Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SARโรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ

SARโรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ

Published by krathin73, 2020-08-21 03:42:12

Description: SARโรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ

Keywords: SAR

Search

Read the Text Version



ก คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 โรงเรียนบา้ นแม่สุขวังเหนือ ฉบบั นี้ จัดทาขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่ง รายงานการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานตน้ สังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทกุ ปี เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็น ผลสาเร็จจากการบริหารจัดการที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารจัดการ การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ และระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เพ่ือนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปี ที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และ เตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา (องค์กรมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และผู้มีส่วน เก่ียวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้พัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นบา้ นแมส่ ุขวังเหนือ ในปีการศึกษา 2563 ต่อไป โรงเรียนบ้านแม่สุขวงั เหนอื 31 มีนาคม 2563

สำรบัญ ข เร่ือง หน้ำ คานา ก สารบญั ข บทสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา 4 สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 11 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล และแนวทางการพัฒนา 26 สว่ นที่ 4 ภาคผนวก 33 - ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 47 - คาสัง่ 50 - ภาพกจิ กรรม 56 เกียรติบตั รระดบั ชาติ

1 บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหำร โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ ท่ีอยู่ 50 หมู่ 7 ตาบลวังซ้าย อาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 จัดการศึกษาในระดับชั้น อนุบาล 2 ถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 มีจานวนนักเรียน 103 คน มีจานวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 11 คน (ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2563) ระดับปฐมวัย ระดบั คุณภาพ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษา : ดีเลศิ ดีเลศิ ดเี ลิศ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั จุดเด่น คุณภำพของเดก็ โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้าน สติปัญญาโดยได้นาการเรียนการสอนแบบเน้นเด็กเป็นสาคัญมาใช้สอนนักเรียน นอกจากน้ันยังมุ่งม่ันท่ีจะ พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี พัฒนาการทั้ง 4 ด้านให้เหมาะสมกับวัย ได้รับรู้และเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่าน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และสามารถ เคล่ือนไหวร่างกายได้อย่างเต็มที่ตามความสามารถของตนเอง ใช้ภาษา สือ่ ความหมายและความคิด รู้จกั สังเกต สามารถสนทนาโต้ตอบสื่อความหมายได้มากข้ึน สามารถ ใช้ภาษา บอกความต้องการของตนเองได้ สามารถคิด แก้ปัญหาด้วยตนเอง และสามารถคิดตัดสินใจได้ ด้วยตนเอง แสดงความคิดและจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบอกเล่าเร่ืองราวต่าง ๆ ของตนเองได้ มีการ แสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึกที่เหมาะสมกับวัย มีความสุข ร่าเริง แจ่มใส มีความรู้สึกท่ีดีกับตนเอง และมีความเช่ือม่ันในตนเอง มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนๆ และส่ิงแวดล้อม ต่างๆ รอบตัว มีการใช้ ชีวิตประจาวัน และได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นอย่างเป็นอิสระ สามารถเล่นร่วม กลุ่มกับผู้อ่ืนได้ รจู้ กั แบ่งปนั หรือให้ และรูจ้ ักการรอคอย สามารถใช้กล้ามเน้ือมัดเล็กมดั ใหญป่ ระสานสมั พันธ์กนั เป็น อย่างดี มีนา้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ สามารถรบั ประทานอาหารครบหมู่มีสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ห้องเรียนท่มี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน โดยมีการจดั สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอกให้ เออ้ื อานวยต่อความสะดวกและความปลอดภยั ต่อการใช้งานสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

2 กำรจดั ประสบกำรณ์ทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั เดก็ ได้รบั ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัตอิ ย่างมคี วามสุขโดยทีค่ รูจดั ประสบการณ์ทีเ่ ชอ่ื มโยงกบั ประสบการณเ์ ดิมของเด็ก โดยมีการออกแบบกิจกรรมใหเ้ ชื่อมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ของเด็กและเพิ่มเติม ส่งิ ท่ีเด็กควรรู้ตามชว่ งวยั ผ่านการออกแบบการจดั กิจกรรมในแผน การจัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรยี น ตา่ งๆ ท่ไี ด้ผา่ นการวิเคราะหห์ ลกั สูตรปฐมวัย ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ และสอดคลอ้ งกบั ความแตกต่างระหว่าง บุคคลของเด็กปฐมวัย โดยเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้เลือกทากจิ กรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ และความสามารถของแต่ละบุคคล จดุ ท่คี วรพัฒนำ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ ช่วยเน้นความสามารถใน การเรียนรู้และการพัฒนาเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ โดยการให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน กิจกรรม ได้ปฏิบัติด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการประเมินผล โดยครูลดบทบาทจากผู้สอนลงเป็นผ้อู านวย ความสะดวกแทน ระดับกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน ระดบั คุณภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ดี มาตรฐานการศึกษา : ดี ดเี ลศิ มาตรฐานการศึกษา ดี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั จุดเดน่ คณุ ภำพของผ้เู รียน 1) ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงขึ้น และนักเรียนกล้าแสดงออกร่าเรงิ แจม่ ใส สุขภาพกาย แข็งแรงและเปน็ ผูม้ ีคุณธรรม จริยธรรมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 2) ผูเ้ รียนอ่านหนังสือออกและอา่ นคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพือ่ การส่ือสารไดท้ ุกคน สามารถ ใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองสง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนอยใู่ นระดับดี มคี ะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกวา่ ระดบั ชาติ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

3 3) ผู้เรียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์มีระเบียบ วนิ ยั เป็นทีย่ อมรับของชมุ ชนโดยรอบในเร่ืองความมวี นิ ัยเคารพกฎกติการะเบียบของสังคม กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร รว่ มในการจดั การศกึ ษาให้เกิดผลดมี ปี ระสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผ้ปู กครอง และ ชมุ ชนเปดิ โอกาสให้ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เขา้ ร่วมดาเนนิ กิจกรรมต้ังแตก่ ารศึกษาปัญหาการวางแผนดาเนินการ การตัดสินใจ การแกป้ ัญหา และการประเมินผลร่วมกัน โดยยึดหลักการมสี ่วนร่วม คือ ร่วมคิด รว่ มทา ร่วมตรวจสอบ รว่ มรับผดิ ชอบ ตามรูปแบบการบรหิ ารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลศิ โดยใช้ P@MAESUK MODEL เปน็ นวัตกรรมหลักส่งผลให้โรงเรยี นมเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ท่ี กาหนดไวช้ ัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี นตามความต้องการของชุมชน วตั ถุประสงคข์ องแผนการจดั การศึกษาของ ชาติ นโยบายของรฐั บาลและตน้ สงั กัด ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสังคม พฒั นางานวิชาการเนน้ คุณภาพ ผู้เรียนรอบดา้ น ตามหลกั สูตรสถานศึกษา และสง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญ ตรงตามความต้องการ ใหเ้ ป็นชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ มาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นรขู้ อง ผูเ้ รียน กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั 1) ครพู ฒั นาตนเองอยู่เสมอมีความตงั้ ใจ ม่งุ มั่นในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอย่างเตม็ เวลาและ ความสามารถ 2) ครูจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง 3) ครใู ห้นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ 4) ครจู ัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนเรียนร้จู ากการคิดได้ปฏิบัตจิ ริงด้วยวิธกี ารและแหลง่ เรยี นรู้ หลากหลาย จดุ ควรพฒั นำ คุณภำพของผู้เรียน การจดั กจิ กรรมที่มุ่งเนน้ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ยังขาดการปฏิบัติท่ตี ่อเนื่อง จริงจงั การยกระดับ ผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระประสบผลสาเร็จในระดบั หนง่ึ ผู้เรยี นสว่ นใหญ่ยังตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธริ์ ะดับชาติของผู้เรียนมีแนวโนม้ เปลย่ี นแปลงพฒั นาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑใ์ นบางกล่มุ สาระ การเรยี นรู้ จงึ ต้องมุ่งเน้นพัฒนาตอ่ ไป กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร โรงเรยี นควรจัดใหม้ หี ้องปฏบิ ตั ิการทางภาษาทเ่ี พียงพอและเหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นรู้ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรนาภูมิปัญญาท้องถน่ิ ใหเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ และการให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพ่ือนักเรยี นนาไปใช้พัฒนาตนเอง

4 สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐำนของสถำนศกึ ษำ 1.1 ขอ้ มูลท่วั ไป โรงเรียนบ้านแม่สุขวงั เหนอื ทอ่ี ยู่ 50 หมู่ 7 ตาบลวงั ซา้ ย อาเภอวงั เหนอื จงั หวดั ลาปาง รหสั ไปรษณีย์ 52140 โทรศัพท์ : 054-279238 E-mail : [email protected] website : Banmaesukwangnua.com facebook : https://www.facebook.com/maesook.s สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 เปิดทาการสอนตงั้ แต่ระดับช้ัน อนบุ าล 2 – ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ในปกี ารศึกษา 2562 มนี ักเรยี นจานวน 103 คน มขี ้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา จานวน 12 คน โดยมี นางสมหมาย พงษ์กองเงนิ เป็นผอู้ านวยการโรงเรยี น โรงเรียนบ้านแมส่ ขุ วงั เหนอื มีเนือ้ ที่ 13 ไร่ 3 งาน 54 ตารางวา เขตพนื้ ที่บรกิ าร 3 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ บา้ นแม่สุขเหนือ บา้ นแม่สุขปา่ สกั และบา้ นแม่สุขวัง โรงเรยี นอยหู่ า่ งจากสานักงานเขตพนื้ ที่ การศึกษาลาปางเขต 3 ไปทางทศิ ใต้ ระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร วิสัยทศั น์ นักเรียนโรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือมีความรู้คู่คุณธรรม นาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ พึ่งตนเองได้ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง โดยชมุ ชนมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ปรัชญำ โยคาเว ชายเต ภรู ิ หมายถึง ปัญญายอ่ มเกดิ ข้นึ เพราะการฝกึ ฝน พนั ธกิจ 1. สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลกั ษณะอันทึกประสงค์ 8 ประการ 2. ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนใหส้ งู ขึน้ 3. ส่งเสริมใหน้ ักเรียนสามารถอ่านออก เขียนได้ 4. พัฒนาครใู ห้สามารถยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง 5. ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหช้ มุ ชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการพัฒนาและการจัดการศกึ ษา 6. สง่ เสริมสนับสนนุ ใหน้ ักเรียนรักการออม 7. พฒั นาอาคารสถานที่และภมู ิทัศน์ใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ เปำ้ หมำย 1. นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณลักษณะอนั ทึกประสงค์ 8 ประการ 2. นักเรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้ึนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3 3. นักเรียนทุกคนมีทักษะการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน เป็นคนดมี คี วามรู้และอย่ใู นสังคมได้อย่างมี ความสขุ 4. ครูมีความรู้ความสามารถและทักษะตามสมรรถนะและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานวชิ าชพี 5. ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการบริหารและการจดั การศึกษา

5 6. นักเรียนมคี วามตระหนัก เห็นคณุ คา่ และเข้าร่วมกิจกรรมการออมทรัพย์ 7. โรงเรยี นเป็นแหล่งเรยี นรู้ทมี่ ีคุณภาพ น่าดู นา่ อยู่ น่าเรยี น 1.2 ข้อมูลบคุ ลำกรของสถำนศึกษำ 1) จานวนบุคลากร บุคลากร ผบู้ ริหาร ข้าราชการครู พนกั งาน ครอู ตั ราจ้าง เจ้าหน้าที่ รวมทง้ั หมด จานวน 1 5 ราชการ 4 อ่ืนๆ 11 - 1 2) วุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบุคลากร ตา่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมท้งั หมด ปรญิ ญาตรี จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ - - 8 72.73 3 27.27 - - - - 3) สาขาวชิ าทจี่ บการศกึ ษาและภาระงานสอน สาขาวิชา จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สัปดาห์) 1. บริหารการศึกษา 2 2. คณิตศาสตร์ - 25 3. วทิ ยาศาสตร์ 1 4. ภาษาไทย 1 25 5. ภาษาองั กฤษ 1 25 6. สังคมศกึ ษา - 25 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี - 8. ศลิ ปะ - 30 9. ปฐมวัย 1 25 10 อ่นื ๆ…………………………… 5 11 รวม

6 1.3 ขอ้ มูลนกั เรยี น จานวนนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562 รวม 103 คน (ข้อมลู 10 มถิ นุ ายน 2562) ระดบั ช้นั เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี ตอ่ ห้อง ชำย หญิง 14 9 อบ.2 1 9 5 14 12 21 อบ.3 1 3 6 9 14 7 ป.1 1 6 6 12 9 17 ป.2 1 9 12 21 ป.3 1 11 3 14 ป.4 1 6 1 7 ป.5 1 5 4 9 ป.6 1 9 8 17 รวมทั้งหมด 8 58 45 103 1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นระดบั สถำนศึกษำปกี ำรศกึ ษำ 2562 ระดับปฐมวยั รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ พัฒนาการแตล่ ะดา้ นในระดบั 3 ข้นึ ไป ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนด้าน ครบท้งั 4 ดา้ น ระดบั ชนั้ จานวนนักเรยี น 13 รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา 8 22 อ.2 14 14 14 14 13 95.65 อ.3 9 9 9 98 รวม 23 23 23 23 22 รอ้ ยละ ร้อยละ 100 100 95.65

7 ระดบั กำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน 1) รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ข้นึ ไป ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 รำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน) ระดับ จำนวน ช้ัน นกั เรยี น ภำษำไทย ค ิณตศำสตร์ ิวทยำศำสตร์ ัสงคมศึกษำฯ ประ ัว ิตศำสตร์ ภำษำ ัองกฤษ ุสข ึศกษำฯ ศิลปะ กำรงำนอำ ีชพฯ ป.1 12 9 10 7 5 6 6 12 12 8 ป.2 21 15 15 15 9 14 7 21 20 17 ป.3 14 9 7 12 10 10 7 14 14 11 ป.4 7 5 4 4 3 5 375 6 ป.5 9 6 7 6 7 9 697 8 ป.6 17 9 10 11 11 9 9 17 13 13 รวม 80 53 53 55 45 53 38 80 71 63 66.25 66.25 68.75 56.25 66.25 47.50 100 88.75 78.75 ร้อยละ 2) ร้อยละของนกั เรียนท่ีมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับดีขนึ้ ไป ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 ระดับช้นั จำนวน ผลกำรประเมนิ ระดบั ดี ร้อยละ นักเรยี น ผำ่ น ดี ขน้ึ ไป ไมผ่ ่ำน ดีเยยี่ ม 100 90.48 ป.1 12 - - 3 9 12 85.71 100 ป.2 21 - 2 10 9 19 88.89 88.24 ป.3 14 - 2 4 8 12 91.25 ป.4 7 - -43 7 ป.5 9 - 153 8 ป.6 17 - 2 10 5 15 รวม 80 - 7 36 37 73

8 3) ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในระดบั ดีข้นึ ไป ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 ระดบั ช้ัน จำนวน ผลกำรประเมนิ ระดบั ดี ร้อยละ นักเรยี น ผำ่ น ดี ขน้ึ ไป ไมผ่ ่ำน ดเี ยี่ยม 100 100 ป.1 12 - - - 12 12 100 100 ป.2 21 - - - 21 21 100 100 ป.3 14 - - 8 6 14 100 ป.4 7 - - - 7 7 ป.5 9 - - - - 9 ป.6 17 - - - 17 17 รวม 80 - - 8 72 80 4) ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 สมรรถนะสำคญั จำนวน ผลกำรประเมนิ รอ้ ยละของ นักเรียน ไม่ผำ่ น ผำ่ น นักเรยี นทีผ่ ่ำน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 80 - 80 100 2. ความสามารถในการคดิ 80 - 80 100 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 80 - 80 100 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 80 - 80 100 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 80 - 80 100

9 1.5 ผลกำรประเมนิ คุณภำพผเู้ รียน (NT) ระดับช้ันประถมศึกษำปที ่ี 3 1) ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ปกี ารศึกษา 2562 ควำมสำมำรถ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ระดับโรงเรยี น ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ 46.46 ดา้ นภาษาไทย 47.22 46.00 44.94 ด้านคณติ ศาสตร์ 56.66 45.64 45.70 รวมคำ่ เฉล่ียควำมสำมำรถ 51.94 45.82 ทง้ั 2 ดำ้ น 2) การเปรยี บเทียบคำ่ เฉล่ียร้อยละผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2561 - 2562 ควำมสำมำรถ ปกี ำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ ร้อยละของผลตำ่ ง 2561 2562 ระหว่ำงปีกำรศกึ ษำ ด้านภาษาไทย 59.01 47.22 -11.79 2.38 ด้านคณติ ศาสตร์ 54.28 56.66 -4.71 รวมคำ่ เฉลยี่ ควำมสำมำรถ 56.65 51.94 ทัง้ 2 ด้ำน 1.6 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขัน้ พน้ื ฐำน (O-NET) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 6 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2562 รำยวชิ ำ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ ระดบั สพฐ. ภาษาไทย 53.75 47.95 49.07 คณติ ศาสตร์ 35.91 31.60 32.90 วิทยาศาสตร์ 36.77 34.30 35.55 ภาษาอังกฤษ 29.32 30.86 34.42 ค่ำเฉลี่ยรวม 38.94 36.18 37.99

10 2) การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2562 คะแนนเฉลี่ย รำยวิชำ ปกี ำรศึกษำ 2561 ปกี ำรศึกษำ 2562 ระดบั ประเทศ 49.07 ภาษาไทย 62.85 53.75 32.90 35.55 คณิตศาสตร์ 42.31 35.91 34.42 37.99 วทิ ยาศาสตร์ 42.38 36.77 ภาษาองั กฤษ 44.42 29.32 ค่ำเฉลย่ี รวม 47.99 38.94

11 สว่ นที่ 2 ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศึกษำ ระดับปฐมวยั ระดับคณุ ภำพ ดเี ลศิ ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับปฐมวัย ดีเลิศ มำตรฐำนกำรศกึ ษำ : ดีเลิศ ดีเลศิ มำตรฐำนกำรศึกษำ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของเด็ก ระดับคุณภำพ ดเี ลศิ 1. กระบวนกำรพัฒนำ สถานศึกษาได้มีการดาเนินโครงการเพื่อพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัย ให้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย โดยมีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา มีการ กาหนดโครงการ กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพือ่ นาสู่การปฏิบัติใน การพัฒนาเด็ก ซ่ึงสถานศึกษามีการกาหนดโครงการเพื่อพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ สถานศึกษากาหนด ดงั น้ี ดำ้ นรำ่ งกำย ได้ทากจิ กรรม เพอื่ พัฒนาเดก็ ให้มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายเหมาะสมตามวัย คือ การช่ัง น้าหนัก วัดส่วนสูง ซ่ึงครูจะดูแลช่ังน้าหนักวัดส่วนสูงเด็กทุกเดือนและบันทึกข้อมูลไว้เพ่ือใช้เป็นข้อมูลใน การดูแลเด็ก โภชนาการและโรงอาหาร สถานศึกษามีการดูแลเด็กให้รับประทานอาหารกลางวันที่มี ประโยชน์ โดยมีการกาหนดรายการอาหารสลับเปลี่ยนไปทุกเดือน ให้เด็กได้รับประทานอาหารท่ี หลากหลายครบท้ัง 5 หมู่ การดื่มนม ให้มกี ารบันทึกการด่ืมนมของเด็กทุกวัน เด็กได้รับการดูแลการด่ืมนม ใหไ้ ดป้ รมิ าณท่ีเหมาะสม ด้ำนอำรมณ์ จติ ใจ ได้ทากจิ กรรม พัฒนาเดก็ ใหม้ พี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ท่ีเหมาะสมตามวัย คอื การร่วมกิจกรรมในวันสาคัญต่างๆท่ีทางโรงเรียนได้จดั ขึ้นเช่น วันปีใหม่ วันเด็ก วันลอยกระทง ฯ ซ่ึงใน กิจกรรมต่างๆจัดให้เด็กได้แสดงผลงานของตัวเองและแสดงโชว์ความสามารถของเด็กๆ ฝึกให้เด็กมี ความกลา้ แสดงออกและไดร้ ว่ มกิจกรรมอยา่ งสนุกสนาน ด้ำนสังคม ได้ทากิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการด้านสังคมท่ีเหมาะสมกับวัย คือ การเข้า ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนต่างๆ เช่น กิจกรรมวันเด็กได้แสดงโชว์ความสามารถบนเวทีร่วมกับเพื่อนๆ และ รู้จักการรอคอย ลาดบั ก่อนและหลงั ตามลาดบั การแสดง ได้รว่ มรบั ชมการแสดงการละเลน่ ของผู้อ่ืน

12 ด้ำนสติปัญญำ ได้ทากิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กให้มีการพัฒนาด้านสติปัญญาท่ีเหมาะสมตามวัน คือ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โดยได้ดาเนินการจัดกิจกรรมปฏิบัติการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ตาม กรอบกิจกรรมของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย โดยสถานศึกษาได้ดาเนินกิจกรรมตาม ใบงานกิจกรรมของโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ใน 20 กิจกรรม และการจัดทาโครงงาน วิทยาศาสตร์น้อย ตามกรอบโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทยโดยใช้วัฏจักรการสืบเสาะ 6 ข้ันตอน ซ่ึงประกอบด้วย ขั้นตอนการต้ังคาถาม การต้ังสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูลการตรวจสอบ ข้อมลู การอภปิ ราย และการน าเสนอผลงาน 2. ผลกำรพัฒนำ - พัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ที่ดีและดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ สง่ ผลใหเ้ ด็กมี พัฒนาการดา้ นรา่ งกายแขง็ แรงเหมาะสมตามวัยมีการเจรญิ เติบโตสมรรถภาพทางกายทางกลไกสมวัย มีน้าหนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทกั ษะการเคลอื่ นไหวรา่ งกายได้คล่องแคลว่ วอ่ งไว - พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการด้าน อารมณ์ - จิตใจ เด็กมีความร่าเริง แจ่มใส มีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและผู้อื่น ศิลปะ ดนตรี ธรรมชาติ และ ส่ิงแวดล้อม มีความม่ันใจในตนเองและกล้าแสดงออก รู้จักยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย - พัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องสังคมได้ ส่งผลให้เด็กรจู้ กั ชว่ ยเหลือ ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รจู้ กั แบ่งปนั และช่วยเหลอื ผู้อน่ื เลน่ และทางานรว่ มกับผู้อ่นื ได้ - พัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ส่งผลให้เด็กมี พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กวัยนี้เป็นวัยท่ีมีการเจริญเติบโตของสมองสูงสุด รู้จักการต้ังคาถามและ พยายามคิดค้นหาคาตอบ อยากรู้อยากเห็นสนใจเรียนรู้ส่ิงรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้มี ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั ส่งิ ตา่ งๆจากประสบการณ์เรียนรู้มีทักษะทางภาษาทีเ่ หมาะสมกับวยั 3. จดุ เด่น โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือมีการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้าน สติปัญญาโดยได้นาการเรียนการสอนแบบเน้นเด็กเป็นสาคัญมาใช้สอนนักเรียน นอกจากนั้นยังมุ่งมั่นที่จะ พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี พัฒนาการทั้ง 4 ด้านให้ เหมาะสมกับวัย ได้รับรู้และเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัวผ่าน ประสาทสัมผัสท้ัง 5 และสามารถ เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างเต็มที่ตามความสามารถของตนเอง ใช้ภาษา ส่อื ความหมายและความคิด รู้จกั สังเกต สามารถสนทนาโต้ตอบสื่อความหมายไดม้ ากข้ึน สามารถ ใช้ภาษา บอกความต้องการของตนเองได้ สามารถคิด แก้ปัญหาด้วยตนเอง และสามารถคิดตัดสินใจได้ ด้วยตนเอง แสดงความคิดและจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ของตนเองได้ มีการ แสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึกท่ีเหมาะสมกับวัย มีความสุข ร่าเริง แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีกับตนเอง และมีความเช่ือม่ันในตนเอง มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืนๆ และสิ่งแวดล้อม ต่างๆ รอบตัว มีการใช้ ชีวิตประจาวัน และได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นอย่างเป็นอิสระ สามารถเล่นร่วม กลุ่มกับผู้อื่นได้

13 รจู้ ักแบ่งปนั หรือให้ และร้จู ักการรอคอย สามารถใชก้ ลา้ มเนื้อมดั เล็กมัดใหญ่ประสานสัมพันธ์กนั เป็น อย่างดี มนี า้ หนักสว่ นสงู ตามเกณฑ์ สามารถรบั ประทานอาหารครบหมู่มสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง 4. จุดควรพัฒนำ ลดการใช้สอ่ื เทคโนโลยีอาทิเช่น โทรศัพทม์ ือถือทเ่ี กินจาเป็นโดยใหค้ วามรกู้ บั ครู , ผ้ปู กครอง และ ผเู้ กย่ี วข้องให้ ทราบถึงคุณและโทษในการใช้โทรศัพทม์ ือถือท่มี ากเกินไปสาหรับเดก็ ปฐมวัย 5. ขอ้ มูล หลกั ฐำน เอกสำรเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนุนผลกำรประเมินตนเอง แบบบนั ทึกพฒั นาการของเด็ก โครงงานวทิ ยาศาสตร์ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร ระดบั คณุ ภำพ ดีเลศิ 1. กระบวนกำรพัฒนำ กำรจดั สภำพแวดลอ้ มและสื่อกำรเรยี นรูอ้ ย่ำงปลอดภัยและเพียงพอ - ภายในห้องเรยี น จัดใหม้ ีมุมประสบการณ์ 6 มุม คือ มมุ หนังสอื มมุ บล็อก มุมศิลปะ มุมบา้ น มุม วิทยาศาสตร์ และมุมเสรี ภายในหอ้ งเรยี นจัดให้มีโทรทศั น์เพอื่ อานวยความสะดวกให้กับเด็กและครู เพื่อใช้ เป็นสื่อในการเรียนรู้ โดยครูมีการจัดทาและจดั หาสือ่ ต่างๆ มาประกอบการจัดประสบการณ์สาหรับเด็ก ปฐมวยั - ภายนอกหอ้ งเรยี น มสี นามเด็กเลน่ ท่มี ีเครอ่ื งเลน่ สะดวกและปลอดภยั ต่อเด็ก ใหเ้ ด็กได้เล่นปีน ปา่ ย มดุ ลอด ตามความสนใจของเด็ก และจัดใหม้ ีสวนหย่อมให้เด็กได้ศึกษาธรรมชาติ ตน้ ไม้ อีกท้ังยังมี บอ่ ทรายสาหรบั ให้เด็กไดเ้ ล่นตามความสนใจ มีแผนกำรจัดประสบกำรณค์ รอบคลมุ พัฒนำกำรทงั้ 4 ด้ำนสอดคล้องกับบริบทท้องถ่นิ - โรงเรียนไดจ้ ดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ทีค่ รอบคลุมพัฒนาการเดก็ ท้งั 4 ดา้ นของผูเ้ รยี น เพือ่ ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ 2. ผลกำรพัฒนำ - การจัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภยั และเพียงพอตอ่ เด็ก - มแี ผนการจดั ประสบการณค์ รอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคลอ้ งกับบรบิ ททอ้ งถ่นิ และมี ความเหมาะสม 3. จุดเดน่ โรงเรียนบา้ นแม่สขุ วงั เหนอื มีความมงุ่ มน่ั พัฒนาให้ห้องเรียนเป็นห้องเรียนท่ีมีคณุ ภาพและ มาตรฐาน โดยมีการจดั สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกให้เอื้ออานวยต่อความสะดวกและความ ปลอดภยั ต่อการใชง้ านสาหรับเด็กปฐมวยั

14 4. จุดควรพัฒนำ พฒั นาแผนการจดั ประสบการณ์ของปฐมวยั ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถน่ิ มากขนึ้ และนาสาระ ทอ้ งถิน่ มาสกู่ ารจดั ประสบการณส์ าหรับเด็กให้ครอบคลมุ เพื่อให้ผู้เรยี นได้เรยี นรูเ้ รอื่ งราวทีอ่ ยใู่ กล้ตัวตาม สภาพจรงิ ไดเ้ รียนร้สู งิ่ ทม่ี ีคณุ ค่าในท้องถนิ่ ของตนเอง นาความรมู้ าใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั 5. ขอ้ มูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง แผนจัดประสบการณ์สาหรบั เด็ก มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคญั ระดบั คุณภำพ ดีเลศิ 1. กระบวนกำรพัฒนำ - จัดประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมให้เด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ ครูปฐมวัยมกี ารจดั ประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เด็กมีพัฒนาการทกุ ด้าน ทง้ั ดา้ นร่างกาย อารมณ์- จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างสมดุลและเต็มตามศักยภาพ โดยมีการวิเคราะห์เด็กเป็น รายบุคคล จากการสังเกตพฤติกรรมเป็นรายบุคคล พร้อมท้ังมีการวิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัย มาตรฐาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ วิเคราะห์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา แล้วจึงนาข้อมูลท่ี ได้มาจัดทาแผนการจดั ประสบการณ์ที่เหมาะสมและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กครบทุกด้าน โดยกิจกรรมท่ี จัดสง่ เสริมให้เดก็ ทกุ คนได้มสี ว่ นรว่ ม ลงมือปฏิบัติ ผ่านการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ส่งผลให้เดก็ ปฐมวัย สนุกสนานและเกิดการเรียนรู้ ผ่านการทากิจกรรมต่างๆและได้สร้างชิ้นงานตามความคิดและจินตนาการ ของตนเอง - จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวัย ห้องเรยี น มีบริการ TV เพื่อใชใ้ นการจัดประสบการณ์ให้กับเดก็ ปฐมวัย โดยคณุ ครจู ะมี การจัดทาและจัดหาส่ือต่างๆ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก และมีการจัดทาสอื่ ช่วยสอน เพ่ือใช้ใน การจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ที่ตรงกับความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคล และในการจัด ประสบการณ์ กิจกรรมต่างๆ คุณครูได้เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการนาส่ือต่างๆ นามาใช้ในการทา กิจกรรม เช่น สื่อของจริง รูปภาพ อุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับหน่วยการเรียนรู้ เป็นต้น เพ่ือกระตุ้นให้เด็กเกิด ความสนใจ ใฝเ่ รียนรู้ และผ้ปู กครองไดม้ สี ่วนรว่ มในการจดั ประสบการณ์ - ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก โดยมกี ารประเมนิ ผลตา่ งๆ ดงั น้ี การทดสอบสมรรถภาพทางกาย คือ การวัดระดับความสามารถของร่างกาย เพ่ือประเมิน ความสามารถว่าดีมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความคล่องแคล่ว ว่องไว เพือ่ สง่ เสริมให้เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการดา้ นร่างกายและกลา้ มเน้อื ท่แี ข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมตามวัย และสง่ เสริมใหม้ ีการเจริญเติบโตท่เี หมาะสมกบั วัย

15 การชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง เพ่ือประเมินความเจริญเติบโตของร่างกายเด็กปฐมวัย และส่งเสริมให้มี การเจริญเตบิ โตท่เี หมาะสมกบั วัย การประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมินเด็กเป็นรายบุคคล โดยประเมินเด็กผ่านการจัด ประสบการณ์หน่วยการเรียนรู้ โดยการประเมนิ ผลนั้นจะประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องเด็กท่ีเป็นไป ตามตวั ชี้วดั ของมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหนว่ ยการเรยี นรนู้ น้ั ๆ การประเมนิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ จากการประเมินระหวา่ งเรียนตลอดภาคเรียน เมื่อจบภาค เรียนนนั้ ๆจะนาผลการประเมินตลอดภาคเรียนมารวบรวมและสรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ การประเมนิ พัฒนาการ 4 ด้าน เป็นการประเมินเดก็ เป็นรายบคุ คลผ่านกจิ กรรม 6 กจิ กรรม โดย จดั เปน็ ฐานการประเมิน โดยประเมนิ ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด แฟม้ สะสมผลงาน เป็นการประเมินเด็กผ่านกิจกรรมสรา้ งสรรค์ สมดุ รายงานประจาตัวเด็กปฐมวัย เป็นการรานงานพฒั นาการของนักเรยี นให้กับผู้ปกครองได้ทราบ และผปู้ กครองไดม้ ีส่วนรว่ มในการใหข้ ้อมูลของบตุ รหลาน เพื่อทค่ี รจู ะได้นาข้อมูลมาพัฒนาต่อไป 2. ผลกำรพฒั นำ - จัดประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทุกดา้ นอย่างเต็มตามศักยภาพ - จดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สอื่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวัย - ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ 3. จุดเดน่ มกี ารสรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏบิ ัติอย่างมีความสขุ โดยทค่ี รูจัด ประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก โดยมีการออกแบบกิจกรรมให้เช่ือมโยงกั บ ประสบการณ์เดิมของเด็กและเพิ่มเติมสิ่งที่เด็กควรรู้ตามช่วงวัย ผ่านการออกแบบการจัดกิจกรรมในแผน การจัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนต่างๆ ที่ได้ผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กปฐมวัย โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกทากิจกรรม อย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยในทุกห้องเรียนปฐมวัย จัดใหม้ ีการจัดมมุ ประสบการณใ์ ห้เด็กได้เลือกเล่น ทากิจกรรมตามความสนใจของแต่ละบุคคล ทัง้ รายบคุ คล และรายกลุ่ม ภายนอกห้องเรียน จัดให้มีการจัดกิจกรรมแหล่งการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้เลือกทา กจิ กรรมในฐานต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง 4. จดุ ควรพฒั นำ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ ช่วยเน้นความสามารถใน การเรียนรู้และการพัฒนาเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ โดยการให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน กิจกรรม ได้ปฏิบัตดิ ้วยตนเองและมสี ่วนร่วมในการประเมินผล โดยครูลดบทบาทจากผู้สอนลงเป็นผอู้ านวย ความสะดวกแทน

16 5. ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลกำรประเมินตนเอง หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั แผนการจดั ประสบการณ์ ระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ผลกำรประเมินมำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน มำตรฐำนกำรศกึ ษำ : ดี ระดับคณุ ภำพ มำตรฐำนกำรศึกษำ ดี ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผ้เู รียน ระดับคุณภำพ ดี 1. กระบวนกำรพฒั นำ โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้เปน็ ไปตามศักยภาพของผูเ้ รียน จัดกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ และเนน้ เรื่องการ อ่านออกของผเู้ รียนเปน็ เรื่องสาคัญท่ีสุด มุ่งพัฒนาให้ผู้เรยี นทกุ คนอ่านออกและเขยี นได้ต้งั แตร่ ะดบั ช้นั ป.1 โดยการดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุง หลักสตู รสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) เพือ่ ให้ครูใชเ้ ป็นกรอบ ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายท่ีว่า “การ จดั การศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซ่ึงสอดรับ กบั จุดมุ่งหมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพ ผู้เรียนจานวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถใน การวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่อื สาร และการมคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน เจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชีพ นอกจากน้ีโรงเรียนได้มกี ารดาเนินการเพื่อพฒั นาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของ ผู้บริหาร โดยใช้นวัตกรรม P @ MAESOOK MODEL เป็นนวัตกรรมหลักในกระบวนการบริหารจัดการ เพื่อยกระดบั คณุ ภาพ ของผู้เรียน โดยกาหนดใหม้ ีการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดย กาหนดยุทธศาสตร์และกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายในการพัฒนาระดับโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียน

17 ได้รับการศึกษา อย่างมีคุณภาพ มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยใช้นวัตกรรม กิจกรรม 5 ส สร้างคุณภาพทางการศกึ ษา ซึ่งจะนาไปส่กู ารยกระดบั คุณภาพผลสมั ฤทธ์ิของผู้เรียนให้สูงข้ึน และเป็นไปตามเปา้ หมายต่อไป 2. ผลกำรพัฒนำ - ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณเป็นไปตามเป้าหมาย ท่ีสถานศกึ ษากาหนด - ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความ คดิ เห็น และแก้ปญั หาได้ - ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม นักเรียนมีความสามารถในการสร้างผลงานของ ตนเองได้ เชน่ ผลงานนักเรยี นในรายวิชาต่าง ๆ - ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่าง เหมาะสมและปลอดภยั - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา เป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา กาหนด มผี ลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET สูงกวา่ ระดบั ประเทศท้ัง 2 กลมุ่ สาระ - ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ และมีเจตคติท่ีดีท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น - การมคี ณุ ลักษณ์และคา่ นิยมท่ดี ตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด โรงเรียนได้ดาเนินการสารวจความสนใจ ความถนัด ความต้องการของนักเรียน นักเรียน ได้ แลกเปล่ียนเรียนรู้และแสดงออกได้หลากหลาย มีการสารวจความสนใจ ความถนัด ความต้องการของ นักเรยี น นกั เรียนได้แลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละแสดงออกไดห้ ลากหลาย นักเรียนพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง ภายในโรงเรียนและชุมชน เช่น การแสดงนาฏศิลป์ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ีดตี ามท่ีสถานศึกษากาหนด - ผู้เรียนความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย โดยเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญทางศาสนาใน หมู่บ้าน เชน่ ตกี ลองสะบัดชัยและแสดงฟอ้ นในงานตานก๋วยสลาก ประเพณีแห่เทียนพรรษา - ผู้เรยี นยอมรบั ทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นทมี และอยรู่ ว่ มกบั เพอ่ื นได้อยา่ งมคี วามสุข - ผเู้ รยี นมสี ุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คมเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด 3. จดุ เดน่ 1) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น และนักเรียนกล้าแสดงออกร่าเริงแจ่มใส สุขภาพกาย แขง็ แรงและเปน็ ผู้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามท่สี ถานศึกษากาหนด 2) ผู้เรียนอา่ นหนังสอื ออกและอา่ นคล่อง รวมท้งั สามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ทกุ คน สามารถใช้ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนอยู่ในระดับดี มี คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) สงู กว่าระดับชาติ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

18 3) ผู้เรยี นมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายและน้าหนัก ส่วนสงู ตามเกณฑ์มีระเบียบ วนิ ยั เป็นท่ยี อมรบั ของชุมชนโดยรอบในเรอ่ื งความมวี ินัยเคารพกฎกติการะเบียบของสังคม 4. จดุ ควรพฒั นำ ผ้เู รียนในระดบั ชัน้ ป.4 – ป.6 ยังตอ้ งเร่งพัฒนาด้านการนาเสนอ การอภปิ รายและแลกเปลีย่ น เรียนรู้อยา่ งสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหาตามสถานการณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5. ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง - แผนปฏบิ ัติการประจาปี - สรุปรายงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - สรุปรายงานโครงการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ - โครงการเด็กดีมีเงินออม - รายงานการปฏบิ ัติงานประจาปีของสถานศึกษา - บันทึกการออมทรพั ย์ประจาชน้ั เรยี น - สมดุ บญั ชเี งนิ ฝากออมทรัพยป์ ระจาชน้ั เรยี น - สรุปโครงการส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้และคดิ เลขเป็น ได้แก่ กจิ กรรมคณิตคิดเรว็ กิจกรรม ทดสอบการอ่าน การเขียนของนกั เรยี นชนั้ ป.1-6 ภาคเรียนละ 2 ครง้ั กจิ กรรมภาษาไทยวนั ละคา กจิ กรรม การอา่ น การเขียนคาพื้นฐานในระดบั ชนั้ เรยี น - สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กิจกรรมค่ายวชิ าการ กิจกรรมส่งเสริม ความสามารถด้านวชิ าการกิจกรรมสอนเสรมิ เติมปญั ญา (ติว) O-NET และ NT กจิ กรรมเรยี นร้ทู างไกลผา่ น ดาวเทยี ม - สรุปรายงานโครงการส่งเสรมิ กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ - สรปุ รายงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ได้แก่ กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี กจิ กรรมจติ สาธารณะ กจิ กรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ กิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรยี น - สรปุ โครงการโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ได้แก่ กิจกรรมเขา้ คา่ ยคุณธรรม จริยธรรม กจิ กรรมน่ังสมาธิ ขยับกายสบายชวี ี และกิจกรรมส่งเสริมคา่ นิยมหลัก 12 ประการ - สรุปรายงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมวันสาคัญ นักเรียนร้อยละ 90 ได้เรียนรู้เข้าใจและเห็น ความสาคัญของวันสาคัญต่างๆและขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของท้องถิ่นและประเทศชาติได้ เรียนรเู้ หน็ คุณค่าในตนเอง มคี วามมน่ั ใจ กล้าแสดงออกและปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสมตามระเบียบประเพณี และวัฒนธรรมที่ดีและเข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในวันสาคัญตามประเพณีสาคัญของท้องถ่ินและของชาติตาม ความเหมาะสมทกุ คร้ัง - แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรียนช้ัน ป.1-ป.6 ปีการศกึ ษา 2562 - แบบประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 5 ด้าน ของนกั เรียนชั้น ป.1-ป.6 ปกี ารศกึ ษา 2562 - แบบประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนของนกั เรยี นชั้น ป.1-ป.6 ปกี ารศึกษา 2562 - ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาของนักเรียนช้ัน ป.1-ป.6 ปกี ารศกึ ษา 2562 - ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2562 - ผลการทดสอบ NT ปีการศึกษา 2562 - ข้อมูลนกั เรียนรายบุคคล

19 - แบบสรปุ รายงานขอ้ มลู การอ่านออกเขียนได้ - ผลงานผูเ้ รยี น - เกียรตบิ ัตรนักเรยี น - ภาพกิจกรรม มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร ระดับคณุ ภำพ ดเี ลศิ 1. กระบวนกำรพฒั นำ 2.1 มีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ ได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ี ผา่ นมาโดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกัน กาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนา คณุ ภาพผูเ้ รียน 2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา โรงเรียนใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาทั้ง 3 มาตรฐาน โดยใช้นวัตกรรมโดยใช้ P @ MAESUK MODEL เป็นนวัตกรรมหลักขับเคล่ือนการปฏิบัติ สู่นวัตกรรม ท้งั 3 ด้าน ได้แก่การมีส่วน ร่วม (5 จ เป็นฐาน) การสร้างโอกาสทางการศึกษา (เด็ก 5 ดีที่แม่สุขวังเหนือ) และการสร้างคุณภาพทาง การศึกษา ( 5 ส คุณภาพ) โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA (Deming Cycle) เป็นกลไกในการควบคุมคุณภาพ ให้เกิดประโยชน์ และมีประสิทธิภาพในทุกงานและโครงการ กิจกรรม โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาให้เกิดผลดีมีประสิทธิภาพตรงตามความตอ้ งการของผ้ปู กครอง และชมุ ชนตอ้ งอาศยั กระบวนการ กำรมีส่วนร่วม มาใช้ซ่ึงพระราชบัญญัติการการศึกษา แห่งชาติพ.ศ. 2542 กล่าวถึงให้สังคมมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา โรงเรียนบา้ นแม่สขุ วังเหนือ ไดบ้ ริหารจัดการโดยเปิดโอกาสใหผ้ ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย เขา้ ร่วม ดาเนินกิจกรรมตั้งแต่การศึกษาปัญหา การวางแผนดาเนินการ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา และการ ประเมนิ ผลร่วมกัน โดยยดึ หลักการมีส่วนร่วม คอื รว่ มคิด รว่ มทา ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับผิดชอบ

20 รปู แบบกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำสคู่ วำมเปน็ เลศิ โดยใช้ P@MAESUK MODEL การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เน้นให้ทุกส่วน ของสังคม บุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการ วิสาหกิจชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อให้การศึกษาของประเทศมีศักยภาพ มีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย เพ่ือให้การศึกษามีเอกภาพ มีความหลากหลายในการปฏิบัติ พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดองค์ความรู้ทางความคิด สามารถแก้ไขปัญหาและดารงชีวิตอย่างมีความสุขอยู่ใน สังคมได้เพือ่ แสวงหาความรใู้ นการจดั การศึกษา พฒั นาการศกึ ษา ท้ังภายในภายนอกอย่างเป็นระบบชัดเจน มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สถานศึกษาจาเปน็ ต้องสร้างเครือข่ายการมีส่วนรว่ มทกุ ภาคส่วนมีขน้ั ตอนการ ดาเนนิ งานการสรา้ งเครือขา่ ย ดังน้ี เครือข่ายภายใน กระบวนกำรสรำ้ งเครือขำ่ ย ผลกำรดำเนินงำน 1. เครอื ขา่ ยครูในโรงเรยี น ( รปู แบบ PDCA ) - คณะครรู ่วมวางแผนจัดการ 2. เครือข่ายนักเรียน - คณะกรรมการสภานักเรียนได้ 3. เครอื ขา่ ยบุคลากรอ่นื ประชุมวางแผนสภาพ รว่ มกนั พฒั นาโรงเรียน เครือข่ายภายนอก ปจั จุบนั ปัญหา วางแผน - ผปู้ กครองบริจาคเงิน จา้ งภารโรง 1. ผูป้ กครอง พัฒนา ดาเนินงานตาม และจา้ งครสู อน 2. คณะกรรมการสถานศึกษา โครงการ กิจกรรม - คณะกรรมการสถานศึกษาและ 3. ผู้นาชมุ ชน ตรวจสอบประเมินผล และ ผนู้ าชุมชนร่วมพฒั นาโรงเรยี น 4. ศษิ ยเ์ กา่ ปรับปรงุ แก้ไข นาไปพฒั นา - ศษิ ยเ์ ก่าและเอกชนมอบส่ิงของ 5. องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น และรายงานผล - องค์กรปกครอง สว่ นท้องถิ่น 6. วดั บริจาคเครอื่ งดนตรี 7. หนว่ ยงานภาครฐั - ศูนยป์ ริยตั ศิ ึกษาและกองทุน 8. กองทนุ หมบู่ า้ น หมู่บ้านมอบทนุ การศกึ ษา 9. เครือขา่ ยกล่มุ โรงเรียน - ภาคเอกชนสรา้ งหอ้ งสมุดและ 10. เครือขา่ ยภาคเอกชน บรจิ าคคอมพิวเตอร์ การดาเนนิ งานการสร้างเครือข่ายการมสี ่วน ร่วม 2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษามีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตาม ศักยภาพ สถานศกึ ษาจึงมบี ทบาทสาคัญในการจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา และดาเนินการนาหลักสตู รส่กู าร ปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องสร้างความมั่นใจต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชนว่า ผู้เรียนจะมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และเกิดสมรรถนะสาคัญ ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร เพ่ือให้บรรลุเจตนารมณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือจึงได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ครอบคลุมหลักสู ตรแกนกลาง

21 การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียน เป็นสาคัญ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ส่งเสริมการผลิต การใช้และพัฒนาส่ือและ เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน และการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการ หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ ติดตามดูแลคุณภาพการจัดทาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และครบวงจร และนาผลจากการติดตามกากับดูแลคุณภาพนั้นมาพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูใ้ ห้มีคณุ ภาพ เพอื่ เกดิ ประสทิ ธผิ ลตอ่ ผู้เรียนมากท่ีสดุ 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ โรงเรียนมีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจดั ใหม้ ชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นรูข้ องผู้เรียนอยา่ งสมา่ เสมอ 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือต่อการจัดการเรยี นร้อู ยา่ งมีคณุ ภาพ โรงเรยี นมกี ารจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรียน และ สภาพแวดลอ้ มทางสงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัยให้กบั ผ้เู รยี น 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนมีระบบการจัดหา การพัฒนาและบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา มีการจัดระบบข้อมูลแล ะ สารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียนและชุมชนครอบคลุม ถูกต้อง สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพต่อการใช้งาน นาข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบทันสมัย ทันต่อการใช้งาน และพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง เผยแพร่ ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมและผลการพัฒนาคุณภาพของ โรงเรยี น 2. ผลกำรพัฒนำ จากการดาเนินงานการบริหารจัดการโดยทกุ ภาคสว่ นเขา้ มามีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา และพัฒนาการศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า ฯลฯ มีความผูกพันกับโรงเรียน เป็นที่ยอมรับและมี ความภาคภูมิใจ ศรัทธาต่อโรงเรียน มีความเป็นเจ้าของ โดยเห็นคุณค่าของการมีส่วนร่วม มีวิสัยทัศน์ ร่วมกัน มีแหลง่ ขอ้ มูลทางการศึกษาการแลกเปลีย่ นเรียนร้มู ากข้นึ สถานบนั ทางศาสนาใหก้ ารสนับสนุนและ เน้นความสาคัญของการศึกษานักเรียนเกิดการเรียนรู้และภูมิใจในชุมชน นักเรียนได้รับการเอาใจใส่ดูแล ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดทั้งในและนอกสถานศึกษา และมีคุณภาพทางการศึกษา เป็นคนดี คนเก่ง ใช้ทักษะ ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ส่งผลให้โรงเรียนจัดการศึกษาระบบและกลไกการบริหารจัดการคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษายอดเย่ียม เป็นแบบอย่างเพื่อการแลกเปล่ียน เรียนรู้ของสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา และได้รับโล่รางวัล IQA AWARD ระดับ สพฐ. และได้รับ โลร่ างวลั IQA AWARD ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประจาปี 2562 3. จดุ เดน่ โรงเรียนบ้านแมส่ ุขวงั เหนอื มกี ารบริหารและจัดการอย่างเป็นระบบ มแี ผนงานโครงการท่ีสง่ เสริมการ มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาให้เกิดผลดีมปี ระสิทธภิ าพตรงตามความต้องการของผปู้ กครอง และชมุ ชน เปิดโอกาสใหผ้ ูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย เข้ารว่ มดาเนินกิจกรรมตง้ั แต่การศึกษาปญั หา การวางแผนดาเนนิ การ การ ตัดสินใจ การแกป้ ัญหา และการประเมนิ ผลร่วมกัน โดยยึด

22 หลักการมสี ่วนร่วม คอื รว่ มคิด ร่วมทา รว่ มตรวจสอบ ร่วมรับผิดชอบ ตามรูปแบบการบริหารจดั การศึกษาสคู่ วามเป็นเลิศ โดยใช้ P@MAESUK MODEL เปน็ นวตั กรรมหลกั สง่ ผลให้โรงเรียนมีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ ท่ีกาหนดไว้ชดั เจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงเรยี นตามความต้องการของชมุ ชน วตั ถุประสงค์ของแผนการจดั การศกึ ษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสงั กัด ทันต่อการเปลย่ี นแปลง ของสังคม พฒั นางานวชิ าการเนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และสง่ เสรมิ สนบั สนุนพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ใหเ้ ปน็ ชมุ ชนการเรียนรูท้ าง วิชาชีพ มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผ้เู รยี น 4. จุดควรพฒั นำ โรงเรยี นควรจัดให้มีห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษาท่เี พียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นรู้ 5. ขอ้ มูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลกำรประเมินตนเอง - แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา - แผนปฏิบตั ิการ - รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา SAR - บนั ทกึ ประชุมครู - บันทกึ ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน - รายงานการอบรมพฒั นาตนเองของครู - ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ - หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ - สื่อเทคโนโลยี ข้อมลู สารสนเทศในโรงเรียน - อาคาร สถานที่ บรเิ วณโรงเรียน - รายงานประเมินตนเองของครู - รายงานโครงการสมั พนั ธช์ ุมชน - รายงานโครงการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา - โล่รางวัล IQA AWARD ระดับ สพฐ. และได้รับโล่รางวัล IQA AWARD ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ประจาปี 2562 - Website - facebook - ภาพกิจกรรม

23 มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ระดบั คุณภำพ ดี 1. กระบวนกำรพฒั นำ 3.1 จดั การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ โรงเรียนบ้านแม่สุขวังเหนือ ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครูจัด การเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง และคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็น รายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ัง รว่ มกนั แลกเปลีย่ นเรียนรู้ และนาผลทไ่ี ดม้ าปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ 3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ โรงเรียนได้มีการผลิต การใช้ และการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ โดยครูมีแผน การจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมกับผู้เรียนได้จริง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการวางแผน จดั หาและผลิตสื่อและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา กบั ครรู วมท้ังผปู้ กครองหรือชุมชน ครู ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการร่วมกันวางแผนจัดหาและ ผลิตสอื่ ท่ีต้องการใช้โดยการเชิญวทิ ยากรในทอ้ งถิ่น หรือผปู้ กครองนักเรียน ร่วมกนั คิดจดั ทาและพฒั นาแหล่งเรียนรู้ตามความจาเปน็ มีระบบการบริการการใช้ และบารงุ รกั ษาสอื่ รวมทั้งมีการขยายผลการใชส้ อื่ ทม่ี ีคุณภาพ และเผยแพร่แก่ผู้สนใจ 3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการเชงิ บวก ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการช้ันเรยี น โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเดก็ รักเด็ก เด็กรักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมคี วามสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนา ข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าท่ีให้ นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการ เรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือ การสอนท่ีใช้อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับหน่วยการ เรียนรู้ สนบั สนนุ ให้ครูจัดการเรียนการสอนทส่ี ร้างโอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ไดล้ งมอื ปฏิบัติจริงจน สรปุ ความร้ไู ดด้ ้วยตนเอง 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมีระบบการพัฒนาเคร่ืองมือวัดและประเมินผลมาอย่างต่อเน่ืองมีการนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ Schoolmis มาใช้ในงานทะเบียนผล ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการจัดทาเครื่องมือวัด ประเมินผลท่ีตรงตามตัวช้ีวัดและผลการเรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินผลที่หลากหลาย สามารถวัดครอบคลุม พฤติกรรมนักเรยี นทุกด้าน ครูวจิ ัยในช้ันเรียน ครูร่วมกันออกแบบการวัดผลประเมินผลเพ่ือตรวจสอบ และ ประเมินผเู้ รียนอย่างมีขนั้ ตอน ใชเ้ ครอ่ื งมือ วธิ กี ารวดั และประเมินผลท่เี หมาะสม

24 3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ครนู าผลไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียน ครูผู้สอนร่วมกนั แลกเปลย่ี นความรู้และประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และนาไปปรับปรุง /พัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยกาหนดนโยบาย วิธีการ และรูปแบบการรายงานผลการเรียน เพ่ือให้นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนทราบ ข้อมูลท่ีมีความ ถูกต้องชัดเจนสาระครบถ้วน ทุกฝ่ายเกิดความเข้าใจร่วมกัน และม่ันใจในผลการเรียนท่ีนาเสนอ การจัดทา เอกสารหลักฐานครบถ้วนเป็นปัจจุบันมีการปรับปรุงและพัฒนาระบบการทางานอยู่เสมอ ผู้รับบริการพึง พอใจ 2. ผลกำรพัฒนำ 1. ครูมสี อื่ การเรียนการสอนหลากหลายใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นมี ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ขน้ึ ผลการประเมนิ การอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นของนักเรียนทกุ คนอยู่ใน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ดีและดเี ยี่ยม ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี นทกุ คนอยู่ในระดับ ผา่ นเกณฑ์ ดแี ละดีเย่ียม ผลการประเมิน กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น อยู่ในเกณฑ์ ผา่ นทกุ คน 2. ครฝู กึ สอนนกั เรียนในการแข่งขันงานศลิ ปหตั ถกรรมไดร้ ับเหรียญทองชนะเลศิ ระดบั ชาติ จานวน 2 รายการ คอื การวาดภาพด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์กราฟิก PAINT นกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทาง ร่างกาย ป.1-6 และ การแขง่ ขนั แสดงตลก ป.1- ม.3 3. ครไู ดร้ บั รางวลั ครผู ู้สอนดเี ด่นกลมุ่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา 4. ครไู ดร้ ับรางวลั ครดู ใี นดวงใจ ลาดบั ที่ 2 ของเขตพ้นื ที่ 3. จุดเด่น 1) ครพู ฒั นาตนเองอยู่เสมอมคี วามต้ังใจ มงุ่ มน่ั ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอยา่ งเต็มเวลาและความสามารถ 2) ครูจดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนแสวงหาความรจู้ ากส่อื เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง 3) ครใู หน้ ักเรียนมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ 4) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรยี นเรยี นร้จู ากการคิดไดป้ ฏบิ ัตจิ ริงดว้ ยวธิ กี ารและแหลง่ เรียนรู้หลากหลาย 4. จุดควรพฒั นำ ควรนาภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ให้เข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมให้นกั เรียนได้เรยี นรู้ และการให้ ข้อมูลย้อนกลับแกน่ กั เรียนทนั ทีเพื่อนักเรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง 5. ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนับสนุนผลกำรประเมินตนเอง - โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา - งานวจิ ยั ในชัน้ เรยี น - หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นแมส่ ุขวงั เหนือ - กิจกรรมการจัดการเรยี นการสอน - ผลงานนกั เรยี น - แผนการจัดการเรียนรู้ - ส่อื นวัตกรรม - วจิ ัยในช้ันเรยี น - จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้สอื่ DLIT - จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้ส่ือ DLTV

25 - จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ INTERNET ในการศึกษาค้นคว้าหาขอ้ มูลประกอบการเรียนรู้ - จดั การเรียนการสอนโดยใช้คอมพวิ เตอร์ในการนาเสนอผลงาน - ภาพการจักการเรียนการสอนในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน - บนั ทกึ ประชุมครู - วดั และประเมนิ ผลนกั เรยี น - แบบบนั ทกึ การสอนซ่อมเสริม - แบบบนั ทกึ การสอนเสริม - บันทึกประชุมครู - บันทึกการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา - บันทกึ การประชมุ ผู้ปกครอง - บนั ทกึ การนเิ ทศในชน้ั เรยี น - ส่ือและแหลง่ เรยี นร้ใู นโรงเรียน - รายงานโครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - รายงานโครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ - รายงานโครงการส่งเสริมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน - ภาพกจิ กรรม - เกยี รตบิ ตั รโรงเรียนระดับชาติและระดับเขตพ้นื ท่ี - เกยี รตบิ ตั รครูฝกึ สอนนักเรียนระดบั ชาติและระดบั เขตพื้นที่ - เกียรติบัตรนกั เรยี นท่ีมีผลงานระดบั ชาตแิ ละระดบั เขตพ้ืนท่ี - โล่รางวัล IQA AWARD ระดับ สพฐ. และไดร้ บั โล่รางวัล IQA AWARD ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ประจาปี 2562

26 ผลกำรประเมินเมื่อเทียบกับคำ่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จท่สี ถำนศึกษำกำหนด ระดับปฐมวัย มำตรฐำน / ประเดน็ กำรพิจำรณำ ค่ำเป้ำหมำย ผลกำรประเมนิ บรรลเุ ปำ้ หมำย ควำมสำเร็จ ตนเอง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดี ดเี ลิศ  มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดี ดีเลิศ  มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ ดี ดเี ลิศ  สาคัญ ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน ค่ำเป้ำหมำย ผลกำรประเมิน บรรลุเปำ้ หมำย มำตรฐำน / ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ ควำมสำเร็จ ตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน ดี ดี  มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดี ดีเลศิ  มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ ดี ดี 

27 ส่วนที่ 3 สรุปผล และแนวทำงกำรพัฒนำ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา (3-5 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดงั น้ัน จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจดุ เดน่ จุดควร พัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน พรอ้ มทัง้ แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการการชว่ ยเหลอื ได้ดังนี้ ระดบั ปฐมวัย สรปุ ผล จุดเดน่ จุดควรพฒั นำ คุณภำพของเด็ก คณุ ภำพของเด็ก โรงเรียนบา้ นแม่สขุ วังเหนือมีการจัดการเรียน ลดการใช้สือ่ เทคโนโลยอี าทเิ ช่น โทรศัพท์มือถือท่ี การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้าน เกนิ จาเปน็ โดยใหค้ วามรู้กบั ครู , ผู้ปกครอง และ สติปัญญาโดยได้นาการเรียนการสอนแบบเน้นเด็ก ผ้เู กยี่ วขอ้ งให้ ทราบถึงคุณและโทษในการใช้ เป็นสาคัญมาใช้สอนนักเรียน นอกจากนั้นยังมุ่งม่ันท่ี โทรศัพท์มอื ถอื ท่มี ากเกินไปสาหรับเด็กปฐมวัย จะพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี พัฒนาการท้ัง 4 ด้านให้ เหมาะสมกับวัย ได้รับรู้และเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร ผ่านประสาทสัมผัสท้ัง 5 และสามารถ เคล่ือนไหว พัฒนาแผนการจัดประสบการณข์ องปฐมวัยให้ ร่างกายได้อย่างเต็มทต่ี ามความสามารถของตนเอง ใช้ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถิ่นมากขนึ้ และนาสาระ ภาษาส่ือความหมายและความคิด รู้จักสังเกต ท้องถ่ินมาสกู่ ารจดั ประสบการณส์ าหรบั เด็กให้ครอบคลุม สามารถสนทนาโต้ตอบส่ือความหมายได้มากขึ้น เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรเู้ รื่องราวทีอ่ ยู่ใกลต้ ัวตามสภาพจรงิ สามารถ ใช้ภาษาบอกความต้องการของตนเองได้ ผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของ เด็กปฐมวัย โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกทากิจกรรม อย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจและ ความสามารถของแต่ละบุคคล โดยในทุกห้องเรียน ปฐมวัย จัดให้มกี ารจัดมุมประสบการณใ์ ห้เด็กได้เลือก เลน่ ทากจิ กรรมตามความสนใจ

28 จดุ เดน่ จุดควรพัฒนำ ของแต่ละบุคคล ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม ภายนอกห้องเรียน จัดให้มีการจัดกิจกรรมแหล่งการ เรียนรู้ เด็กปฐมวัยทุกคนได้เลือกทากิจกรรมในฐาน ต่างๆ ตามความสนใจของตนเอง แนวทำงกำรพฒั นำในอนำคต จัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ช่วยเน้นความสามารถในการ เรียนร้แู ละการพฒั นาเด็กแตล่ ะคนให้เต็มตามศักยภาพ โดยการให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม ได้ ปฏิบตั ิด้วยตนเองและมสี ว่ นร่วมในการประเมินผล ควำมตอ้ งกำรกำรช่วยเหลอื พัฒนาเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ โดยการให้เด็กได้ปฏิบัติด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในการ ประเมินผลในการทากิจกรรม ระดับกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน จดุ ควรพัฒนำ สรุปผล จุดเดน่ คณุ ภำพของผเู้ รียน คณุ ภำพของผู้เรยี น 1) ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ข้นึ และ 1)การจดั กจิ กรรมทม่ี งุ่ เน้นยกระดับผลสมั ฤทธิ์ นกั เรยี นกล้าแสดงออกร่าเริงแจ่มใส สขุ ภาพกาย ยงั ขาดการปฏิบัติทต่ี อ่ เนอ่ื ง จริงจัง การยกระดบั แขง็ แรงและเป็นผมู้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามท่ี ผลสมั ฤทธิแ์ ตล่ ะกลุ่มสาระประสบผลสาเรจ็ ใน สถานศึกษากาหนด ระดับหนงึ่ ผู้เรียนสว่ นใหญย่ งั ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนา 2) ผเู้ รยี นอ่านหนงั สือออกและอา่ นคล่อง รวมท้ัง ต่อไป ผลสัมฤทธร์ิ ะดับชาติของผู้เรียนมีแนวโนม้ สามารถเขียนเพื่อการสอ่ื สารได้ทกุ คน สามารถใช้ เปลยี่ นแปลงพัฒนาข้ึนโดยรวม แตไ่ มผ่ ่านเกณฑ์ใน เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง บางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมุง่ เนน้ พฒั นา สง่ ผลให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ใน ต่อไป ระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทาง 2) จดั กิจกรรมด้านการอ่าน การเขยี น คานวณ การศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) สูงกวา่ ระดบั ชาติ 2 ให้กบั นกั เรยี นเรยี นร่วม เปรียบเทียบความกา้ วหน้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการพฒั นาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล

29 จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนำ 3) ผเู้ รียนมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มสี มรรถภาพ ทางกายและน้าหนัก สว่ นสงู ตามเกณฑม์ รี ะเบยี บ วินยั เปน็ ทยี่ อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบในเรื่อง ความมวี ินัยเคารพกฎกติการะเบยี บของสงั คม กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร โรงเรียนบา้ นแมส่ ุขวังเหนือมกี ารบรหิ ารและ 3) ผเู้ รียนในระดับช้ัน ป.4 – ป.6 ยงั ตอ้ งเรง่ พัฒนา จัดการอยา่ งเป็นระบบ มีแผนงานโครงการที่ ดา้ นการนาเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยน ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาให้ เรียนรอู้ ยา่ งสมเหตุสมผล และตอ้ งพัฒนาทกั ษะ เกดิ ผลดมี ปี ระสิทธภิ าพตรงตามความต้องการของ การแกป้ ัญหาตามสถานการณ์ไดอ้ ย่างเหมาะสม ผูป้ กครอง และชมุ ชนเปิดโอกาสใหผ้ ูม้ สี ว่ นได้ส่วน เสีย เขา้ รว่ มดาเนินกจิ กรรมต้ังแต่การศกึ ษาปัญหา กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร การวางแผนดาเนินการ การตัดสินใจ การ แกป้ ญั หา และการประเมนิ ผลร่วมกนั โดยยดึ โรงเรียนควรจัดให้มีห้องปฏิบัติการทาง หลกั การมีสว่ นรว่ ม คอื รว่ มคิด ร่วมทา ร่วม ภาษาทีเ่ พยี งพอและเหมาะสมตอ่ การจดั การเรยี นรู้ ตรวจสอบ ร่วมรับผดิ ชอบ ตามรูปแบบการ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียน บริหารจดั การศึกษาส่คู วามเป็นเลศิ โดยใช้ เป็นสำคญั P@MAESUK MODEL เป็นนวัตกรรมหลัก สง่ ผลให้โรงเรยี นมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ควรนาภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ใหเ้ ข้ามามีสว่ น ร่วมในการจดั กจิ กรรมให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ และ ท่ี กาหนดไว้ชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของ การใหข้ ้อมูลย้อนกลับแกน่ ักเรียนทนั ทีเพ่ือนกั เรยี น โรงเรยี นตามความต้องการของชุมชน นาไปใช้พัฒนาตนเอง วัตถปุ ระสงค์ของแผนการจดั การศกึ ษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน้ สังกดั ทันตอ่ การ เปล่ยี นแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลกั สูตรสถานศึกษา และสง่ เสรมิ สนบั สนุนพฒั นาครูและบุคลากรให้มี ความเชย่ี วชาญตรงตามความต้องการ ให้เป็น ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี มาใช้ในการพัฒนา งานและการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น

30 จดุ เด่น จุดควรพฒั นำ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเ่ี น้นผู้เรียน เปน็ สำคัญ 1) ครูพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอมีความต้ังใจ มุ่งมนั่ ใน การปฏิบัตหิ น้าท่ีอย่างเตม็ เวลาและความสามารถ 2) ครจู ัดกิจกรรมให้นักเรยี นแสวงหาความรูจ้ ากส่อื เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 3) ครูให้นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ 4) ครูจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรียนเรียนรจู้ ากการคดิ ได้ ปฏิบัตจิ ริงด้วยวิธีการและแหลง่ เรยี นรู้หลากหลาย แนวทำงกำรพัฒนำในอนำคต 1) พัฒนาให้นักเรยี นมีทักษะในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคานวณเปน็ ไปตาม เกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนดในแต่ระดับช้ัน 2) พฒั นาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง พิจารณาอยา่ ง รอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาอยา่ งมี เหตผุ ล 3) พัฒนาให้นักเรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ งั้ ดว้ ยตนเองและการทางานเป็นทมี เช่อื มโยงองค์ความรู้ และประสบการณม์ าใช้ในการสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ 4) พฒั นาให้นักเรียน มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพัฒนา ตนเอง และสงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทางาน อยา่ งสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม 5) พฒั นาให้นักเรียน มีความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดมิ ในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง 6) พฒั นาให้นักเรยี นมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานในการ จัดการเจตคติทีด่ ีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้นั ทส่ี ูงขึ้น มีพฤติกรรมเป็นผูท้ ม่ี ีคณุ ธรรม จริยธรรม เคารพ ในกฎกตกิ า 7) พฒั นาให้นักเรยี นมีค่านิยมและจิตสานึกตามที่สถานศกึ ษามีความภมู ิใจในทอ้ งถิน่ เหน็ คณุ คา่ ของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทงั้ ภมู ิปัญญาไทย 8) พฒั นาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่าง เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั

31 ควำมตอ้ งกำรกำรช่วยเหลือ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่มีผลสัมฤทธ์ิต่า กว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศให้มีผลคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น และพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ให้มีคา่ เฉล่ียคะแนนสูงขึ้นกว่าเดมิ

32 ภำคผนวก

33 ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน ปีกำรศึกษำ 2562 ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียน 8 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ทกุ ระดับชนั้ (ป.1-ป.6) ปกี ำรศกึ ษำ 2562 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน ร้อยละ นร. ทไี่ ดร้ ะดับ จานวน จานวนนกั เรยี นที่มีผลการเรยี นรู้ นร.ที่ได้ 3 ขึ้นไป กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ท่ีเขา้ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 75.00 83.33 สอบ ขนึ้ ไป 58.33 41.67 ภาษาไทย 12 - - 1 1 1 1 2 6 9 50.00 100 คณติ ศาสตร์ 12 - - - - 1 5 - 5 10 100 66.67 วทิ ยาศาสตร์ 12 - 1 - 2 2 2 3 2 7 50.00 66.67 สังคมศึกษา ฯ 12 - 2 4 1 - 2 3 - 5 ประวัตศิ าสตร์ 12 - 1 1 2 2 3 1 2 6 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 12 - - - - - - 1 11 12 ศลิ ปะ 12 - - - - - - 4 8 12 การงานอาชีพฯ 12 - 21 1 2 6 8 ภาษาต่างประเทศ 12 - 4-112 4 6 การป้องกันการทจุ ริต 12 - 3 1 -1 2 6 8 ผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรยี น 8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรูท้ กุ ระดับช้ัน (ป.1-ป.6) ปีกำรศึกษำ 2562 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 จานวน ร้อยละ นร. ทไี่ ดร้ ะดบั จานวน จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ นร.ท่ีได้ 3 ขน้ึ ไป กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ท่เี ข้า 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 71.43 71.43 สอบ ขนึ้ ไป 71.43 42.86 ภาษาไทย 21 - 2 1 1 2 9 2 4 15 66.67 100 คณิตศาสตร์ 21 - 1 - 2 3 6 5 4 15 95.24 80.95 วิทยาศาสตร์ 21 - - 1 4 1 11 2 2 15 33.33 80.95 สงั คมศึกษา ฯ 21 - 2 - 4 6 6 1 2 9 ประวตั ศิ าสตร์ 21 - - - 3 4 8 3 3 14 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 21 - - - - - - - 21 21 ศิลปะ 21 - - - - 1 5 6 9 20 การงานอาชีพฯ 21 - - - 2 2 6 4 7 17 ภาษาตา่ งประเทศ 21 - - 6 6 2 4 1 2 7 การปอ้ งกนั การทุจรติ 21 - - - - 4 10 5 2 17

34 ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียน 8 กลุม่ สำระกำรเรียนร้ทู กุ ระดับชัน้ (ป.1-ป.6) ปกี ำรศึกษำ 2562 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 จานวน รอ้ ยละ นร. ทไี่ ด้ระดับ จานวน จานวนนกั เรียนทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ นร.ท่ไี ด้ 3 ขึ้นไป กลุ่มสาระการเรียนรู้ ท่เี ข้า 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3 64.29 50.00 สอบ ข้นึ ไป 85.71 71.43 ภาษาไทย 14 - 1 1 - 3 2 5 2 9 71.43 100 คณติ ศาสตร์ 14 - 1 2 2 2 3 2 2 7 100 78.57 วทิ ยาศาสตร์ 14 - - 2 - - 5 1 6 12 50.00 100 สงั คมศึกษา ฯ 14 - - - 3 1 2 2 6 10 ประวตั ศิ าสตร์ 14 - - - 3 1 2 2 6 10 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 14 - - - - - - - 14 14 ศลิ ปะ 14 - - - - - 2 4 8 14 การงานอาชีพฯ 14 - - - - 3 3 5 3 11 ภาษาตา่ งประเทศ 14 - 4 1 1 1 2 2 3 7 การปอ้ งกันการทุจริต 14 - - - - - 3 3 8 14 ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น 8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรทู้ กุ ระดับชั้น (ป.1-ป.6) ปกี ำรศึกษำ 2562 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 จานวน รอ้ ยละ นร. ที่ได้ระดับ จานวน จานวนนกั เรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ นร.ท่ีได้ 3 ขึน้ ไป กลุม่ สาระการเรียนรู้ ทเ่ี ข้า 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 50 57.14 สอบ ข้นึ ไป 57.14 42.86 ภาษาไทย 7 -- -11 2 1 2 5 50 100 คณติ ศาสตร์ 7 ---3- 2 - 2 4 71 85.71 วทิ ยาศาสตร์ 7 -- -12 2 - 2 4 42.86 57.14 สังคมศึกษา ฯ 7 -- -22 1 1 1 3 ประวัตศิ าสตร์ 7 --- 221 2 5 สุขศึกษาและพลศึกษา 7 - - - - - - - 7 7 ศลิ ปะ 7 --- 212 2 5 การงานอาชพี ฯ 7 --- 121 3 6 ภาษาตา่ งประเทศ 7 --3-1 - 1 2 3 การปอ้ งกันการทจุ ริต 7 - - - 1 2 1 1 2 4

35 ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรียน 8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรทู้ กุ ระดับชนั้ (ป.1-ป.6) ปีกำรศึกษำ 2562 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน รอ้ ยละ นร. ทไ่ี ดร้ ะดับ จานวน จานวนนักเรยี นทม่ี ีผลการเรียนรู้ นร.ท่ไี ด้ 3 ขนึ้ ไป กล่มุ สาระการเรียนรู้ ท่ีเข้า 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 66.66 77.77 สอบ ขึน้ ไป 66.66 77.77 ภาษาไทย 9 --1-212 3 6 100 100 คณติ ศาสตร์ 9 --1-132 2 7 77.77 88.88 วทิ ยาศาสตร์ 9 --1-231 2 6 66.66 100 สงั คมศึกษา ฯ 9 ---2- 14 2 7 ประวัตศิ าสตร์ 9 ----- 14 4 9 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 9 - - - - - - - 9 9 ศลิ ปะ 9 - - - 1 1 3 2 2 7 การงานอาชพี ฯ 9 ----122 4 8 ภาษาตา่ งประเทศ 9 --111 2 1 3 6 การป้องกนั การทจุ ริต 9 - - - - - 1 2 6 9 ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น 8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ทกุ ระดับช้ัน (ป.1-ป.6) ปกี ำรศึกษำ 2562 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน รอ้ ยละ นร. ท่ีได้ระดบั จานวน จานวนนักเรียนทม่ี ผี ลการเรยี นรู้ นร.ที่ได้ 3 ขน้ึ ไป กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ที่เขา้ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 52.94 58.82 สอบ ขน้ึ ไป 64.01 64.01 ภาษาไทย 17 - - - 5 3 1 2 6 9 52.94 100 คณติ ศาสตร์ 17 - - 4 3 - 5 1 4 10 76.47 76.47 วิทยาศาสตร์ 17 - - 4 1 1 6 1 4 11 52.94 70.59 สังคมศึกษา ฯ 17 - - - 3 3 3 2 6 11 ประวตั ิศาสตร์ 17 - 3 3 - 2 - 3 6 9 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 17 - - - - - 3 5 9 17 ศิลปะ 17 - - - 2 2 5 3 5 13 การงานอาชพี ฯ 17 - - - - 4 4 2 7 13 ภาษาตา่ งประเทศ 17 - - 2 2 2 4 3 2 9 การป้องกนั การทุจรติ 17 - - - - 5 3 4 5 12

36 4.2 ผลกำรประเมินกำรอ่ำน คิดวิเครำะหแ์ ละเขียนทกุ ระดับชนั้ (ป.1-ป.6) ปีกำรศกึ ษำ 2562 ระดบั ชน้ั จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั จานวน นร. รอ้ ยละ นร. นร. คณุ ภาพ ทีไ่ ด้ระดบั ดี ทไ่ี ด้ระดบั ดี ทง้ั หมด (การอ่านคดิ วิเคราะห์ และเขียน) ข้ึนไป ขน้ึ ไป ดีเยยี่ ม ดี ผำ่ น ไมผ่ ่ำน ประถมศกึ ษาปที ี่1 12 9 3 - - 12 100 ประถมศกึ ษาปีท2่ี 21 9 10 2 - 19 90.48 ประถมศกึ ษาปีท่3ี 14 8 4 2 - 12 85.71 ประถมศึกษาปีท4ี่ 7 34 - - 7 100 ประถมศกึ ษาปที ี่5 9 35 1 - 8 88.89 ประถมศึกษาปีท่6ี 17 5 10 2 - 15 88.24 รวม 80 37 36 7 - 73 91.25 เฉลย่ี ร้อยละ 100 46.25 45.00 8.75 - 91.25 91.25 4.3 ผลกำรประเมนิ กิจกรรมพฒั นำผู้เรยี นทุกระดับช้นั (ป.1-ป.6) ปีกำรศกึ ษำ 2562 ระดับช้ัน จานวน นร. จานวน/รอ้ ยละของ จานวน นร. ร้อยละ นร. ท้งั หมด นักเรยี นตามระดบั ทีผ่ ่าน ที่ผ่าน คณุ ภาพ (กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น) ผ่ำน ไม่ผำ่ น ประถมศึกษาปที ี่1 12 12 - 12 100 ประถมศกึ ษาปีท2่ี 21 21 - 21 100 ประถมศกึ ษาปที ่ี3 14 14 - 14 100 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 7 7 - 7 100 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 9 9 - 9 100 ประถมศกึ ษาปีที่6 17 17 - 17 100 รวม 80 80 - 80 100 เฉลย่ี รอ้ ยละ 100 100 0 100 100

37 4.4 ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพผ้เู รยี น (NT) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี 3 สาระวชิ า จานวนคน คะแนนเฉล่ีย เฉล่ยี รอ้ ยละ ด้านภาษาไทย 14 ดา้ นคณติ ศาสตร์ 14 ค่ำเฉล่ยี 4.5 ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำตขิ น้ั พน้ื ฐำน (O-NET) ระดบั ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี 6 รายวิชา จานวนคน คะแนนเฉลี่ย เฉลยี่ ร้อยละ คณิตศาสตร์ 11 35.91 35.91 ภาษาไทย 11 53.75 53.75 วิทยาศาสตร์ 11 36.77 36.77 ภาษาอังกฤษ 11 29.32 29.32 38.94 38.94 คำ่ เฉล่ีย

38 4.6 ผลกำรประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ่ี 1 จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตาม จานวน ร้อยละ นร. นร. คณุ ลักษณะอันพึง จานวน ระดบั คุณภาพ ทไี่ ด้ระดบั ดี ทไ่ี ด้ระดบั ข้นึ ไป ดี ข้นึ ไป ประสงค์ นร.ทง้ั หมด (คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์) 12 100 12 100 ดเี ย่ยี ม ดี ผ่ำน ไมผ่ ำ่ น 12 100 12 100 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 12 12 - - - 12 100 12 100 2.ซอื่ สัตยส์ จุ รติ 12 12 - - - 12 100 12 100 3.มีวนิ ัย 12 12 - - - 96 100 12 100 4.ใฝเ่ รียนรู้ 12 12 - - - 5.อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 12 12 - - - 6.มุ่งมั่นในการทางาน 12 12 - - - 7.รกั ความเป็นไทย 12 12 - - - 8.มจี ิตสาธารณะ 12 12 - - - สรปุ ผลกำรประเมิน 96 96 - - - เฉลย่ี 12 12 - - - ชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตาม จานวน รอ้ ยละ นร. นร. คณุ ลกั ษณะอนั พึง จานวน ระดับคุณภาพ ทไี่ ด้ระดับดี ท่ไี ดร้ ะดับ ประสงค์ ข้นึ ไป ดี ขนึ้ ไป นร.ท้ังหมด (คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์) 21 100 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 21 100 2.ซอื่ สัตย์สุจรติ ดเี ย่ียม ดี ผ่ำน ไม่ผำ่ น 19 90.48 3.มวี ินยั 13 61.90 4.ใฝ่เรยี นรู้ 21 20 1 - - 20 95.24 5.อยู่อย่างพอเพียง 13 61.90 6.มุ่งมน่ั ในการทางาน 21 13 8 - - 21 100 7.รักความเป็นไทย 21 100 8.มจี ติ สาธารณะ 21 14 5 2 - 149 88.69 18.63 88.69 สรุปผลกำรประเมิน 21 5 8 8 - เฉลยี่ 21 9 6 1 - 21 8 5 8 - 21 11 10 - - 21 19 2 - - 168 99 45 19 - 21 12.38 5.63 2.38 -

39 ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 3 คณุ ลักษณะอนั พงึ จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรยี นตาม จานวน รอ้ ยละ ประสงค์ นร. ระดบั คุณภาพ นร. นร. ทง้ั หมด ทีไ่ ด้ระดบั ที่ไดร้ ะดบั (คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์) ดี ขน้ึ ไป ดี ขน้ึ ไป ดีเยย่ี ม ดี ผำ่ น ไมผ่ ำ่ น 1.รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 14 11 3 - - 14 100 2.ซื่อสตั ยส์ จุ รติ 14 6 8 - - 14 100 3.มวี ินยั 14 6 8 - - 14 100 4.ใฝเ่ รียนรู้ 14 8 6 - - 14 100 5.อยอู่ ยา่ งพอเพียง 14 11 3 - - 14 100 6.มงุ่ มัน่ ในการทางาน 14 7 7 - - 14 100 7.รกั ความเป็นไทย 14 12 2 - - 14 100 8.มีจติ สาธารณะ 14 10 4 - - 14 100 สรปุ ผลกำรประเมนิ 112 71 41 - - 112 100 เฉลี่ย 14 8.875 5.125 - - 14 100 ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 4 จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตาม จานวน ร้อยละ นร. นร. คุณลกั ษณะอนั พงึ จานวน ระดับคุณภาพ ท่ีได้ระดบั ดี ท่ไี ดร้ ะดบั ประสงค์ ขนึ้ ไป ดี ขน้ึ ไป นร.ทั้งหมด (คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์) 7 100 1.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 7 100 2.ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ดีเยีย่ ม ดี ผำ่ น ไม่ผำ่ น 7 100 3.มีวินัย 7 100 4.ใฝเ่ รียนรู้ 7 7-- - 7 100 5.อยู่อย่างพอเพียง 7 100 6.มุ่งมนั่ ในการทางาน 7 7-- - 7 100 7.รักความเป็นไทย 7 100 8.มีจติ สาธารณะ 7 7-- - 56 100 7 100 สรุปผลกำรประเมนิ 7 7-- - เฉลยี่ 7 7-- - 7 7-- - 7 7-- - 7 7-- - 56 56 - - - 7 7-- -

40 ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 5 จานวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตาม จานวน ร้อยละ นร. นร. คุณลกั ษณะอนั พึง จานวน ระดับคุณภาพ ที่ไดร้ ะดบั ดี ทไ่ี ดร้ ะดบั ประสงค์ ขึ้นไป ดี ขึ้นไป นร.ท้งั หมด (คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์) 9 100 1.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 9 100 2.ซ่ือสัตย์สุจริต ดีเยี่ยม ดี ผำ่ น ไมผ่ ่ำน 9 100 3.มีวนิ ัย 9 100 4.ใฝ่เรยี นรู้ 9 9-- - 9 100 5.อยู่อยา่ งพอเพียง 9 100 6.มงุ่ ม่นั ในการทางาน 9 9-- - 9 100 7.รักความเปน็ ไทย 9 100 8.มจี ติ สาธารณะ 9 9-- - 72 100 100 100 สรปุ ผลกำรประเมิน 9 9-- - เฉล่ีย 9 9-- - 9 72- - 9 9-- - 9 9-- - 72 70 2 - - 9 8.75 0.25 - - ช้ันประถมศึกษำปีที่ 6 จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตาม จานวน รอ้ ยละ นร. นร. คุณลกั ษณะอนั พึง จานวน ระดับคุณภาพ ทไ่ี ดร้ ะดบั ดี ทไ่ี ดร้ ะดบั ประสงค์ ขึ้นไป ดี ขึน้ ไป นร.ทง้ั หมด (คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์) 17 100 1.รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 17 100 2.ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ดเี ย่ยี ม ดี ผำ่ น ไม่ผำ่ น 17 100 3.มวี ินยั 17 100 4.ใฝเ่ รยี นรู้ 17 17 - - - 17 100 5.อยอู่ ย่างพอเพียง 17 100 6.มุ่งม่ันในการทางาน 17 17 - - - 17 100 7.รักความเปน็ ไทย 17 100 8.มีจติ สาธารณะ 17 17 - - - 136 100 17 100 สรุปผลกำรประเมิน 17 17 - - - เฉล่ยี 17 17 - - - 17 17 - - - 17 17 - - - 17 17 - - - 136 136 - - - 17 17 - - -

41 4.7 ผลกำรประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 5 ดำ้ น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตาม จานวน นร. ร้อยละ นร. นร. ระดบั คุณภาพ ทไี่ ดร้ ะดบั ดี ท่ไี ดร้ ะดับดี ทงั้ หมด ดเี ยี่ยม ดี ผำ่ น ไม่ผ่ำน ข้ึนไป ขน้ึ ไป 12 100 1.ด้านความสามารถ 12 12 - - - 12 100 ในการส่ือสาร 12 100 2.ดา้ นความสามารถ 12 10 2 - - 12 100 ในการคดิ 12 100 3.ด้านความสามารถ 12 12 - - - 60 100 ในการแกป้ ญั หา 12 100 4.ด้านความสามารถ 12 11 1 - - ในการใชท้ ักษะชวี ติ 5.ด้านความสารถ 12 12 - - - ในการใชเ้ ทคโนโลยี สรปุ ผลกำรประเมิน 60 57 3 - - เฉลยี่ 12 11.40 0.6 - -

42 ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 2 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตาม จานวน นร. รอ้ ยละ นร. นร. ระดับคุณภาพ ที่ได้ระดบั ดี ทไี่ ดร้ ะดับดี 1.ดา้ นความสามารถ ในการสอ่ื สาร ทั้งหมด ดีเยีย่ ม ดี ผ่ำน ไม่ผำ่ น ข้นึ ไป ขึน้ ไป 2.ดา้ นความสามารถ ในการคดิ 21 9 12 - - 21 100 3.ด้านความสามารถ ในการแก้ปญั หา 21 3 14 4 - 21 80.95 4.ด้านความสามารถ ในการใชท้ ักษะชีวิต 21 7 12 2 - 21 90.48 5.ด้านความสารถ ในการใช้เทคโนโลยี 21 3 18 - - 21 100 สรุปผลกำรประเมิน 21 3 17 1 - 20 95.24 เฉล่ีย 105 25 73 7 - 98 93.33 21 5 14.60 1.40 19.60 18.67

43 ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตาม จานวน นร. ร้อยละ นร. นร. ระดบั คุณภาพ ทีไ่ ด้ระดบั ดี ทไ่ี ดร้ ะดับดี 1.ดา้ นความสามารถ ในการสอ่ื สาร ทั้งหมด ดเี ยีย่ ม ดี ผำ่ น ไมผ่ ่ำน ข้นึ ไป ข้นึ ไป 2.ดา้ นความสามารถ ในการคดิ 14 8 6 - - 14 100 3.ดา้ นความสามารถ ในการแก้ปัญหา 14 7 7 - - 14 100 4.ด้านความสามารถ ในการใช้ทักษะชวี ติ 14 8 6 - - 14 100 5.ดา้ นความสารถ ในการใช้เทคโนโลยี 14 10 4 - - 14 100 สรปุ ผลกำรประเมิน 14 12 2 - - 14 100 เฉล่ยี 70 45 25 - - 70 100 14 9 5 - - 14 100

44 ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 4 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตาม จานวน นร. ร้อยละ นร. นร. ระดับคุณภาพ ท่ีได้ระดบั ดี ท่ีไดร้ ะดับดี 1.ดา้ นความสามารถ ในการสือ่ สาร ทงั้ หมด ดีเยย่ี ม ดี ผ่ำน ไม่ผ่ำน ขึน้ ไป ขนึ้ ไป 2.ด้านความสามารถ ในการคดิ 7 7 - - - 7 100 3.ดา้ นความสามารถ ในการแกป้ ัญหา 7 7 - - - 7 100 4.ดา้ นความสามารถ ในการใช้ทักษะชวี ติ 7 7 - - - 7 100 5.ดา้ นความสารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยี 7 7 - - - 7 100 สรปุ ผลกำรประเมิน 7 7 - - - 7 100 เฉล่ีย 35 35 - - - 35 100 7 7 - - - 7 100

45 ชั้นประถมศึกษำปีที่ 5 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตาม จานวน นร. ร้อยละ นร. นร. ระดับคุณภาพ ท่ไี ด้ระดับดี ทไ่ี ดร้ ะดับดี 1.ดา้ นความสามารถ ในการสือ่ สาร ทัง้ หมด ดีเยย่ี ม ดี ผ่ำน ไม่ผำ่ น ข้นึ ไป ขึน้ ไป 2.ดา้ นความสามารถ ในการคดิ 9 8 1 - - 9 100 3.ด้านความสามารถ ในการแกป้ ญั หา 9 3 5 - - 9 100 4.ดา้ นความสามารถ ในการใชท้ ักษะชวี ติ 9 7 2 - - 9 100 5.ดา้ นความสารถ ในการใช้เทคโนโลยี 9 9 - - - 9 100 สรุปผลกำรประเมิน 9 7 2 - - 9 100 เฉล่ีย 45 34 10 - - 45 100 9 6.80 2 - - 9 100

46 ช้ันประถมศึกษำปที ่ี 6 สมรรถนะสาคัญ จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตาม จานวน นร. ร้อยละ นร. นร. ระดบั คุณภาพ ท่ไี ดร้ ะดับดี ท่ีไดร้ ะดับดี 1.ดา้ นความสามารถ ในการสอื่ สาร ทั้งหมด ดีเย่ียม ดี ผำ่ น ไมผ่ ่ำน ขน้ึ ไป ขน้ึ ไป 2.ดา้ นความสามารถ ในการคดิ 17 7 10 - - 17 100 3.ดา้ นความสามารถ ในการแก้ปัญหา 17 5 11 1 - 16 94.12 4.ด้านความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต 17 10 7 - - 17 100 5.ด้านความสารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยี 17 9 8 - - 17 100 สรปุ ผลกำรประเมิน 17 9 8 - - 17 100 เฉล่ยี 85 40 44 1 - 84 98.82 17 8 8.8 0.2 - 16.80 100

47 คำสงั่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook