Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nutri-note กลุ่ม 4

nutri-note กลุ่ม 4

Published by anissasusi1, 2021-01-02 10:50:16

Description: nutri-note กลุ่ม 4

Search

Read the Text Version

NUTRI NOTE Nutrition and dietetics Prince of Songkla University

โดย นางสาวอะนีส สะสสุ ิ 6120310147 นางสาวนูรมี อาแว 6120310179 นางสาวมนรดา อาแวโซ๊ะ 6120310181

Nutrition care process ASSESSMENT Anthropometry การวัดสดั สว่ นของรา่ งกายทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ภาวะทาง โภชนาการ ประกอบดว้ ย 1. สว่ นสงู และความยาว (Height and Length) 2. นา้ หนกั (Weight) 3. การวดั Body circumference -การวดั เส้นรอบศีรษะ (Head circumference) -วัดเสน้ รอบวงของต้นแขน (Mid – upper arm circumference) -วัดเสน้ รอบเอว (Waist circumference) -วัดเสน้ รอบสะโพก (Hip circumference) 4. การวดั ปรมิ าณไขมันใตผ้ วิ หนงั บรเิ วณกล้ามเนือ Triceps, subscapular, และ suprailiac

Nutrition care process ASSESSMENT Biochem การตรวจความสมบูรณ์ของเลือด (Complete blood count, คา่ ปกติ CBC) Red blood cell (RBC) การตรวจวัดจานวนเม็ดเลือดแดง 4.5-6.0 x 106 cell/mm3 Hemoglobin (Hgb) ผ้ชู าย 13-18 mg/dL ผ้หู ญงิ 12-16 mg/dL Hematocrit ผ้ชู าย 40-54 mg/dL ผู้หญิง 37-47 mg/dL Platelet 150,000-440,000 cell/mm3 White blood cell (WBC) การตรวจวดั จานวนเม็ดเลือดขาว 4-11 x 103 cell/mm3 Differential WBC - Neutrophil 50-70% - Lymphocyte 20-40% - Monocyte 0-7% - Basophil 0-1% - Eosinophil 0-5%

การตรวจทางเคมใี นเลอื ด (Blood ค่าปกติ Chemistry) นาตาลในเลอื ด (Blood sugar) Glucose ผู้ใหญ่ 70-100 mg/dL เดก็ 60- 100mg/dL HbA1c(Glycatedhemoglobin) 4.8-6.0 % ไขมนั (Lipidprofile) Low-density lipoprotein <100 mg/dL (LDL-cholesterol) High-density lipoprotein >40 mg/dL (ผู้หญิง), (HDL-cholesterol) >50 mg/dL (ผูช้ าย) Totalcholesterol <200 mg/dL Triglyceride <150 mg/dL การทางานของตบั (Liver function test) Alanine aminotransferase (ALT) หรอื 0-48 IU/L serum glutamate pyruvate transaminase (SGPT) Aspartate aminotransferase ( AST) 0-35 IU/L หรอื serum glutamic oxalocetic transaminase (SGOT) Albumin 3.5-5 mg/dL Total bilirubin < 2 mg/dL การทางานของไต (Renal function test) Bloodureanitrogen(BUN) 10-20 mg/dL Creatinine 0.6-1.2 mg/dL

Electrolytes Test คา่ ปกติ Sodium (Na) 136-145 mEq/L Chloride (Cl) 95-108 mEq/L Potassium (K) 3.5-5.2 mEq/L Bicarbonate (HCO3-) 24-30 mEq/L

Nutrition care process ASSESSMENT Clinical กลนื ลา้ บาก Dysphagia ท้องผูก Constipation บวม Edema คล่นื ไส้ Nausea อาเจยี น Vomiting ทอ้ งเสยี Diarrhea หอบเหนือ่ ย Fatigue ไข้ Fever ท้องอดื Bloating หายใจล้าบาก Dyspnea ท้องมาน Ascites นา้ หนกั ลด Weight gain น้าหนักเพมิ่ Weight loss ขาดน้า Dehydration ปากแหง้ Dry mouth สา้ ลัก Aspiration ลา้ ไส้ไมท่ า้ งาน Ileus อาหารไม่ย่อย Dyspepsia ซมึ เศรา้ Depression ภาวะเยื่อบชุ อ่ งปากอกั เสบMucositis

Nutrition care process ASSESSMENT Dietary Calorie Protein 15-25% CHO 50-65% Fat 20-30% Vitamin & Mineral

Nutrition care process DIAGNOSIS การระบปุ ัญหาดา้ นโภชนาการท่ีเกยี่ วข้องกบั โรคทีผ่ ู้ป่วย เปน็ อยู่ (Nutrition problem) ซ่ึงการวินจิ ฉัยแบบนจี ะแตกต่าง กบั การวินิจฉยั โรคของแพทย์ ในการวินิจฉัย ทางด้านโภชนาการ ควรใช้หลัก “PES statement” เพ่อื ใช้ในการระบุปัญหา สาเหตุ และการวินิจฉยั ทางดา้ นโภชนาการของผู้ปว่ ย P: Problem คือ การระบุปัญหาท่เี ก่ียวข้องกบั โภชนาการ ของผูป้ ่วย E: Etiology คือ สาเหตุของปญั หาทีร่ ะบไุ ว้ S: Sign/symptoms คือ อาการแสดงของผู้ปว่ ย หรือหลกั ฐาน ตา่ ง ๆ จากการประเมินผปู้ ว่ ย (ตามหลกั A – B – C – D) ท่ี บง่ ชีใหเ้ หน็ ถึงปญั หาที่ระบุไว้

https://www.jrnjournal.org/article/S1051-2276(12)00048- 9/fulltext?fbclid=IwAR1E9JVqfqfJzBR7Dl_Kli9pbzjn8yV9HQtW4txOgW8w2jmnHMX6kSCgJvA

Nutrition care process INTERVENTION • Goal setting • Use A, B, C, D, E, H, I • Nutrition requirement • Mode of feeding • Nutrition counseling

Nutrition care process MONITORING&EVALUATION • M&E planning • Use A, B, C, D, E, H, I • Look at goal & Intervention Nutrition counseling

เครอื่ งมอื คัดกรองและประเมนิ (Screening and assessment tool) MST













SOAP note การเขยี นบนั ทึกข้อมูลโภชนาการของผปู้ ว่ ยสามารถส่ือสาร ใหส้ ัน กระชับ ได้ใจความส้าคัญ ใหก้ บั บุคลากร ทางการแพทย์ เขา้ ใจและทราบรายละเอียดทงั หมดของผูป้ ว่ ย S : Subjective คอื ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากแฟม้ ประวตั ิผูป้ ่วย/ เวชระเบยี นผปู้ ว่ ย หรือจากการพูดคยุ ซักถามจากผู้ปว่ ย หรือญาติ O : Objective คือ ขอ้ มูลท่ีเป็นจริง ข้อมลู ทีไ่ ด้จากการวัด จากการตรวจวเิ คราะหห์ รือขอ้ มลู ท่ีได้จากการ ประเมิน A : Assessment คอื การประเมินผู้ป่วยโดยการน้าข้อมลู จาก S และ O มาพิจารณา P : Plan คอื การวางแผนใหโ้ ภชนบ้าบัดทเี่ หมาะสมในการให้ ค้าแนะนา้ ในการเลอื กรับประทานอาหาร การออกกา้ ลังกายและ คา้ แนะนา้ ในการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม รวมทังผลิตสือ่ ในการให้ คา้ แนะนา้ รวมทงั การติดตาม และประเมินผล

FOOD EXCHANGE หมวดอาหาร ปริมาณ/ โปรตี ไขมัน/ คาร์โบไฮ พลังงาน ส่วน น/ กรัม เดรต/ (กิโล กรัม กรมั แคลอรี) 1.หมวดนม -นมสดรสจืด 240 มล. 8 5 12 150 -นมพร่องมนั เนย 240 มล. 8 5 12 120 -นมขาดมัน เนย 240 มล. 8 0.3 12 90 2.หมวดผกั ใหพ้ ลังงานน้อยมากรบั ประทานได้ตาม -ประเภท ก -ประเภท ข 70 กรัม ต้องการ 70 กรมั 2- 5 25 3.หมวดผลไม้ - - 15 60 (แล้วแต่ชนิด) ไม่แนน่ อน 4.หมวดข้าว 2 - 18 80 แป้ง (แลว้ แต่ ไมแ่ นน่ อน ชนิด)

หมวดอาหาร ปริมาณ/ โปรตี ไขมัน/ คาร์โบไฮเ พลังงาน สว่ น น/ กรมั ดรต/กรัม (กโิ ล กรมั แคลอรี) 5.หมวด เนือสัตว์ -ไม่มีมนั เลย 30 กรมั 7 0-1 - 35 -เนือลว้ น 30 กรมั 7 3 - 55 -ไขมันปาน กลาง 30 กรมั 7 5 - 75 -ไขมนั สูง 30 กรัม 7 8 - 100 6.หมวดไขมัน 1 ช้อนชา - 5 - 45

หมวด ข้าว-แปง้ นาหนกั (กรมั ) 55 ชนดิ อาหาร 55 ข้าวสวย ขา้ วซอ้ มมือ 35 95 ขา้ วตม้ 90 ข้าวเหนยี ว สกุ 75 25 ขนมจีน 25 ก๋วยเตย๋ี วเสน้ เลก็ ลวก 65 เส้นบะหม่ี ลวกสกุ ขนมปงั ปอนด์ ขนมปงั โฮลวที ขา้ วโพด ต้ม

หมวดผัก ประเภท ก. ผักกาดขาว ผักกาดหอม ผกั บุง้ ผกั กาดเขยี ว กะหลา่้ ปลี โหรพา มะเขือเทศ แตงกวา ใบกะเพรา ฟักเขยี ว พริกหยวก มะเขอื พวง มะเขือยาว ผกั กวางตุ้ง คูณ ยอดฟักทองอ่อน หัวปลี ต้าลงึ ประเภท ข. หอมหัวใหญ่ แครอท ใบดอกขีเหลก็ ผกั หวาน ผกั คะน้า มะระ ดอกกะหล้า่ ถั่วงอก ถัว่ ลันเตา ถวั่ ฝกั ยาว ถั่วพู ยอดแค บวบ สะเดา บรอ็ คโคลี ยอดชะอม หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดออ่ น ใบยอ หมวดผัก ผลไม้ นาหนกั (กรมั ) ขนาด 45 1 ผลกลาง ช่อื 85 4 ผลใหญ่/ 5ผลเลก็ กล้วยนาว้า 250 4 ผลใหญ่ 285 เงาะ 120 1 ชนิ ชมพู่ 80 ½ ผลกลาง แตงโม 100 ½ ผลกลาง ฝรงั่ 115 20 ผลกลาง มะม่วงสุก 150 8 ชินขนาดพอค้า องนุ่ 2 ผลกลาง มะละกอสุก สม้ เขยี วหวาน

หมวดเนือสัตว์ ช่อื อกไก่ ปลาทู ปลาดกุ อยุ ลกู ชนิ ปลา กุ้ง เนือปู ประเภท ทะเล ไก่อ่อน สันในไก่ เนอื นอ่ งไม่มีหนัง ก.ไมม่ ีไขมันเลย ไก่ออ่ น,เนอื ไกอ่ ่อน,ปีก เปด็ ย่างไม่มีหนงั เนือขาน่อง ข.เนือล้วน ค.ไขมนั ปานกลาง เป็ด,เนือไม่มีหนัง ไกแ่ ก่,เนือ ไข่เป็ด ไขไ่ ก่ เต้าหแู้ ข็ง เต้าหขู้ าวอ่อน(หลอด) ง. ไขมนั สูง เนอื และหนัง กนุ เชยี ง เนือติดมนั ไส้กรอก ซ่โี ครงติดมัน ปลาสวาย แฮม แหนม หมแู ผ่น หมวดนม นาหนัก (กรมั /มล.) ถ้วยตวง 240 1 ประเภท 240 1 นมสด 240 1 นมพรอ่ งมนั เนย 120 ½ นมไมม่ ไี ขมัน 50 นมข้นจดื / นมระเหย 30 ¼ หรอื 4 ชอ้ นโตะ๊ นมผง ¼ หรอื 4 ช้อนโต๊ะ นมไมม่ ีไขมนั

หมวดไขมัน ประเภท ช่อื MUFA นา้ มันมะกอก นา้ มันรา้ ข้าว นา้ มันถั่วลสิ ง เนยถั่ว PUFA ถัว่ ลิสง 10 เม็ด เม็ดมะมว่ งหิมพานต์ 6 เม็ด มายองเนส นา้ สลดั น้ามันถว่ั เหลือง น้ามนั ขา้ วโพด SFA นา้ มันดอกค้าฝอย น้ามนั ดอกทานตะวนั เม็ด ฟกั ทอง นา้ มันไก่ น้ามันหมู เบคอน เนยขาว เนยสด กะทิ ครมี นมสด

การคานวณ การคานวณพลงั งาน Total Energy expenditure TEE = BMR × AF × IF Harris-Benedict equation หญิง = 66.5+13.8W+5.0H-6.8A ชาย = 655.7+9.6W+1.8H-4.7A Mifflin-st Jeor หญงิ =10(weight) +6.25 (Height)- 5 (Age) +16 ชาย =10 (weight) +6.25 (Height)-5 (Age) +5

Activity Factor (AF) กจิ กรรม ระดับ 1.2 ออกก้าลังกายเลก็ น้อย/ 1.3 ไมอ่ อกก้าลงั กายเลย 1.5 ออกกา้ ลังกาย 1-3 วัน 1.7 / สปั ดาห์ 1.9 ออกก้าลงั กายปานกลาง 3-5 วนั / สปั ดาห์ ออกก้าลงั กายหนกั 6-7 วัน/สปั ดาห์ ออกก้าลังกายหนัก 2* Tranning

Injury Factor ทีม่ า : https://slideplayer.com/slide/8064981/

การคานวณโปรตนี วธิ ีค้านวณปริมาณโปรตีนทต่ี อ้ งการใน 1 วัน ใน 1 วัน ของคนทั่วไป ควรได้รับโปรตีน 0.8 – 1.0 กรมั ตอ่ น้าหนักตัว 1 กก. ค้านวณอยา่ งง่ายจากนา้ หนกั ดัชนมี วลกาย ปริมาณโปรตนี ตอ่ วนั (กรัม) <30 1.2-1.5 กรมั /กก.น้าหนกั 30-39.9 ปัจจุบัน ≥40 2 กรัม/กก.นา้ หนักอดุ มคติ 2-2.5 กรมั /กก.น้าหนกั อุดมคติ

Drug and food interaction ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขนึ เนอื่ งจากการใช้ยาตังแต่ 2 ชนดิ ขนึ ไป และมีปฏกิ ิริยาระหวา่ งกนั ท้าให้มีประสทิ ธิภาพหรอื พิษ ของยาชนิดหนงึ่ หรอื หลายชนิดเปล่ยี นแปลงไป Effect of drug of food intake • Nutrition Absorption : ยาบางชนดิ อาจ เพมิ่ ลดลง หรือปอ้ งกนั การ ดูดซมึ อาหารในลา้ ไส้ • Nutrition Excretion : ยาสามารถเพ่ิมหรอื ลดการขบั ปัสสาวะของ สารอาหาร ยา amphetamine ซึ่งเปน็ ยากระต้นุ ประสาทส่วนกลางโดยหล่ังสารโดพามนี ในสมอง ท้าใหร้ ู้สึกกระตือรอื รน้ ผลขา้ งเคียง เบ่ืออาหาร ยา Carboplatin เป็นยารักษาโรคมะเร็งหลายชนดิ ยาจะยบั ยังการสังเคราะห์ สารพนั ธกุ รรมของเซลล์มะเร็ง เชน่ DNA อาการข้างเคยี ง คล่นื ไส้ อาเจยี น Drug that may increase apatite • Anticonvulsant : เปน็ ยารักษาอาการชักต่างๆอาจเกดิ การเสยี สมดลุ ของ เกลอื แร่ • Antipsychotic : ยารักษาโรคจติ ใบโพลาร์ • Antidepresant :ยารกั ษาอาการซมึ เศรา้

Drug can decrease nutrition absorption • Laxatives: เป็นยาบรรเทาอาการทอ้ งผูก ท้าให้อุจจาระอ่อนตัว หรือ กระตุ้นการบบี ตัวของลา้ ไส้ • Aluminum hydroxide: เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร • Statin: เป็นยาลดคอเลสเตอรอลในเลือด Drug can increase a loss of a nutrition • Diuratics : เปน็ ยาขบั ปสั สาวะ ใช้ในการรกั ษาความดนั โลหติ สูง • Aspirin : ยาลดการอกั เสบ เชน่ ปวดประจา้ เดอื น • Clobazam : ยาลดการวติ กกังวล Absorption : การเคลื่อนทข่ี องยาภายในกระแสเลือดขนึ อย่กู ับปจั จัยตอ่ ไปนี • โครงสรา้ งของยาท่ีสามารถผา่ นเย่ือบลุ ้าไส้ • ระยะเวลาทที่ ้าให้กระเพาะอาหารวา่ ง • ช่องทางการให้ยา • คณุ ภาพของยา Distribution ( การกระจายตัวของยา ) ยาขกู่ ระแสเลือด กระจายไปยงั เนอื เยอ่ื ต่างๆ • จับกับ plasma protein ยาไม่ออกฤทธิ์ • Albumin ต่า้ ทา้ ใหเ้ กดิ Toxic ได้ Metabolism ( การเปลย่ี นแปลงของยา ) • เปน็ กระบวนการท่ยี าถกู เปลยี่ นแปลงทางเคมใี นรา่ งกาย ซงึ่ มผี ลมาจาก ปฏิกิริยาของยาระหว่างยากบั เอนไซมเ์ กิดขนึ ทต่ี ับ

Excretion (การขับยาออกจากร่างกาย ) • ยาจะถูกขบั ออกได้ทางไต ตับ ปอด • อาจจะขับออกทางนา้ นมและเหงอ่ื ได้ในปริมาณเล็กน้อย • อวัยวะในการขับยาออกคอื ไต Benefits of minimizing food drug interactions • ยามีประสทิ ธภิ าพในการทา้ งานสูง • ไมเ่ กิดพิษจากยา • ช่วยลดคา่ ใช้จ่าย • แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการผดิ ปกติ • ผูป้ ว่ ยได้รับการรกั ษาจากยาสงู สุด • การใหบ้ รกิ ารดา้ นการดูแลสุขภาพลดลง • ความรบั ผิดชอบทางดา้ นวชิ าชีพนอ้ ยลง Effect of food or drug intake • Drug absorption : อาหารหรอื สารอาหารในกระเพาะและลา้ ไส้อาจ ท้าใหล้ ดการดูดซมึ ของยา โดยการชะลอการย่อยอาหารหรือจบั กับอนภุ าค ของอาหาร อาหารอาจท้าหน้าทีเ่ พ่ิมหรือยบั ยังการเผาผลาญของยาบางชนดิ ในรา่ งกาย • Drug excretion: ยาจะถูกขบั ถ่ายออกทางไต • Dietary calcium: สามารถจับกบั ยาปฏิชีวนะ “tetracycline” ซ่งึ เป็นยารกั ษาการติดเชือ ได้แก่ มาลาเรยี ซฟิ ิลซิ • กรดอะมโิ นในธรรมชาติ สามารถดดู ซึมกบั “Levodopa” ซึ่งเป็น ยารักษาโรคพารก์ ินสนั ซึง่ จะไปเพิม่ สารสือ่ ประสาทโดพามนี ในสมอง

Absorption Distribution • การรับประทานไฟเบอรใ์ นปริมาณมากจะรบกวนการดดู ซมึ ของ “ Digoxin” ซ่งึ เป็นยากลมุ่ ของ (cardiac glycoside) ทม่ี ฤี ทธ์ิเพิม่ การบบี ตัว ของกลา้ มเนือหวั ใจ ชว่ ยรกั ษาหัวใจวาย หัวใจห้องบน • Metabolism: อาหารทีม่ ีการบม่ หรอื หมัก เช่นโยเกริ ต์ โดยจะทา้ ปฏกิ ิรยิ ากับ “Tyramine” ซึ่งเป็นการยับยงั เอนไซม์ monoamine oxidase ใชร้ กั ษาโรควติ กกงั วล โรคพาร์กนิ สนั • Food hight Vit.K (ผักตระกลู กะหล้า่ ) ลดประสิทธิภาพของยา “Anticogulant”ซ่ึงเปน็ ยาตา้ นการแข็งตวั ของเลือด • หา้ มรับประทาน Grapefruit juice พร้อมกับยา “Cyclosporin” ซ่งึ เป็นยากดภูมคิ ุ้มกนั ใช้กับผ้ปู ว่ ยทมี่ ีการปลกู ถ่ายอวัยวะ เชน่ หัวใจ ไต และ ตบั “Certain statins” ซ่ึงเปน็ ยากลุม่ ยาลดคอเลสเตอรอล

DASH DIET DASH DIET เปน็ การรับประทานอาหารตามแนวทางโภชนาการ โดยเน้น การรบั ประทานอาหารร่วมกับการลดปริมาณโซเดยี มและไขมันอมิ่ ตัว และเพ่มิ การ บรโิ ภคใยอาหาร แมกนีเซียม โพแทสเซียม และแคลเซยี มจากอาหาร เพื่อควบคมุ ความดนั โลหิตและชว่ ยปอ้ งกันความเส่ียงโรคหวั ใจ สัดสว่ นการรับประทานอาหารตามหลกั DASH ใน 1วนั ชนดิ อาหาร สัดสว่ น ธัญพชื ต่างๆ โดยเนน้ ธญั พชื ทไ่ี ม่ขัดสี 7-8 สว่ น / วนั ผกั และผลไม้ 4-5 สว่ น / วัน เนอื สตั ว์ไขมันต้า่ สตั วป์ ีก หรือปลา 2-3 สว่ น / วัน น้ามันหรือไขมัน 2-3 สว่ น / วัน ถวั่ ชนิดต่างๆ 4-5 สว่ น / สปั ดาห์ ของหวานชนิดต่างๆ ไมเ่ กิน 5 ส่วน / สัปดาห์ https://www.bangkokhearthospital.com/content/dash-diet-healthy-eating- to-control-blood-pressure

Nutrient Composition of Therapeutic Lifestyle Change (TLC) Nutrient TLC diet Total fat: 25-35% of total calories SAT FAT < 7% of total calories PUFA Up to 10% of total calories MUFA Up to 20% of total calories trans fat Lower intake 50-60% of total calories Carbohydrate 15-25% of total calories Proteins 20-30 gram/day Dietary fiber < 200 mg/day Cholesterol <2000 mg/day Sodium

อาหารทางสาย อาหารทางสาย 1 มลิ ลลิ ติ ร จานวนมิลลลิ ติ ร/มอื Tube feeding T 1:1 200 × 5 พลงั งาน 1 kcal จานวนมือ/วัน Water in enteral formula 1:1 85% volume 1:2:1 80% volume 1.5:1 75% volume 2:1 70% volume

ชนดิ ผง ลกั ษณะการใช้ ไอโซคาล ผปู้ ่วยทั่วไป (ชง 4000 ซีซี) แพนเอ็นเทอราล ผ้ปู ว่ ยท่ัวไป (ชง 2000 ซีซี) อะมิโนเลแบน ผู้ปว่ ยโรคตบั หรือ งดไขมนั (ชง 1800 ซีซ)ี เจนฟอร์มลู ่า อาหารเสรมิ ทีไ่ มม่ ีโคเลสเตอรอล (2000 ซีซ)ี นีโอ-มูล ผปู้ ว่ ยตอ้ งการโปรตีนและพลังงานสงู (1700 ซีซ)ี เปปทาเมน ผปู้ ว่ ยทีม่ ปี ญั หาในการย่อยและดูดซมึ อาหาร (2000 ซีซ)ี นิวเทรน ออติมัล ผปู้ ่วยสงู อายุ, มะเร็ง (ชง 2000 ซีซ)ี นิวเทรน บาลานซ์ ผู้ป่วยที่ต้องการควบคุมปรมิ าณน้าตาล (2000 ซีซ)ี นิวเทรน ไฟเบอร์ ผปู้ ว่ ยที่ต้องการเสรมิ ใยอาหาร (ชง 2000 ซีซ)ี แนน AL อาหารทารกทมี่ อี าการแหวะนม, อาเจียน โอแลค ทารกท่ีมรี ะบบการย่อยนมผิดปกติ (แพน้ มวัว) ไอโซมิล ทารกที่มีระบบการย่อยนมผิดปกติ (แพน้ มวัว)

ชนิดผง ลักษณะการใช้ ซิมแิ ลค LF ทารกท่มี ีระบบการยอ่ ยแลคโตสผิดปกติ แนนแลคโตสฟรี ทารกทม่ี ีระบบการย่อยแลคโตสผิดปกติ พีดีชัวร์ คอมพลีท ส้าหรับเด็กเบ่ืออาหาร ซมิ แิ ลค นีโอชัวร์ ทารกคลอดก่อนก้าหนด น้าหนักตวั ต้่า นูตรามีเยน ส้าหรับทารกทแ่ี พโ้ ปรตนี หรอื มปี ญั หาเก่ียวกบั ระบบการย่อยและดูดซึมแลค็ โตส โปรชัวร์ (น้า) ผปู้ ่วยเบอ่ื อาหาร ทตี่ ้องการโปรตนี สูง เนปโป (น้า) ผปู้ ่วยโรคไต เจวตี ี (น้า) ผปู้ ว่ ยทว่ั ไป (ชง 500 ซีซ)ี กลูเซอร์น่า (น้า) ผู้ป่วยเบาหวาน เอน็ ชวั ร์ ผปู้ ว่ ยท่ัวไป (ชง 1800 ซีซี) กลูเซอร์น่า ผู้ป่วยเบาหวาน

Ketogenic Diet รูปแบบอาหาร • จา้ กดั การรับประทานคารโ์ บไฮเดรตต้า่ มาก (very low carbohydrate diet) เพ่อื กระตุ้นให้รา่ งกายเปลี่ยนจากสภาพการใช้น้าตาล มาเปน็ การใชพ้ ลังงานจากสารคี โตนแทน • ก้าหนดใหร้ บั ประทานคารโ์ บไฮเดรตไม่เกิน 20 – 50 กรมั ต่อวัน (ประมาณขา้ ว สวยไม่เกิน 2.5 ทัพพ/ี วนั ) • เพิ่มพลงั งานจากไขมนั มาทดแทนถงึ 70% ของพลงั งานที่รา่ งกายตอ้ งการไดร้ ับ จงึ ถือเปน็ อาหารรปู แบบ คาร์โบไฮเดรตตา้่ ไขมนั สูง (low carb, high fat diet) • มผี ลในการช่วยลดน้าหนกั และควบคมุ นา้ ตาลในเลอื ด ผลขา้ งเคยี ง • ชว่ งแรก: เป็นหวดั คลนื่ ไส้ อาเจียน ปวดศรีษะ ไม่สบายตวั ท้องผูก • ระยะยาว: ไขมนั ในเลือด ผิดปกติ โดยพบคลอเลสเตอรอลชนิด LDL สงู ขนึ เพมิ่ ความเสย่ี งในการเกิดนว่ิ ที่ไตและมวลกระดกู บางลง จากการ สญู เสียแคลเซียมและ แมกนีเซียมทางปัสสาวะ

โรคเบาหวาน คา่ ในการวินิจฉัยและเปา้ หมายในการตดิ ตาม ตารางการแปลผลระดับพลาสมากลูโคสและ A1C เพ่ือการวนิ จิ ฉัย ระดบั นาตาลในเลือดทเ่ี พิ่ม ความเสี่ยงการเปน็ เบาหวาน ปกติ Impaired Impaired โรคเบาหวาน fasting glucose <100 มก./ glucose tolerance ≥126 มก./ ดล. (IFG) (IGT) ดล. พลาสมากลโู คส 100-125 - ขณะอดอาหาร มก./ดล. FPG พลาสมากลโู คส <140 มก. - 140-199 ≥200 มก./ ท่ี 2 ช่ัวโมงหลัง /ดล. มก./ดล. ดล. ด่ืมน้าตาล กลโู คส 75 กรมั 2 h-PG (OGTT)

ระดับนาตาลในเลอื ดท่เี พมิ่ ความเสยี่ งการเป็นเบาหวาน โรคเบาหวาน ปกติ Impaired Impaired fasting glucose glucose tolerance (IFG) (IGT) พลาสมากลูโคส - - ≥200 มก./ ที่เวลาใดๆในผู้ท่ี <5.7% - ดล. มอี าการชัดเจน ≥6.5% ฮีโมโกลบนิ เอวัน ซี (A1C) 5.7-6.4% *FG เป็นภาวะระดับน้าตาลในเลอื ดขณะอดอาหารผดิ ปกติ *IGT เปน็ ภาวะระดบั น้าตาลในเลอื ดหลงั ได้รบั กลโู คส

เปา้ หมายการควบคมุ เบาหวานสาหรบั ผูใ้ หญ่ การควบคุม ควบคมุ เข้มงวด เปา้ หมาย ควบคุมไม่เข้มงวด เบาหวาน มาก ควบคุมเข้มงวด 80-130 มก./ดล. 140-170 มก./ ระดบั น้าตาลใน >70-110 มก./ ดล. เลอื ดขณะอดอาหาร ดล. ระดบั นา้ ตาลใน <140 มก./ดล. -- เลอื ดหลงั อาหาร 2 - <180 มก./ดล. - ชว่ั โมง <6.5% <7.0% 7.0-8.0% ระดบั นา้ ตาลใน เลือดสูงสดุ หลงั อาหาร A1C (% of total hemoglobin)

เปา้ หมายในการควบคุมระดบั นาตาลในเลือดสาหรบั ผปู้ ่วยเบาหวานสงู อายุ และผู้ป่วยระยะสุดทา้ ย สภาวะผ้ปู ่วยเบาหวานสงู อายุ เปา้ หมายระดบั A1C ผูม้ สี ุขภาพดี ไมม่ ีโรคร่วม <7% ผู้มีโรคร่วม ชว่ ยเหลือตัวเองได้ 7.0-7.5% ผ้ปู ่วยท่ตี อ้ งได้รบั การชว่ ยเหลอื มภี าวะเปราะบาง ไมเ่ กิน 8.5 % มภี าวะสมองเสอ่ื ม ไม่เกิน 8.5 % หลกี เล่ยี งภาวะนา้ ตาลในเลอื ดสงู ผู้ป่วยที่คาดว่าจะมีชวี ิตอยูไ่ ดไ้ ม่นาน จนท้าใหเ้ กดิ อาการ

ความดันโลหติ สูง ค่าในการวินิจฉยั ความดนั โลหติ สูง ตารางการจา้ แนกโรคความดนั โลหิตสงู ตามความรุนแรงในผใู้ หญอ่ ายุ 18 ขนึ ไป Category SBP DBP (มม.ปรอท) (มม.ปรอท) Optimal < 120 และ < 80 120-129 และ/หรอื 80/84 Normal 130-139 และ/หรอื 85-89 High normal 140-159 และ/หรอื 90-99 Grade 1 hypertension (mild) Grade 2 hypertension 160-179 และ/หรอื 100-109 (moderate) Grade 3 hypertension > 180 และ/หรอื >110 (severe) Isolate systolic > 140 และ <90 hypertension (ISH) หมายเหตุ SBP= Systolic blood pressure , DBP= Diastolic blood pressure เม่อื ความรนุ แรงของ SBP และ DBP อยตู่ า่ งระดับกัน ใหถ้ อื ระดบั รุนแรงกว่าเปน็ เกณฑ์ สา้ หรับ ISH ก็แบ่งระดบั ความรุนแรงเหมือนกันโดยใชแ้ ค่ SBP ทมี่ า: แนวทางการรกั ษาโรคความดนั โลหติ สงู ในเวชปฏบิ ตั ทิ ่ัวไป พ.ศ 2558

เป้าหมายการควบคมุ ปจั จยั เสย่ี งของภาวะแทรกซอ้ นทีห่ ลอดเลอื ด การควบคมุ /การปฏิบัตติ ัว เป้าหมาย ระดบั ไขมันในเลอื ด* ระดบั ไขมนั ในเลอื ด ระดับ LDL <100 มก/ดล. Cholesterol <150 มก/ดล. ระดับ Triglyceride ≥40 มก/ดล. ระดับ HDL Cholesterol : ผู้ชาย ≥50 มก/ดล. ผหู้ ญงิ ความดนั โลหติ ** ความดันโลหติ ซิสโตลกิ (systolic BP) <140 มม.ปรอท ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic BP) <90 มม.ปรอท นาหนกั ตัว 18.5-22.9 กก./ม.2หรือใกลเ้ คียง ดัชนมี วลกาย ไมเ่ กินส่วนสูงหารดว้ ย 2 รอบเอวจาเพาะบุคคล (ทังสองเพศ) <90 ซม. รอบเอว : ผู้ชาย <80 ซม. ไม่สูบบุหรแี่ ละหลกี เลีย่ งการรับควนั บุหรี่ ผหู้ ญงิ การสบู บหุ ร่ี การออกกาลงั กาย ตามคา้ แนะน้าของแพทย์ *ถา้ มโี รคหลอดเลือดหัวใจหรอื มีปัจจัยเสยี่ งของโรคหลอดเลอื ดหัวใจหลายอยา่ งร่วมดว้ ยควบคมุ ให้ LDL-C ตา่้ กว่า 70 มก/ดล. ** ผ้ปู ว่ ยท่ีมีความเสี่ยงสงู ต่อการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตซสิ โตลิกไมค่ วรต้า่ กว่า 110 มม.ปรอท ผูป้ ่วยทม่ี อี ายุนอ้ ยกวา่ 40 ปี หรอื มีภาวะแทรกซอ้ นทางไตรว่ มด้วยควร ควบคุมความดนั โลหติ ให้นอ้ ยกว่า 130/80 มม.ปรอท ถา้ ไม่ทา้ ให้เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของการ รักษา

โรคไต การแบง่ โรคไตเรอื รงั ออกเปน็ ระยะตา่ งๆ ระยะ GFR ความหมาย ( ml/min/1.73m 2) 1 > 90 ไตเรม่ิ ถกู ท้าลายเลก็ นอ้ ยแต่ การทา้ งานของไตยงั ปกติอยู่ 2 60-89 ไตทา้ งานลดลงเล็กน้อย 3a 45-59 ไตทา้ งานลดลงเล็กน้อยถึง ปานกลาง 3b 30-44 ไตทา้ งานลดลงเล็กน้อยถึง ปานกลาง 4 15-29 ไตทา้ งานลดลงอย่างมาก 15 < 15 ไตเรอื รงั ระยะสดุ ท้าย ทีม่ า : สมาคมไตเรอื รังแห่งประเทศไทย

โรคมะเรง็ ( Cancer ) Cancer/ Cachexia อาการ ดูนา้ หนกั ลด กับ BMI ก็เพยี งพอแล้ว โดยจะดูจาก น้าหนกั ลด > 5% ใน 6 เดือน หรอื BMI < 20 kg/m2 และ น้าหนักลด > 2% ใน 6 เดอื น หรือกล้ามเนือ ชาย < 2.76 Kg/m2 หญิง < 5.45 kg/m2 และ นา้ หนกั ลด > 2% ใน 6 เดือน ระบบของโรคแบบ 0,I, II, III, IV เกดิ จากการนาระยะ TNM มาจัด ระยะท่ี หมายถงึ ระยะ 0 มะเร็งระยะตน้ ๆ ( Carcinoma in situ ) ทอ่ี ยบู่ นชนั ของ เซลล์ปกตยิ ังไมแ่ ทรกเขา้ ไป ระยะ I ระยะ II ในเนือเย่ือปกติ ระยะ III ขนาดต่างๆกนั ของก้อนเนอื จากขนาดเลก็ ไป ใหญ่ จ้านวนตอ่ มน้าเหลอื งและต้าแหนง่ ระยะ IV ต่อมนา้ เหลอื งทแี่ พรก่ ระจายไป แพร่กระจายไปยังอวัยวะอ่ืน ขนาดของก้อน ( Primary Tumor )(T) Tx ไมส่ ามารถประเมนิ กอ้ นได้ T0 ไม่มีหลักฐานของก้อน Tis มะเร็งระยะตน้ ๆ ท่ีอยบู่ นชันของเซลลป์ กติยังไม่แทรกเขา้ ไปในเนอื เย่ือปกติ T1,2,3,4 ขนาดต่างๆของก้อนจากขนาดเล็กไปใหญ่

ตอ่ มนาเหลือง (Regional Lymph nodes) (N) Nx ไม่สามารถประเมินต่อนา้ เหลืองได้ N0 ไม่พบมะเรง็ ในต่อมน้าเหลอื ง N1,2,3 มะเรง็ เข้ไปในต่อมน้าเหลอื ง (จา้ นวนต่อมและต้าแหนง่ ต่อม ท่แี พร่ไป) การแพรก่ ระจายไปอวยั วะอน่ื ๆ ( Distant Metastasis ) (M) Mx ไม่สามรถประเมินการแพรก่ ระจายได้ M0 ไมพ่ บการแพรก่ ระจายไปยงั อวยั วะอนื่ M1 แพร่กระจายไปยงั อวยั วะอ่ืน ตัวอย่าง มะเรง็ เต้านมระยะ T3N2M0 หมายถงึ มะเรง็ กอ้ น ใหญ่ท่ีมีการลกุ ลามเขา้ ตอ่ มนา้ เหลอื ง แต่ยังไมม่ ีการแพรก่ ระจายไป ยังอวยั วะอ่ืนของร่างกาย

คำยอ่ ท่ีใชใ้ นกำรวินิจฉยั โรคท่ีใชก้ นั ท่วั ๆไป คายอ่ คาศพั ทเ์ ต็ม ความหมาย TB Tuberculosis วัณโรค BPH Benign Prosthetic Hypertrophy ตอ่ มลกู หมากโต CA Cancer โรคมะเรง็ AGF Acute Gastroenteritis ลา้ ไส้อกั เสบฉับพลัน URI Upper Respiratory Infection การตดิ เชือทางเดินหายใจส่วนบน UTI Urinary Tract Infection การตดิ เชอื ทางเดนิ ปัสสาวะ AE Acute exacerbation การกา้ เรบิ ฉับพลนั HT Hypertension โรคความดนั โลหติ สูง GERD Gastroesophageal reflux กรดไหลย้อน disease ไตวายฉบั พลนั ARF Acute Renal Failure ไตวายเรือรัง CRF Chronic Renal Failure โรคไตวายเรือรังระยะสดุ ท้าย ESRD End Stage Renal Disease การล้างไตทางชอ่ งทอ้ งชนดิ CAPD Continuous Ambulatory ตอ่ เนอ่ื ง การบา้ บดั ทดแทนไตอยา่ งต่อเนื่อง Peritoneal Dialysis CRRT Continuous renal replacement หัวใจวาย DM ชนิดไม่พึ่งยาฉีดอนิ ซูลิน therapy CHF Congestive Heart Failure NIDDM Non insulin dependent


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook