Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7.การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management)

7.การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management)

Description: 7.การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management)

Search

Read the Text Version

2 l การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ทิ ลั

การบริหารจดั การเวลา บนโลกดจิ ิทลั (Screen Time Management) ในทศวรรษท่ผี า่ นมา การใชเ้ วลาหนา้ จอดิจทิ ลั รวมทกุ อปุ กรณ์ เฉพาะสมาร์ตโฟน (Screen Time) เพ่มิ สงู ข้นึ อยา่ งมาก มขี ้อมลู ส�ำรวจจากกูเกิลพบว่าเราหยิบมือถือขึ้นมาดู 9 ชว่ั โมง 4 ชัว่ โมง เฉลย่ี ถงึ 150 ครง้ั ตอ่ วนั เนอื่ งจากอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั 38 นาทตี ่อวัน 56 นาทีตอ่ วัน ได้อ�ำนวยความสะดวกมากมายหลากหลายด้าน ไมว่ า่ จะเปน็ การทำ� ธรุ กรรมทางการเงนิ การเรยี น ผา่ นระบบออนไลน์ ความบนั เทงิ และการปฏสิ มั พนั ธ์ กบั เพอื่ นผา่ นสงั คมออนไลน์ จากผลสำ� รวจพฤตกิ รรม ผใู้ ช้ดจิ ิทลั ท่วั โลกในปี 2561 ของ “We Are Social” ดิจิทลั เอเจน็ ซี และ “Hootsuite” พบ วา่ ประเทศไทยเปน็ ประเทศทใี่ ชเ้ วลาตอ่ วนั อยกู่ บั อินเทอร์เนต็ (รวมทกุ อุปกรณ)์ มากทส่ี ดุ ในโลก โดยเฉลย่ี อยทู่ ่ี 9 ชว่ั โมง 38 นาทตี อ่ วนั และหาก วัดเฉพาะการใช้งานอินเทอร์เน็ตบนสมาร์ตโฟน ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศท่ีใช้เวลาท่องเน็ต ต่อวนั มากทีส่ ดุ ในโลกโดยเฉล่ยี อยทู่ ่ี 4 ช่วั โมง 56 นาที Screen Time Management l 3

ไมเ่ พยี งแตผ่ ใู้ หญท่ ใ่ี ชเ้ วลาหนา้ จอมากขน้ึ แตจ่ ำ� นวนเดก็ ไทยทมี่ พี ฤตกิ รรมตดิ หนา้ จอ เร่ิมมีจำ� นวนเพิม่ ข้ึนอย่างนา่ ตกใจ เป็นเร่ืองที่นา่ กังวลมากทพี่ ่อแมส่ มยั ใหมใ่ ช้ เทคโนโลยีในทางท่ีผดิ โดยปล่อยใหอ้ ปุ กรณด์ ิจิทลั เปน็ พ่เี ลย้ี งเดก็ ดงั ท่เี คยเห็น เดก็ เลก็ วยั ไมถ่ งึ 2 ขวบ สามารถใชส้ มารต์ โฟน แทบ็ เลต็ หรอื เครอื่ งมอื สอื่ สาร อเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ อยา่ งคล่องแคลว่ โดยพ่อแม่ไมท่ ราบว่า หากใช้โดยไมร่ ู้ เท่าทันเทคโนโลยี อุปกรณ์เหล่านอี้ าจส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพและพฒั นาการ ของเดก็ ได้ เดก็ ไทยจำ� นวนไมน่ อ้ ยยงั ไมส่ ามารถสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งกจิ กรรมทใี่ ชเ้ วลาอยกู่ บั หนา้ จอ ไมว่ า่ จะเปน็ สมารต์ โฟน แทบ็ เล็ต คอมพวิ เตอร์ หรอื โทรทัศน์ กับกิจกรรมอนื่ ๆ ได้ ปี 256 0 เด็ก ป่วยเป ็นโรคต ดิ เกม ดังรายงานสถานการณ์ของสถาบันสุขภาพจิตเด็กและ เข้ารัก ษาเ พ่มิ ข ้นึ 6 เท่าตวั วยั รนุ่ ในปี 2560 ทพ่ี บวา่ เดก็ ปว่ ยเปน็ โรคตดิ เกมรายใหม่ เขา้ รบั การรกั ษาเพม่ิ ขนึ้ จากปี 2559 ถงึ 6 เทา่ ตวั และ ล่าสุดในปี 2562 องคก์ ารอนามัยโลกได้ให้ความสำ� คญั ตอ่ การใชเ้ วลาหนา้ จอของเดก็ โดยการออกแนวทางแนะนำ� การใชเ้ วลาหนา้ จอสำ� หรบั เดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ 5 ปี ดงั นนั้ การบรหิ ารจดั การเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในทกั ษะความฉลาดทาง ดจิ ทิ ลั (DQ) จงึ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ทพ่ี ลเมอื งดจิ ทิ ลั ควรฝกึ ฝน เพื่อจะไดร้ ู้เท่าทันสื่อ และรจู้ ักการจดั สรร เวลาหน้าจอใหก้ ับตนเองและคนรอบขา้ ง การใชเ้ วลาหนา้ จอ คืออะไร การใชเ้ วลาหนา้ จอ (Screen Time) คอื คำ� ทใ่ี ชเ้ รยี กกจิ กรรม ต่าง ๆ บนหน้าจอดิจิทัล เช่น การดูทีวีการท�ำงานหน้า คอมพวิ เตอร์ การใชม้ อื ถอื หรอื แทบ็ เลต็ หรอื การเลน่ วดิ โี อเกม การใช้เวลาหน้าจอเป็นกิจกรรมที่ผู้ใช้ไม่ค่อยได้เคล่ือนไหว ร่างกาย ท�ำให้เกดิ ความน่งิ เนือยทางกายภาพ เชน่ การน่ัง เฉย ๆ ทำ� ใหใ้ ชพ้ ลงั งานไปเพยี งเลก็ นอ้ ย การใชเ้ วลาหนา้ จอ เก่ียวข้องกับกิจกรรมหลายประเภท โดยสามารถแบ่งได้ ดังน้ี 4 l การบรหิ ารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั

มกี ารโต้ตอบ ไมม่ กี ารโตต้ อบ เชน่ การเลน่ วดิ โี อเกม การสนทนา เชน่ การนง่ั หรอื นอนดโู ทรทศั น์ ผา่ นโปรแกรมสไกป์ การใชอ้ ปุ กรณ์ หรอื รายการในชอ่ งสตรมี มง่ิ ออนไลนส์ รา้ งคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ดา้ นความบนั เทงิ ดา้ นการศึกษา เช่น การเรยี นคณติ ศาสตรผ์ า่ น เช่น การเลน่ เกม หรอื โปรแกรมในคอมพิวเตอร์ ดูรายการบนั เทงิ การบริหารจดั การเวลาหน้าจอ การบรหิ ารจดั การเวลาหนา้ จอ คอื ทกั ษะในการรจู้ กั ควบคุมตนเอง และสามารถแบ่งเวลาในการใช้งาน อปุ กรณ์เทคโนโลยี รวมถึงการเลน่ เกมออนไลน์ และ โซเชยี ลมเี ดยี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รจู้ กั การสรา้ งสมดลุ ระหว่างการใช้เวลาหนา้ จอ และกิจกรรมทีต่ ้องทำ� ใน ชีวติ ประจำ� วัน โดยไม่กระทบตอ่ สขุ ภาพตนเองและ ความสมั พันธ์กับคนรอบข้าง Screen Time Management l 5

การจำ� กดั เวลาหนา้ จอ ส�ำคัญอย่างไร แม้ว่าการใช้เวลาหน้าจอของเด็กจะได้รับความสนุกและ สรา้ งทกั ษะใหม่ ๆ ใหแ้ กเ่ ดก็ แตก่ ารใชเ้ วลาหนา้ จอนาน เกนิ ไปจะสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและพฒั นาการของเดก็ ได้ เป็นท่ีน่ากังวลว่าการใช้เวลาหน้าจอของเด็กสูงขึ้นอย่าง นา่ ตกใจ ขอ้ มลู จากคอมมอน เซนส์ มเี ดยี (Common Sense Media – CSN) องคก์ รดา้ นการศกึ ษาและพฒั นา การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทปี่ ลอดภยั สำ� หรบั เดก็ ระบวุ า่ อตั ราเฉลยี่ ของการใชเ้ วลาหนา้ จอสมารต์ โฟนในกลมุ่ เดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ 8 ขวบ เพม่ิ สงู ขน้ึ จาก 15 นาทตี อ่ วนั เมอื่ ปี 2556 เปน็ 48 นาทตี อ่ วนั ในปี 2560 การจำ� กดั เวลาหนา้ จอจงึ เปน็ การจดั สรรเวลาใหเ้ ดก็ ใชอ้ ปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ในระดบั ทพี่ อดตี อ่ พฒั นาการของ เดก็ ในแตล่ ะวยั เพอ่ื พอ่ แมจ่ ะมน่ั ใจไดว้ า่ การเลน่ อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ของลกู จะไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ การนอน และกจิ กรรมอน่ื ๆ ทม่ี ปี ระโยชนต์ อ่ พฒั นาการของเดก็ เชน่ การเลน่ กลางแจง้ การอา่ น การวาดรปู รวมไปถงึ การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั พอ่ แม่ สมาชกิ ในครอบครวั และเพอื่ น ๆ เพอื่ เดก็ จะมโี อกาสทำ� กจิ กรรม ทสี่ นกุ และมปี ระโยชน์ ทงั้ กจิ กรรมการใชเ้ วลาหนา้ จอและกจิ กรรมการเลน่ ในชวี ติ จรงิ การจำ� กดั เวลาหนา้ จอจงึ ไมไ่ ด้ หมายความวา่ พอ่ แมห่ า้ มลกู เลน่ อปุ กรณด์ ิจทิ ลั ดูโทรทัศน์ หรอื เล่นวดิ ีโอเกม แต่หมายถึงการสรา้ ง สมดลุ ระหวา่ งการใชเ้ ทคโนโลยหี รือ อปุ กรณด์ จิ ิทลั กบั การใชช้ ีวติ ประจำ� วนั โดยไม่กระทบต่อสขุ ภาพและ ปฏิสมั พันธท์ างสังคมของเดก็ 6 l การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั

การใช้เวลาหน้าจอดิจิทัล ท่เี หมาะสมกบั เดก็ สถาบันการศกึ ษาด้านกุมารแพทย์ศาสตร์สหรฐั ฯ (American Academy of Pediatrics) และ สมาคมกมุ ารแพทย์ศาสตรแ์ คนาดา (Canadian Pediatric Society) ได้ใหข้ ้อแนะน�ำสำ� หรบั การใชเ้ วลาหนา้ จอของเด็กวา่ ต้องคำ� นึงถงึ ความเหมาะสมตามพัฒนาการของเดก็ แตล่ ะวัย และ เปน็ สว่ นหนง่ึ ในกจิ กรรมการอบรมเลยี้ งดู (Nurturing Activity) ระหวา่ งพอ่ แมก่ บั ลกู โดยไมป่ ลอ่ ย ให้เดก็ เลน่ อย่กู บั หนา้ จอตามลำ� พัง การใช้เวลาหนา้ จอทีเ่ หมาะสมของเด็กแตล่ ะวยั มีดังนี้ เดก็ อายตุ ่�ำ เดก็ อายุ เดก็ อายุ เดก็ อายตุ ่�ำ เด็กอายุ กวา่ 2 ปี 1 ปีคร่งึ - 2 ปี 2 - 5 ปี กวา่ 5 ปี 6 ปีขึ้นไป ควรหลกี เลยี่ งไม่ให้ เดก็ วยั น้คี วรดสู ่อื ที่ จ�ำกัดการใชเ้ วลา ผู้ปกครองไม่ควรใช้ ผปู้ กครองควรจดั สรรการใช้ ใช้สอ่ื ดจิ ทิ ลั ยกเวน้ มคี ณุ ภาพสงู แต่ไม่ หนา้ จอไม่เกนิ 1 อุปกรณ์ดจิ ทิ ลั เป็น เวลาหนา้ จอท่ชี ัดเจน เพ่อื วดิ ีโอแช็ต เน่อื งจาก ควรปลอ่ ยให้อยูก่ ับ ชวั่ โมงตอ่ วัน และ ตวั ช่วยดแู ลเดก็ ยาม สร้างวินยั ให้แกเ่ ดก็ เชน่ เด็กวยั นี้จะเรียนรู้ หนา้ จอเพียงลำ� พงั ไมใ่ ชห้ นา้ จอยาวนาน ทต่ี นเองไม่วา่ ง และ ดูโทรทศั น์ได้หลงั จากทำ� และไม่ควรใชส้ ื่อ ตอ่ เนอื่ งกนั ควรเปน็ ไม่ควรปล่อยให้เด็ก การบา้ นเสร็จหรอื ห้ามใช้ ไดด้ ีจากการมี หนา้ จอเปน็ เครอื่ งมอื รายการท่มี เี นอ้ื หา อยูก่ ับหน้าจอตาม อุปกรณด์ ิจิทัลในห้องนอน ปฏิสัมพนั ธก์ ับผูค้ น ทำ� ให้เด็กหยดุ งอแง คณุ ภาพและเน้น ดา้ นการศกึ ษา ล�ำพัง รวมถึงหมน่ั คอยสงั เกต ประเภทสอ่ื ท่เี ดก็ ๆ ดู หา จุดสมดุลระหวา่ งการใช้ เวลาหนา้ จอและพฤตกิ รรม ที่มคี วามจ�ำเปน็ ต่อสุขภาพ การนอน กจิ กรรมทางดา้ น รา่ งกาย และการเขา้ สงั คม Screen Time Management l 7

ผลกระทบจากการใชเ้ วลา หน้าจอมากเกนิ ไปสำ� หรบั เด็ก การใช้เวลาหน้าจอส่งผลกระทบหลายด้านต่อสุขภาพของเด็ก ผลการศึกษาและ การวจิ ยั พบวา่ การใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไปสง่ ผลเสยี ตอ่ พฒั นาการในวยั เดก็ สขุ ภาพ รา่ งกาย และจติ วิทยาทางสงั คมของเดก็ 1. พัฒนาการแรกเรม่ิ ของเด็ก ลูกพูดช้า เด็กก่อนวัยเรียนที่ไม่ได้เล่นของเล่นแบบสร้างสรรค์ เช่น ตวั ตอ่ และคนุ้ ชนิ กบั กจิ กรรมบนหนา้ จอจะมปี ญั หาพฒั นาการทางภาษาชา้ ... เดก็ อายนุ อ้ ยกวา่ 12 เดอื นหากใชเ้ วลาหนา้ จอ 2 ชวั่ โมงตอ่ วนั จะมพี ฒั นาการ ทางภาษาช้าลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาทกั ษะการใชช้ วี ติ เดก็ ทใ่ี ชเ้ วลาหนา้ จอ ... มากเกินไปจะมีทักษะความสามารถในการใช้ชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย นอ้ ยลง เชน่ การผกู เชอื กรองเทา้ การขจ่ี กั รยาน หรอื การวา่ ยนำ�้ ผลการวจิ ยั ยงั พบวา่ โทรทศั นส์ ง่ ผลเสยี ตอ่ พฒั นาการของเดก็ เนอื่ งจากเปน็ การสอื่ สาร ทางเดยี ว ทำ� ใหเ้ ดก็ ขาดพฒั นาการดา้ นการสอื่ สาร และความคดิ สรา้ งสรรค์ เด็กก่อนวัยเรียนท่ีดูโทรทัศน์มากเกินกว่าการเล่นตามปกติมีแนวโน้มที่ จะสร้างตัวตอ่ พลาสตกิ ได้นอ้ ยลง 2. ด้านร่างกาย สขุ ภาพรา่ งกายไมแ่ ขง็ แรง เดก็ ทด่ี ทู วี มี ากเกนิ ไปในชว่ งปแี รก ๆ ของวยั เด็กจะมีความเส่ียงเปน็ โรคอ้วน การดูทีวีเพยี งแค่ 1 ชวั่ โมงต่อวนั มีแนวโนม้ มากขนึ้ ถงึ 50 เปอร์เซน็ ตท์ ่ีจะเปน็ โรคอ้วนไดม้ ากกวา่ เด็กท่ีดู ทวี นี อ้ ยกว่า 8 l การบรหิ ารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ลั

กระทบการเรยี น การใช้เวลาหนา้ จอ 4 ช่วั โมงตอ่ วันอาจส่งผลเสยี ต่อการเรียนของเดก็ ยิ่งไปกวา่ น้ัน การใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไปยังส่ง ผลกระทบดา้ นกายภาพตามมา เชน่ ความเมอื่ ยลา้ ของนิ้วมือ คอ หลัง และขอ้ มอื อีกทั้ง เส้นเลือดตาอาจหดตัวลง น�ำไปสปู่ ญั หายุ่งยากอนื่ ๆ ตามมา นอนหลบั ไมส่ นทิ การใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไปสง่ ผลใหค้ ณุ ภาพการนอน แย่ลง การนอนหลับไม่เต็มท่ีหรือนอนหลับไม่สนิทส่งผลต่อการพัฒนาสมอง ของเดก็ และเชอ่ื มโยงสปู่ ญั หาทางกายภาพ เชน่ นำ้� หนกั ตวั นอ้ ยลงหรอื มากขนึ้ กว่าเกณฑ์ปกติ ปญั หาทตี่ ามมาจากการดโู ฆษณา เดก็ ทดี่ โู ทรทศั น์ จะมโี อกาสไดด้ โู ฆษณาทางออ้ ม ซง่ึ มกั จะโฆษณาขนมทข่ี าด โภชนาการท่ีดี กระตุ้นให้เด็กเรียกร้องอยากได้ ท�ำให้เด็ก รบั ประทานอาหารที่ไมม่ คี ุณค่า กอ่ ให้เกิดโรคอ้วน 3. จิตวิทยาทางสงั คมของเด็ก ขาดความสมั พันธ์กบั ผ้คู น การใชเ้ วลาหน้าจอมากเกินไปจะ ทำ� ให้มปี ฏิสัมพนั ธซ์ ึ่งหน้ากบั สมาชกิ ในครอบครวั นอ้ ยลง การไร้ ปฏิสัมพันธโ์ ต้ตอบผ้อู ื่นสง่ ผลใหเ้ ด็กขาดการเรียนร้ทู ี่จะผูกไมตรกี ับผอู้ ่ืน หากปล่อยให้เด็กอยู่ตามล�ำพงั กับโลกดจิ ิทัลอยา่ งต่อเนื่องในระยะยาว เด็กจะมีปญั หาการแยกตวั ออกจากสังคม กา้ วรา้ ว และมีพฤติกรรมตอ่ ต้านสงั คม นอกจากนน้ั การใชเ้ วลาหน้าจอมากเกนิ ไปยังทำ� ให้โอกาสที่ เดก็ จะเล่น หรือทำ� กิจกรรมสร้างสรรคอ์ นื่ ๆ นอ้ ยลงไปในแตล่ ะวนั พฤติกรรมก้าวร้าว การตดิ มือถอื และไม่ไดใ้ ชใ้ นเวลาทต่ี ้องการ มกั เกิดอาการหงุดหงิด ก้าวร้าว เพราะไม่ได้ด่งั ใจ พบได้บอ่ ยกบั เดก็ ที่ ตดิ เลน่ เกมในสมารต์ โฟน Screen Time Management l 9

ผลกระทบจากการใชเ้ วลา หนา้ จอมากเกนิ ไปสำ� หรับผู้ใหญ่ ไมเ่ พียงแตเ่ ด็กเท่าน้ันทไ่ี ด้รับผลกระทบจากการใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไป การใช้ สอ่ื ดจิ ทิ ลั ทมี่ ากเกนิ ไปในวยั ผใู้ หญ่ ทง้ั จากการใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นทที่ ำ� งาน การดโู ทรทศั น์ หรือเล่นแท็บเลต็ ทบี่ ้าน สามารถสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพได้ ผู้ใหญ่จึงควรจ�ำกดั การใช้ เวลาหนา้ จอเช่นเดียวกัน ผลกระทบจากการใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไปมีดงั น้ี • นำ�้ หนักเพ่ิมขึ้น ยงิ่ ใชเ้ วลาหน้าจอนานเทา่ ไร นำ้� หนักกย็ ง่ิ เพ่ิมขึ้น เท่านน้ั การดโู ทรทศั นเ์ พียงแค่ 2 ช่ัวโมงในแต่ละวนั สามารถเพ่ิมความเสย่ี ง ของโรคอว้ น โรคเบาหวาน และโรคหัวใจได้ ทั้งนเี้ กิดจากปัจจยั อืน่ ทเ่ี ช่ือม โยงกนั คือ พฤติกรรมนงิ่ เนือย นอนนอ้ ย และรับประทานของจบุ จิบ ระหว่างการใชเ้ วลาหนา้ จอ • ปัญหาด้านสายตา การจ้องมองหนา้ จอนาน ๆ เปน็ สาเหตุของโรค คอมพวิ เตอรว์ ชิ นั ซนิ โดรม (Computer Vision Syndrome) โรคนจ้ี ะมอี าการ เมอ่ื ยลา้ จากการใชส้ ายตา ตาแหง้ สายตาพรา่ มวั แสบตา สแู้ สงไมไ่ ด้ รวมถงึ อาจปวดศรี ษะ และคลื่นไส้ อาเจยี น • ปวดเมื่อยและเจ็บหลัง ท่าทางการน่ังที่ไม่เหมาะสมเมื่อใช้หน้าจอ สามารถทำ� ใหเ้ กดิ อาการเมอ่ื ยคอ ปวดหลงั ปวดแขน ปวดไหล่ และขอ้ เทา้ เสอ่ื ม การเล่นเกมในมอื ถอื นานเกินไปยงั ส่งผลให้เกิดอาการน้ิวล็อกได้ ซึ่งเกิดจาก การอักเสบของเส้นเอน็ และปลอกหมุ้ เอ็น ทใ่ี ช้ในการงอนิว้ ขอ้ มือตรงบริเวณ โคนนิ้ว ท�ำให้เกดิ อาการปวดบวม • นอนไมห่ ลบั แสงสฟี า้ ทสี่ วา่ งมากจากหนา้ จอมอื ถอื และแทบ็ เลต็ สง่ ผลตอ่ การหลงั่ ฮอรโ์ มนเมลาโทนนิ ทช่ี ว่ ยควบคมุ การนอนหลบั สง่ ผล ใหห้ ลับไดย้ ากขึน้ • ซมึ เศรา้ และวิตกกงั วล คนทต่ี ิดมอื ถือมกั มอี าการซมึ เศร้า หรือวติ ก กงั วลตามมา อนั เนือ่ งมาจากการรอคอย หรือคาดหวังเสยี งโทรศัพท์ หรือ การตอบกลบั ข้อความต่าง ๆ และหากวนั ใดลืมมือถอื มาด้วย จะยิง่ รสู้ ึกเปน็ กังวลมากขน้ึ 10 l การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดจิ ิทลั

• คดิ ชา้ ลง การใชส้ มารต์ โฟนเปน็ เวลานาน จะไดร้ บั รงั สจี ากคลนื่ โทรศพั ท์ ท่แี ผอ่ อกมามากข้ึน ส่งผลต่อระบบประสาท ทำ� ใหเ้ กิดอาการข้างเคยี งตามมา นน่ั คอื ปวดศรี ษะ ปวดไมเกรน การใชห้ นา้ จอเปน็ เวลานานยงั มผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพ ของกระบวนการทางความคิดของสมอง และท�ำใหค้ วามจ�ำถดถอยอกี ด้วย • อายสุ ัน้ การใช้เวลาหนา้ จอนานเกนิ ไปไม่ว่าจะเป็นการดูโทรทศั น์ การใช้ คอมพิวเตอร์ หรือแท็บเล็ตจะท�ำให้สุขภาพด้านหัวใจอ่อนแอลง และเพิ่ม ความเสีย่ งในการเสียชวี ิตมากข้นึ การใชเ้ วลาหน้าจอให้มปี ระโยชน์ นอกเหนือจากการจำ� กัดเวลาหน้าจอส�ำหรับเด็กแลว้ อีกส่งิ หน่งึ ที่ พ่อแมค่ วรจัดสรรใหเ้ ด็ก คอื สอนใหล้ ูกรูจ้ ักการใช้เวลาหน้าจอให้ เกดิ ประโยชน์ ถงึ แมว้ า่ การใชเ้ วลาหนา้ จอบางประเภทจะมลี กั ษณะ สง่ เสรมิ พฤตกิ รรมนงิ่ เนอื ย หรอื เปน็ เพยี งความบนั เทงิ รปู แบบหนง่ึ แตใ่ นบางกรณีการใช้เวลาหน้าจอสามารถใช้เพื่อการศึกษา และ ชว่ ยด้านพัฒนาการของเด็กได้เช่นกัน การเล่นดจิ ิทลั (Digital Play) คอื กจิ กรรมการเลน่ รูปแบบใหม่ทีเ่ ด็กตอ้ งใชค้ วามตงั้ ใจและพลงั งาน ในการเล่นโดยมีการโต้ตอบกับส่ือและเน้ือหาในอุปกรณ์ดิจิทัล การเล่นดิจิทัลจะเป็นการใช้เวลา หนา้ จอทม่ี ปี ระโยชนส์ ำ� หรบั เดก็ หากอยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของผปู้ กครองไปพรอ้ มกนั เชน่ การเลน่ วดิ โี อ หรอื คอมพวิ เตอรเ์ กมทมี่ กี ารโตต้ อบ รวมถงึ ของเลน่ ดจิ ทิ ลั (Digital Toys) ทต่ี อ้ งใชท้ กั ษะในการวเิ คราะห์ หรอื มกี ารขยบั เขยอื้ นรา่ งกาย หรอื มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ผเู้ ลน่ คนอนื่ หรอื เลน่ เกมฝกึ ภาษา การเลน่ ดจิ ทิ ลั สามารถกระตนุ้ การเรยี นรแู้ ละสรา้ งสรรคใ์ หเ้ ดก็ ไดไ้ มน่ อ้ ย แตก่ ารให้ เดก็ เลน่ ดจิ ทิ ลั ภายใตก้ ารดแู ลของพอ่ แมจ่ ะทำ� ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประโยชน์ จากการเลน่ มากกวา่ การปลอ่ ยใหเ้ ดก็ เลน่ ตามลำ� พงั พอ่ แมค่ วรเขา้ มา มีส่วนร่วมในการเลน่ ของลกู และรว่ มเล่นสนกุ ไปกบั เด็ก ๆ คอยให้ ความรแู้ ละเสรมิ ทักษะต่าง ๆ ท่ีได้รับจากกจิ กรรมหนา้ จอ เพ่อื น�ำ ไปใช้ในชีวติ จรงิ Screen Time Management l 11

พอ่ แม่มสี ว่ นรว่ มในการเล่น และช่วยลูกในการเลือกเล่นหรือดรู ายการคณุ ภาพ พอ่ แมม่ สี ว่ นรว่ ม ชว่ ยอธบิ ายลกั ษณะและเนอ้ื หาของการเลน่ หรอื ของรายการนน้ั ๆ เด็กไดเ้ ลน่ หนา้ จอดิจิทัลทเ่ี นื้อหามีคุณภาพ และสรา้ งสรรค์ เช่น เกมแก้ปญั หาที่ช่วยสง่ เสริมพฒั นาการของเด็ก พ่อแม่สง่ เสรมิ การเลน่ ดิจทิ ลั โดยใหเ้ ดก็ สร้างไอเดยี ใหม่ ๆ สำ� หรบั การเลน่ ในชีวติ จรงิ เชน่ ลองให้เด็กเล่นเกมการออกแบบตกึ รามบ้านชอ่ งบนสมดุ วาดภาพ พ่อแม่สนบั สนุนการเล่นหนา้ จอโดยให้เดก็ ไดเ้ รยี นรู้ทักษะใหม่ ๆ เช่น การทำ� คลปิ ทอ่ งเทยี่ วของครอบครวั ชว่ ยใหเ้ ดก็ เรยี นรทู้ กั ษะการเลา่ เรอ่ื ง และการตดั ตอ่ ขอ้ แนะนำ� สำ� หรับ พ่อแมแ่ ละผ้ปู กครอง • เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี พอ่ แมค่ วรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการใชเ้ วลาหนา้ จอใหก้ บั ลกู ดว้ ยการไมใ่ ชม้ อื ถอื หรอื แท็บเล็ตในชว่ งเวลาของครอบครวั • จัดสรรอย่างมีระบบ ผู้ปกครองควรจดั สรรการใชเ้ วลาหน้าจออย่างมแี บบแผน ใหก้ ับเด็ก เช่น ให้เด็กใชเ้ วลาหนา้ จอในระยะเวลาท่ีเทา่ กันในแต่ละวนั เช่น ครึ่ง ชั่วโมงในตอนเช้า และอีกครึ่งชัว่ โมงในตอนค�่ำ 12 l การบริหารจัดการเวลาบนโลกดจิ ิทัล

• ปดิ โทรทศั นเ์ มอ่ื ไมไ่ ดใ้ ช้ หลกี เลยี่ งการเปดิ โทรทศั นท์ ง้ิ ไว้ และทำ� กจิ กรรมอนื่ ไปพรอ้ มกนั เมอ่ื ไมไ่ ดใ้ ช้ ควรปดิ โทรทัศน์ เพ่ือไม่ใหโ้ ทรทศั นห์ นั เหความสนใจในขณะทสี่ มาชกิ ในครอบครวั ทำ� กจิ กรรมอน่ื • สนบั สนนุ กจิ กรรมเคลอื่ นไหวอนื่ ๆ พอ่ แมค่ วรเปน็ แบบอยา่ งและแนะนำ� ทางเลือกท่ีดีต่อสุขภาพ เช่น เล่นกลางแจ้ง อ่านหนังสือ ทำ� งานฝมี อื เลน่ เกมอนื่ ๆ • สรา้ งสรรคก์ จิ กรรมทท่ี า้ ทายใหล้ กู สนบั สนนุ ของเลน่ ทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และความอยากรอู้ ยากเหน็ ของเดก็ เชน่ งานฝมี อื งานดนิ นำ�้ มนั ตวั ตอ่ พลาสตกิ จกิ ซอว์ หรอื ชนิ้ สว่ นทถ่ี อดประกอบได้ • มสี ว่ นรว่ มในชวี ติ ของเดก็ ถามคำ� ถาม ฟงั เรอื่ งราว สงั เกต และใหค้ วามเหน็ กบั กจิ กรรมการเลน่ อน่ื ๆ ทไ่ี มใ่ ชก่ จิ กรรมหนา้ จอของพวกเขา • จัดสรรเวลาร่วมกันในครอบครัว จัดสรรเวลาช่วงหน่ึงในแต่ละวันเล่น กับเด็ก มีปฏิสัมพันธ์ และสื่อสารกันโดยเป็นช่วงเวลา “ปลอดดิจิทัล” เชน่ ช่วงรับประทานอาหารเย็น เท่ยี วนอกบา้ นดว้ ยกนั เลน่ กฬี าด้วยกนั • กำ� หนดเวลางดเลน่ หนา้ จอ แบง่ ชว่ งเวลาในแตล่ ะวนั ใหเ้ ปน็ เวลาทไ่ี มใ่ ช้ อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั เชน่ ชว่ งมอื้ อาหารของครอบครวั ชว่ งการเลน่ เกมกบั ครอบครวั ตอนหวั คำ�่ และกอ่ นเขา้ นอน • แยกแยะส่อื ให้เปน็ พ่อแมค่ วรรู้ว่ารายการโทรทัศน์หรอื เกมดจิ ิทลั ใด มีเนอื้ หาเพ่ือการศกึ ษาหรอื เพื่อสนั ทนาการ สอ่ื นนั้ ๆ มคี ณุ ภาพหรอื ไรค้ ณุ ภาพ และรจู้ กั สง่ เสรมิ การใช้ ทักษะจากการเลน่ บนหนา้ จอดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นชวี ติ จรงิ Screen Time Management l 13

อพปุ ฤสหตรนกิ รา้รคจรใอนมขกกอาางรรเใเปชด้เล็กวีย่ ลนา พ่อแม่และเดก็ ยงั ไม่ตระหนกั พอ่ แมร่ วู้ า่ ตนเองเปน็ ตวั อยา่ งไมด่ ี พอ่ แมป่ ระเมนิ ผลกระทบของ ถงึ ผลเสยี ทเี่ กดิ จากการใชเ้ วลา ใหแ้ ก่ลูกในการใชเ้ วลาหนา้ จอ สอ่ื ดจิ ทิ ลั ตอ่ เดก็ ตำ�่ เกนิ ไป หนา้ จอมากเกินไป เชน่ การดโู ทรทศั น์ และมี พฤตกิ รรมนง่ิ เนอื ย แตล่ งั เลทจี่ ะ เปลี่ยนพฤตกิ รรมของตนเองใน การลดการใชเ้ วลาหน้าจอ พอ่ แมต่ อ้ งพง่ึ พาโทรทัศนห์ รอื พอ่ แม่เชื่อวา่ ชว่ งสดุ สปั ดาห์ พอ่ แมไ่ มม่ ีทางเลือกอื่นใหล้ ูก แทบ็ เลต็ เป็นเครือ่ งมอื หันเห เดก็ นา่ จะไดเ้ ล่นในส่ิงท่ี นอกจากการใหล้ ูกเลน่ หนา้ จอ ความสนใจของเด็ก เพือ่ ตนเอง เขาต้องการ จะได้ทำ� งานในบา้ นไดส้ ะดวก พ่อแม่ไวใ้ จการใชอ้ ุปกรณด์ จิ ิทลั พ่อแมไ่ มเ่ คยกำ� หนดวินยั วา่ เปน็ เครอื่ งมอื ฝกึ ทกั ษะใหม่ ๆ ในการใชเ้ วลาหนา้ จอใหก้ ับ ให้แกเ่ ด็ก และชื่นชมวา่ การเล่น ดิจิทลั ท�ำใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการ สมาชกิ ในครอบครวั ดีกว่าการเล่นแบบอน่ื 14 l การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทัล

แนวทางการบริหาร จัดการกจิ กรรมหนา้ จอ ครอบครวั มบี ทบาทสำ� คญั ในการบรหิ ารจดั การกจิ กรรมหนา้ จอของเดก็ ดว้ ยแนวทางงา่ ย ๆ เรยี กวา่ “3 Ps” (Plan -Power off - Play) ดงั นี้ 1 lan สมาชิกในครอบครัวร่วมมอื กนั จ�ำกดั เวลาใช้เวลาหน้าจอ • พอ่ แมต่ อ้ งเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ขี องการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร • ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการใช้เวลาหนา้ จอของสมาชิกทุกคน ในครอบครัวร่วมกัน โดยเร่ิมจากการพูดคุยกับลูกเพื่อ สอบถามถงึ สอ่ื และเนอ้ื หาทใ่ี ชง้ าน การปรบั เปลย่ี นควรคำ� นงึ ถงึ ความเหมาะสมของสมาชกิ แต่ละคนในแต่ละครอบครวั โดยพจิ ารณาจากอายุ และลกั ษณะการใช้งาน • พอ่ แม่ควรวางแผนร่วมกับลูกในการจัดสรรเวลาการใช้เวลาหนา้ จอ (Co-create Rules) อธบิ าย ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจวา่ วนิ ยั ทต่ี ง้ั ขน้ึ มาเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั พวกเขา เพอื่ ลดพฤตกิ รรมตอ่ ตา้ น รวมถงึ สรา้ ง ทศั นคตทิ ่ดี ใี นการปฏบิ ตั ิตาม • ไม่ควรใช้อุปกรณ์ดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือดึงดูดความสนใจของเด็กเล็กในช่วงที่พ่อแม่ไม่ว่าง ควรจัด เตรียมกจิ กรรมการเลน่ แบบอื่นไว้ให้ • ร่วมกันก�ำหนดช่วงเวลางดใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในบางช่วงของวัน หรือ “ช่วงเวลาครอบครัว” เช่น ช่วงรับประทานอาหาร • พอ่ แมค่ วรสนบั สนนุ ใหล้ กู ทำ� กจิ กรรมทมี่ กี ารเคลอ่ื นไหว การออกกำ� ลงั กาย งานอดเิ รก หรอื กจิ กรรม สร้างสรรค์ตา่ ง ๆ มากกว่าการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต Screen Time Management l 15

2 ower Off งดใชอ้ ุปกรณ์ดิจิทัลใน ชว่ งเวลาส�ำคญั ของวัน • สรา้ งตารางการใชเ้ วลาหนา้ จอสำ� หรบั สมาชกิ แตล่ ะคน เพอื่ ตดิ ตามดวู า่ สมาชิกแตล่ ะคนใชเ้ วลาหนา้ จอในแต่ละวนั นานเทา่ ไร • ก�ำหนดช่วงและระยะเวลาของกิจกรรมการใช้เวลาหน้าจอของเด็ก แต่ละคนใหป้ ฏิบตั ิตาม เมื่อถึงเวลาต้องหยดุ ใชห้ นา้ จอ ควรสนับสนนุ ให้เดก็ หยุดเล่น และมอบอปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั ใหก้ บั พ่อแมด่ ้วยตนเอง • ช่วงเวลาท่ีกำ� หนดให้งดเลน่ หนา้ จอ ควรให้เด็กได้ออกแบบหรอื แสดง ความคดิ เหน็ วา่ พวกเขาตอ้ งการทำ� สงิ่ ใด หรอื อยากเลน่ อะไรแทนการเลน่ อุปกรณ์ดจิ ทิ ัล • จัดบา้ นใหม่ เพอื่ ลดการใชอ้ ุปกรณห์ น้าจอในบางพืน้ ทข่ี องบ้าน เช่น ห้องรับประทานอาหาร ห้องนัง่ เล่น หรอื ห้องนอน (Tech-free Spaces) • เก็บอุปกรณ์ดิจิทัลในหอ้ งนอนของเดก็ และจ�ำกัดการใชง้ านในช่วงก่อนการเขา้ นอน • ปรับเปล่ยี นวิดโี อเกมทไี่ มม่ ีการโต้ตอบ ด้วยเกมทมี่ กี ารโต้ตอบหรอื มีการเคลอ่ื นไหวร่างกายของ ผเู้ ล่นแทน เพ่อื ลดพฤตกิ รรมนง่ิ เนือย 3 สร้างสมดุลระหวา่ งกจิ กรรมการใชเ้ วลาหน้าจอกบั lay การเล่นสร้างสรรคอ์ ่นื ๆ เพ่อื ไม่ให้เด็กพงึ่ พาเทคโนโลยี มากเกนิ ไป โดยทง้ั การเลน่ ดจิ ทิ ลั และการเลน่ แบบสรา้ งสรรค์ ต้องชว่ ยสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และการมปี ฏิสมั พนั ธข์ องเด็ก • การเลน่ อสิ ระกลางแจง้ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ออกไปเลน่ และ เรยี นรอู้ ยา่ งอสิ ระทา่ มกลางธรรมชาติ เดก็ อาจจะวง่ิ เลน่ ในสนามหญา้ สวนสาธารณะ และไดส้ มั ผสั กบั ธรรมชาติ รอบตวั หรอื เลน่ สนกุ กบั เดก็ วยั เดยี วกนั • กิจกรรมเพื่อสุขภาพร่างกาย หาของเล่นหรือเกม สร้างสรรค์ไว้ในห้องที่มีโทรทัศน์หรืออุปกรณ์ดิจิทัล เพื่อเปน็ ทางเลอื กใหเ้ ดก็ เช่น ตัวตอ่ เลโก้ ดินน�ำ้ มัน หนงั สือภาพ ดนิ สอสี ตกุ๊ ตา หุ่นยนต์ • การมปี ฏสิ ัมพันธท์ างสังคม ในชว่ งเวลาทกี่ �ำหนดใหง้ ดเล่นหน้าจอของทกุ คนในครอบครัว ควรหา กจิ กรรมอน่ื ทส่ี มาชกิ ทกุ คนสามารถใชเ้ วลารว่ มกนั เชน่ เลน่ ดว้ ยกนั หรอื ชวนเพอื่ นบา้ นหรอื เพอื่ น ๆ ของลกู มาเลน่ ดว้ ยกันทบี่ า้ น 16 l การบรหิ ารจดั การเวลาบนโลกดจิ ทิ ลั

ขอ้ แนะนำ� ส�ำหรับผใู้ หญ่ ในการสร้างทกั ษะการบรหิ าร จัดการเวลาหน้าจอ ไมเ่ พยี งแตเ่ ดก็ เทา่ นน้ั ผใู้ หญแ่ ละวยั ทำ� งานกจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งรจู้ กั การบรหิ ารจดั การเวลาหนา้ จอ โดยมวี ธิ ี งา่ ย ๆ ดงั น้ี ไมใ่ ช้เวลาหน้าจอหรอื ลดการใช้เวลาหนา้ จอ ลดการพดู คยุ กบั เพอื่ นฝงู ปดิ อปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั ในหอ้ งนอนหรือกอ่ นนอน ผา่ นสื่อโซเชียล ตดิ ตอ่ พูดคุย เนอื่ งจากอาจสง่ ผลตอ่ ทางโทรศพั ท์ และนัดพบกนั ขณะรับประทานอาหาร โดยเฉพาะมอื้ อาหารหลกั การนอนหลบั ในชีวิตจริงใหม้ ากขนึ้ ก�ำหนดระยะเวลาในการใช้ หากร้สู ึกเบ่ือ ควรหางานอดิเรก เมื่อตอ้ งการสืบคน้ ข้อมลู สื่อสังคมออนไลน์ การเล่น อนื่ ๆ ท�ำแทนการใช้เวลา ลองพิจารณาการคน้ หาทาง โซเชยี ลมีเดยี อาจท�ำให้ หนา้ จอ สอื่ อื่นนอกจากสื่อออนไลน์ เช่น เพลดิ เพลินจนลืมเวลา การตั้ง จากหนังสือในหอ้ งสมดุ หรอื เวลาในการใช้งานจะช่วยจ�ำกดั เวลาการใช้เวลาหน้าจอสำ� หรับ โทรสอบถามจากเพ่อื น การเลน่ โซเชยี ลมเี ดยี ได้ หรอื ผู้เชี่ยวชาญ หากจ�ำเป็นต้องใชห้ น้าจอเปน็ เวลานาน ติดตอ่ กนั ควรหยุดพกั สายตาเป็นระยะ และขยับร่างกายไม่ให้นิง่ เนือยจนเกนิ ไป Screen Time Management l 17

การมสี ่วนรว่ ม ของภาคส่วนตา่ ง ๆ • ภาคสว่ นวชิ าการควรจดั ท�ำองคค์ วามรู้เรือ่ งการรู้เทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั สำ� หรบั เดก็ (Media Information and Digital Literacy - MIDL) เพ่ือหาโมเดลการเปลี่ยนพฤติกรรมท่ีเหมาะสมส�ำหรับเด็กไทยในการลด กจิ กรรมหนา้ จอ และวธิ กี ารทผ่ี ปู้ กครองจะใชเ้ ทคโนโลยกี บั เดก็ เลก็ • หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของภาครฐั และเอกชนควรสรา้ งความตระหนกั รู้ ถงึ ผลกระทบของการใชเ้ วลาหนา้ จอมากเกนิ ไปทม่ี ตี อ่ เดก็ พรอ้ มทงั้ เผยแพรค่ ำ� แนะนำ� ในการจดั การบรหิ ารเวลาหนา้ จอใหเ้ หมาะสม แกเ่ ดก็ แตล่ ะวัย • โรงเรยี นและสถานศกึ ษาควรมสี ว่ นรว่ มในการใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ เร่อื งการจดั การบรหิ ารเวลาหน้าจอแก่เดก็ และผูป้ กครอง และเป็น แบบอยา่ งทดี่ ใี นการจดั กจิ กรรมเพอื่ ลดการใชเ้ วลาหนา้ จอในสถานศกึ ษา รวมถึงการสง่ เสรมิ การเล่นท่สี ร้างสรรค์ให้แก่เดก็ ทกั ษะการบรหิ ารจดั การเวลาหนา้ จอ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ทพ่ี ลเมอื งดจิ ทิ ลั ควรไดฝ้ กึ ฝนเพอ่ื การใชเ้ ทคโนโลยี อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ ไมเ่ สพตดิ ไอทหี รอื หมกมนุ่ อยแู่ ตใ่ นโลกออนไลน์ มคี วามตระหนกั ถงึ ผลกระทบ ของการใชส้ อื่ ดจิ ทิ ลั ทมี่ ากเกนิ ไป การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งชาญฉลาดจะชว่ ยใหพ้ ลเมอื ง ดจิ ทิ ลั รจู้ กั การสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ ดจิ ทิ ลั กบั ชวี ติ จรงิ พรอ้ มทง้ั รจู้ กั การรกั ษาปฏสิ มั พนั ธท์ าง สงั คมกับครอบครัวและคนรูจ้ ัก และหลีกเลี่ยงผลกระทบอันเกิดจากการใช้เวลาหนา้ จอมากเกินไป 18 l การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ิทลั

เอกสารอา้ งองิ เด็กติดเกมพุง่ 5 ขวบลยุ แล้ว ถา้ ไม่ได้เล่น ‘หงดุ หงดิ กา้ วร้าว [online]. แหลง่ ทีม่ า https:// www.dailynews.co.th/politics/626717 [12 กมุ ภาพันธ์ 2562] ถิรนันท์ อนวชั ศริ วิ งศ์, พริ ุณ อนวัชศริ วิ งศ์ (2561). MIDL for Kids: การรเู้ ท่าทันสอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ัลสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั . สถาบันส่อื เด็กและเยาวชน เปน็ ครง้ั แรก! องคก์ ารอนามัยโลก ออกคมู่ อื แนะนำ� การใชเ้ วลาหนา้ จอของเดก็ [online]. แหลง่ ทีม่ า https://www.themomentum.co/screen-time-guidelines-for-kids-by-world- health-organization/?fbclid=IwAR3RWJGBCftyDSaBOpxeBYL9GfiWPyqJX74OZ0K0Cc Wu1Mu2hZKgAeSbTG4 [30 พฤษภาคม 2562] เพลงมนตรา บุบผามาศ. ถอดรหัส ‘พลเมืองเนต็ ’ ของเด็กๆ เจเนอเรชนั่ อลั ฟ่า [online]. แหลง่ ที่มาhttps://voicetv.co.th/read/S1FlT0-NM [12 กุมภาพันธ์ 2562] พรมแดนสอื่ ใหม่. ทกุ วนั นี้คณุ หยิบโทรศัพทข์ ึ้นมาดวู นั ละกี่คร้งั ? [online]. แหล่งท่ีมา https:// mgronline.com/columnist/detail/9590000093155 [13 กมุ ภาพันธ์ 2562] โสภดิ า วีรกลุ เทวัญ (2561). เทา่ ทนั ส่ือ: อำ� นาจในมอื พลเมืองดจิ ิทลั . สถาบันส่ือเด็กและเยาวชน 11 Easy Ways to Reduce Your Screen Time [online]. แหลง่ ทม่ี า https://interestingengineering .com/11-easy-ways-to-reduce-your-screen-time [30 พฤษภาคม 2562] Caileigh Flannigan. How Much Screen Time is Too Much for Kids? [online]. แหลง่ ทม่ี า https://www.fix.com/blog/kids-and-screen-time/ / [10 กุมภาพันธ์ 2562] Napapon. เจาะลกึ พฤตกิ รรมการใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็ ของ คนไทย ม.ค. 2018 แบบละเอยี ดยบิ [online]. แหลง่ ทม่ี า https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/ [11 กมุ ภาพันธ์ 2562] Screen Time Management l 19

Power off and play! Aboriginal Health Centre [online]. แหลง่ ทมี่ าhttps://aboriginal healthcentre.com/wp/wp-content/uploads/2018/01/MOH_HK4_AODA-P-and-C-fact-sheet _FINAL_eng_20171129.pdf [13 กมุ ภาพนั ธ์ 2562] Screen time: what is it? How much is OK? [online]. แหลง่ ทม่ี า https://raisingchildren.net.au/ school-age/play-media-technology/screen-time-healthy-screen-use/screen-time [13 กมุ ภาพนั ธ์ 2562] The Effects too Much Screen Time has on Your Health [online]. แหลง่ ทมี่ า https:// www.carewellurgentcare.com/2018/07/19/the-effects-too-much-screen-time-has-on- your-health/ [10 กมุ ภาพันธ์ 2562] 20 l การบริหารจัดการเวลาบนโลกดจิ ทิ ลั



การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management) พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2562 จ�ำนวนการพิมพ์ : 2,000 เล่ม เขียนและเรียบเรียง : ดร.สรานนท์ อินทนนท์ บรรณาธิการ : เข็มพร วิรุณราพันธ์, ลักษมี คงลาภ ฝ่ายศิลป์/ออกแบบรูปเล่ม : อรสุมน ศานติวงศ์สกุล จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่งเสริมส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.) 6/5 ซอยอารีย์ 5 พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-617-1919 E-mail : [email protected] Website : www.childmedia.net พิมพ์ที่ : บรษิ ทั วอลค์ ออน คลาวด์ จ�ำกัด 77/62 หมู่ 6 หมบู่ ้านแกว้ ขวญั 1 ถนนลำ� ลูกกา11 ต�ำบลคูคต อำ� เภอล�ำลกู กา จังหวดั ปทมุ ธานี 12130 โทรศัพท์ 02-987-4031 แฟกซ์ 02-987-4913 E-mail : [email protected]