Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบวนการทางวิทยาศาตร์

กระบวนการทางวิทยาศาตร์

Published by pichayapanamdokmai, 2019-05-06 23:44:38

Description: กระบวนการทางวิทยาศาตร์

Search

Read the Text Version

2 หน่วยท่ี 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความหมาย และประเภท ของวทิ ยาศาสตร์ โครงงาน กระบวนการ วิธกี ารทาง วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิต แผนผังมโนทศั น์ ทม่ี า : กรติ ติ การวัฒน,ี 2557 หนว่ ยท่ี 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

3 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 6 ชวั่ โมง สาระการเรียนรู้ 1.1 ความหมายและประเภทของวทิ ยาศาสตร์ 1.2 วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 1.3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.4 โครงงานวิทยาศาสตร์ แนวคิด วิทยาศาสตร์ เป็นวิชาท่ีว่าด้วยความเป็นจริงของธรรมชาติ สามารถทดลองพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ ปรากฏการณ์ท้ังหลายท่ีเกดิ ขนึ้ ในธรรมชาติสามารถอธิบายไดด้ ้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ วิธที างวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการทางานอย่างมีระบบแบบแผน โดยการคน้ หาสาเหตุของปัญหา ออกแบบการแก้ปัญหา หาคาตอบด้วยการพิสูจน์ข้อเท็จจริงจนได้ข้อสรุป ข้ันตอนการทางานต้องมี ความสามารถในการใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ พอื่ ให้เกิดความถูกต้อง คุณภาพของงานที่ ดที ีส่ ุด การทาโครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นการทางานเป็นกลุ่มที่ได้นากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง เพ่ือให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการแก้ปัญหาด้านอื่น ๆ การสร้างงาน ความสะดวกสบาย อยู่ดีมีสุข ตลอดจนการต่อยอดและพัฒนา โครงงานวิทยาศาสตร์มี 4 ประเภท คือ ประเภทสารวจ ประเภททดลอง ประเภทสิ่งประดิษฐ์ และ ประเภททฤษฎี วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

4 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายของวิทยาศาสตรไ์ ด้ถกู ต้อง 2. อธบิ ายวิธที างวิทยาศาสตรไ์ ด้ถกู ต้อง 3. ระบขุ ้อมลู ทเ่ี ป็นผลมาจากการสงั เกตได้ 4. กาหนดเกณฑแ์ ละจาแนกประเภทสิง่ ของตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไดถ้ ูกต้อง 5. พยากรณ์ผลทเ่ี กิดจากขอ้ มูลท่กี าหนดให้ได้ 6. ต้งั สมมตฐิ านจากปญั หาทก่ี าหนดไว้ได้ถูกต้อง 7. ระบุตวั แปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมได้ 8. อธบิ ายขั้นตอนในการทาโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้ 9. บอกประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ ี่กาหนดให้ได้ถูกต้อง 10. จดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละแสดงผลงานท่ีศึกษาได้ วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

5 แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ คาสั่ง จงทาเครื่องหมาย  ลงหน้าข้อท่ีถกู ต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเก่ียวข้องกบั ความหมายของวทิ ยาศาสตร์ ก. ความรู้ ข. ความจา ค. ความเขา้ ใจ ง. การนาไปใช้ 2. ขอ้ ใดเรียงลาดบั การใช้วธิ ีทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ ถกู ต้อง ก. ระบุปัญหา ต้งั สมมตฐิ าน ทดลอง สรุปผล ข. ต้งั สมมติฐาน ระบุปัญหา ทดลอง สรุปผล ค. ต้ังสมมติฐาน ทดลอง ระบปุ ัญหา สรปุ ผล ง. ระบุปัญหา ทดลอง ตั้งสมมตฐิ าน สรุปผล 3. ข้อใดเปน็ ข้อมลู จากการสังเกตเทยี นไข ก. เทียนไขแท่งนส้ี ีสวย ข. เทยี นไขแท่งนีท้ าที่อาเภอเสนา ค. เทียนไขควรเกบ็ ในทีอ่ ากาศเย็น ง. เทียนไขเปน็ แท่งยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร 4. ไมอ้ ัดขนาดกวา้ ง 120 เซนติเมตร ยาว 240 เซนติเมตร ตดั เปน็ ไม้อัดขนาดกวา้ ง 60 เซนตเิ มตร ยาว 60 เซนติเมตรได้กีแ่ ผ่น ก. 6 แผน่ ข. 7 แผน่ ค. 8 แผน่ ง. 9 แผน่ วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทักษะชีวิต หน่วยที่ 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

6 เบอรไ์ ข่ไก่ จานวนฟอง 1 200 2 250 3 350 5. จากตารางข้างบนเป็นทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ด้านใด ก. การสรุปข้อมูล ข. การจัดทาข้อมูล ค. การวดั ขนาดข้อมลู ง. การคานวณหาขอ้ มลู 6. ในการทดลองเพาะเหด็ ฟาง 2 ตะกรา้ ในเวลาเดยี วกัน พ้นื ท่เี ดียวกนั ปรมิ าณน้าที่ใช้ และอาหาร เสริมเหมอื นกัน ระยะเวลาในการเพาะเทา่ กนั ดังนี้ ตะกรา้ ท่ี 1 วัสดทุ ่ีใชเ้ พาะเหด็ ฟาง ได้แก่ เปลอื กฝักถ่ัว ตะกรา้ ที่ 2 วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง ได้แก่ ฟางข้าว การทดลองน้มี ีสมมตฐิ านวา่ อยา่ งไร ก. แสงมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของเห็ดฟาง ข. ความชื้นมผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของเหด็ ฟาง ค. อาหารเสรมิ มีผลต่อการเจริญเตบิ โตของเห็ดฟาง ง. วสั ดทุ ่ีใช้เพาะเห็ดฟางตา่ งกนั การเจริญเติบโตของเหด็ ฟางจะตา่ งกัน 7. จากข้อความ “น้าหนกั ของตัวปลาจะเพมิ่ ขนึ้ เดอื นละ 0.1 กิโลกรมั โดยมีอัตราการใหอ้ าหาร 20 กิโลกรัมต่อวัน” ตวั แปรควบคมุ ไดแ้ ก่ ก. ระยะเวลา ข. อาหารปลา ค. นา้ หนักปลา ง. บ่อทเ่ี ลีย้ งปลา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

7 8. ในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ขั้นตอนสดุ ทา้ ยคอื ข้ันตอนใด ก. การเขยี นรายงาน ข. การแสดงผลงาน ค. การลงมอื ทาโครงงาน ง. การศกึ ษาค้นคว้าเอกสาร 9. การพฒั นาเคร่อื งสลดั เปลือกกระเทยี ม เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทใด ก. ประเภทสารวจ ข. ประเภททดลอง ค. ประเภททฤษฎี ง. ประเภทสิง่ ประดิษฐ์ 10. การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ขอ้ ใดท่ที าใหผ้ ู้ทาโครงงานมองเห็นแนวทางในการทาโครงงานตง้ั แต่ เริม่ ต้นจนเสรจ็ ส้ินโครงงาน ก. บทคัดย่อ ข. จดุ มุ่งหมาย ค. เค้าโครงย่อโครงงาน ง. วิธีดาเนนิ การทดลอง วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

8 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1.1 ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มาจากภาษาลาตินวา่ “Scientia” หมายถึง ความรู้จึงทาให้การเรยี นรูท้ างวิทยาศาสตร์ เป็นการค้นหาความจริงในเร่ืองที่เก่ียวกับธรรมชาติ เพ่ือให้เกิดความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่เป็นกระบวนการคิดและการกระทาท่ีเกิดข้ึนอย่างเป็นระบบ แบบแผน เป็นข้ันตอน และสามารถ พสิ ูจน์ได้ด้วย ดงั นัน้ การเรยี นร้วู ิทยาศาสตรจ์ ึงเปน็ การพฒั นาผเู้ รียนให้ได้รับความรู้ กระบวนการ และ เจตคติ โดยลกั ษณะความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะมีลกั ษณะเฉพาะดังน้ี 1. เปน็ ความรู้เชิงประจกั ษ์ ท่ีสร้างข้นึ จากขอ้ เทจ็ จริงท่ไี ดจ้ ากการสังเกตและทดลอง 2. เปน็ ความรูท้ ไ่ี ดม้ าดว้ ยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 3. เป็นความรู้ที่มลี ักษณะเปน็ ความจรงิ สากลและความจรงิ นีใ้ ช้กันทั่วโลก 4. เป็นความรู้ที่ยังไม่มีความจริงที่สมบูรณ์ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณยิ่งข้ึนเป็น ความจริงท่ีเชอ่ื ถือไดส้ งู และนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. มีลักษณะเป็นปรนัยคือเป็นส่ิงที่ได้ผ่านการตรวจสอบตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์จนเป็น ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ 6. เป็นความรู้ที่อาศัยเหตุผลง่าย ๆ ไปจนถึงเหตุผลที่ต้องใช้ความรู้เฉพาะและต้องมีความรู้ พื้นฐานทางวทิ ยาศาสตรจ์ ึงจะมีความเข้าใจได้ 7. เปน็ ความรทู้ ่นี ามาพฒั นาความเจรญิ ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น กฎและทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

9 ประเภทของวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์จาแนกตามธรรมชาติของวิชาได้เป็น 3 ประเภทคอื 1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) เป็นวิทยาศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ในโลกและจักรวาลทเ่ี ก่ียวกบั สิ่งมีชวี ติ เชน่ ชีววิทยา พฤกษศาสตร์ เปน็ ต้น 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) เป็นวิทยาศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ในโลกและจักรวาลทเี่ กีย่ วกบั สง่ิ ไม่มีชีวิต เชน่ เคมี ฟิสิกส์ เป็นตน้ 3. วิทยาศาสตร์สังคม (Social Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและ พฤตกิ รรมของมนษุ ย์ท่รี วมกนั อยู่เปน็ สังคมหรือชุมชน เชน่ สังคมศาสตร์ จติ วิทยา เป็นตน้ 1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง เพ่ือใช้แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ อยา่ งมรี ะบบ มีขั้นตอนดงั น้ี 1.2.1 การระบปุ ญั หา กอ่ นที่จะเข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหา ต้องทราบก่อนว่าปัญหาท่ีจะแก้ คืออะไร ต้องระบุปัญหาให้ชัดเจน ไม่คลุมเครือ การให้ได้มาซ่ึงปัญหาน้ันต้องมีความอยากรู้อยากเห็น การสงั เกต การสบื เสาะหาความรู้ คน้ ควา้ หาข้อมูลอยา่ งละเอียดเกย่ี วกบั ปญั หา 1.2.2 การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือตอบคาถามของปัญหาที่จะศึกษาล่วงหน้า ก่อนการทดลองว่าควรเป็นอย่างไร โดยอาศัยความรู้ ข้อมูล และประสบการณ์เดิมเก่ียวกับเรื่องที่จะ ศึกษา ช่วยในการตดั สินใจ 1.2.3 การทดลอง เป็นการดาเนินการพิสูจน์ข้อเท็จจริงจากสมมติฐานที่ตั้งไว้ ต้องมีการ ออกแบบการทดลอง กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการทดลอง การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีจะใช้ ในการทดลอง กาหนดขน้ั ตอนการทดลองให้มคี วามเหมาะสมกับระยะเวลาท่ีใช้ในการทดลอง 1.2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนาข้อมูลท่ีได้จากการทดลอง โดยการเก็บรวบรวมจาก บันทกึ ผลการทดลองมาวิเคราะหแ์ ละแปรผลใหต้ รงกบั สมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้ 1.2.5 การสรุปผล เป็นการนาข้อมูลจากการวิเคราะห์มาลงความเห็นเป็นข้อสรุป และเขียน รายงานผลการศึกษาทดลอง วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

10 1.3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science Process Skill) เป็นความสามารถใน การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเครื่องมือแสวงหาคาตอบของปัญหา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื ทักษะขนั้ พืน้ ฐาน 8 ทกั ษะ และทักษะขน้ั บรู ณาการ 5 ทกั ษะ รวมเปน็ 13 ทักษะ ดังนี้ 1.3.1 ทักษะการสังเกต (Observation) ทักษะการสงั เกต เปน็ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 อย่างใดอย่างหน่ึง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ท่ี เกดิ ขนึ้ เพ่ือให้ไดม้ าซง่ึ ขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งตามความเป็นจริง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยไม่ได้ใช้ประสาทสัมผัสไม่ถือ ว่าเป็นการใช้ทักษะการสังเกต เช่น ลมพัด เมฆครึ้ม ฝนตกแน่ ๆ และไม่มีการใส่ความคิดเห็นของ ผสู้ ังเกตลงไปด้วย ทักษะการสังเกตมี 4 ประเภท ดังน้ี 1.3.1.1 การสังเกตเชงิ คุณลักษณะ การสังเกตเชิงคุณลักษณะ เป็นการสังเกตท่ีบอก ลักษณะ รูปร่าง เช่น ใหญ่ เล็ก หรือบอกคุณสมบัติเฉพาะตัว เช่น บอกสี กล่ิน รส เสียง และความรู้สึก ตอ่ กายสัมผัสโดยไมบ่ อกปริมาณ ก. ภาพการสูดกลนิ่ ดอกไม้ ข. ภาพใชล้ ิ้นสมั ผัส ภาพท่ี 1.1 ภาพการสงั เกตเชิงคณุ ลกั ษณะ ที่มา : กริตติ การวฒั นี, 2557 วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

11 1.3.1.2 การสังเกตเชิงปริมาณ การสังเกตเชิงปริมาณ เป็นการบอกรายละเอียด เกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ เป็นตัวเลข และมีหน่วยกากับ เช่น ความยาว ส่วนสูง น้าหนัก ดังตัวอย่างใน ตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 แสดงตัวอย่างการสงั เกตเชิงปรมิ าณ วตั ถุทส่ี ังเกต ข้อมูลการสังเกตเชงิ ปริมาณ ทเุ รียน ทเุ รยี นผลน้มี มี วลประมาณ 2 กิโลกรมั ช้าง ชา้ งเชือกนี้สูงประมาณ 2.50 เมตร 1.3.1.3 การสังเกตเชิงเปรียบเทียบ การสังเกตเชิงเปรียบเทียบ เป็นการสังเกตส่ิงหนึ่ง เปรียบเทียบกับอีกส่ิงหน่ึง ซ่ึงอาจระบุเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้ เช่น แตงโม 1 ผล มีมวล ประมาณ 2.5 กิโลกรัม ฝรัง่ 4 ผล มีมวลประมาณ 2.3 กโิ ลกรมั ดังภาพท่ี 1.2 ภาพที่ 1.2 ภาพการสังเกตเชิงเปรียบเทียบ ที่มา : กริตติ การวฒั นี, 2557 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

12 1.3.1.4 การสังเกตเชิงการเปล่ียนแปลง การสังเกตเชิงการเปลี่ยนแปลง เป็นการ สังเกตส่ิงต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไปจากเดิมเมื่อเวลาผ่านไป เช่น ปลาดุกก่อนย่าง มีลักษณะแตกต่างจาก ปลาดกุ หลงั ยา่ ง ดงั ภาพที่ 1.3 ก. ภาพปลาดกุ ก่อนยา่ ง ข. ภาพปลาดกุ หลังยา่ ง ภาพท่ี 1.3 ภาพการสังเกตเชิงการเปลย่ี นแปลง ท่มี า : กริตติ การวฒั นี, 2557 วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

13 ใบฝกึ กิจกรรมที่ 1.1 ชื่อ ............................................................................. ชัน้ ..................... รหสั .................................... เร่ือง ทกั ษะการสงั เกต จดุ ประสงค์ ระบขุ ้อมูลทีเ่ ป็นผลมาจากการสังเกตได้ 1. จงทาเครอื่ งหมาย  หน้าขอ้ ความทบี่ นั ทึกการสงั เกตไดถ้ ูกตอ้ ง และทาเคร่อื งหมาย  หนา้ ขอ้ ความทบี่ นั ทึกการสงั เกตไมถ่ กู ตอ้ ง .......................... 1.1 ฟกั ทองมเี นอื้ แน่นดี เพราะได้รับนา้ อย่างสม่าเสมอ .......................... 1.2 กลว้ ยหอมมีรสหวานและมีกลิ่นหอม .......................... 1.3 มะละกอผลน้มี เี น้ือแดงหวานเย็นเปน็ เพราะดินทป่ี ลูกดี .......................... 1.4 ปลาไหลตวั น้ียาวประมาณ 0.5 เมตร .......................... 1.5 รถไฟเปดิ หวูดเขา้ เทยี บชานชลา .......................... 1.6 วนั นี้อากาศร้อนอบอา้ ว สงสัยฝนจะตก .......................... 1.7 ชายคนน้นั ผวิ ดาแดง ผอม สงู ประมาณ 170 เซนตเิ มตร .......................... 1.8 เสียงสนุ ัขหอนยาวนาน คงเจอผเี ขา้ แลว้ .......................... 1.9 หญงิ ชาวกะเหรีย่ งสวมใส่กาไลคอหลายข้อ .......................... 1.10 แมค่ ้าขายข้าวแกงตัวดาจัง ไม่น่าทาอาหารอร่อย วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะชีวิต หน่วยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

14 2. ให้นาคาตอบขา้ งลา่ งน้ี เติมลงตรงช่องว่างของคาถามใหถ้ ูกตอ้ ง การสงั เกตเชิงคณุ ลักษณะ การสงั เกตเชิงปริมาณ การสงั เกตเชิงเปรียบเทียบ การสังเกตเชิงการเปลย่ี นแปลง 2.1 ส้มบางมดผลน้ีมรี สหวานอมเปรี้ยว .............................................................................. 2.2 เมือ่ เวลาผา่ นไป นา้ ในกาที่กาลังต้มอณุ หภมู ยิ ิ่งสงู ขึน้ .................................................... 2.3 ไขแ่ ฝดฟองน้มี ีขนาดเท่ากับไข่เบอร์ 3 รวมกัน 2 ฟอง .................................................... 2.4 ไก่ชนอายุ 6 เดือน มีขนยาวสีสวยงาม ............................................................................. 2.5 ยอดของเจดีย์มีความสงู จากพื้นดินประมาณ 12 เมตร ..................................................... วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พฒั นาทักษะชีวิต หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

15 1.3.2 ทักษะการวดั (Measurement) ทักษะการวัด เป็นความสามารถในการเลือกเคร่ืองมือที่เหมาะสมกับงานและใช้ เคร่ืองมือได้อย่างถูกต้อง แน่นอน แม่นยา โดยวัดออกมาเป็นตัวเลข มีหน่วยตามระบบ เอสไอ กากับ เหมาะสมกบั ส่ิงทีว่ ดั และนาไปแสดงผลหรือวเิ คราะหข์ ้อมูลได้ กระบวนการวดั ข้นึ อยู่กับส่งิ สาคญั ดงั น้ี 1.3.2.1 ผู้วัด ผู้วัดจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปริมาณที่ต้องการวัด รู้จัก เลอื กเคร่อื งมอื ใหเ้ หมาะสมกบั งาน สภาพรา่ งกายของผวู้ ัดตอ้ งอยูใ่ นสภาพปกติ ไม่ง่วงนอน ไม่มีปัญหา ทางสายตา มอื ไมส่ นั่ และมคี วามละเอยี ดรอบคอบไมป่ ระมาทหรือมักง่าย 1.3.2.2 เครอื่ งมือทีใ่ ชว้ ดั เครอ่ื งมอื ที่ใชว้ ดั ควรอยู่ในสภาพท่ีใช้งานได้ตามปกติ ไม่มี ส่วนหน่ึงส่วนใดชารุด และไม่เก่าจนเกินไป ผู้วัดควรตรวจเครื่องมือก่อนและหลังใช้งานเสมอเพ่ือยืนยัน วา่ เครือ่ งมืออยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน 1.3.2.3 ส่ิงแวดล้อมขณะวัด ซึ่งอาจมีผลต่อการวัดได้ เช่น ความชื้นของอากาศ อุณหภูมิท่ีสูงหรือต่าเกินไป การส่ันสะเทือน เสียงที่รบกวนสมาธิของผู้วัด ระดับความสูงต่าของพ้ืนท่ี เป็นต้น สงิ่ ท่ีกลา่ วมานี้มสี ่วนทาให้เกดิ ความคลาดเคล่อื นต่อการวดั ได้ ภาพที่ 1.4 ภาพเครอื่ งมือวัดต่าง ๆ ท่มี า : กริตติ การวัฒนี, 2557 วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พฒั นาทกั ษะชีวิต หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

16 1.3.3 ทกั ษะการจาแนกประเภท (Classification) ทกั ษะการจาแนกประเภท เป็นความสามารถในการคัดแยกสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่ม ๆ หรือการจัดการเหตุการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละเหตุการณ์ โดยมีเกณฑ์เป็นตัวกาหนดในการจัดกลุ่มหรือ เหตุการณ์นั้น ๆ เกณฑ์ที่ใช้อาจใช้ความเหมือนกันในลักษณะภายนอก หรือความสัมพันธ์อย่างใด อยา่ งหนง่ึ เป็นเกณฑ์ท่กี าหนดขึ้น การจาแนกประเภททาใหส้ ามารถคัดแยกส่งิ ต่าง ๆ ออกเปน็ กลุ่ม เป็นหมวดหมู่ ทาให้ สะดวกต่อการจดั การ การศึกษาคน้ ควา้ เช่น การจาแนกหนังสือเป็นหมวดหมู่ในห้องสมุด การจาแนก ประเภทสินค้าท่ีเหมือนกัน หรือคล้ายคลึงกันให้จัดอยู่ในช้ันหรือแถวเดียวกัน การคัดแยกผลไม้ การคัดแยกพนั ธุ์ปลา เป็นต้น ก. ภาพการจาแนกสนิ คา้ ทีเ่ หมอื นกนั ข. ภาพการจาแนกผลไม้ชนดิ ต่าง ๆ ไวใ้ นแถวเดยี วกัน ภาพที่ 1.5 ภาพทกั ษะการจาแนกประเภท ท่ีมา : กริตติ การวัฒนี, 2557 วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

17 ใบฝึกกจิ กรรมท่ี 1.2 ช่อื ............................................................................. ชน้ั ..................... รหสั .................................... เรือ่ ง ทกั ษะการจาแนกประเภท จดุ ประสงค์ กาหนดเกณฑแ์ ละจาแนกประเภทส่ิงของตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไดถ้ ูกต้อง คาสงั่ ให้นักเรยี นแบ่งกลุม่ พชื ตา่ ง ๆ ทีก่ าหนดใหล้ งในช่องคาตอบและบอกเกณฑ์ทีใ่ ชใ้ นแตล่ ะ ขน้ั ตอนใหช้ ดั เจน ผักกระเฉด พืชทีก่ าหนดให้ สายบัว มะละกอ จอก แหน มะมว่ ง ผกั ตบชวา สะเดา คะน้า ใช้ ............................. เปน็ เกณฑ์ ใช้ ...................... เป็นเกณฑ์ ใช้ .................... เป็นเกณฑ์ วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

18 1.3.4 ทักษะการคานวณ (Using Number) ทักษะการคานวณ เป็นความสามารถในการนาตัวเลขท่ีได้จากการวัด การทดลอง การสังเกต มาคานวณได้อย่างถูกต้อง แสดงให้เห็นวิธีการคานวณ การใช้สูตรอ้างอิงเป็นขั้นตอนได้ อย่างแม่นยา โดยนามา บวก ลบ คณู หาร หาคา่ เฉลี่ย เพอ่ื ทจ่ี ะแสดงค่าปริมาณของสิ่งหนึ่งส่ิงใด และ สื่อความหมายตรงตามต้องการ เช่น ไม้อัดแผ่นหนึ่งมีขนาดความกว้าง 120 cm ความยาว 240 cm นามาแบ่งตัดเป็นไม้อัดแผ่นเล็กรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้ามีความกว้าง 24 cm ความยาว 48 cm จะได้ไม้อัด แผ่นเลก็ กี่แผน่ วิธีทา พืน้ ทข่ี องไมอ้ ดั ก่อนตัดแผ่นใหญ่ = 120  240 cm2 พื้นที่ของไมอ้ ัดหลังตดั แผน่ เลก็ = 24  48 cm2 จานวนไมอ้ ัดท่ตี ดั แบ่งได้ = พนื้ ทไี่ ม้อดั กอ่ นตดั แผน่ ใหญ่ ตอบ จานวนไม้อดั ทต่ี ดั แบ่งได้ พน้ื ทไี่ ม้อดั หลงั ตดั แผน่ เลก็ = 120 240 24  48 = 25 = 25 แผ่น 1.3.5 ทักษะการหาความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (Space/Space Relationship and Space Time Relationship) ทักษะการหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา แบ่งไดเ้ ปน็ 1.3.5.1 ความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ หมายถึง การเปล่ียนแปลงมิติของวัตถุจากมิติหนึ่งเปลี่ยนเป็นอีกมิติหน่ึง เช่น การเปล่ียนจาก 2 มิติ เปลี่ยนเปน็ 3 มิติ ภาพที่ 1.6 ภาพแผ่นไมอ้ ัดเปล่ียนเปน็ กลอ่ ง ทีม่ า : กรติ ติ การวัฒนี, 2557 วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

19 จากภาพท่ี 1.6 ไม้อัดมีรูปร่างเป็นแผ่นส่ีเหลี่ยม มี 2 มิติ คือ กว้างและยาว เมื่อนามา ตดั ประกอบเปน็ กลอ่ งจะมี 3 มิติ คอื กวา้ ง ยาว และสูง 1.3.5.2 ความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา หมายถึง เมื่อเวลาผ่านไปมิติของวัตถุเปล่ียนไปตามกาลเวลาท่ีผ่านไป เช่น การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุ เม่ือเวลาผา่ นไป ภาพที่ 1.7 ภาพการเปลยี่ นแปลงรปู ร่างของวตั ถเุ ม่ือเวลาผา่ นไป ที่มา : http://www.topicstock.pantip.com (12 พฤศจิกายน 2557) 1.3.6 ทกั ษะการจดั กระทาและสือ่ ความหมายขอ้ มลู ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้จากการ สังเกต การวัด การทดลอง และจากแหล่งอ่ืน ๆ มาจัดกระทาใหม่ โดยการหาความถ่ีเรียงลาดับ จัดแยก ประเภท หรือคานวณหาค่าใหม่เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลน้ันดีขึ้น โดยอาจเสนอในรูป ของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ สมการ ไดอะแกรม วงจร หรือกราฟ ตัวอย่างเช่น หากต้องการจะ อธิบายเกีย่ วกบั ช่วงชีวิตของยงุ ลาย ต้งั แต่เกิดจนตาย ถา้ จะเขียนบรรยายเป็นข้อความอาจทาให้เข้าใจ ยาก จงึ ต้องจดั กระทากับข้อมูลใหมเ่ พื่อส่ีอความหมายใหเ้ ข้าใจง่ายขน้ึ ในรปู ของวงชีวติ ดงั ภาพท่ี 1.8 วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

20 ไข่ยงุ ลาย 4-5 วนั ลูกน้า 1-2 วนั 7-10 วนั ตัวโม่ง ยุงลาย 1-2 วนั ตวั ผู้ 7 วนั ตวั เมยี 30-45 วนั ภาพที่ 1.8 ภาพวงชวี ติ ของยงุ ลาย ท่มี า : http://www.slideshare.net (12 พฤศจิกายน 2557) 1.3.7 ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู (Inferring) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล เป็นความสามารถในการอธิบายข้อมูลที่ได้มา และเพิม่ ความคดิ เห็นให้กบั ข้อมูลอย่างมีเหตุมีผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมที่มีอยู่มาช่วย เชน่ จากข้อมลู ตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 1.2 แสดงการเปรียบเทยี บความสงู ของตน้ ถัว่ ท่ีใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยเคมี สัปดาหท์ ี่ ความสงู ของตน้ ถั่ว (เซนติเมตร) 1 ปยุ๋ ชีวภาพ ป๋ยุ เคมี 2 3 55 4 5 10 8 15 13 20 20 30 25 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

21 จากตาราง ต้นถ่ัวท่ีใช้ปุ๋ยชีวภาพมีความสูงเพิ่มข้ึนจาก 5 เป็น 10, 15, 20 และ 30 เซนติเมตร ซ่ึงสูงเร็วกว่าต้นถั่วท่ีใช้ปุ๋ยเคมีที่มีความสูงเพ่ิมข้ึนจาก 5 เป็น 8, 13, 20 และ 25 เซนติเมตร แสดงว่าปุ๋ยชีวภาพมีธาตุอาหารเหมาะสาหรับการปลูกพืชมากกว่าปุ๋ยเคมี ต้นถั่วท่ีได้รับปุ๋ยชีวภาพมี อตั ราการเจริญเติบโตดีกว่าตน้ ถวั่ ที่ได้รับปุย๋ เคมี 1.3.8 ทกั ษะการพยากรณ์ (Prediction) ทักษะการพยากรณ์ หมายถึง การคาดคะเนคาตอบหรือสิ่งท่ีจะเกิดล่วงหน้าโดย อาศยั ขอ้ มูลที่ได้จากการสงั เกตหรือขอ้ มูลจากประสบการณท์ เ่ี กิดขึน้ ซ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎีท่ีมี อยู่แล้วในเรื่องนั้น ๆ มาช่วย การทานายท่ีแม่นยาเป็นผลจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจดั กระทากบั ข้อมูลอยา่ งเหมาะสม การพยากรณ์เกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นตารางหรือกราฟ ทาได้ 2 แบบ คือ การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลท่ีมีอยู่ (Interpolating) และการพยากรณ์ภายนอกขอบเขต ข้อมูลท่ีมีอยู่ (Extrapolating) ตัวอย่าง การพยากรณ์ข้อมูลที่เก่ียวกับตัวเลข โดยใช้ข้อมูลการเคล่ือนที่ แบบเสน้ ตรงของวัตถดุ ว้ ยความเร็วคงท่ี ดังแสดงขอ้ มูลในตารางท่ี 1.3 ตารางท่ี 1.3 แสดงข้อมลู พยากรณก์ ารเคลอ่ื นท่แี บบเสน้ ตรงของวตั ถุด้วยความเร็วคงท่ี เวลา (วนิ าที) ระยะทาง (เมตร) 2 5 4 10 6 15 8 20 10 25 จากข้อมูลในตารางที่ 1.3 สามารถพยากรณ์ได้ว่า เวลา 3 วินาที วัตถุเคล่ือนที่ได้ ระยะทาง 7.5 เมตร เป็นการพยากรณ์ในขอบเขตข้อมูล และสามารถพยากรณ์ได้อีกว่า เวลา 14 วนิ าที วัตถุเคลอ่ื นท่ีไดร้ ะยะทาง 35 เมตร การพยากรณร์ ะยะทางในเวลา 14 วินาที เป็นการพยากรณ์ นอกขอบเขตขอ้ มูล ผ้ทู ม่ี ที กั ษะการพยากรณ์ ตอ้ งมีความสามารถพยากรณ์ผลท่ีจะเกิดขึ้นจากข้อมูลท่ีเป็น หลักการ กฎ หรือทฤษฎีท่ีมีอยู่ได้ สามารถพยากรณ์ผลท่ีจะเกิดข้ึนภายในขอบเขตข้อมูลเชิงปริมาณ ทีม่ อี ย่ไู ด้ และทานายผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ภายนอกขอบเขตของข้อมูลเชงิ ปรมิ าณท่ีมอี ยู่ได้ วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

22 ใบฝึกกิจกรรมที่ 1.3 ชือ่ ............................................................................. ช้นั ..................... รหัส .................................... เรอื่ ง ทกั ษะการพยากรณ์ จุดประสงค์ พยากรณ์ผลทเ่ี กดิ จากข้อมูลท่ีกาหนดใหไ้ ด้ คาสั่ง ใหน้ ักเรียนพยากรณโ์ ดยใชข้ ้อมูลทก่ี าหนดให้ดังต่อไปน้จี ากการทดลอง การเพมิ่ ขึน้ ของ อุณหภูมขิ องน้าในภาชนะที่วางไว้กลางแสงแดดเม่ือเวลาผ่านไป ปรากฏในตารางดังนี้ เวลาผา่ นไป (นาท)ี อุณหภมู ขิ องนา้ ในภาชนะ ( C) 20 49 30 57 40 65 50 73 คาถาม 1. เมอ่ื เวลาผ่านไป 25 นาที อุณหภมู ขิ องนา้ วัดได้ ............................ C 2. เมือ่ เวลาผ่านไป 60 นาที อุณหภูมิของนา้ วดั ได้ ............................ C 3. การพยากรณใ์ นขอ้ 1 เป็นการพยากรณ์ภายในหรอื ภายนอกขอบเขตของขอ้ มลู ......................................................................................................................... 4. การพยากรณใ์ นขอ้ 2 เปน็ การพยากรณภ์ ายในหรอื ภายนอกขอบเขตของข้อมูล ......................................................................................................................... 5. เม่ือเวลาผา่ นไปอุณหภูมิของน้าในภาชนะเปล่ียนแปลงอย่างไร ......................................................................................................................... วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรื่อง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

23 1.3.9 ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulation Hypothesis) ทักษะการตั้งสมมติฐาน เป็นความสามารถในการคาดเดา คิดหาคาตอบล่วงหน้า โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คาตอบที่คิดล่วงหน้านี้เป็นเรื่องท่ียังไม่ ทราบ หรือยังไม่เป็นหลักการมาก่อน ซึ่งสมมติฐานมักกล่าวเป็นหลักการในลักษณะท่ีบอก ความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปรต้นหรือตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้อาจถูกหรือผิดก็ได้ โดยจะทราบไดภ้ ายหลงั การทดลอง รปู แบบการต้ังสมมติฐานโดยปกตแิ ล้วจะตัง้ แบบมีเง่ือนไข คือ ถา้ ........................................................ ดังนัน้ ............................................. ถ้า ท่อพีวีซีที่ใช้กาวปิดส่วนหัวส่วนท้ายจะลอยน้าได้ ดังน้ัน เรือที่ติดต้ัง ทอ่ พวี ซี นี ้ไี วด้ ้านขา้ งจะไม่จมนา้ ภาพท่ี 1.9 ภาพเรอื ทต่ี ดิ ตง้ั ท่อพวี ีซี ที่มา : กริตติ การวัฒนี, 2557 วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

24 ใบฝกึ กิจกรรมท่ี 1.4 ชื่อ ............................................................................. ชน้ั ..................... รหสั .................................... เรื่อง ทักษะการต้ังสมมตฐิ าน จุดประสงค์ ตัง้ สมมติฐานจากปัญหาท่ีกาหนดไวไ้ ดถ้ ูกต้อง คาสง่ั ให้นักเรยี นต้งั สมมติฐานจากปัญหาทีก่ าหนดให้ดงั ต่อไปน้ี 1. ปญั หา “ปยุ๋ คอกมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของผักบุ้งจีนหรือไม่” สมมตฐิ านคอื ........................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................. ............................................................................................................................. .................. .................................................................................................... ........................................... 2. ปญั หา “ดินเผามผี ลต่อการดูดซับกลิ่นของอาหารในตู้เย็นได้หรอื ไม่” สมมตฐิ านคือ .................................................................................................................... .... ...................................................................................................................................... ......... ........................................................................................................................ ....................... ............................................................................................................................. .................. 3. ปัญหา “สีเหลอื งของขมน้ิ มีผลตอ่ สีของถวั่ งอกหรือไม่” สมมตฐิ านคือ ........................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................. .................................................................................................................................... ........... ...................................................................................................................... ......................... วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

25 1.3.10 ทกั ษะการกาหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ (Defining Operationally) ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง การกาหนดความหมายและ ขอบเขต หรือให้คาจากัดความของคาต่าง ๆ ท่ีใช้ในการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันถึงสิ่งท่ี จะทาการทดลอง ซึ่งสามารถทาการทดสอบได้ เช่น ต้องการศึกษาเปรียบเทียบความแข็งแรงของ อิฐมอญท่ีมีส่วนผสมของขี้เลื่อย และความแข็งแรงของอิฐมอญที่มีส่วนผสมของแกลบ จะตัดสินว่า อิฐมอญดังกล่าวมีความแข็งแรงมากน้อยต่างกันเพียงใด อาจนิยามเชิงปฏิบัติการความแข็งแรงได้ว่า เม่ือนาอิญมอญท่ีมีส่วนผสมของขี้เล่ือยและอิฐมอญท่ีมีส่วนผสมของแกลบท่ีมีขนาดเท่ากันคือ กว้าง 4 นิ้ว ยาว 6 น้วิ และหนา 3 น้ิว สามารถเปรียบเทียบความแข็งแรงโดยนาก้อนวัตถุไปกดทับ สามารถ ระบคุ วามแขง็ แรงได้ 3 ระดับ ดังน้ี มคี วามแข็งแรงนอ้ ย หมายถงึ เม่ือนาอิฐมอญวางบนเคร่ืองอัดท่ีมีก้อนวัตถุมวลน้อยกว่า 2 กิโลกรัม กดทับแล้วอิฐมอญน้ันไม่แตกร้าว แต่ถ้าก้อนวัตถุมวลตั้งแต่ 2 กิโลกรัมขึ้นไปกดทับจะทาให้ อฐิ มอญนนั้ แตกร้าว (นาก้อนวตั ถุมวลมากกว่า 2 กิโลกรมั ขนึ้ ไปกดทบั จะทาใหอ้ ิฐมอญน้นั แตกร้าว) มีความแข็งแรงปานกลาง หมายถึง เม่ือนาอิฐมอญวางบนเครื่องอัดที่มีก้อนวัตถุ มวลต้ังแต่ 2 กิโลกรัมถึง 5 กิโลกรัมกดทับแล้ว อิฐมอญน้ันไม่แตกหรือร้าว แต่ถ้ามากกว่า 5 กิโลกรัม อฐิ มอญจะแตกรา้ ว (นากอ้ นวตั ถุมวลมากกวา่ 5 กิโลกรมั ขนึ้ ไปกดทบั จะทาใหอ้ ิฐมอญน้ันแตกรา้ ว) มีความแข็งแรงมาก หมายถึง เม่ือนาอิฐมอญวางบนเคร่ืองอัดที่มีก้อนวัตถุมวล ต้ังแต่ 5 กิโลกรัมขึ้นไปกดทับแล้ว อิฐมอญนั้นไม่แตกร้าว (นาก้อนวัตถุมวลมากกว่า 5 กิโลกรัมข้ึนไป กดทบั จะทาใหอ้ ฐิ มอญน้นั ไมแ่ ตกร้าว) เป็นตน้ 1.3.11 ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร เป็นการบ่งช้ีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ตัวแปรท่ตี อ้ งควบคุมในการทดลอง หรอื สมมตฐิ านหนงึ่ ๆ ตัวแปรต้น คือ ส่ิงท่ีเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือเป็นตัวแปรท่ีต้องการ ศกึ ษาวา่ เป็นสาเหตุทก่ี อ่ ใหเ้ กิดผลเชน่ นั้นจริงหรอื ไม่ ตัวแปรตาม คือ ส่ิงที่เป็นผลเน่ืองมาจากตัวแปรต้น เม่ือตัวแปรต้นเปล่ียนไป จะมี ผลให้ตัวแปรตามเปล่ยี นไปดว้ ย ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งอน่ื ๆ ทนี่ อกเหนอื จากตวั แปรต้น ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม จงึ ตอ้ งควบคุม มฉิ ะนนั้ จะทาให้ผลของการทดลองคลาดเคลื่อนไป วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

26 จากสมมตฐิ าน “ถ้าถ่านไมไ้ ผ่ดูดซบั กล่ินได้ ดังน้นั กล่ินของห้องน้าจะลดลง” ตัวแปรต้น ได้แก่ ถ่านไม้ไผ่ ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ กลิ่นของห้องน้า ตัวแปรควบคุม ได้แก่ สถานท่ีตง้ั ห้องนา้ จานวนคนใช้ห้องนา้ แสงแดด อากาศทถ่ี า่ ยเท ระยะเวลาทใ่ี ชห้ ้องน้า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทักษะชีวิต หนว่ ยที่ 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

27 ใบฝึกกิจกรรมที่ 1.5 ชอ่ื ............................................................................. ชั้น ..................... รหสั .................................... เรอ่ื ง ทกั ษะการกาหนดและควบคุมตวั แปร จดุ ประสงค์ ระบตุ ัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคุมจากสมมตฐิ านท่ีกาหนดให้ได้ถูกต้อง คาสง่ั ใหน้ กั เรียนระบุตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคุมจากสมมติฐานที่กาหนดให้ โดยการเติมคาตอบลงในช่องว่างของแตล่ ะคาถาม สมมติฐานท่กี าหนดให้ 1. “ถา้ ยางกลว้ ยละลายในน้ามะขามเปียก ดังนัน้ มีดท่ีเปอ้ื นยางกล้วยใช้น้ามะขามเปยี ก ล้างออกได้” ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ ......................................................................................................... ตัวแปรตาม ได้แก่ ......................................................................................................... ตวั แปรควบคุม ได้แก่ .................................................................................................... 2. “ถ้าดินเผามผี ลต่อการดูดซับกลน่ิ ดงั น้นั ตู้เย็นท่ใี ส่ดินเผาจะลดกล่นิ คาวของอาหารได้” ตัวแปรต้น ได้แก่ ......................................................................................................... ตวั แปรตาม ได้แก่ ......................................................................................................... ตวั แปรควบคมุ ได้แก่ .................................................................................................... 3. “อุปกรณต์ ากปลาทต่ี ดิ ตั้งกระจกเงาราบไวด้ า้ นล่าง จะสะท้อนความร้อนจากกระจกเงาราบ มายังตวั ปลา ทาใหต้ ากปลาแหง้ เร็วขน้ึ ” ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ ......................................................................................................... ตัวแปรตาม ได้แก่ ......................................................................................................... ตัวแปรควบคุม ได้แก่ .................................................................................................... วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

28 1.3.12 ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) ทักษะการทดลอง เป็นกระบวนการค้นหาคาตอบจากสมมติฐานที่ต้ังไว้ ในการ ทดลองประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) การออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริง เพ่ือกาหนดวิธีการทดลอง วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้ในการทดลอง รวมท้ังการกาหนดตัวแปรต่าง ๆ ให้ สอดคล้องกับการทดลอง 2) การปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติการทดลองจริง ๆ และใช้ อุปกรณ์ได้อยา่ งเหมาะสม 3) การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลท่ีได้จากการทดลองซ่ึง อาจเปน็ ผลมาจากการสังเกต การวัด เปน็ ตน้ 1.3.13 ทกั ษะการตีความหมายขอ้ มลู และการลงขอ้ สรุป (Interpreting Deta and Making Conclusion) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป เป็นความสามารถในการแปล ความหมาย หรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูลจาเป็นอาจ ตอ้ งใชท้ ักษะดา้ นอนื่ ๆ ช่วย เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคานวณ เป็นต้น การลงข้อสรุปเป็นการ บอกความสัมพนั ธข์ องข้อมูลทั้งหมด ตารางบนั ทึกผลการทดลอง การละลายของยางกล้วยในตัวทาละลายตา่ งชนิดกนั ตัวทาละลาย การละลายของยางกล้วย นา้ ไม่ละลาย น้ายาลา้ งจาน ไมล่ ะลาย น้าส้มสายชู ละลายเลก็ น้อย นา้ มะขาม ละลายไดห้ มด จากตารางบนั ทกึ ผล จะพบวา่ มีการละลายของยางกล้วยในตัวทาละลายต่าง ๆ กัน มีข้อแตกตา่ งกนั ดังนี้ ยางกล้วยไม่ละลายในน้าและน้ายาล้างจาน แต่จะละลายได้เล็กน้อยในน้าส้มสายชู และละลายได้ดีในน้ามะขาม จึงสรุปไดว้ า่ นา้ มะขามเป็นตวั ทาละลายทด่ี ีของยางกลว้ ย วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทักษะชีวิต หนว่ ยที่ 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

29 ใบฝกึ กจิ กรรมที่ 1.6 ชื่อ ............................................................................. ช้นั ..................... รหสั .................................... เรอื่ ง ทักษะการตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ จดุ ประสงค์ วเิ คราะหข์ ้อมลู ตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ จากข้อมลู ทก่ี าหนดให้ได้ คาสั่ง จงพจิ ารณาขอ้ มลู ทีก่ าหนดให้ในตารางการทดลองข้างล่างน้ี เพอ่ื นาไปตคี วามหมาย และ ลงข้อสรุป โดยการตอบคาถามลงในชอ่ งว่างของคาถาม ขอ้ มูลจากการบันทกึ ผลการทดลอง “เปรยี บเทยี บผลการตากปลาด้วยอุปกรณ์ตากปลาท่ีติดตง้ั กระจกเงาราบกับอปุ กรณ์ตากปลาธรรมดา” ระยะเวลาทตี่ ากปลา นา้ หนักปลาที่ลดลง (กรัม) นา้ หนกั ปลาทีล่ ดลง (กรัม) (นาท)ี (อุปกรณต์ ากปลาธรรมดา) (อปุ กรณต์ ากปลาติดตงั้ กระจกเงาราบ) 30 3 6 60 8 16 90 20 40 120 45 90 คาถาม 1. ปลาท่ีตากในอปุ กรณธ์ รรมดา น้าหนักลดลง .................................................... กรมั 2. ปลาท่ีตากในอุปกรณท์ ่ตี ดิ ตั้งกระจกเงาราบน้าหนกั ลดลง ................................ กรัม 3. อปุ กรณ์แบบใดชว่ ยในการตากปลาให้แหง้ ได้เร็วกวา่ ....................................... 4. กระจกเงาราบสะทอ้ นแสงอาทติ ยม์ าท่ตี วั ปลาหรือไม่ ....................................... 5. นักเรยี นจะสรุปผลการทดลองนี้อยา่ งไร ............................................................ วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

30 1.4 โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมท่ีศึกษาเรื่องใดเรื่องหน่ึง เก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อให้ได้คาตอบ ของปัญหาที่ตงั้ ไว้ด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ ผูเ้ รยี นจะต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามคาแนะนา ของครูท่ีปรึกษา หรือผู้เช่ียวชาญ ตามระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน อาจทาเป็นรายบุคคล หรอื เปน็ กลุม่ ก็ได้ 1.4.1 จดุ มงุ่ หมายการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการทา โครงงานวิทยาศาสตรไ์ วด้ ังนี้ 1.4.1.1 เพ่ือให้นักเรียนใช้ความรู้ และประสบการณ์เลือกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามความสนใจ 1.4.1.2 เพือ่ ใหน้ ักเรยี นไดศ้ กึ ษาหาความรู้ ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วย ตนเอง 1.4.1.3 เพ่ือใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดงออกซึ่งความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 1.4.1.4 เพ่ือให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิธีทางวิทยาศาสตร์ และเห็นคุณค่าการใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแก้ปัญหาต่าง ๆ 1.4.1.5 เพ่ือให้นักเรียนได้แนวทางในการประยุกต์ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยใี นแต่ละท้องถ่นิ 1.4.2 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์แบ่งได้เปน็ 4 ประเภท ดงั นี้ 1.4.2.1 โครงงานประเภทสารวจ 1.4.2.2 โครงงานประเภททดลอง 1.4.2.3 โครงงานประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์ 1.4.2.4 โครงงานประเภททฤษฎี 1.4.2.1 โครงงานประเภทสารวจ เป็นโครงงานที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทนี่ า่ สนใจเพือ่ ศกึ ษาอย่างใดอย่างหนึง่ เก่ยี วกบั ชุมชน แหลง่ ธรรมชาตหิ รอื สิง่ แวดล้อมโดยการนาข้อมูล ท่ีได้มาจัดกระทาอย่างเป็นระบบ และสื่อความหมายนาเสนอเป็น ตาราง กราฟ แผนภูมิ และ คาอธิบายตามวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ัง้ ไว้ มหี ลกั การดังนี้ วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

31 1) เก็บรวบรวมข้อมลู จากภาคสนาม 2) นาขอ้ มูลมาวิเคราะหใ์ นหอ้ งปฏิบตั ิการ 3) ทาแบบจาลองเพอื่ วเิ คราะห์เปน็ รายกรณี โครงงานประเภทสารวจแม้บางคร้ังจะมีการศึกษาวิเคราะห์หรือทดลองในห้องปฏิบัติการ แต่จะไม่มีการจัดทาหรือกาหนดตัวแปร เพราะการทดลองเป็นการทดลองเพ่ือทดสอบข้อมูล ไม่มี การเปรียบเทยี บตามลกั ษณะของตัวแปร เชน่ การสารวจคณุ ภาพนา้ ที่ปล่อยออกมาจาก นาข้าว การสารวจ ผักตบชวาในแม่นา้ เจา้ พระยา การสารวจประชากรนกกระยางในนาขา้ ว เป็นตน้ ภาพที่ 1.10 ภาพนกกระยางในนาขา้ ว ท่มี า : กริตติ การวฒั นี, 2557 ภาพที่ 1.11 ภาพผักตบชวาในแมน่ า้ ท่ีมา : กรติ ติ การวฒั นี, 2557 วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

32 1.4.2.2 โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทน้ีเป็นการหาคาตอบด้วยวิธี การออกแบบการทดลองเพ่ือศกึ ษาผลของตัวแปรตามสมมตฐิ านท่ตี ั้งไว้ มีข้ันตอนดงั น้ี 1) การกาหนดปญั หา 2) การตั้งสมมติฐาน 3) การออกแบบการทดลอง 4) การดาเนนิ การทดลอง 5) การรวบรวมข้อมลู 6) การสรุปผลและอภิปราย ตัวอย่างโครงงานทดลอง เช่น - การศกึ ษาการไล่ยงุ จากควนั เปลอื กส้มเขียวหวาน - เปรยี บเทยี บชนิดของอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลากดในกระชัง - เปรยี บเทียบการใช้ปุย๋ คอกและปยุ๋ เคมตี ่อการเจริญเติบโตของผักบุ้งจนี - เปรยี บเทียบการรักษาความสดของมะนาวทหี่ มกในทรายกับมะนาวท่ี เกบ็ ในตเู้ ยน็ - การศกึ ษากลิ่นจากสมุนไพรชนดิ ตา่ ง ๆ ท่ีรมควันในแก้วดนิ เผา ภาพที่ 1.12 ภาพเปลือกส้มเขยี วหวาน ท่มี า : กรติ ติ การวัฒนี, 2557 วทิ ยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

33 1.4.2.3 โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ีประยุกต์มาจากทฤษฎี หรือ หลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อประดิษฐ์เครื่องมือเคร่ืองใช้ หรืออุปกรณ์เพ่ือเอ้ือประโยชน์ต่อการใช้ สอยต่าง ๆ อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ท่ีมีอยู่แล้วประดิษฐ์ข้ึนมาใหม่ เพ่ือประสิทธิภาพการใช้งานท่ีดีขึ้น ราคาถูกลง เหมาะกับสภาพท้องถิ่น เป็นต้น โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์นี้ต้องมีการทดลองเหมือน โครงงานประเภททดลอง เพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้งานของส่ิงประดิษฐ์ ดังน้ัน การกาหนด ตวั แปรตน้ มกั กาหนดในลักษณะการทางาน ตัวแปรตามมักกาหนดเป็นคุณภาพหรือประสิทธิภาพของ สิ่งประดษิ ฐน์ ัน้ ๆ ตัวอยา่ งของโครงงานประเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ เช่น - เครอ่ื งกะเทาะเปลอื กถั่ว - เครอื่ งสลดั เปลอื กกระเทียม - เคร่อื งลดมลพษิ จากควนั ธูป - ตูจ้ าหนา่ ยปากกาอัตโนมตั ิ 1.4.2.4 โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่ผู้จัดทาจะต้องมีความรอบรู้ รวบรวม ข้อมูลข้อเท็จจริงต่าง ๆ ตลอดจนแนวความคิดอันลึกซ้ึงเสนอเป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎี ใหม่ มีข้อมูลเป็นทฤษฎีต่าง ๆ มาสนับสนุนอ้างอิง ดังนั้นโครงงานประเภททฤษฎีจึงไม่เหมาะที่นักเรียน ในระดบั นจี้ ะจดั ทา เพราะจัดวา่ ยากเกินไป 1.4.3 ขั้นตอนการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เป็นกจิ กรรมทีศ่ ึกษาเรอื่ งราวการแกป้ ัญหาหรือค้นหา คาตอบตามความสนใจของนักเรียนเอง มีขน้ั ตอนดังนี้ 1.4.3.1 การเลือกหัวข้อหรือปัญหาท่ีจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาชิกภายในกลุ่ม ระดมความคิดหาหัวข้อเร่ืองท่ีต้องการจัดทา ซ่ึงอาจได้มาจากการสังเกตปัญหาท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวัน ส่ิงแวดล้อมรอบตัวเอง จากส่ือต่าง ๆ และนาข้อมูลร่วมกันตัดสินใจ หัวข้อท่ีเหมาะสมที่สุด มีหลักใน การเลอื กดงั นี้ 1) ควรเป็นหัวข้อที่มีความยากง่าย เหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถ ของนักเรียนเอง 2) หัวข้อเร่ืองควรมีความน่าสนใจ ไม่เคยจัดทามาก่อน มีความแปลกใหม่ ไม่ซ้าแบบใคร หรือเป็นเร่ืองท่ีมีการพัฒนาปรับปรุงจากเร่ืองเดิมที่มีผู้จัดทามาก่อน โดยไม่ลอกเลียน เหมอื นของเดมิ วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต หนว่ ยที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

34 3) หัวขอ้ เรือ่ งมขี อบเขตชัดเจน มีความเป็นไปได้ มีแหล่งข้อมูลเพียงพอท่ีจะ ศึกษาอยู่ในท้องถ่ิน ระยะเวลาเหมาะสม วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนงบประมาณที่ใช้สอดคล้องกับหัวข้อ เร่อื ง และไมม่ ผี ลกระทบความขดั แยง้ ตอ่ ชุมชนหรอื สว่ นต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 1.4.3.2 การศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและข้อมูล เมื่อได้หัวข้อเร่ืองที่จะจัดทาโครงงาน วิทยาศาสตร์แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการค้นคว้าเอกสารหรือข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีความเก่ียวข้องกับเร่ือง ที่จะทา เพ่ือให้ได้แนวคิดในการกาหนดขอบเขตของเรื่องให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และนาไปกาหนด ตัวแปร ออกแบบการทดลอง กาหนดวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้ตา่ ง ๆ แหล่งข้อมลู ในการค้นคว้าอาจสืบค้นจาก ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต ผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เคยแสดงมาก่อน เอกสารทางวิชาการ จากแหลง่ ต่าง ๆ เพอื่ นามาวางแผนดาเนินการต่อไป 1.4.3.3 การจัดทาเค้าโครงของโครงงาน เป็นการกาหนดกรอบเบื้องต้นในการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ หรือเป็นการเขียนเค้าโครงย่อเสนอครูท่ีปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อน ดาเนนิ การตอ่ ไป ขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี 1) ช่ือโครงงาน ต้องเป็นชื่อที่ส่ือความหมายชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร เป็น ข้อความส้นั ๆ มลี กั ษณะเร้าใจ เหมาะสมกับโครงงาน 1.1) ช่ือผ้จู ัดทาโครงงาน 1.2) ชอ่ื ครทู ่ีปรกึ ษาโครงงาน (มีได้มากกว่า 1 คน) 1.3) ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน เป็นการบอกแรงบันดาลใจ ในการคดิ ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์เรื่องนี้ มีความสาคัญอยา่ งไร 1.4) จุดมุ่งหมายของโครงงาน เป็นการบอกขอบเขตเฉพาะเจาะจง ของการทาโครงงาน หรือบอกวตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษาเรื่องท่ีทดลอง 1.5) สมมติฐาน โครงงานประเภททดลองและประเภทสิ่งประดิษฐ์ จะตอ้ งมสี มมตฐิ านซึ่งเปน็ การคาดคะเนคาตอบลว่ งหน้าก่อนการทดลองอาจจะผิดหรือถกู กไ็ ด้ 1.6) วิธีการดาเนินงานหรือวิธีการทดลอง จะต้องบอกว่ามีการจัดหา วัสดุอะไรบ้าง อุปกรณ์อะไรบ้าง และมีข้ันตอนการทางานอย่างไร ออกแบบการทดลองอย่างไร และ บอกวิธกี ารเกบ็ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมลู และการนาเสนอ 1.7) แผนการปฏิบัติงาน เป็นการบอกระยะเวลาในการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ หรือปฏิทินการปฏิบัติงาน ต้ังแต่เริ่มต้นการทาโครงงานจนกระทั่งเสร็จส้ินการทา โครงงาน 1.8) ผลท่ีคาดว่าจะได้รับหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทา โครงงาน 1.9) เอกสารอา้ งอิง หรือบรรณานกุ รม วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

35 1.4.3.4 การลงมือทาโครงงาน การลงมือทาโครงงานจะต้องจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และศกึ ษาวิธกี ารทดลอง ดังนี้ 1) เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี และสถานท่ีที่ใช้ทาการทดลอง จัดหา ใบบนั ทึกข้อมลู เพ่ือจดั เก็บข้อมลู 2) ออกแบบการทดลอง กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน ทตี่ ั้งไว้ 3) เมื่อเตรียมความพร้อมแล้ว ลงมือปฏิบัติตามเค้าโครงที่วางไว้ด้วย ความรอบคอบ บนั ทึกขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบ ทาการทดลองซ้าเพอื่ ยนื ยันข้อมลู การทดลอง 4) เม่อื บันทกึ ข้อมูลเสร็จสน้ิ แลว้ นามาตรวจสอบความสมบูรณ์ จัดกระทา ข้อมูลใหม่ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ด้วยการทาเป็นแผนภูมิ เพอื่ ใหเ้ ข้าใจงา่ ย จากนัน้ สรปุ ผลอยา่ งกะทัดรดั 1.4.3.5 การเขยี นรายงาน เม่ือทาโครงงานเสร็จสิ้นแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเขียน รายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีส่ือความหมายวิธีหน่ึงเพื่อให้คนอ่ืนเข้าใจถึงแนวความคิด วิธี การดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ดังน้ัน จึงต้องเขยี นด้วยภาษาท่ีเขา้ ใจง่าย ชัดเจน กะทัดรดั ครอบคลมุ หัวข้อตา่ ง ๆ มลี าดับดงั นี้ 1) ส่วนตอนตน้ ประกอบดว้ ย - ปกนอก มีชือ่ โครงงาน ชื่อผจู้ ัดทา ชอ่ื ครทู ี่ปรึกษา ชือ่ สถาบนั - ปกรอง เหมอื นปกนอก - คาขอบคุณ เป็นการแสดงความขอบคุณผู้ท่ีให้ความช่วยเหลือจน ทาโครงงานประสบความสาเรจ็ - บทคัดย่อ เป็นการอธิบายท่ีมา ความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินการ ผลท่ีได้ตลอดจนข้อสรุปผลการทดลองแบบย่อ ๆ กะทัดรัด โดยมี ขอ้ ความประมาณ 300-500 คา - สารบญั เร่ือง - สารบัญตาราง - สารบญั รูปภาพ (ถ้ามีในการทดลอง) วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

36 2) ส่วนเนอ้ื หา ประกอบด้วย - บทท่ี 1 บทนา กล่าวถึงท่ีมาและความสาคัญของโครงงานท่ีทา จุดมุ่งหมายของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน สมมติฐาน การกาหนดตัวแปร และนิยามเชิง ปฏิบัตกิ าร - บทท่ี 2 บทเอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นหลักการทางวิชาการ ทฤษฎี และผลการศึกษาต่าง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งกับโครงงานทท่ี า - บทที่ 3 การดาเนินการทดลองหรือวิธีการทดลองและรายละเอียด เก่ียวกบั วัสดุ อุปกรณท์ ่ีใช้ในการทดลอง - บทที่ 4 ผลการทดลองต่าง ๆ ส่วนมากอยู่ในรูปของตารางบันทึก ผลการทดลอง นามาวเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบ - บทท่ี 5 สรุปผลการทดลอง ประโยชน์ท่ีได้รับจากการทาโครงงาน เรอ่ื งนี้ ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ (ถา้ มี) เพื่อบอกให้ทราบถงึ แนวทางทจี่ ะแก้ไขหรือปรับปรุงส่วนใดส่วนหน่ึง ต่อไป 3) สว่ นอ้างอิง เป็นส่วนท่ีเก่ียวกับเอกสาร ทฤษฎี หลักงานวิจัย ตาราต่าง ๆ ท่ีนามาใชเ้ พื่อการศึกษาคน้ ควา้ ประกอบการทาโครงงาน 4) ส่วนภาคผนวก เป็นส่วนประกอบความเข้าใจ เช่น ภาพประกอบใน การทาโครงงาน แบบสอบถาม วธิ ีการคานวณ เป็นตน้ 1.4.3.6 การแสดงผลงาน เป็นการแสดงผลิตผลของงาน แนวความคิด เพ่ือจะให้ ผอู้ น่ื ได้รับรู้ และเขา้ ใจถงึ ผลงานน้ัน ๆ ประกอบดว้ ยประเด็นสาคญั ดงั ต่อไปน้ี 1) ช่ือโครงงาน ชอื่ ผูท้ าโครงงาน ช่อื ครทู ่ปี รึกษา 2) ท่มี าหรือแรงจูงใจในการทาโครงงาน และความสาคญั ของโครงงาน 3) วิธีดาเนนิ การ เลอื กเฉพาะทส่ี าคัญแบบยอ่ ๆ 4) การสาธิตหรือแสดงผลท่ีไดจ้ ากการทดลอง 5) ผลการศึกษาและขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ไี ด้จากการทาโครงงาน การแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ในการประกวดแข่งขันจะกาหนด แผงสาหรบั แสดงด้วยขนาดตามมาตรฐาน ดงั น้ี วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

37 60 cm 120 cm 60 cm 60 cm 60 cm ภาพท่ี 1.13 ภาพแสดงขนาดของแผงโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่มา : กรติ ติ การวฒั นี, 2557 ภาพที่ 1.14 ภาพแสดงโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ท่ีมา : กริตติ การวัฒนีม, 2557 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรือ่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

38 ใบฝึกกิจกรรมที่ 1.7 ชอื่ ............................................................................. ชั้น ..................... รหสั .................................... เร่อื ง ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จุดประสงค์ บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตรท์ ี่กาหนดให้ได้ถกู ต้อง คาส่งั ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งประเภทของโครงงานให้ถกู ต้อง ข้อ ชอ่ื โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ สารวจ ทดลอง สิ่งประดิษฐ์ ทฤษฎี 1 เครื่องสลดั เปลอื กกระเทยี ม 2 การศึกษาเปรยี บเทยี บปลานลิ ท่เี ล้ยี งในบอ่ กบั ปลานลิ ทเี่ ลย้ี งในกระชังรมิ แม่นา้ 3 อปุ กรณ์ชว่ ยขบั รถยนต์ถอยหลงั เขา้ จอด 4 ชนิดของผักทเ่ี ก็บจากธรรมชาตทิ ว่ี างขาย ในตลาดเจ้าพรหม 5 การศกึ ษาไข่เค็มทีด่ องจากนา้ บาดาล ท่มี ี คณุ สมบัตเิ ป็นเบส 6 เครือ่ งกระเทาะเปลือกถ่วั ลิสงคั่ว 7 เครือ่ งเปดิ ปดิ หน้าตา่ งทางโทรศัพท์ 8 การศกึ ษาเปรยี บเทียบปลานิลท่เี ลย้ี งโดย อาหารเมด็ กบั เศษอาหารในครัวเรือน 9 การสารวจปริมาณผักตบชวาในแม่น้า เจา้ พระยา 10 อปุ กรณ์ตากปลา 2 หน้า พลังงาน แสงอาทิตย์ วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

39 ใบฝกึ กิจกรรมที่ 1.8 ช่อื ............................................................................. ช้ัน ..................... รหสั .................................... เร่ือง การกาหนดตัวแปรในโครงงานวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ ระบตุ ัวแปรตน้ ตัวแปรตาม และตัวแปรทตี่ ้องควบคุมได้ คาสัง่ ใหน้ กั เรียนระบตุ ัวแปรต้น และตัวแปรตาม จากโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ กี่ าหนดให้ โดยการเตมิ คาตอบลงในช่องว่างในตารางของแต่ละคาถาม ข้อ ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม 1 การศึกษาการเจริญเติบโตของผกั คะน้าโดยใชป้ ยุ๋ คอก ต่างชนดิ กนั 2 ผลการใช้สมนุ ไพรขม้นิ ชันกับสขี องถัว่ งอก 3 การศึกษาการยืดอายรุ ักษาผลมะนาวโดยการชบุ นา้ เกลือ 4 การศึกษาสีของไขแ่ ดงในไขเ่ ค็มทที่ าโดยพอกดว้ ย ดินบาดาลเขตอยธุ ยา 5 ผลการใชส้ บั ปะรดกับหมหู มกั ตอ่ ความนุ่มของหมูยา่ ง 6 การศกึ ษากลิ่นจากดินเผาผสมกับสมุนไพรชนดิ ต่าง ๆ 7 ผลของน้าเสยี ทีป่ ล่อยจากนาข้าวต่อค่า BOD ของนา้ ในคลอง 8 ผลการใช้สมุนไพรต่อความเข้มของไข่แดงในไขเ่ ป็ด 9 การศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตของปลาทบั ทิมจากเศษอาหาร ท่เี หลอื จากการบรโิ ภค 10 ผลของการใช้ดนิ เผาดับกลน่ิ คาวอาหารในตเู้ ย็น วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

40 ใบส่ังงาน รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ (2000-1301) ชอื่ งาน การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ 1. เลอื กทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจโดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ 2. แสดงผลงานโครงงานวทิ ยาศาสตรใ์ ห้ผู้อน่ื เข้าใจได้ คาสัง่ 1. ให้นักเรียนเลือกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความถนัดและความสนใจกลุ่มละ 1 โครงงาน โดยนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทาโครงงาน (ใช้เวลาประมาณ 10-14 สัปดาห์ สมาชกิ กลุ่มละ 4-5 คน) 2. เขยี นเค้าโครงย่อ สง่ ตามเวลาท่ีกาหนด 3. ลงมือทากจิ กรรมและบนั ทกึ ผลหลังจากครตู รวจเคา้ โครงยอ่ แล้ว 4. ส่งรายงานผลความกา้ วหนา้ ของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามเวลาท่กี าหนด 5. ครูอธิบายวธิ เี ขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ตามรูปแบบทเ่ี ป็นมาตรฐาน 6. นกั เรยี นกลับไปทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามลาดับ เพอื่ ให้งานสมบรู ณ์ครบถ้วน 7. นกั เรียนสง่ โครงงาน จดั บอรด์ แสดงผลงาน นาเสนอโครงงาน วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

41 แผนปฏิบัติงาน โครงการจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1/2559 รายการ พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เดอื น/สปั ดาหท์ ่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 1. บรรยายความหมาย ประเภท ขัน้ ตอนการทา โครงงานและแบ่งกลมุ่ เลือกหัวขอ้ โครงงาน 2. กาหนดส่งเคา้ โครง ฉบับร่าง 3. ตรวจ/แกไ้ ข เค้าโครง ฉบับร่าง 4. จดั ทาโครงงาน 4.1 ส่งรายงาน ความก้าวหน้าครั้งท่ี 1 4.1 สง่ รายงาน ความก้าวหน้าครง้ั ท่ี 2 5. อธบิ ายการทาเอกสาร 6. จัดทาเอกสาร 7. ส่งโครงงานและการนา เสนอ วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

42 แบบฟอร์มเคา้ โครงยอ่ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ชื่อโครงงาน ..................................................................................................................... สาขาของโครงงานท่ีทา ................................................................................................................... ชอ่ื ผทู้ าโครงงาน 1. ชอื่ ............................................... ช้นั ........................ รหัส................... 2. ชื่อ ............................................... ชั้น ........................ รหัส................... 3. ชื่อ ............................................... ชน้ั ........................ รหัส................... 4. ชอื่ ............................................... ช้ัน ........................ รหัส................... ช่ืออาจารย์ท่ปี รึกษา ....................................................................................................................... 1. ที่มาและความสาคญั ............................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. .......................... 2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................... ................................................ 3. สมมติฐานของการศึกษา ............................................................................................................................. .......................... ...................................................................................................................................... ................. 4. ตัวแปรในการทดลอง ตัวแปรต้น .................................................................................................................................. ตัวแปรตาม .................................................................................................................................. ตวั แปรควบคมุ ............................................................................................................................. 5. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ (ถ้ามี) ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. .......................... 6. ขอบเขตของการศึกษา ................................................................................. ............................................... ....................... วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวิต หน่วยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

43 7. วิธดี าเนนิ การ (สว่ นนเ้ี ปน็ สว่ นสาคญั ท่ีสุดของโครงงาน ให้เขยี นให้ชัดเจนและละเอียดทสี่ ดุ เทา่ ท่ี จะเปน็ ไปได)้ 7.1 วัสดุอปุ กรณ์ 1) ............................................................................................................................. ............ 2) ......................................................................................................................................... สารเคมี 1) ............................................................................................................................. ............ 2) ......................................................................................................................................... 7.2 ขนั้ ตอนในการดาเนนิ งาน 1) ............................................................................................................................. ............ 2) ......................................................................................................................................... 8. แผนปฏิบัตงิ าน เวลา รายการ 1. การเลือกโครงงาน 2. การเขยี นเค้าโครง 3. การลงมือทา 4. การเขยี นรายงานผล 5. การนาเสนอโครงงาน 9. งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการทาโครงงาน ............................................................................................................................. .......................... 10. ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ ............................................................................................................................. .......................... 11. เอกสารอา้ งอิง (บรรณานกุ รม) ....................................................................................................................................................... วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

44 สาหรบั ครู 1. การสง่ งาน  ส่งตรงตามกาหนด  ไมส่ ง่ ตามกาหนด 2. แก้ไข / ปรับปรงุ โครงงาน  ไม่ต้องแก้ไข  แก้ไข / ปรับปรุง ดงั นี้ ............................................................................................................................. ...... .......................................................................................................................... ........ ............................................................................................................................. ...... เมือ่ ไดแ้ ก้ไขตามคาแนะนาแล้วเสนอมาอีกครง้ั (ภายในวนั ท่ี ...................................) ................................................................................................................................... ....................................................................................................................... ............ ................................................................................................................................. .. 3. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ...... ................................................................................................. .................................. ลงช่อื ...................................................... ครูผู้สอน (ว่าที่ ร.ต.กริตติ การวฒั นี) วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

45 ใบรายงานผลความก้าวหน้า การจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ภาคเรยี น.................. ปกี ารศกึ ษา ................... ระดับ  ปวช.  ปวส. ช่ือโครงงาน ................................................................................................................. .......................... ประเภทโครงงาน  การทดลอง  สิ่งประดิษฐ์  การสารวจ  ทฤษฎี ช่อื กลุม่ .................................................................. แผนก ......................................... ช้ัน .................... สมาชกิ กลมุ่ 1. ........................................................ 2. ........................................................ 3. ........................................................ 4. ........................................................ ครูทีป่ รึกษา ................................................................................................................................ ............ จุดประสงค์การทดลอง .................................................................................................. .............................................................. อุปกรณ์การทดลอง ............................................................................................................................. ................................... วิธีการทดลอง (โดยยอ่ ) ............................................................................................................................. ................................... ตารางบนั ทกึ ผลความก้าวหน้าการจดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ลาดับที่ วนั /เดือน/ปี รายการ/กจิ กรรม ขอ้ คิดเห็นทป่ี รึกษาโครงงาน/ หมายเหตุ ความกา้ วหนา้ ลายมือชื่อที่ปรึกษาโครงงานฯ ส่งรายงานความก้าวหนา้  ตรงตามกาหนด  ไมส่ ง่ ตามกาหนด ครผู ูต้ รวจ .................................................................... (..................................................................) วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

46 ใบตรวจงานการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การประเมินผลการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ขึน้ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของผู้สอน ซ่ึงพิจารณาจาก ผลงานของนักศึกษาแตล่ ะกลุ่มท่ีจดั ทาข้ึน แบบประเมินรายงานการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. แบบประเมนิ สว่ นประกอบของการเขยี นรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ 1.1 พิจารณาความสอดคล้องระหวา่ งลกั ษณะที่สังเกตกบั ส่วนประกอบของรายงาน โครงงานวิทยาศาสตร์วา่ มีหรือไม่ 1.2 พจิ ารณารายงานต่อไปน้ี และกาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งวา่ ง รายการประเมิน ผลการประเมิน มี ไมม่ ี 1. ชอ่ื โครงงาน 2. ชอื่ ผทู้ าโครงงาน 3. ช่ือครูทป่ี รึกษา 4. บทคดั ย่อ 5. ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน 6. วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาโครงงาน 7. ความรู้หรอื ทฤษฎีท่เี ก่ียวขอ้ ง 8. สมมติฐานของการศกึ ษา 9. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั 10. วธิ ีดาเนนิ การ 11. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 12. สรปุ ผลการศึกษา อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 13. เอกสารอา้ งอิง ผลการประเมนิ น้ี คิดเป็น 6 คะแนน ใสช่ อ่ งท่ี 5 ตามแบบฟอรม์ การให้คะแนน 6 เฉลย่ี คะแนนทีไ่ ด้ วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะชวี ิต หน่วยที่ 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

47 2. แบบฟอร์มการใหค้ ะแนน ชือ่ โครงงาน ...................................................................................................................... ชนั้ ................................... แผนก ..................................................................................... ชอื่ – สกุล คะแนนทไ่ี ด้ รวม 211664 20 1. 2. 3. 4. 5. 6. ขนั้ ตอนการสง่ งาน และการให้คะแนน (20 คะแนน) (2 คะแนน) 1. โครงงานฉบับรา่ ง / การแก้ไข (1 คะแนน) 2. ความก้าวหนา้ ครัง้ ท่ี 1 (1 คะแนน) 3. ความกา้ วหน้า ครง้ั ที่ 2 (6 คะแนน) 4. ชน้ิ งาน / ผลงาน (6 คะแนน) 5. เอกสาร (รายงานโครงงานฯ) (4 คะแนน) 6. การนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน เกณฑ์การประเมนิ ผล เกณฑ์ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ คะแนน 17 - 20 13 - 16 9 - 12 5-8 1-4 เกณฑผ์ ่าน ได้คะแนนปานกลางข้ึนไป วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต หน่วยท่ี 1 เรอื่ ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

48 แบบประเมนิ ผลการทากจิ กรรมกลมุ่ รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ (2000 – 1301) ชอื่ งาน ......................................................................................... รายการประเมนิ 5 คะแนนการประเมิน 1 432 1. มีการใชว้ สั ดุในท้องถิ่น/วสั ดุเหลอื ใช้ (เศรษฐกิจพอเพียง) 2. ความสามัคคใี นการทางาน 3. ร่วมแสดงความคิดเหน็ /ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4. ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอน 5. ความถกู ต้องสมบูรณ์ของงาน 6. งานสาเร็จตามกาหนด เวลาที่ปฏบิ ัตงิ าน ...................... ชั่วโมง ...................... นาที สรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน ............................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................. ............... ................................................................................................................... .......................................... ลงชอ่ื ผ้ปู ระเมนิ ผลงาน .............................................................. วนั ที่.......... เดอื น.......... พ.ศ. .......... เกณฑ์การประเมิน ดมี าก 26 – 30 ดี 21 – 25 ปานกลาง 16 – 20 พอใช้ 11 – 15 ปรับปรุง 0 – 10 เกณฑผ์ ่าน ได้คะแนนระดบั ปานกลางขน้ึ ไป วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทักษะชวี ิต หนว่ ยที่ 1 เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

49 ใบบันทึกเวลาเรยี น วชิ า วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต รหัสวชิ า 2000–1301 วนั ท่ี ............. / ................. / ................. ช้นั ปวช. ..................... กลมุ่ .................................................. แผนกวชิ า.............................................. คาช้ีแจง ทาเครือ่ งหมาย  ในช่องรายละเอยี ดการเข้าช้นั เรียน ลาดบั รหสั ช่อื – สกุล รายละเอียดการเข้าชน้ั เรียน ไม่เข้าเรียน หมาย ที่ นักศึกษา เข้าเรียน ข ลป ลก ส มช สะสม เหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 หมายเหตุ : ข = ขาดเรียน ลป = ลาป่วย ลก = ลากจิ ส = เขา้ เรียนสาย มช = ไม่เช็คช่ือทา้ ยช่ัวโมง วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

50 สรุป เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หมายถึงความรู้จึงทาให้การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นการค้นหาความจริง ในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับธรรมชาติ เพ่ือให้เกิดความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ท่ีเป็นกระบวนการคิด และการกระทาที่เกิดข้ึนอย่างเป็นระบบ แบบแผน เป็นขั้นตอน และสามารถพิสูจน์ได้ด้วย ดังนั้น การเรียนรู้วิทยาศาสตรจ์ งึ เปน็ การพัฒนาผูเ้ รยี นใหไ้ ดร้ ับความรู้ กระบวนการ และเจตคติ วิธีทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง เพ่ือใช้แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ อย่างมีระบบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์ขอ้ มูล การสรปุ ผล ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอ่ื เปน็ เครอื่ งมอื แสวงหาคาตอบของปญั หาแบ่งเป็น 13 ทกั ษะ ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจาแนกประเภท ทักษะการคานวณ ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทกั ษะการพยากรณ์ ทกั ษะการต้งั สมมติฐาน ทกั ษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทักษะการกาหนด และควบคุมตวั แปร ทกั ษะการทดลอง ทักษะการตีความหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรุป โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ศึกษาเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเก่ียวกับวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เพ่ือให้คาตอบของปัญหาท่ีต้ังไว้ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งผู้เรียนจะต้องลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง ตามคาแนะนาของครูท่ีปรึกษา หรือผู้เช่ียวชาญ ตามระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน อาจทาเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มก็ได้ แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ โครงงานประเภทสารวจ โครงงาน ประเภททดลอง โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐแ์ ละโครงงานประเภททฤษฎี วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต หน่วยท่ี 1 เร่อื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

51 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ คาสง่ั จงทาเคร่ืองหมาย  ลงหน้าข้อที่ถกู ต้องทีส่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว 1. ขอ้ ใดใหค้ วามหมายของคาวา่ “วทิ ยาศาสตร์” ได้ ถูกต้อง ท่ีสดุ ก. การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ข. การศกึ ษาส่ิงแวดลอ้ ม ค. การศกึ ษาโดยการทดลอง ง. การค้นควา้ หาความจริงในธรรมชาติ 2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ขนั้ ตอนของวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ก. การสังเกต ข. การสรปุ ผล ค. การตงั้ สมมตฐิ าน ง. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3. ให้พิจารณาต้นไม้ 4 ตน้ ไดแ้ ก่ ตน้ มะมว่ ง ตน้ มะละกอ ต้นกลว้ ย ตน้ ออ้ ย ในเวลา 6 เดือน ตน้ ไม้ ชนดิ ใดสงู ขึ้น นอ้ ยทส่ี ุด ก. อ้อย ข. กล้วย ค. มะม่วง ง. มะละกอ 4. ไมอ้ ัดขนาดกว้าง 10 เซนตเิ มตร ยาว 40 เซนติเมตร ตัดเปน็ แผ่นขนาดกวา้ ง 5 เซนตเิ มตร ยาว 10 เซนติเมตรไดก้ ี่แผ่น ก. 8 แผน่ ข. 9 แผ่น ค. 10 แผน่ ง. 11 แผ่น วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook