Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ป.4 2/64 week 2

แผนการสอน ป.4 2/64 week 2

Published by Hadee A-waekaji, 2021-11-26 05:00:25

Description: week 2

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ ๕ เร่ือง สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง วรรณะสที างทศั นศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ ๑๔๑๐๑ รายวชิ า ทัศนศลิ ป์ ๔ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ผ้สู อน นายฮาดี อาแวกะจิ ตำแหนง่ ครู (คศ.๑) นางสาววรรษมล เผียนบตุ ร นสิ ติ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู นางสาวสุกญั ญา สวุ รรณมณี นิสติ ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรยี นอนุบาลสงขลา สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจดั การเรยี นรู้รายคาบ รหสั วิชา ศ ๑๔๑๐๑ ชื่อวิชา ทศั นศิลป์ ป.๔ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ หนว่ ยการเรยี นรเู้ ร่อื ง สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง วรรณะสที างทัศนศลิ ป์ เวลา ๑ ชัว่ โมง วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน/เทคนคิ การสอนทีใ่ ช้ อภิปราย, บรรยาย ผู้สอน นายฮาดี อาแวกะจิ, นางสาววรรษมล บตุ รเผยี น, นางสาวสุกญั ญา สวุ รรณมณิ ี สปั ดาหท์ ี่ ๒ วัน เสาร์ ท่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ รายวิชาพน้ื ฐาน มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน ตวั ช้ีวดั ป ๔/๗ วาดภาพระบายสโี ดยใชส้ วี รรณะอ่นุ และวรรณะเยน็ ถา่ ยทอดความรสู้ ึกและจนิ ตนาการ ป ๔/๘ เปรยี บเทยี บความคิดความรู้สกึ ท่ีถ่ายทอดผ่านงานทศั นศลิ ปข์ องตนเองและบคุ คลอื่น สาระสำคญั การใช้สีวรรณะอุน่ สีวรรณะเยน็ โดยการวาดภาพระบายสีถ่ายทอดความรูส้ ึกและจินตนาการ ในการ เปรียบเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งของงานทัศนศลิ ป์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K : Knowledge) นักเรียนสามารถแบง่ วรรณะสีอนุ่ และวรรณะสีเย็นได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P : Practice) นกั เรียนใช้วรรณะสใี นงานทัศนศิลป์ได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A: Attitude) นักเรยี นไดเ้ ปรียบเทียบความรสู้ ึกทถ่ี ่ายทอดผา่ นงานทศั นศิลปข์ องตนเองและบคุ คลอืน่ สาระการเรยี นรู้ ความเหมือนและความแตกต่างในงานศิลป์ความรู้สึกที่ถ่ายทอดในงานทัศนศิลป์ การใช้สีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นวาดภาพ ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ให้ความสนใจ ในการเรยี นรายวชิ าศิลปะ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยอู่ ย่างพอเพียง  ซือ่ สัตย์สจุ รติ  ม่งุ ม่ันในการทำงาน  มวี ินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจติ สาธารณะ คุณลักษณะของผู้เรยี น ตามหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เปน็ เลิศวิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้ำหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อสังคมโลก เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี นอนบุ าลสงขลา  โรงเรียนอนบุ าลสงขลา เปน็ โรงเรียนแหง่ การเรียนรทู้ ี่ทนั สมยั บุคลากรและนกั เรยี นมีคุณภาพโดย การขบั เคล่ือนของเครอื ข่าย สคู่ วามพร้อมในระดบั มาตรฐานสากล ด้านการ อ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น  การอ่าน : นักเรียนสามารถอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศเสริมประสบการณ์จากสื่อประเภทต่าง ๆ อยรู่ ะดบั คุณภาพ ดี-ดีเย่ยี ม .  การคิดวเิ คราะห์ : นักเรียนสามารถจับประเด็นสำคัญเปรียบเทียบเช่ือมโยงความเป็นเหตุเปน็ ผล จากเรื่อง สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องราว เหตุการณ์ของเรื่องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่ อ่านโดยมเี หตผุ ลสนับสนุน อยูร่ ะดับคุณภาพ ดี-ดเี ย่ียม .  การเขียน : สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความคิดเห็น คุณค่าจากเรื่องที่อ่านโดยการเขียน สามารถถ่ายทอดความเขา้ ใจ ความคดิ เห็น คุณค่าจากเรอ่ื งท่อี ่านโดยการเขยี น อย่รู ะดับคุณภาพ ดี-ดีเยย่ี ม . ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น  ความสามารถในการส่ือสาร : นกั เรียนใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพื่อเปลย่ี นข้อมูลขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ สงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่อสารท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ี มีต่อตนเองและสังคม อยู่ระดบั คณุ ภาพ ดี-ดเี ย่ยี ม .

 ความสามารถในการคิด : นักเรียนรู้จกั คดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คิดอย่าง มีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม อยู่ระดับคุณภาพ ดี-ดีเยี่ยม .  ความสามารถในการแก้ปญั หา : นกั เรียนเขา้ ใจความสัมพนั ธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึง ผลกระทบที่เกดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม อย่รู ะดับคณุ ภาพ ดี-ดีเยยี่ ม .  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ : นกั เรียนใชก้ ระบวนการต่าง ๆ ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน เรียนรู้ด้วยตนเองต่อเนื่อง ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆอย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดลอ้ ม และหลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื อย่รู ะดบั คณุ ภาพ ดี-ดี เยี่ยม .  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : นักเรียนรู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม อยรู่ ะดบั คณุ ภาพ ดี-ดีเยี่ยม . ช้ินงาน/ภาระงาน ๑. ไมม่ ี การประเมิน ผปู้ ระเมนิ  ผ้บู ริหาร  ครผู สู้ อน  นกั เรียน  ผูป้ กครอง ส่ิงทต่ี ้องประเมิน วิธีการวัดผล ประเด็นทีป่ ระเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน สังเกตพฤติกรรม คณุ ลกั ษณะองั พึง (A) ประเมินพฤติกรรม ๐ - ๔ ไมผ่ า่ น ประสงค์ ๕ - ๖ ผา่ น ๗ - ๘ ดี ๙ - ๑๐ ดเี ยี่ยม

แบบประเมนิ พฤติกรรม (4) ระดบั คณุ ภาพ (3) ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง ๙-๑๐ คะแนน ระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม (2) ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๗-๘ คะแนน ระดับคุณภาพ ดี (1) ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๕-๖ คะแนน ระดบั คุณภาพ ผ่าน ได้คะแนนรวมระหวา่ ง ๐-๔ คะแนน ระดับคุณภาพ ไมผ่ ่าน เกณฑ์การผา่ น ตง้ั แต่ระดับคุณภาพ 2 ข้นึ ไป ผา่ น เกณฑ์ กิจกรรมการเรียนรู้ คาบที่ ๒ จำนวน ๑ ช่วั โมง ✓ ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น (Introduction) - ครูทักทายสนทนากับนักเรียนทาง YouTube Live ผ่านการส่งข้อความ ร่วมกับนักเรียน อยา่ งสนกุ สนาน - ครู รอ้ งเพลง เตน้ ร่วมกับนกั เรยี น ผา่ น กจิ กรรมเพลง วรรณะสี ทำนองเพลงช้าง ✓ ข้นั สอน (Body) - ครนู ำเข้าสู่เนอ้ื หา เรอ่ื ง วรรณะสี - ครูและนักเรยี นรว่ มทำกจิ กรรมแลกเปล่ียนความรู้ เรอ่ื ง วรรณะสี ✓ ขน้ั สรุปและประเมนิ ผล (Conclusion & Assessment) - ครแู ละนักเรยี นร่วมสรุปกจิ กรรม เรอ่ื ง วรรณะสี สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ผลงานศลิ ปะสชี อล์ก ๒. POWER POINT เร่อื ง วรรณะสี ๓. สชี อลก์ ๔. อุปกรณเ์ ครื่องเขยี น ๕. กระดาษใชจ้ ดบันทึก ๖. กระดาษชำระ ๗. เพลงวรรณะสี

ความคดิ เห็นของผู้บรหิ าร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ลงชื่อ………………………………….………..ผู้ประเมนิ ( นางภทั ร์ชนดิ ร์ ภทั รานนท์ ) รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลสงขลา บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ๑. ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ อืน่ ๆ (K : Knowledge) (P : Practice) (A: Attitude) …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. …………………………………… …………………………………. …………………………………………… ……………………. ๒. ปัญหา/อปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ลงชอื่ …………………………………….ผ้บู นั ทกึ ลงช่ือ…………………………………….ผบู้ นั ทึก นางสาวสุกญั ญา สวุ รรณมณี นางสาววรรษมล บตุ รเผยี น นสิ ิตฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชพี ครู นสิ ติ ฝึกประสบการณ์ วชิ าชีพครู โรงเรยี นอนบุ าลสงขลา โรงเรยี นอนบุ าลสงขลา ลงชอ่ื …………………………………….ครูพีเ่ ลยี้ ง (นายฮาดี อาแวกะจิ) ครโู รงเรียนอนบุ าลสงขลา

ภาคผนวก หลงั แผนการจดั ประสบการณ์เรียนรู้

เอกสารประกอบการสอน (๑)


























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook