก์ ร อาชีพ คอื เป็นหนา้ ท่ีของบุคคลในสงั คม การทาํ มาหากิน ทาํ ธุรกิจ ตามความชอบหรือความถนดั การท่ีบุคคลประกอบอาชีพจะไดม้ าซ่ึงค่าตอบแทน หรือ รายได้ เพื่อใชจ้ า่ ยในการดาํ รงชีวติ การทางาน คอื กิจกรรมท่ีบุคลากรในองคก์ รกระทาํ ข้ึนดว้ ยกาํ ลงั กายและกาํ ลงั ใจเพอื่ จุดมุงหมายหน่ึงท่ีเขาตอ้ งการ ตาแหน่ง คือ หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบท่ีองคก์ รมอบหมายใหบ้ ุคลากรแตล่ ะคนโดยจาํ นวนตาํ แหน่งจะมีมากเท่ากบั จาํ นวนบุคลากรในองคก์ รเท่าน้นั2. การวเิ คราะห์งาน ข้อมูล มีความสาํ คญั มากตอ่ การบริหารงานขององคก์ รและงานก็คือองคป์ ระกอบที่สาํ คญั ขององคก์ ร ดงั น้นัผบู้ ริหารจาํ เป็ นตอ้ งเรียนรู้ในเร่ืองของการวเิ คราะห์งาน เนื่องจากการวเิ คราะห์งานเป็นเคร่ืองมือสาํ คญั ของการคน้ หาขอ้ มูล การวเิ คราะห์งาน2.1 ความหมายและวตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะห์งาน การวเิ คราะห์งาน คือ การดาํ เนินการอยา่ งมีจุดมุง่ หมายและเป็นระบบเพื่อเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั ลกั ษณะท่ีสาํ คญั และเกี่ยวขอ้ งกบั ตาํ แหน่งงาน โดยควบคุมขอ้ มูลตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี1. กิจกรรมการทาํ งาน2. เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทาํ งาน3. สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน4. คุณสมบตั ิท่ีจาํ เป็นสาํ หรับการทาํ งาน วตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะห์งาน มีดงั น้ี1. ใชใ้ นการพฒั นาเคร่ืองมือสาํ หรับการคดั เลือกและทาํ นายความสาํ เร็จในการทาํ งาน2. ใชใ้ นการพฒั นาเกณฑ์หรือมาตรฐานการปฏิบตั ิงานที่บุคลากรจาํ เป็นตอ้ งกระทาํ ใหไ้ ด้

3. ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการวางแผนการฝึกอบรมและพฒั นาบุคลากรเพอ่ื ใหม้ ีคุณสมบตั ิตามความตอ้ งการขององคก์ ร2.2 งานและองค์ประกอบของงาน 2.2.1 หน้าที่ คือ การจดั กลุ่มภารกิจที่เกี่ยวขอ้ งกนั ใหอ้ ยใู่ นหอ้ งเดียวกนั 2.2.2 ภารกจิ คอื กิจกรรมการทาํ งานที่สามารถสงั เกตได้ มีกาํ หนดระยะเวลาการทาํ งานจาํ กดั และนาํ ไปสู่ผลผลิต การบริการ 2.2.3 ข้นั ตอนการทางาน คือ ส่วนประกอบยอ่ ย ๆ ของภารกิจ ข้นั ตอนการทาํ งานต้งั แต่ 2 ข้นั ข้ึนไปประกอบข้ึนเป็นภารกิจหน่ึง ๆ2.3 วธิ ีการวเิ คราะห์งาน การวเิ คราะห์งานโดยวธิ ีการสัมภาษณ์ คือ เพอ่ื คน้ หาขอ้ มูลเก่ียวกบั หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของผปู้ ฏิบตั ิงานและเง่ือนไขของการจา้ งงานในตาํ แหน่งงานน้นั ๆ โดยทวั่ ไปแลว้ ผใู้ ชส้ าํ ภาษณ์คือผชู้ าํ นานงาน รวมท้งั อาจจะให้ความเห็นเก่ียวกบั คุณสมบตั ิของผปู้ ฏิบตั ิงานไดด้ ีกวา่ อีกดว้ ย 2.3.1 การวเิ คราะห์งานโดยวธิ ีการสัมภาษณ์มีประโยชน์ดังต่อไปนี้ 2.3.1.1 เป็นวธิ ีการที่สามารถเก็บรวบรวมขอ้ มลู พ้ืนฐานเกี่ยวกบั งานเพื่อนาํ ไปใชใ้ นการสร้างหรือพฒั นาเคร่ืองมือสาํ หรับการวิเคราะห์งานแบบอื่น ๆ 2.3.1.2 สามารถใชเ้ ป็นวธิ ีการตรวจสอบความถูกตอ้ งขอ้ งขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาดว้ ยวธิ รการอ่ืน ๆ 2.3.3 เป็นวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั งานเพื่อนาํ ไปพฒั นาการคดั เลือกบุคลากร 2.3.2 แนวทางการสัมภาษณ์เพอ่ื วเิ คราะห์งาน สามารถกระทาํ ไดท้ ้งั แบบไม่มีโครงสร้างและแบบท่ีมีโครงสร้าง แต่เพื่อให้เกิดขอ้ มูลที่มีคุณภาพและสมบูรณ์ควรจะเลือกใชแ้ บบที่มีโครงสร้าง เนื่องจากเป็ นการสัมภาษณ์ท่ีมีการกาํ หนดประเด็นและหวั ขอ้ ไวล้ ่วงหนา้ การวเิ คราะห์งานโดยการสัมภาษณ์สามารถใชไ้ ดก้ บั งานหลายประเภทไม่วา่ จะเป็นงานที่ใชแ้ รงกายหรืองานที่ตอ้ งใชส้ มอง 2.3.3 การวางแผนการสัมภาษณ์ เป็นข้นั ตอนของการวเิ คราะห์งานโดยจะตอ้ งพจิ ารณาและระบุส่ิงตา่ ง ๆตอ่ ไปน้ีใหช้ ดั เจน 2.3.3.1 วตั ถุประสงคข์ องการสัมภาษณ์ เช่น เพ่อื ระบุภารกิจของงานในตาํ แหน่งผจู้ ดั การบญั ชี 2.3.3.2 บุคคลผใู้ หส้ ัมภาษณ์ควรจะเป็ นผใู้ ด เช่นผปู้ ฏิบตั ิงานท่ีมีอายกุ ารทาํ งานต้งั แต่ 6 เดือนข้ึนไป 2.3.3.3 ขอ้ คาํ ถามตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการสัมภาษณ์ 2.3.3.4 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการบนั ทึกการสัมภาษณ์ เช่นแบบสมั ภาษณ์ 2.3.3.5 บุคคลท่ีจะทาํ หนา้ ที่เป็นผสู้ มั ภาษณ์การบริหาร การบริหารเป็ นกระบวนการท่ีเป็นระบบงาน ซ่ึงตอ้ งอาศยั ท้งั ศาสตร์และศิลป์ คือตอ้ งมีหลกั การดาํ เนินงาน มีหลกั เกณฑก์ ารปฏิบตั ิท่ีแตล่ ะองคก์ ารสามารถใชห้ ลกั เกณฑ์ โดยมีลกั ษณะของการบริหารงาน ดงั น้ี1.ลกั ษณะของการบริหารงานทด่ี ี 1.1 บอกเป้ าหมายและนโยบายขององคก์ ารใหช้ ดั เจน และแจง้ ใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทราบดว้ ย 1.2 มีการวางแผนในการทาํ งาน

1.3 แจง้ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทราบ 1.4 ส่งั งานชดั เจนท้งั โดยวาจาและลายลกั ษณ์อกั ษร 1.5 สั่งงานโดยมีขอ้ แนะนาํ เพ่อื ใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิมน่ั ใจและไมท่ าํ ผดิ กฎระเบียบ 1.6 อธิบายเหตุผลในการสงั่ งานวา่ เหตุใดตอ้ งทาํ งานน้นั และมีผลดีผลเสียอยา่ งไร 1.7 แนะนาํ บอกวธิ ีปฏิบตั ิงาน เพื่อความเขา้ ใจตรงกนั 1.8 ในการส่งั งานควรใชค้ าํ พดู เชิงขอร้องมากกวา่ ใชอ้ าํ นาจส่ัง 1.9 ควรมีความยดื หยนุ่ ในการทาํ งานตามสมควร ไม่ควรกาํ หนดเวลาเสร็จงานอยา่ งตายตวั เกินไป ไมค่ าดโทษเมื่อผปู้ ฏิบตั ิงานทาํ งานไมท่ นั ตามกาํ หนด 1.10 ควรสร้างความสาํ นึกในหนา้ ท่ีใหเ้ กิดแก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 1.11 ทาํ ตวั เป็นอยา่ งท่ีดีในการทาํ งาน เช่น ทาํ งานอยา่ งมีระบบ ตรงเวลา คน้ หาความรู้ท่ีทนั สมยั อยเู่ สมอ 1.12 มอบหมายงานพร้อมกบั มอบอาํ นาจในการดาํ เนินงาน 1.13 แบง่ งบประมาณในการปฏิบตั ิงานอยา่ งเหมาะสม และยตุ ิธรรม 1.14 ส่งเสริมผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรมของหน่วยงาน เช่นเปิ ดโอกาสให้ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา แสดงความคิดเห็นได้ ร่วมวางแผนและตดั สินใจในบางเรื่อง 1.15 มีการประชุมปรึกษาอยา่ งสม่าํ เสมอ และรู้จกั วธิ ีดาํ เนินงานประชุม 1.16 มีการติดตอ่ ส่ือสารท่ีชดั เจน เช่น แจง้ การเปลี่ยนแปลงภายในองคก์ าร ผลไดผ้ ลเสียของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 1.17 เปิ ดโอกาสใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาเขา้ พบ ปรึกษาปัญหาได้ 1.18 ทาํ ตนใหเ้ ป็ นที่เคารพนบั ถือ เป็นที่ไวว้ างใจของผบู้ งั คบั บญั ชา 1.19 ออกคาํ ส่งั ที่ชดั เจน แน่นอน ไม่โลเล 1.20 มีเหตุผลในการตดั สินปัญหา ไม่ใช่อารมณ์เมื่อไม่พอใจ 1.21 จดั หาวสั ดุเคร่ืองอาํ นวยความสะดวกในการทาํ งาน ใหม้ ีอยา่ งเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 1.22 ใหค้ วามยตุ ิธรรมในการแบง่ งาน การเลื่อนตาํ แหน่งและการพจิ ารณาความดีความชอบ 1.23 เอาใจใส่ทุกขส์ ุขของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ดูแลความทุกขส์ ุขอยา่ งสม่าํ เสมอหนา้ ไม่ลาํ เอียง 1.24 ส่งเสริมผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหม้ ีโอกาส พฒั นาความรู้ความสามารถ เช่น การเขา้ ร่วมอบรมสมั มนา การศึกษาตอ่ ฯ 1.25 ยกยอ่ งใหเ้ กียรติแก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาแสดงความเห็นอกเห็นใจความเหนื่อยยาก2.ลกั ษณะของผ้บู ริหารงานที่ดี ลกั ษณะของผบู้ ริหารที่ดีดงั กล่าวขา้ งตน้ ท้งั 25 ประการช้ีใหเ้ ห็นชดั เจนวา่ ผบู้ ริหารท่ีมีคุณภาพจะตอ้ งอาศยั ท้งัในดา้ นศาสตร์ของการบริหารและศิลปะในความเป็นผนู้ าํ ประสมประสานกนั อยใู่ นตวั แต่สิ่งท่ีแฝงอยใู่ นระหวา่ งการบริหารงานเกือบทุกประการกค็ ือคุณธรรมจริยธรรมของผบู้ ริหาร ซ่ึงเป็นเสมือนส่วนเสริมที่จะทาํ ใหก้ ารบริหารงานน้นั มีคุณภาพมากยง่ิ ข้ึน เป็ นส่วนจรรโลงใหบ้ ุคลากรในองคก์ ารทาํ งานรวมกนั ไดอ้ ยา่ งมีความสุข มีศรัทธาในการทาํ งาน ยอมรับเชื่อฟังและปฏิบตั ิตามคาํ ส่ังของผนู้ าํ

มีความสามคั คีกลมเกลียว มีน้าํ หน่ึงใจเดียวร่วมกนั ร่วมจิตร่วมคิดเพ่ือสู่จุดหมายอนั เดียวกนั ท้งั น้ีเนื่องมาจากคุณธรรมของผบู้ ริหารนนั่ เอง น้นั ก็คือผบู้ ริหารที่ม่ีคุณภาพตอ้ งเป็ นผบู้ ริหารมีคุณธรรมเป็นแกนนาํ สาํ คญั ในการบริหารงาน ผบู้ ริหาร เป็นผมู้ ีหนา้ ท่ีในการบริหารงาน เป็นบุคคลในระดบั บงั คบั บญั ชา จึงเป็นผมู้ ีเกียรติโดยมีฐานะคือตาํ แหน่งหนา้ ท่ีที่สาํ คญั ในหน่วยงานหรือองคก์ าร บทบาทหนา้ ท่ีของผบู้ ริหารหนา้ ท่ีของผบู้ ริหารมีขอบเขตที่ตอ้ งปฏิบตั ิพอสรุปไดด้ งั น้ี 2.1 เป็นผบู้ ริหาร (executive) ทาํ หนา้ ที่ประสานงานระหวา่ งกลุ่มท่ีอยใู่ นองคก์ ารหรือหน่วยงาน ใหป้ ฏิบตั ิภารกิจตา่ ง ๆ ตามวตั ถุประสงคข์ ององคก์ าร ผบู้ ริหารตอ้ งคอยอาํ นวยความสะดวก แกป้ ัญหาซ่ึงเกิดข้ึนไดใ้ นองคก์ าร 2.2 เป็นผวู้ างแผน (planner)คือ ทาํ หนา้ ที่ในการวางแผนงานตา่ ง ๆ ในองคก์ ารใหฝ้ ่ ายปฏิบตั ินาํ ไปปฏิบตั ิอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2.3 เป็นผกู้ าํ หนดเป้ าหมาย (policymaker)ผบู้ ริหารจะตอ้ งมีส่วนร่วมในการกาํ หนดนโยบาย วตั ถุประสงค์ขององคก์ าร โดยกาํ หนดใหช้ ดั เจน สามารถนาํ ไปปฏิบตั ิใหบ้ งั เกิดผลเป็นรูปธรรมได้ 2.4 เป็นผเู้ ชี่ยวชาญ (expert)ผบู้ ริหารจะตอ้ งเป็นผมู้ ีความเชี่ยวชาญ และชาํ นาญความสามารถให้คาํ แนะนาํ ปรึกษา ช่วยเหลือ เมื่อฝ่ ายปฏิบตั ิการตอ้ งการ

บทท่ี 5 หลกั การบริหารงานคุณภาพและการเพมิ่ ผลผลติบทนา การประกอบธุรกิจในปัจจุบนั น้ี ไมว่ า่ จะเป็ นธุรกิจในรูปแบบใดผลิตสินคา้ หรือบริการจะมีการแขง่ ขนั กนั มากซ่ึงจะเป็นโอกาศของผบู้ ริโภคที่เลือกซ้ิือสินคา้ หรือใชบ้ ริการท่ีตนเองเห็นวา่ สนองความตอ้ งการไดจ้ ึงเป็ นหนา้ ท่ีของธุรกิจท่ีจะตอ้ งพยายามผลิตสินคา้ หรือบริการใหด้ ีมีคุณภาพเหมาะสมกบั การใชง้ านขอผบู้ ริโภค ดงั น้นั คุณภาพอาจกล่าวไดว้ า่ คือความเหมาะสมที่ผบู้ ริโภคจะนาํ ไปใชง้ านรวมถึงลกั ษณะเฉพาะของสินคา้ หรือบริการท่ีตอบสนองความตอ้ งการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของผบู้ ริโภค ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีผปู้ ระกอบการผลิตควรใหค้ วามสาํ คญั ในเรื่องของคุณภาพและการเพ่มิ ผลผลิตสาระการเรียนรู้1.หลกั การบริหารคุณภาพ2.ความรู้เก่ียวกบั การเพิ่มผลผลิต3.กรณีตวั อยา่ ง เทคนิคการผลิตใหต้ น้ ทุนต่าํ กวา่ คู่แขง่ ขนัจุดประสงค์การเรียนรู้1. อธิบายคาํ ศพั ทท์ ี่เก่ียวขอ้ ง ความหมาย ความสาํ คญั และการควบคุมคุณภาพได้2. บอกมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมได้3. บอกกระบวนการเคร่ืองมือก่อใหเ้ กิดคุณภาพได้4.สรุปสาระสาํ คญั องคป์ ระกอบระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการจดั ทาํ มาตรฐานได้5. สรุปสาระสาํ คญั ของการเพิ่มผลผลิตได้6. บอกการเพิม่ ผลผลิตในองคก์ รได้7. บอกเทคนิคการเพิ่มผลผลิตในองคก์ รได้8. สรุปกรณีตวั อยา่ งเทคนิคการผลิตใหต้ น้ ทุนต่าํ กวา่ คู่แขง่ ขนั ได้หลกั การบริหารคุณภาพ1.คาศัพท์ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การบริหารงานคุณภาพ ต้นทนุ หมายถึงคา่ ใชจ้ ่ายท่ีไดจ้ า่ ยไปเพอ่ื ใหไ้ ดส้ ินคา้ หรือผลของกิจกรตน้ ทุนทางธุรกิจตน้ ทุนคงที่ ตน้ ทุนในการดาํ เนินงาน ตน้ ทุนในการผลิต คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั จาํ หน่าย ตน้ ทุนทางสังคม ตน้ ทุนผนั แปร ตน้ ทุนตอ่ หน่วยประมาณการตน้ ทุน ตน้ ทุนหน่วยทา้ ยสุด ตน้ ทุนแรงงาน ค่าเสียโอกาส ตน้ ทุนรวม การวเิ คราะห์ตน้ ทุน คา่ ใชจ้ ่าย ราคาความสามารถในการทาํ กาํ ไร การบญั ชี ตน้ ทุนที่แทจ้ ริง คา่ ใชจ้ ่ายในการดาํ เนินงาน ราคาเงา การส่งมอบ หมายถึง การส่งสินคา้ หรือบริการ หรืองานใหท้ นั ตามความตอ้ งการของลูกคา้ ในปริมาณ และจาํ นวนท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ การส่งมอบ แบง่ ออกเป็นได้ 2 ส่วนดว้ ยกนั คือ การส่งมอบภายในหน่วยงาน และการส่งมอบภายนอกหน่วยงาน ความปลอดภัย หมายถึง สภาพที่ปลอดภยั จากอุบตั ิภยั ต่าง ๆ อนั จะเกิดแก่ร่างกายชีวติ หรือทรัพยส์ ินในขณะปฏิบตั ิงานในโรงงาน ซ่ึงก็คือสภาพการทาํ งานท่ีถูกตอ้ งโดยปราศจาก แสง สี กล่ิน และอุบตั ิเหตุตา่ ง ๆ

ขวญั และกาลงั ใจในการทางาน หมายถึง สภาพทางจิตใจของผปู้ ฏิบตั ิงาน เช่นความรู้สึกนึกคิดท่ีไดร้ ับอิทธิพล แรงกดดนั หรือส่ิงเร้าจากปัจจยั หรือสภาพแวดลอ้ มในองคก์ ารท่ีอยรู่ อบตวั เขา และจะมีปฏิกิริยาโต้กลบั คือพฤติกรรมในการทาํ งาน ซ่ึงมีผลโดยตรงต่อผลงานของบุคคลน้นั จรรยาบรรณในการดาเนินธุรกจิ หมายถึง แนวทางในการปฏิบตั ิทีดีงามของผปู้ ระกอบการธุรกิจ เป็ นการไม่เบียดเบียนผอู้ ื่นโดยไม่เป็นธรรม ผอู้ ื่นในท่ีน้ีหมายถึง ลูกคา้ ผขู้ าย ผถู้ ือหุน้ พนกั งาน คู่แข่งขนั ราชการ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม2. ความหมายและความสาคญั ของคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ 2.1 ความสาคญั ของคุณภาพ ถูกกาํ หนดข้ึนตามการใชง้ านหรือตามความคาดหวงั ของผกู้ าํ หนด เช่น มีความเหมาะสมกบั การใชง้ าน มีความทนทาน ใหผ้ ลตอบแทนสูงสุด บริการดีและประทบั ใจ หรือเป็นไปตามมาตรฐานที่ต้งั ใจไว้ เป็นตน้คุณภาพแบง่ เป็น 4 ประการดงั น้ี ลูกค้า หมายถึง ผทู้ ่ีเป็นผใู้ ชผ้ ลิตภณั ฑห์ รือบริการขององคก์ ร หรืออาจจะเป็ นในอนาคต รวมท้งั ผใู้ ชผ้ ลิตภณั ฑ์หรือบริการโดยตรง และผซู้ ้ือผลิตภณั ฑห์ รือบริการเพื่อจาํ หน่ายตอ่ เช่น ผคู้ า้ ส่ง ตวั แทนธุรกิจ หรือบริษทั ท่ีใช้ผลิตภณั ฑข์ ององคก์ รเป็นส่วนประกอบหน่ึงของผลิตภณั ฑน์ ้นั การแข่งขนั หมายถึงการผลิตสินคา้ หรือบริการใหต้ รงความตอ้ งการหรือความตอ้ งการหรือความอยากไดข้ องผบู้ ริโภคน้นั ยงั นบั วา่ ไม่เพียงพอที่จะทาํ ใหข้ ายได้ เพราะคู่แข่งขนั อาจทาํ ไดด้ ีกวา่ กไ็ ด้ ต้นทนุ หมายถึง รายจ่ายที่เกิดข้ึนเพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่ึงสินคา้ หรือบริการ ซ่ึงอาจจา่ ยเป็นเงินสด สินทรัพยอ์ ่ืน หุน้ ทุนหรือการใหบ้ ริการ หรือการก่อหน้ี ท้งั น้ีรวมถึงผลขาดทุนที่วดั คา่ เป็นตวั เงินไดท้ ่ีเกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั การไดม้ าซ่ึงสินคา้ หรือบริการ วกิ ฤตการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ข้นั อนั ตรายที่อยใู่ นระยะหวั เล้ียวหวั ต่อข้นั แตกหกั จะไปทางดีหรือทางร้ายก็ได้ ส่ิงแวดลอ้ มภายใตส้ ถานการณ์วฏิ ฤตคือคุณภาพ 2.2 ความหมายของคุณภาพ คุณภาพ หมายถึง ความเหมาะสมกบั การใชง้ าน การเป็นไปตามความตอ้ งการ หรือสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดคุณภาพของการออกแบบและความสอดคลอ้ งในการดาํ เนินงาน ท่ีจะนาํ มาซ่ึงความภาคภมู ิใจแก่เจา้ ของผลงาน การประหยดั ที่สุด มีประโยชน์ในการใชง้ านสูงสุด และสร้างความพงึ พอใจใหก้ บั ลูกคา้ อยา่ งสม่าํ เสมอ ส่ิงท่ีดีที่สุดสาํ หรับเง่ือนไขดา้ นการใชง้ าน และราคาของลูกคา้ หรือมาตรฐาน ผลงาน ประสิทธิภาพ และความพอใจ 2.3 การควบคุมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ หมายถึง กระบวนการในการจดั ใหก้ ิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปตามแผนการ ที่กาํ หนดไว้เพื่อใหบ้ รรลุตามเป้ าหมายต่าง ๆ ท่ีจะผลิตภณั ฑใ์ หเ้ ป็นตามมาตรฐาน เหมาะสมกบั การใชง้ าน ปลอดภยั ไม่เป็นอนั ตรายกบั สภาพแวดลอ้ ม และสร้างความพงึ พอใจใหก้ บั ลูกคา้3. มาตรฐานอตุ สาหกรรม (ส.ม.อ.) การกาํ หนดนโยบายและมุง่ มนั่ ดาํ เนินงานดา้ นการมาตรฐาน เพอื่ ส่งเสริมและพฒั นาอุตสาหกรรมใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด แก่ ผปู้ ระกอบการ ผบู้ ริการเป็นศูนยก์ ลางดา้ นการมาตรฐานที่ไดร้ ับการยอมรับในระดบั สากล

ตอบสนองความตอ้ งการของภาครัฐ ธุรกิจ สงั คม และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั อยา่ งยงั่ ยนื โภคและประเทศชาติโดยรวม 3.1 การรองรับมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ แสดงมาตรฐาน มดี ังนี้เคร่ืองหมายมาตรฐานทว่ั ไป ใชส้ าํ หรับผลิตภณั ฑอ์ ุปโภคบริโภคซ่ึงผผู้ ลิตสามารถยนื่ ขอการรับรองดว้ ยความสมคั รใจเพ่อื พฒั นาคุณภาพผลิตภณั ฑใ์ หเ้ ป็นไปตามเกณฑก์ าํ หนดมาตรฐานเครื่องหมายมาตรฐานบงั คบั เป็นเคร่ืองหมายผลิตภณั ฑท์ ่ีกฎหมายกาํ หนดใหผ้ ผู้ ลิตตอ้ งทาํ ตามมาตรฐาน และตอ้ งแสดงเคร่ืองหมายผลิตภณั ฑ์ ท้งั น้ีเพือ่ ความปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภคเป็นเคร่ืองหมายที่แสดงบนผลิตภณั ฑท์ ่ีตอ้ งมีความปลอดภยั ในการใชง้ านตามมาตรฐานเฉพาะดา้ นความปลอดภยั เพอ่ืเป็นการคุม้ ครองผบู้ ริโภค โดยเคร่ืองหมายน้ีเป็นท้งั มาตรฐานบงั คบั และไมบ่ งั คบั กรณีที่เป็นมาตรฐานบงั คบั กฎหมายบงั คบั ใหผ้ ผู้ ลิต ผนู้ าํ เขา้ และผจู้ าํ หน่ายจะตอ้ งผลิต นาํ เขา้ และจาํ หน่ายแต่ผลิตภณั ฑท์ ี่เป็นไปตามมาตรฐานเป็นเคร่ืองหมายที่แสดงบนผลิตภณั ฑท์ ่ีมีคุณสมบตั ิในการช่วยการรักษาสภาพแวดลอ้ มตามมาตรฐานเฉพาะดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือช่วยในการรักษาส่ิงแวดลอ้ มของประเทศ

1.ความหมายและแนวคิดของการเพม่ิ ผลผลติ ในองค์กร 1.1 ความหมายของการเพม่ิ ผลผลติ ในองค์กร การเพมิ่ ผลผลติ หมายถึง การเพม่ิ ผลผลิต หมายถึง การเพิ่มอตั ราผลผลิต โดยท่ีอตั ราผลผลิต (Productiveity)จะแตกตา่ งจากคาํ วา่ ผลผลิต (Product หรือ Production Output) และการผลิต (Production) ดงั น้นั คาํ ท้งั สามคาํ น้ีจึงมีความหมายที่ต่างกนัผลผลติ คือ มลู คา่ ผลิตภณั ฑห์ รือบริการท่ีไดจ้ ากกระบวนการผลิตหรือบริการการผลติ คือ กระบวนการทาํ งานในการผลิตหรือบริกอตั ราผลผลติ คือ อตั ราส่วนของหน่วยผลผลิตต่อหน่วยกาํ ลงั หรือวสั ดุที่ป้ อนเขา้ สู่กระบวนการผลิต หรือกล่าวอีกนยัหน่ึงวา่ อตั ราผลผลิต คือ อตั ราส่วนระหวา่ งปริมาณหน่วยท่ีผลิตไดต้ อ่ หน่วยของทรัพยากรท่ีใชใ้ นการผลิตน้นั ๆทรัพยากรท่ีใชร้ วมถึงท่ีดิน ส่ิงปลูกสร้าง วตั ถุดิบ เคร่ืองจกั ร เครื่องมือ และแรงงาน 1.2 แนวคดิ การเพมิ่ ผลผลติ ในองค์กรแนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์ คือ การลดปัจจยั การผลิต ที่สาํ คญั คือ แรงงาน วตั ถุดิบ และพนกั งาน เพ่อื ใหต้ น้ ทุนการผลิตต่าํ ท่ีสุด ขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งควบคุมคุณภาพของสินคา้ /งานบริการใหต้ อบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ มากท่ีสุดแนวคิดทางด้านเศรษฐกจิ คือ การเพิม่ ผลผลิตจะใหค้ วามสาํ คญั กบั การบริหารตน้ ทุนโดยมีแนวทางในการบริหารตน้ ทุนเพื่อการเพ่มิ ผลผลิต แบ่งได้ 4 แนวทาง ไดแ้ ก่ 1. ใชต้ น้ ทุนเท่ราเดิม แตไ่ ดผ้ ลผลิตเพ่ิมข้ึน 2. ใชต้ น้ ทุนลดลง แต่ใหผ้ ลผลิตเทา่ เดิม 3. เพ่มิ ตน้ ทุน 25% แตไ่ ดผ้ ลผลิตเพม่ิ ข้ึน 50% 4. ลดตน้ ทุน 50% แต่ไดผ้ ลผลิตลดลง 25%2.การเพมิ่ ผลผลติ ในองค์กร คือ การเพ่ิมปริมาณ เพ่ิมคุณภาพ หรือคุณคา่ ท่ีลูกคา้ หรือผเู้ ก่ียวขอ้ งมีความพงึ พอใจแตใ่ ชต้ น้ ทุน (ปัจจยั นาํ เขา้ )ต่าํ ที่สุด เพื่อใหผ้ ผู้ ลิต ผขู้ าย หรือผใู้ หบ้ ริการมีกาํ ไรสูงสุดจากความหมายของการเพม่ิ ผลผลิตขา้ งตน้ 2.1ความหมายของคาศัพท์ทเ่ี กี่ยวกบั การเพมิ่ ผลผลติ ภายในองค์กร ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสามารถท่ีจะนาํ ทรัพยากรที่มีอยอู่ อกมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งดีท่ีสุดในความพยายามที่จะบรรลุเป้ าหมาย ความหมายที่ 2 หมายถึง ความสามารถที่ทาํ ใหเ้ กิดผลในการงานหรือลงมือทาํ ส่ิงต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม (Doing Things Right)ประสิทธิภาพเป็นการเปรียบเทียบส่วนที่เป็น Input หรือปัจจยั นาํ เขา้กบั Output ผลิตผลท่ีได้ การวดั คา้ ประเมินประสิทธิภาพ คือ Input ตอ้ งใกลเ้ คียงกบั Output มากท่ีสุดและมีความสูญเสียนอ้ ยที่สุด ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสามารถในการเลือกเป้ าหมายท่ีเหมาะสมในการบรรลุเป้ าหมายน้นั ๆความหมายที่ 2 หมายถึง ผลสาํ เร็จหรือผลที่เกิดข้ึนหรือการเลือกลงมือทาํ ในส่ิงท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม ประสิทธิผล (effectiveness) หมายถึงการบรรลุตามวตั ถุประสงคห์ รือเป้ าหมายท่ีพึงปรารถนาหรือเป็ นไปตามท่ีคาดหวงั ไว้ พูดง่ายๆ ชดั ๆกค็ ือ ประสิทธิผล พิจารณาจากการนาํ ผลของงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่ไดร้ ับเปรียบเทียบกบั วตั ถุประสงค์ หรือเป้ าหมาย

อตั ราผลติ ภาพ (Productivity) คือ อตั ราส่วนระหวา่ งผลิตผล (Outputs) ขององคก์ ารในรูปของสินคา้ และบริการต่อจาํ นวนปัจจยั การผลิต (Inputs) ที่ใชไ้ ปเราสามารถแบ่งประเภทของอตั ราผลิตภาพได้ ดงั น้ี อตั ราผลิตภาพเฉพาะส่วน (Partial Productivity) คือ อตั ราส่วนระหวา่ งผลิตผลตอ่ ทรัพยากรที่ใชใ้ นการผลิตแตล่ ะชนิด อตั ราผลิตภาพองคป์ ระกอบรวม (Total Factor Productivity) คือ อตั ราส่วนผลิตผลสุทธิ ตอ่ ผลรวมของทรัพยากรดา้ นเงินทุน และแรงงาน (ผลิตผลสุทธิ = ผลผลิตรวม - คา่ วตั ถุดิบบริการที่ตอ้ งซ้ือ) 2.2 วงจรผลผลติ วงจรผลติ ผล การเพมิ่ ผลผลิตจะเกิดข้ึนอยา่ งเป็นกระบวนการท่ีต่อเนื่อง มีลกั ษณะเป็ นวงจร (Cycle) ซ่ึงประกอบดว้ ยกระบวนการของวงจรผลิตภาพหรือวงจรการเพิ่มผลผลิต เป็นข้นั ตอนดงั น้ี 1. การวดั ผลงาน (Measurement) 2. การประเมินผลงาน (Evaluation) 3. การวางแผน (Planning) 4. การปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) 2.3 ต้นทนุ และความสูญเสีย ต้นทุนและความสูญเสีย องคก์ ารท่ีจะประสบความสาํ เร็จในการดาํ เนินงานผบู้ ริหารมกั คาํ นึงถึงกาํ ไร (Profits)เป็นเป้ าหมายสูงสุดซ้ึงการจะไดก้ าํ ไรมากนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ราคาขายหรือมลู คา่ สินคา้ ตอ้ งสูงกวา่ ตน้ ทุนการผลิต จากสมการ กาํ ไร = ราคาขาย - ตน้ ทุน 2.4 เทคนิคการเพม่ิ ผลผลติ ในองค์กร2.4.1 เวลาในการผลติ ผ้บู ริหารจะต้อง 1. ไม่ปล่อยเวลาใหผ้ า่ นไปโดยไมเ่ กิดประโยชน์ 2. คน้ หาสาเหตุของความล่าชา้2.4.2 การวางแผนควบคุมการผลติ ควรใช้หลกั การ 5W+1H „ What (อะไร) = จะผลิตสินคา้ /บริการอะไร „ Where (ท่ีไหน) = จะผลิตที่ไหน „ When(เม่ือใด) = จะผลิตเมื่อใด „ Why(ทาํ ไม) = ทาํ ไมทาํ อยา่ งน้นั „ Who(ใคร) = ใครเป็นผผู้ ลิต „ How(อยา่ งไร) = จะผลิตอยา่ งไร2.4.3 การใช้ระบบเพยี งระบบเดยี วในการผลติ องคป์ ระกอบและปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการผลิตจะเหมือนกนั แมว้ า่ ขนาดขององคก์ รจะแตกต่างกนั

2.3.4 การใช้วธิ ีการผสมผสาน ในเร่ืองของการวางแผน และการควบคุมการผลิต การผสมผสานระหวา่ งการวางแผน การดาํ เดินการควบคุมจะชวยใหก้ ารบริหารมีคุณภาพ2.3.5 เทคนิคการเพมิ่ ผลผลติ 1.การผลิตแบบจิ๋วแต่แจ๋ว 2.ระบบการผลิตแบบทนั เวลาพอดี 3.เทคนิคการบาํ รุงรักษาทวผี ล 4.เทคนิควศิ วกรรมอุตสาหกรรม 5.การเพ่ิมผลผลิต 6.ความสาํ เร็จของการเพมิ่ ผลผลิตในการดาเนินธุรกจิ ผปู้ ระกอบการจาํ เป็นตอ้ งปรับตวั ปรับวธิ ีการทาํ ธุรกิจ เพ่ือลดตน้ ทุนการผลิตใหต้ ่าํ ลง โดยมีเป้ าหมายในการเพิ่มผลผลิตเพือ่ ความอยรู่ อด ท้งั น้ี ในการลดตน้ ทุนการผลิต ผปู้ ระกอบการมีความจาํ เป็ นตอ้ งปรับปรุงโครงสร้างในการประกอบธุรกิจต่างๆ ทุกโรงงานตอ้ งการลดตน้ ทุน ทุกโรงงานตอ้ งการผลิตแลว้ ขายไดด้ ี แตใ่ นระบบการคา้ เสรีไมผ่ กู ขาด ผลู้ งทุนอาจจะมีมากข้ึน คูแ่ ขง่ เพิ่มข้ึน ซ่ึงเขาสามารถสร้างความแตกต่างในการผลิตสินคา้ สินคา้ขายดี มีผลกาํ ไรมากข้ึน โรงงานกอ็ ยไู่ ด้ ถึงตอนน้ี เรายงั ไม่สายท่ีจะเร่ิมตน้ หากมีปัญหาเรื่องตน้ ทุนการผลิตสูงจะแก้อยา่ งไร เพ่ือจะลดตน้ ทุนใหต้ ่าํ ลง แต่คุณภาพเพิม่ ข้ึน ซ่ึงเป็ นกุญแจสู่ความสาํ เร็จ 5 ส คือ การจดั ระเบียบและปรับปรุงท่ีทาํ งานสถานประกอบกิจการ และงานของตนดว้ ยตนเอง เพ่ือก่อใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มการทาํ งานท่ีดี ปลอดภยั มีระเบียบเรียบร้อย มีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยใชว้ ธิ ี สะสาง สะดวกสะอาด สุขลกั ษณะ และสร้างนิสัย 5 ส มาจากคาํ ยอ่ “5 S” ซ่ึงเป็นอกั ษรตวั แรกในภาษาญี่ป่ ุน 5 คาํ คือ 1. Seiri (เซริ) = สะสาง (ทาให้เป็ นระเบียบ) คือ การแยกใหช้ ดั ระหวา่ งของท่ีจาํ เป็นตอ้ งใชก้ บั ของที่ไม่จาํ เป็นตอ้ งใช้ ของที่ไม่จาํ เป็ นตอ้ งใชต้ อ้ งขจดั ทิ้งไป กล่าวกนั วา่ การเพมิ่ ประสิทธิภาพน้นั ตอ้ งเร่ิมจาก สะสาง 2. Seition (เซตง) = สะดวก (วางของในทที่ ค่ี วรอยู่) คือ การจดั วางของที่จาํ เป็นตอ้ งใชใ้ หเ้ ป็นระเบียบสามารถหยบิ ฉวยใชง้ านไดท้ นั ที กล่าวกนั วา่ ใหใ้ ชห้ ลกั “สะดวก” น้ี เพอ่ื กาํ จดั ความสูญเปล่าของเวลาในการ “คน้ หา” สิ่งของ 3. Seiso (เซโซ) = สะอาด (ทาความสะอาด) คือ การปัดกวาดเช็ดถูสถานท่ี สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจกั ร ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ ไม่มีเศษขยะ ไม่ใหส้ กปรกเลอะเทอะ “สะอาด” คือพ้ืนฐานของการยกระดบั คุณภาพ 4. Seiketsu (เซเคทซึ) = สุขลกั ษณะ (รักษาความสะอาด) คือ การรักษาและปฏิบตั ิ 3 ส ไดแ้ ก่ สะสาง สะดวกและสะอาดใหด้ ีตลอดไป กา้ วแรกของความปลอดภยั เร่ิมจากการรักษาความสะอาด หรือ “สุขลกั ษณะ” น่ีเอง 5. Shitsuke (ชิทซึเคะ) = สร้างนิสัย (ฝึ กให้เป็ นนิสัย) คือ การรักษาและปฏิบตั ิ 4 ส หรือส่ิงท่ีกาํ หนดไวแ้ ลว้อยา่ งถูกตอ้ งจนติดเป็นนิสยั

วตั ถุประสงค์ของ 5ส 5ส. เป็นปัจจยั พ้ืนฐานในการบริหารงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ นบั เป็นเคร่ืองมือตวั แรกที่ถูกนาํ มาใชก้ ่อนท่ีจะใชเ้ ครื่องมือระดบั สูงข้ึนไป เช่น TPM TQM และ ISO เป็ นตน้ โดยกาํ หนดให้ ส1 ,ส2 ,ส3 เป็นการจดั การในเร่ืองของวตั ถุสิ่งของเคร่ืองใช้ และสถานท่ี ส่วน ส4 และ ส5 เป็นการจดั การเร่ืองของคน โดยมีเป้ าหมายใหส้ ถานท่ีทาํ งานสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย ลดความสูญเปล่าในการทาํ งาน สินคา้ มีคุณภาพดี เป็ นที่ประทบั ใจของลูกคา้ ตลอดไปประโยชน์จากการทากจิ กรรม 5 ส 1.บุคลากรจะทาํ งานไดร้ วดเร็วข้ึน มีความถูกตอ้ งในการทาํ งานมากข้ึน บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มดีข้ึน 2.เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ จะเกิดข้ึน บุคลากรจะรักหน่วยงานมากข้ึน 3.บุคลากรจะมีระเบียบวนิ ยั มากข้ึน ตระหนกั ถึงผลเสียของความไมเ่ ป็นระเบียบในสถานที่ทาํ งาน ต่อการเพ่มิผลผลิต และถูกกระตุน้ ใหป้ รับปรุงระดบั ความสะอาดของสถานท่ีทาํ งานใหด้ ีข้ึน 4.บุคลากรปฏิบตั ิตามกฏระเบียบ และคู่มือการปฏิบตั ิงานทาํ ใหค้ วามผดิ พลาดและความเสี่ยงต่างๆ ลดลง 5.บุคลากรจะมีจิตสาํ นึกของการปรับปรุง ซ่ึงจะนาํ ไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทาํ งาน 6.เป็นการยดื อายขุ องเคร่ืองจกั ร อุปกรณ์ เคร่ืองมือตา่ งๆ เม่ือใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั และดูแลรักษาที่ดี และการจดั เกบ็ อยา่ งถูกวธิ ีในที่ท่ีเหมาะสม 7.การไหลเวยี นของวสั ดุ และ work in process จะราบร่ืนข้ึน 8.พ้ืนท่ีทาํ งานมีระเบียบ มีท่ีวา่ ง สะอาดตา สามารถสังเกตส่ิงผดิ ปกติตา่ งๆ ไดง้ ่าย 9.การใชว้ สั ดุคุม้ ค่า ตน้ ทุนต่าํ ลง 10.สถานท่ีทาํ งานสะอาด ปลอดภยั และเห็นปัญหาเร่ืองคุณภาพอยา่ งชดั เจน

บทที่ 6 การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยบทนา การดาํ เนินกิจกรรมทุกประเภท รวมท้งั การจดั การสิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการทาํ งานจะตอ้ งประกอบดว้ ยการจดั การซ่ึงเป็ นกระบวนการที่สาํ คญั เพราะการจดั การท่ีดีจะช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ลงได้ การจดั การสิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั เป็นการจดั การที่มีความจาํ เป็นอยา่ งเร็งด่วน ซ่ึงผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งโดยเฉพาะจะตอ้ งร่วมกนัศึกษาหาความรู้วธิ ีการนาํ มาปฏิบตั ิ การจดั การท่ีไมด่ ีพอโยเฉพาระการจดั การส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ก่อให้เกิดปัญหาและผลเสียตา่ ง ๆ ติดตามมาไดอ้ ยา่ งมากมายสาระการเรียนรู้1. ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม2. การจดั การความปลอดภยัจุดประสงค์การเรียนรู้1. สรุปความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การจดั การสิ่งแวดลอ้ มได้2. เขา้ ใจตวั อยา่ งปัญหาสิ่งแวดลอ้ มและการแกไ้ ขปัญหา3. อธิบายมาตรฐานจริยธรรมเก่ียวกบั สิ่งแวดลอ้ ม4. สรุปความสาํ คญั การจดั การความปลอดภยั5. เขา้ ใจตวั อยา่ งกฏหมายที่เก่ียวขอ้ งในเรื่องของความปลอดภยั6. เขา้ ใจตวั อยา่ งการจดั การความปลอดภยั ในโรงงานและงานสาํ นกั งานการจัดการสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย1. ความหมายของการจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการแผก่ ระจายทรัพยากรท่ีสาํ คญั ท้งั ท่ีเกิดโดยธรรมชาติ และมนุษยส์ ร้างข้ึนเพื่อสนองความพอใจในการนาํ ไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ท้งั น้ีตอ้ งเป็นการดาํ เนินการอยา่ งมีระบบในการนาํ ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ เพอื่สนองความตอ้ งการของมนุษย์ โดยไม่มีผลกระทบต่อระบบส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื จะมีทรัพยากรใชไ้ ดต้ ลอดไปความจาเป็ นในการจัดทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากเหตุผลตอ่ ไปน้ี 1. ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มเป็ นปัจจยั ท่ีจาํ เป็นในการดาํ รงชีวติ ของมนุษย์ อตั ตราการเพิ่มเป็นไปตามขอ้ จาํ กดั ทางธรรมชาติ ทาํ ใหไ้ ม่เพยี งพอกบั ความตอ้ งการเพมิ่ ข้ึนสูงมาก 2. ประชากรโลกเพิ่มข้ึน การพฒั นาทางเศรษฐกิจสงั คมโดยใชค้ วามเจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทาํ ใหม้ นุษยเ์ กิดพฤติกรรมในการบริโภคสูงข้ึนหรือเกิดค่านิยมในการบริโภคและวตั ถุดิบ 3. ทศั นคติ ความเช่ือ และขนธรรมเนียมบางอยา่ งของมนุษย์ ทาํ ลายทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม เช่น การถางป่ าเผาป่ า การเล่นกีฬาประเภทยิงนก ตกปลา ล่าสตั ว์ ความตอ้ งการความสะดวกสบาย เช่น สร้างถนน สร้างสนามกอลฟ์สร้างรีสอร์ท เป็นตน้ 4. นโยบายของรัฐบาล บางคร้ังไดม้ ีส่วนทาํ ลายทรัพยากรสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การใหส้ ัมปทานแหล่งแร่ การสร้างเข่ือน และการพฒั นาโดยไม่คาํ นึงถึงการรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆ ท่ีเพมิ่ มากข้ึน2. มาตรการและเครื่องจูงใจในการจัดการสิ่งแวดล้อม

2.1 การใช้มาตรการตามกฎหมายในการควบคุมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มาตรการทางกฎหมายน้ีควรมีประสิทธิผล และเป็ นธรรมสาํ หรับทุกคน และมาตรการทางกฎหมายกลบักลายเป็นแนวทางหา้ มการกาํ หนดอาณตั ิหรือมาตรการควบคุมบงั คบั โดยมาตรการเหล่าน้ีไมม่ ีความยดื หยนุ่ มีความเป็นทางการและยดึ ระเบียบขอ้ บงั คบั ไม่สามรถตอ่ รองหรือลดหยอ่ นและไมม่ ีวธิ ีประนีประนอมเพ่ือใหเ้ กิดแนวทางที่เหมาะสมที่สุดได้ 2.2 การให้สิ่งจูงใจแก่ธุรกจิ เอกชนในการอนุรักษ์และจัดการสิ่งแวดล้อม เพือ่ ประโยชนข์ องส่วนรวมโดยตนเองไมเ่ สียประโยชน์ และบางคร้ังอาจจะไดป้ ระโยชน์ท้งั สองฝ่ ายโดยหลกั การแลว้ การนาํ มาตรการทางเศรษฐกิจมาใชเ้ พ่ือใหค้ ่าของความเสียหายต่อส่ิงแวดลอ้ มเป็นส่วนหน่ึงหรืออยใู่ นราคาของสินคา้ หรือผลิตภณั ฑ์ 2.3 ความร่วมมอื ระหว่างรัฐกบั เอกชนซ่ึงสมคั รใจโดยไม่มกี ารบีบบังคับ รัฐและสมาคมเอกชนตกลงเก่ียวกบั มาตรฐานส่ิงแวดลอ้ ม เช่น ปริมาณสารพษิ ฯลฯ ท่ีจะตอ้ งลดลง องคก์ รเอกชน เช่น สมาคมอุตสาหกรรมจะตกลงกนั เองในหมสู่ มาชิกและกาํ หนดสัดส่วนท่ีสมาชิกตอ้ งรับผดิ ชอบในการลดปริมาณสารพษิ ผทู้ ่ีฝ่ าฝื นหรือไมป่ ฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงก็ตอ้ งถูกลงโทษ3.จริยธรรมของผ้ปู ระกอบการการต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3.1 จริยธรรมของผู้ประกอบการต่อสังคม1. ละเวน้ การประกอบการธุรกิจที่ทาํ ใหส้ งั คมเสื่อม2. พงึ ดูแลเอาใจใส่กิจการของตน3. พงึ เคารพสิทธิทางปัญญาของผอู้ ่ืน4. พงึ ใหค้ วามร่วมมือกบั ชุมชนและสังคม 3.2 จริยธรรมของผู้ประกอบการต่อส่ิงแวดล้อม1. การไม่ทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ2. การใชว้ สั ดุอื่นแทนทรัพยากรธรรมชาติ3. รักษาสภาพแวดลอ้ มไม่ทาํ ใชส้ ภาพแวดลอ้ มเสื่อมโทรมลง 3.3 การจัดการเกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการกระจายทรัพยากรท่ีสาํ คญั ท้งั ท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและที่มนุษยส์ ร้างข้ึน เพ่ือสนองความพอใจในการนาํ สิ่งแวดลอ้ มไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ในการเป็นปัจจยั หลกั และปัจจยั รองในอนาคต ในการดาํ เนินกิจกรรมทุกประเภทซ่ึงรวมท้งั การบริหารงานสิ่งแวดลอ้ ม จะตอ้ งประกอบดว้ ยการจดั การซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีสาํ คญัเพราะการจดั การที่ดีจะช่วยลดปัญหาต่างๆ ลงได้ การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเป็นการจดั การที่มีความจาํ เป็นอยา่ งเร่งด่วน ซ่ึงเราทุกคนตอ้ งช่วยกนั ศึกษา หาความรู้ วธิ ีการนาํ มาใชป้ ฏิบตั ิ เพราะการจดั การท่ีไม่ดีพอ โดยเฉพาะการจดั การส่ิงแวดลอ้ มจะก่อใหเ้ กิดปัญหาและผลเสียหายต่างๆ ติดตามมาอยา่ งมากมายได้ 3.4 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขปัญหา3.4.1 สาเหตุหลกั ของปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม แบง่ ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การเพมิ่ ข้ึนของประชากร

2. การขยายตวั ทางเศรษฐกิจและความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีผลกระทบของของเสียท่ีมีเป็ นอนั ตรายโดยไมร่ ะมดั ระวงั หรือไม่ถูกตอ้ งเหมาะสมจะก่อใหเ้ กิดปัญหาพ้ืนบานที่ผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ มได้ 4 ประการ คือ 1. ทาํ ใหเ้ กิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง 2. ทาํ ใหเ้ กิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ่ืน ๆ 3. ทาํ ใหเ้ กิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ 4. ทาํ ใหเ้ กิดผลเสียต่อทรัพยส์ ินและสงั คม4. มาตรฐานจริยธรรมเกย่ี วกับสิ่งแวดล้อม ISO 1400 มาตรฐาน ISO 14000 คือ มาตรฐานสากลวา่ ดว้ ยการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม เป็นมาตรฐานที่กาํ หนดใหอ้ งคก์ ารมีการจดั ต้งั ระบบการบริหารท่ีคาํ นึงถึงสิ่งแวดลอ้ มขององคก์ ารน้นั ๆ ซ่ึงไม่ขดั ต่อกฎหมายและขอ้ บงั คบั ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มขององคก์ ารน้นั ๆระบบการจดั การส่ิงแวดลอ้ มเป็นแกนกลางที่สาํ คญั ของมาตรฐาน ISO 14000 และจดั เป็นส่วนหน่ึงของระบบบริหารท้งั หมด เช่นเดียวกบั การบริหารธุรกิจรวมท้งั โครงสร้างขององคก์ าร ความรับผดิ ชอบในการทาํ งานข้นั ตอนกระบวนการ และการจดั การทรัพยากร เพือ่ กาํ หนดและนาํ นโยบายดา้ นสิ่งแวดลอ้ มขององคก์ ารน้นั ๆ ไปปฏิบตั ิ โดยมุ่งที่จะปรับปรุงผลการดาํ เนินงานที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งต่อเนื่อง1. ความหมายของคาศัพท์ทเี่ กย่ี วข้องกบั การจัดการความปลอดภยั 1.1 ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง ความปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ที่ดีในการทาํ งาน ของผู้ประกอบอาชีพในสาขาตา่ งๆผทู้ ี่ตอ้ งมีส่วนเขา้ มาเก่ียวขอ้ ง หรือไดร้ ับผลกระทบโดยตรง ในดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งานอยา่ งไรก็ตาม ในปัจจุบนั องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ ไดม้ ีการใชค้ าํ พดู เพ่มิ เติม จากที่กล่าวมาขา้ งตน้ อีกหน่ึงคาํคือ \"Working Conditions and Environment\" ซ่ึงแปลความหมายวา่ สภาพการทาํ งาน และส่ิงแวดลอ้ มในการทาํ งานโดยเจตนาใหห้ มายถึง ข้นั ตอนกระบวนการทาํ งาน ความปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ท่ีดีในการทาํ งาน และสภาพแวดลอ้ มของการทาํ งาน ท้งั น้ี เพื่อใหก้ ารดูแล คุม้ ครอง ผปู้ ระกอบอาชีพในสาขาต่างๆ ไดค้ รอบคลุมกวา้ งขวางยงิ่ ข้ึนกวา่ เดิม เพ่ือผลท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม จิตใจ และสุขภาพอนามยั ที่ดีของเจา้ หนา้ ที่ผปู้ ฏิบตั ิงาน เพราะวา่ จากสถิติการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ปลอดภยั ในสถานที่ปฏิบตั ิงานตา่ งๆ ในปัจจุบนั มกั มีสาเหตุมาจากสภาพแวดลอ้ มของที่ทาํ งานเพ่มิ ข้ึน 1.2 ความปลอดภยั หมายถึง สภาพท่ีไมม่ ีภยนั ตราย ดงั น้นั ความปลอดภยั ในการทาํ งานจึงหมายถึง การทาํ งานท่ีไม่มีอนั ตราย ไม่อยใู่ นสภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ หรือไมม่ ีเช้ือโรค โดยจะไม่ก่อใหเ้ กิดส่ิงต่างๆ เหล่าน้ี การบาดเจบ็ พิการ หรือตาย การเจบ็ ป่ วย หรือโรค ทรัพยส์ ินเสียหาย เสียเวลา ขบวนการผลิตหยดุ ชะงกั ไม่สม่าํ เสมอคนงานเสียขวญั และกาํ ลงั ใจ กิจการเสียชื่อเสียง 1.3 สวสั ดภิ าพ หมายถึง การปราศจากภยั อนั ตราย ปราศจากการบาดเจบ็ หรือการตาย ปราศจากความเสียหายใด ๆ ความปลอดภยั น้นั ไมเ่ พยี งแต่หมายถึงการไม่มีอุบตั ิเหตุเกิดข้ึนเทา่ น้นั แต่สวสั ดิภาพยงั มีความหมายรวมท้งั การ

ดาํ รงชีวิตอยอู่ ยา่ งสุขกาย สุขใจ ไม่เสี่ยงภยั มีความมน่ั ใจในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ และมีการเตรียมป้ องกนั ภยั ไว้ล่วงหนา้ อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และสม่าํ เสมออีกดว้ ย2. สาเหตุของอุบตั เิ หตุจากการทางาน 2.1 ขาดความรู้เกยี่ วกบั สภาพอนั ตราย 2.2 ทศั นคติ จิตสานึก หรือความประมาท 2.3 สภาวะร่างกายของผู้ปฏิบตั ิงาน 2.4 สภาวะจิตใจของบุคคล 2.5 อปุ กรณ์เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร มขี ้อบกพร่อง 2.6 สภาพของบริเวณปฏบิ ตั ิงานทไ่ี ม่ปลอดภยั3. การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอบุ ัตเิ หตุ 3.1 การสูญเสียโดยตรง1. ไดร้ ับบาดเจบ็ พิการ หรือตาย และอาจทาํ ใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับอนั ตรายดว้ ย2. ทาํ ใหอ้ ุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจกั ร ตลอดจนทรัพยส์ ินอ่ืน ๆ ชาํ รุดเสียหาย3. การสูญเสียท่ีคิดเป็ นเงินที่นายจา้ งหรือรัฐบาลตอ้ งจา่ ยโดยตรง 3.2 การสูญเสียทางอ้อม1. สูญเสียแรงงานของลูกจา้ งที่ไดร้ ับบาดเจบ็2. เสียเวลาของลูกจา้ งคนอื่น ๆ ท่ีตอ้ งหยดุ ปฏิบตั ิงานขณะเกิดอุบตั ิเหตุ3. เสียค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมแซมเคร่ืองมือ เคร่ืองจกั ร4.ทาํ ใหป้ ริมาณผลผลิตขาดหายไป ผลิตไมท่ นั เวลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook