Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พะยูง

พะยูง

Published by Vaikoon Chooma, 2021-10-02 06:18:33

Description: พะยูง

Search

Read the Text Version

4. พะยงู พะยงู ชอ่ื สามัญ Siamese Rosewood, Thailand Rosewood, Tracwood, Black Wood, Rose Wood[2] พะยูง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Dalbergia cochinchinensis Pierre จดั อยูในวงศถ ัว่ (FABACEAE หรอื LEGUMINOSAE) และอยใู นวงศย อ ยถัว่ FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE)[1],[2],[3] สมุนไพรพะยูง มชี ือ่ ทองถ่นิ อ่ืน ๆ วา ประดเู สน (ตราด), ขะยงู (อุบลราชธาน)ี , ประดูต ม (จันทบรุ )ี , แดงจีน (ปราจีนบุรี), พะยูงไหม (สระบุร)ี , ประดลู าย (ชลบรุ ี), พยุง พะยูง (ทั่วไป), กระยง กระยงู (เขมร- สรุ ินทร), หวั ลเี มาะ (จนี ) เปน ตน[1] ขอ ควรรู : ตน พะยงู เปน พนั ธุไมพระราชทานเพ่ือปลกู เปนมงคลของจงั หวดั หนองบวั ลำภู ลักษณะของตน พะยูง -ตนพะยูง จดั เปน ไมย ืนตน ขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลดั ใบ ชว งสัน้ ๆ มีลกั ษณะคลา ยกบั ตนประดู โดยมีความสงู ของตนไดถ งึ 25 เมตร เมอ่ื โตเต็มทลี่ ำตนจะมีลักษณะเปลาตรง มเี รือนยอดเปนรปู ทรง กลมหรอื รูปไขท บึ เปลอื กตน เรยี บเปน สเี ทา และลอนเปน แผน บาง ๆ สวนเปลือกดานในเปนสีนำ้ ตาลแกมสีเหลือง เนื้อไมเปนสีแดงอมมวง ถึงแดงเลือดหมูแก เนื้อละเอียด มีความแข็งแรงทนทาน มีแกน หอม รอ นและมรี สขมฝาดเลก็ นอย การขยายพันธุท ่ีนิยมทำกันก็คอื การนำ เมล็ดมาเพาะใหเ ปนตนกลา ซ่ึงเปน วิธที สี่ ะดวกและนิยมกันมาก

สำหรบั วธิ กี ารขยายพันธุโดยวิธอี ื่น ๆ ก็สามารถทำไดโดยการนำเหงา มาปกชำ สามารถขน้ึ ไดใ นดินทุกชนิด ทน แลงไดดี ตน พะยูงเปนพนั ธไุ มท มี่ ีถน่ิ กำเนดิ ในประเทศเมียนมา ลาว กัมพชู า และเวยี ดนาม ในประเทศไทยพบ ขึน้ กระจัดกระจายทัว่ ไปตามปาเบญจพรรณชื้น ปาดบิ แลง ปา ราบ ปา โปรง และขึน้ ประปรายท่ัวไปทางภาค ตะวนั ออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในพืน้ ท่ีที่สูงจากระดบั นำ้ ทะเลประมาณ 100-300 เมตร[1],[2],[3] -ใบพะยูง ใบเปน ใบประกอบ ออกเปนชอ แบบขนนกปลายค่ี ชอติดเรยี ง สลบั กัน ยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร ใบ และชอ จะใบยอ ยมีลกั ษณะเปนรูปรีแกมรปู ไข ติดเรียงสลบั ประมาณ 7-9 ใบ ปลายสุด ของชอ ใบเปนใบเดี่ยว ลักษณะของใบเปน รูปไขแกมรปู ขอบขนาน รปู ไข หรอื รปู ใบ หอก ปลายใบแหลมย่นื เลก็ นอย โคนใบมน กวา ง แลวคอย ๆ เรียวสอบแหลมไปทาง ปลายใบ สวนขอบใบเรยี บเปนคลนื่ เล็กนอ ย ใบมขี นาดกวา งประมาณ 3-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเหนยี วคลายกับแผน หนังบาง ๆ หลงั ใบเปน มันสีเขียวเขมกวา ดา นทองใบ โดยทองใบเปน สีเขยี วนวล ใบเกล้ยี งไมม ขี นทั้งสองดา น เสนแขนงใบมปี ระมาณ 6-8 คู พอสังเกตเห็นไดทั้งสองดาน กา นใบยอยยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร สว น แกนกลางใบประกอบยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร[2],[3] - ดอกพะยูง ดอกออกรวมกันเปน ชอ แยกแขนง ตามปลาย ก่งิ หรือตามงามใบใกลก บั ปลายยอด ชอดอกต้ังขน้ึ ยาว ประมาณ 10-20 เซนตเิ มตร ดอกมขี นาดเล็ก ลักษณะของ กลีบดอกเปน รปู ดอกถวั่ สีขาวนวล มีกลิน่ หอมออน ๆ ดอก เมอ่ื บานเต็มท่ีจะมขี นาดกวางประมาณ 5-8 มลิ ลิเมตร กลีบดอกมี 5 กลีบ สว นกลบี ฐานดอกเช่อื มติดกนั เปน รปู ถวยต้ืน ๆ หรอื เปนรปู ระฆงั ขอบหยักเปนแฉกต้ืน ๆ 5 แฉก มีขนส้ัน กลบี คลุมมีลกั ษณะคลายรปู โล กลีบปกสอง กลีบมลี กั ษณะเปน รปู ขอบขนาน สวนกลีบกระโดงเช่ือมติดกัน มีลกั ษณะคลา ยรูปพระจนั ทรคร่งึ เส้ยี วหรอื รปู เรือ ดอกมีเกสรเพศผู 10 อนั อนั บนอยเู ปนอิสระ นอกนน้ั จะอยูติดกันเปน กลมุ ๆ สวนรังไขมลี ักษณะเปน รปู รี ภายในมชี องเดยี ว แตมีไขออนอยูหลายหนวย หลอดทอรังไขม หี ลอดเดยี ว ยาวย่นื พนเกสรเพศผขู ้ึนมา โดยตน พะยงู จะออกดอกในชวงประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม[2],[3]

-ผลพะยูง ออกผลเปน ฝก ลกั ษณะของ ฝก เปน รปู ขอบขนาน แบนและบอบบาง มีขนาดกวางประมาณ 1.2 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร ผวิ ฝก เกลีย้ ง ตรงกลางมีกระเปาะหุมเมล็ด บรเิ วณท่หี มุ เมลด็ จะมองเหน็ เสน แขนงไม ชดั เจน ฝกจะแกป ระมาณ 2 เดือนหลงั การออกดอก ซึ่งจะอยใู นชว งประมาณ เดอื นกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน เมือ่ ฝก แกแ ลว จะไมแตกออกเหมอื นฝกมะคา โมง หรือฝกไมแ ดง แตฝ ก จะรว งหลน โดยทเ่ี มล็ดยังอยใู นฝก[2],[3] -เมล็ดพะยูง เมลด็ มลี กั ษณะเปนรปู ไต สนี ำ้ ตาลเขม มีประมาณ 1-4 เมล็ดตอฝก ผวิ เมล็ดคอนขางมนั มีขนาดกวา งประมาณ 4 มลิ ลิเมตร และยาวประมาณ 7 มิลลเิ มตร[3] สรรพคณุ ของพะยูง 1. ตำรบั ยาพ้ืนบานอีสานจะใชเปลือกตน หรอื แกนพะยูง นำมาผสมกบั แกนสนสามใบ แกน ขเี้ หล็ก และแกน แสมสาร ใชตม กบั น้ำดม่ื เปนยาแกมะเรง็ (เปลือกตน , แกน )[3] 2. รากใชก ินเปนยารกั ษาอาการไขพษิ เซอ่ื งซมึ (ราก)[1],[2],[3] 3. เปลือกนำมาตมเอาแตนำ้ ใชเปนยาอมรักษาโรคปากเปอย ปากแตกระแหง (เปลือก)[1],[2],[3] 4. ยางสดใชเปนยาทาปาก รักษาโรคปากเปอ ย (ยางสด)[1],[2] 5. ยางสดใชทาแกเ ทาเปอ ย (ยางสด)[3] ขอ มูลทางเภสัชวิทยาของพะยูง -ลำตนพะยงู พบสารในกลมุ ฟนอลกิ และฟลาโวน ไดแก 6-hydroxy-2,7-dimethoxyneoflavene, 6,4'- dihydroxy-7-methoxyflavan , 2,2',5-trihydroxy-4-methoxybenzophenone, 7-hydroxy-6- methoxyflavone, 9-hydroxy-6,7-dimethoxydalbergiquinol[3] - สารฟน อลิกจากลำตนพะยูงมีฤทธ์ยิ ับยัง้ เอนไซม 5alpha-reductase จงึ ชวยลดปริมาณการสรางฮอรโมน เพศชายแอนโดรเจนได ซ่ึงอาจนำไปพฒั นาเปนยารกั ษาโรคทีม่ ีสาเหตมุ าจากฮอรโมนแอนโดรเจนมากเกินไปได ในอนาคต[3]

ประโยชนของพะยูง 1. ผลใชท ำเปน ไมป ระดับแหงได[ 4] 2. ไมพ ะยงู เน่ืองจากพะยงู มีเนอื้ ไมท่มี ี สสี ันและลวดลายสวยงามไมพยงุ จนถือไดวา เปน ไมท ี่มีราคาแพงทสี่ ดุ ชนิดหนึง่ ในตลาดโลก (แพง กวา ไมส ักหลายเทานกั ) เปนที่ตองการของ ตลาดโลก โดยเฉพาะจนี สิงคโปร ฮอ งกง ไตหวนั จนนำไปสปู ญหาใหญภ ายในประเทศคอื การ ลักลอบตัดไมพ ะยงู เพ่ือสง ออก (เบื้องตน อยูทรี่ าคา กโิ ลกรมั ละ 800 บาท คิวละ 2-6 แสนบาท (ในขณะทีไ่ มส กั ควิ ละประมาณ 3-5 หมื่นบาท) แต ถา สงออกจะมรี าคาแพงขนึ้ ไปอีกหลายเทาตัว) เพราะเน้ือไมพ ะยูงเปน ไมทล่ี ะเอยี ดเหนียว มีความ แขง็ แรงทนทาน และชักเงาไดดี มนี ้ำมนั ในตวั นิยมนำมาใชในการทำเคร่ืองเรอื น เครื่องใช ทำสงิ่ ประดิษฐ งาน แกะสลัก ไมถ ือและดา มเครอื่ งมือ ท่ีมีคณุ ภาพดแี ละราคาแพง นอกจากน้ยี ังนำมาใชท ำสวนตา ง ๆ ของเกวยี น ทำกระบะยนต ดา มหอก คนั ธนู หนา ไม กระสวยทอผา ใชท ำเปนเคร่อื งดนตรี เชน ซออู ซอดว ง ขลุย รำมะนา ลกู ระนาด โทน ฯลฯ หรอื ใชทำเปน วตั ถุมงคลและของแตงบา นชิน้ เล็ก ๆ เชน เทพเจา ฮก ลก ซว่ิ ตวั ปเซยี ะ เปนตน ในปจ จุบนั ไมพะยูงจดั เปนไมส งวน หากใครมไี วใ นครอบครองจะถือวา มีความผิด (มีสถานภาพเปน ไม หวงหามธรรมดาประเภท ก) เนือ่ งจากในเวลาน้ีไมพะยูงถือวาเหลอื เฉพาะในประเทศไทยเพยี งแหง เดยี วในโลก เทา นั้น และกำลังเผชิญกับสภาวะทีล่ อ แหลมตอ การสูญพันธุ สวนในประเทศอน่ื ๆ อยา งประเทศลาวท่เี คยมี มากกห็ มดไปแลว สว นสาเหตทุ ีค่ นไทยไมใชป ระโยชนจากไมพ ะยูงมากเทาใดนัก ก็คงเปนเพราะไมชนดิ นีม้ ี ราคาสูงมากบวกกับคนไทยมีความเชอ่ื บางอยาง ท่เี ชื่อวาไมพะยูงเปน ของสงู ผทู ่ีมีบารมีไมถ ึงไมสมควรเอามา ใช เพราะจะมีปญ หาภายหลงั (ยกเวน เอามาทำเปน ห้ิงพระ) ดว ยเหตุน้คี นไทย จึงไมน ยิ มนำไมพะยงู มาทำเปนไม กระดาน บนั ไดบาน และเตยี งนอน ใช เพยี งแตทำรวั้ บานเทานั้น[2] 3. ประโยชนข องไมพะยูงกับ การเลย้ี งคร่งั ไมพ ะยงู เปน ไมท่ีสามารถ นำมาเลย้ี งครงั่ ไดดีชนดิ หน่งึ โดย สามารถใหผลผลติ สูงถึงตนละประมาณ

50 กโิ ลกรมั และทำใหครง่ั ไดม าตรฐานจดั อยูในเกรดเอ[2] 4. ตนพะยูงจัดเปน ไมม งคลนาม ตามชื่อท่ีพองกบั คำวา \"พยุง\" ที่หมายถงึ การประคองใหอยใู นสภาพ ปกติ ชวยใหทรงตวั ได จึงมคี วามเชอื่ วา หากบานใดปลูกตนพะยูงไวเปนไมประจำบาน จะทำใหบ คุ คลในบานมี แตค วามเจรญิ มีฐานะดขี ึ้น ชวยทำใหช วี ิตไมตกตำ่ ชวยพยุงใหโชคดมี ีชัย และตน พะยงู ยงั จดั เปนไมมงคลที่ใช ในการกอสรางอาคารหรือกอฐานประดิษฐว ตั ถุตา ง ๆ เชน ในการนำมาใชในพธิ วี างศลิ าฤกษ และเพื่อความ เปนสิรมิ งคลแกบ านและผูอยูอาศัย ควรปลูกตน พะยูงในวนั เสารท างทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ เพราะโบราณเชือ่ วา การปลูกไมเ พื่อเอาคุณใหป ลูกในวันเสาร ถาจะใหเปนสิรมิ งคลแกตัวผูปลกู ผปู ลกู ควรเปน สภุ าพบรุ ษุ เพราะ พยุงเปนช่ือท่เี หมาะสำหรบั สภุ าพบุรุษ อีกท้งั แกน ไมพ ยงุ ก็มีความแข็งแกรงทนทานจึงเปรยี บเทียบไดก ับความ แข็งแรงของสุภาพบุรษุ นั่นเอง นอกจากนี้พะยงู ยังจัดเปน 1 ใน 9 ของไมมงคลไทยอีกดว ย ซ่งึ ประกอบไปดว ย ราชพฤกษ, ชัยพฤกษ, ขนุน, ทองหลาง, ทรงบาดาล ไผสสี ุก, สกั , กนั เกรา, และพะยงู [3] 5. การใชง านดา นภมู ิทัศน สามารถปลูกเปน ไมประดบั เพื่อใหร ม เงาท่ีสาธารณะหรอื ในบรเิ วณบานได เนอ่ื งจากมีพุมใบละเอียดและมดี อกหอม[4] หมายเหตุ : สว นสาเหตุทที่ ำใหไมพะยงู ถกู ลกั ลอบตดั กนั มากและมีราคาแพงน้ัน มเี รือ่ งเลาวา กวา สบิ ป ท่ผี า นมาทางการจนี ไดบูรณะซอมแซมวังของจกั รพรรดิ (พระราชวงั ตอ งหาม \"กกู ง\" - Forbidden City) เม่ือ ชา งไดรอ้ื และซอมงานไมต าง ๆ ภายในวัง ตา งกไ็ ดพ บวา ไมสว นสำคญั ท่เี กย่ี วของกบั ฮองเต (เชน เกาอี้ โตะ ตาง ๆ) ลว นทำมาจากไมพะยูง และยงั มสี ภาพสมบูรณด ีมาก ทัง้ ๆ ทีผ่ านมานานหลายรอ ยป อีกอยางไมที่ใช ในการกอสรา งพระราชวังสว นหนงึ่ ก็คือไมพะยงู จงึ ตองมีการนำมาใชบ ูรณะในหลายสว น ๆ จนทำใหเกิดการ เลา ปากตอ ปาก เกิดเปน กระแสคนจนี (ทม่ี ีเงนิ ) อยากไดไมดังกลา วมาทำเปน เฟอรนเิ จอรเ ปน ของตวั เองบา ง ทำใหม คี วามตองการใชเ พ่มิ มากขน้ึ อยา งมหาศาล ซ่ึงสวนทางกับการเจริญเตบิ โตของตน พะยงู ที่โตชา มาก ตน ท่มี ีอายุรอยกวาปยังมีหนา ไมไมถ ึง 10 น้วิ สดุ ทา ยก็ไมพน ประเทศไทยที่มไี มพะยูงมากท่ีสดุ (แตใ นปจจบุ ันก็ ใกลจ ะสูญพนั ธุเตม็ ที) สวนประเทศเพื่อนบา นตนพะยูงก็ถูกตดั กนั จนหมดเกลี้ยงแลว คงเหลอื แตบา นเรานี้เอง เอกสารอางองิ 1. หนังสอื พจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพมิ พคร้งั ท่ี 5. (ดร.วิทย เทยี่ งบูรณธรรม). “พะยงู ”. หนา 552- 553. 2. สวนพฤกษศาสตร ตามพระราชเสาวนยี ฯ กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธพุ ชื . “พะยูง”. [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก : www.dnp.go.th/pattani_botany/. [23 ส.ค. 2014]. 3. ฐานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “พะยูง”. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก : www.phargarden.com. [23 ส.ค. 2014]. 4. สำนกั งานสวนสาธารณะ สำนักสง่ิ แวดลอ ม. “พะยงู ”. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : 203.155.220.217/office/ppdd/publicpark/thai/2011/. [23 ส.ค. 2014].

ภาพประกอบ : www.flickr.com (by SK HO), www.wattano.ac.th, www.phargarden.com (by Sudarat Homhual) เรยี บเรียงขอมลู โดยเว็บไซตเมดไทย (Medthai) ทม่ี า : https://medthai.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%87/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook