Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประดู่

ประดู่

Published by Vaikoon Chooma, 2021-10-02 06:18:05

Description: ประดู่

Search

Read the Text Version

2. ประดู ประดู ชอ่ื สามัญ Burma Padauk, Narra[1], Angsana Norra, Malay Padauk[2], Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood[3], Indian rosewood[4] ประดู ช่อื วิทยาศาสตร Pterocarpus indicus Willd. จัดอยูใ นวงศถวั่ (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยใู นวงศย อ ยถว่ั FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE)[2],[3] สมุนไพรประดู มชี ่ือทองถ่นิ อ่ืน ๆ วา ดูบาน (ภาคเหนอื ), ประดูบ า น ประดูลาย ประดกู ่ิงออน องั สนา (ภาค กลาง), สะโน (มาเลย- นราธวิ าส), ด,ู ประดูปา, ประดไู ทย เปนตน[1],[2],[3] ลักษณะของตนประดู -ตน ประดู เปนพรรณไมท ี่มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาเลเซยี และอยูในแถบอนั ดามัน มัทราช เบงกอล[1] สวนอีก ขอมลู ระบุวา มีถน่ิ กำเนดิ ในประเทศอนิ เดีย[2] ตน ประดูจัดเปนพรรณไมย ืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ลำตน มีความสูงประมาณ 20-25 เมตร หรอื อาจสงู กวา จะผลัดใบกอนการออกดอก แตกก่ิงกา นเปนทรงพุมกวา ง และปลายกิง่ หอยลง เปลือกลำตนหนาเปนสนี ำ้ ตาลเทา แตกหยาบ ๆ เปน รองลึก ขยายพนั ธุดวยวิธกี ารเพาะ เมลด็ และวธิ กี ารปก ชำก่ิง เจริญเตบิ โตไดดใี นดนิ รวนซยุ ตองการนำ้ ปานกลาง เปน พรรณไมกลางแจง ชอบ แสงแดดจดั มักพบขึ้นตามปา เบญจพรรณทางภาคใต สามารถปลกู ไดทัว่ ไป[3]

-ใบประดู ใบเปนใบประกอบแบบขนนกปลาย ค่ี ออกรวมกันเปน ชอ ๆ ใบออกเรียงสลับ แต ละชอจะมีใบยอยประมาณ 7-13 ใบ ลกั ษณะ ของใบยอยเปนรปู มนรี รูปไข หรือรูปขอบ ขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือคอนขาง แหลม สวนขอบใบเรยี บไมม ีหยัก ใบมขี นาด กวา งประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาว ประมาณ 4-13 เซนตเิ มตร แผน ใบหนาเปน สี เขียว ผิวใบมีขนสัน้ ๆ ปกคลุมดา นทองใบ มากกวาดานหลังใบ กา นใบออนมีขนขน้ึ ปกคลุมเลก็ นอย เสน แขนงใบถีโ่ คงไปตามรปู ใบ เปน ระเบียบ โคนกา น ใบมหี ใู บ 2 อนั ลักษณะเปนเสน ยาว[3] -ดอกประดู ออกดอกเปน ชอ แบบชอกระจะ โดย จะออกบริเวณซอกใบหรือทปี่ ลายกง่ิ โคนกานมีใบ ประดบั 1-2 อัน ลักษณะเปน รูปรี กลบี เลย้ี งดอกมี 5 กลบี ติดกันเปนถว ยสีเขียว ปลายแยกเปน แฉก 2 แฉก แบง เปน อันบน 2 กลีบตดิ กนั และอันลาง 3 กลีบติดกนั สว นกลบี ดอกมี 5 กลบี สเี หลือง แกมแสด ลักษณะของกลบี เปนรูปผีเสอื้ ดอกมี เกสรเพศผู 10 อนั กานชูอบั เรณตู ิดกันเปน 2-3 กลมุ สวนเกสรเพศเมียมี 1 อัน ดอกมีกลิน่ หอมแรง จะบานและรว งพรอ มกนั ท้ังตน โดยจะออกดอกในชวง เดือนมีนาคมถึงเดอื นเมษายน[2],[3]

-ผลประดู ผลเปนผลแหง แบบ samaroid ลกั ษณะของผลเปนรูปกลม หรือรีแบน ทขี่ อบมปี กบางคลายกับใบโดยรอบคลาย ๆ จานบนิ แผนปก บดิ และเปน คล่นื เล็กนอ ย นนู ตรงกลางลาดไปยงั ปก ผลมีขนาดเสนผา น ศนู ยก ลางประมาณ 4-7 เซนติเมตร สวนบริเวณ ปกยาวประมาณ 1-2.5 เซนตเิ มตร ท่ผี ิวมขี น ละเอียด ตรงกลางนนู ปองเปนที่อยขู องเมล็ด โดย ภายในจะมเี มล็ดอยู 1 เมลด็ เมลด็ มีความนูน ประมาณ 5-8 มลิ ลเิ มตร ผลออนเปนสเี ขียวแกม เหลือง เมอ่ื แกแลวจะเปลย่ี นเปนสนี ้ำตาลออ น ผิวสมั ผัสขรุขระเม่ือผล แก สวนเมลด็ มลี กั ษณะคลายกับเมลด็ ถั่วแดง ผิวเรียบสนี ้ำตาล ยาว ประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร[3],[4] หมายเหตุ : ตนประดชู นิดนี้ (ตน ประดูบา น) เปนตน ประดูท่พี บเห็นไดท วั่ ไป และเปนพรรณไมคนละชนิดกัน กับตนประดูด้ังเดิมของไทยหรือท่ีคนท่วั ไปเรยี กวา \"ตนประดปู า\" (Pterocarpus macrocarpus Kurz.) สรรพคุณของประดู 1. เปลอื กตนมีรสฝาดจัด มีสรรพคุณเปน ยาบำรุงรา งกาย (เปลอื กตน)[2] 2. แกนเนื้อไมป ระดู มีรสขมฝาดรอน มสี รรพคุณเปนยาบำรงุ โลหติ บำรงุ กำลัง บำรงุ ธาตุในรางกาย (แกน ) [2],[4] 3. แกน เน้ือไมใชตมกับนำ้ กนิ เปนยาแกไข แกพิษไข (แกน )[1],[2],[4] สว นรากใชเ ปนยาแกไ ข แกพิษไข (ราก) [4] 4. แกนเนอื้ ไมใชต ม กับน้ำกินเปนยาแกเสมหะ (แกน)[1],[2],[4] 5. ใบนำมาตากแหงใชชงกบั นำ้ รอ นเปนชาใบประดู นำมาดมื่ จะชว ยบรรเทาอาการระคายคอได (ใบ)[4] 6. ชวยแกเลอื ดกำเดาไหล ดว ยการใชแ กนเนื้อไมน ำมาตมกบั น้ำกินเปน ยา (แกน)[1],[2] 7. ผลมรี สฝาดสมาน มสี รรพคุณเปนยาแกอ าเจียน (ผล)[2] 8. เปลอื กตนใชเ ปนยาแกป ากเปอ ย ปากแตก (เปลือกตน )[4] สวนยางกม็ ีสรรพคุณเปนยาแกโ รคปากเปอ ยได เชน กัน (ยาง)[4] 9. ผลมีสรรพคุณเปน ยาแกทองรวง (ผล)[2] 10. เปลอื กตนและยางมสี รรพคุณเปน ยาแกอาการทองเสีย (เปลอื กตน, ยาง)[2],[4] 11. ใชเปนยาแกโ รคบดิ (เปลือกตน)[4] 12. แกน มสี รรพคุณเปน ยาขับยาเสมหะ (แกน )[2]

13. ใบออ นนำมาตำใหล ะเอียด ใชเ ปน ยาพอกแผล พอกฝ จะชว ยทำใหฝ ส กุ หรอื แหง เร็ว (ใบออน)[1],[2],[4] 14. ใบออ นใชตำพอกแกผดผ่ืนคัน (ใบออน)[1],[2],[4] สว นแกนก็มสี รรพคุณเปนยาแกผื่นคนั เชนกนั (แกน)[2] 15. ยางไมประดมู ีสารชนิดหนง่ึ ทเี่ รียกวา \"Gum Kino\" สามารถนำมาใชเปน ยาแกโ รคทองเสยี ได (ยางไม) [1] 16. แกนเนอ้ื ไมใ ชเปนยาแกโ รคคดุ ทะราด ดว ยการนำแกนไมม าตม กบั น้ำกิน (แกน )[1],[2] 17. เปลือกตน มรี สฝาด มีสรรพคณุ เปนยาสมานบาดแผล (เปลือกตน)[2] ขอมูลทางเภสัชวิทยาของประดู -เมือ่ นำสว นของเปลือก ราก และใบมาสกดั ดว ยตวั ทำละลาย พบวาสารทพ่ี บไดในทุกสวนของประดู คือ Flavonoid Tannin และ Saponin สว นสารสำคัญทไ่ี ดจ ากการคนควาขอมูลอ่นื พบวามสี าร Angiolensin Homopterocarpin, Formonoetin, Isoliquirtigenin, Narrin , Pterostilben, Pterocarpin, Pterofuran, Pterocarpon, Prunetin, Santalin, P-hydroxyhydratropic acid, β-eudesmol สว นใบพบวา มี คลอโรฟล ล 3 ชนดิ คอื Chlorophyll a Chlorophyll b และ Xanthophyll[4] -ประดมู ีฤทธย์ิ ับย้งั เชื้อรา เช้ือแบคทีเรยี แกอาการปวด ทำใหก ลา มเน้ือเรยี บคลายตัว ยบั ยั้งการแบงเซลล ยบั ยง้ั เอนไซม Ornithine decarboxylase และยบั ยง้ั Plasmin ฤทธิค์ ลา ยเลคตนิ ทำใหเมด็ เลือดแดงเกาะ กลมุ กนั [4] -จากการทดสอบความเปน พิษ โดยใชสารสกดั ดว ยเอทานอลจากสวนทอี่ ยเู หนือดนิ ของตน ประดู 50% เม่อื นำมาฉีดเขาทองของหนูถบี จักรทดลอง พบวาขนาดทที่ ำใหหนตู ายคอื ขนาดมากกวา 1 กรัม[4] ประโยชนของตน ประดู 1. ใบออ นและดอกประดสู ามารถนำมาลวกรบั ประทานเปนอาหารได และยงั สามารถนำมาชุบแปง ทอดรบั ประทานกบั นำ้ จ้มิ เปนอาหารวางไดอีกดวย[2],[4] 2. ไมป ระดู เปนไมท ่ีมคี ณุ คาทางเศรษฐกจิ มีคณุ ภาพดี เพราะเปน ไมเน้ือแข็ง เน้ือละเอียดปานกลาง ปลวกไมท ำลาย สีสวย มีลวดลายสวยงาม ตกแตง ขัดเงาไดดี นิยมนำมาใชสรา งบานเรือน ทำฝาบาน พื้นบา น ทำเสา ทำคาน ใชทำเฟอรนิเจอร เครอื่ งเรอื นตาง ๆ หรือนำมาใชทำเกวยี น ทำเรือคานและเรือท่วั ๆ ไป รวมทง้ั สว นประกอบตา ง ๆ ของเรือดว ย เพราะไมป ระดูมีคุณสมบัตทิ นนำ้ เค็ม ทำเครอ่ื งมือเคร่ืองใชต า ง ๆ เชน ดา มมดี จานรองแกว ทัพพี ฯลฯ เครอ่ื งดนตรี เชน ซอดวง ระนาด เปน ตน นอกจากน้ีประดูบางตนยงั เกดิ ปุม ตามลำตน หรอื ท่ีเรยี กวา \"ปุมประด\"ู จึงทำใหไดเนื้อไมทม่ี คี ุณภาพสงู และงดงาม แตจะมรี าคาแพงมากและหา ไดยาก นิยมนำมาใชทำเครอื่ งเรือนและเคร่อื งมือเครือ่ งใชไดอ ยา งดีเยยี่ ม[2],[4] 3. เปลือกใหนำ้ ฝาดสำหรับฟอกหนัง เปลือกและแกน ประดยู งั สามารถนำมาใชย อ มสีผาไดดี โดย เปลือกจะใหส นี ำ้ ตาล สว นแกนจะใหส แี ดงคล้ำ[2] 4. ใบมีรสฝาด สามารถนำมาชงกับน้ำใชสระผมได[ 2]

5. คนไทยนิยมนำตน ประดมู าปลูก เปน ไมป ระดับตามอาคารหรอื สถานท่ี สาธารณะ เชน ตามสวนหรอื ทางเดนิ เทา ปลูก เปนไมใ หรม เงาและใหค วามสวยงาม อีกท้งั ยัง ชว ยกำจัดอากาศเสีย ชว ยกรองฝนุ ละออง และ กันลมกนั เสยี งไดดีอกี ดว ย ดงั จะเหน็ ไดในเมอื ง ใหญ ๆ เชน กรงุ เทพฯ ท่ีจะใชประโยชนจาก ตน ประดูม ากเปน พเิ ศษ[2] 6. ในดา นเชงิ อนุรักษ ตนประดูเ ปน ไมเ รือนยอดกลมโต มีความแข็งแรง สามารถชว ยปองกันลมและ คลุมดนิ ใหรมเยน็ ชุมชนื้ ได และยังชว ยรองรับน้ำฝนชว ยลดแรงปะทะหนา ดนิ ประกอบกบั มีระบบรากหย่ังลกึ และแผกวางทช่ี ว ยยดึ หนาดินไวไมใหพังทลายไดง า ย และรากทม่ี ีปมขนาดใหญย งั ชว ยตรึงไนโตรเจนในอากาศ มาเกบ็ ไวในรปู ของไนโตรเจนทเ่ี ปนประโยชนอ กี ดว ย สวนใบท่หี นาแนน เมอ่ื รว งหลน ก็จะเกดิ การผพุ ัง กลายเปนธาตอุ าหารอินทรยี วัตถุใหแ กดินไดเ ปนอยางดี 7. ในดา นขอ ความเชื่อ หากบานใดปลูกตนประดไู วเ ปน ไมประจำบาน เชอ่ื วา จะชวยทำใหเกดิ พลัง แหงความยิง่ ใหญ เพราะประดหู มายถงึ ความพรอม ความรว มมือรวมใจสามัคคี มีพลังเปนอนั หนึง่ อันเดียวกนั เพ่อื ความเปน สริ ิมงคลแกบา นและผูอยูอาศยั ใหป ลูกตน ประดูไวทางทิศตะวนั ตกและใหปลกู ในวนั เสาร เพราะ คนโบราณเชอ่ื วาการปลกู ไมเพ่ือเอาคณุ ใหป ลูกกนั ในวนั เสาร และถา จะใหเ ปน มงคลย่งิ ข้ึนไปอีก ผปู ลูกควรจะ เปน ผใู หญทนี่ า เคารพนับถือและเปนผทู ีป่ ระกอบคุณงามความดกี จ็ ะเปน สริ ิมงคลมากยง่ิ ข้ึน 8. ในดา นของการเปนสัญลกั ษณ ดอกประดูเ ปนสัญลักษณของกองทัพเรือไทย เปน ดอกไมป ระจำ จงั หวัดชลบรุ ี จังหวัดระยอง จังหวดั อตุ รดติ ถ และเปนดอกไมป ระจำชาติของประเทศพมา สว นตนประดูเปน ตนไมป ระจำจังหวัดภเู กต็ และโรงเรียนอกี หลายแหงในประเทศไทย (ขอ มูลจากวิกพิ เี ดีย) เอกสารอา งอิง 1. หนงั สือพจนานกุ รมสมุนไพรไทย, ฉบบั พมิ พค รงั้ ที่ 5. (ดร.วทิ ย เทย่ี งบูรณธรรม). “ประด”ู . หนา 446. 2. มูลนิธิหมอชาวบา น. นติ ยสารหมอชาวบา น เลมท่ี 291 คอลัมน : ตนไมใบหญา. (เดชา ศิรภิ ัทร). “ประดู : ตำนานความหอมและบดิ าแหงราชนาวี”. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : www.doctor.or.th. [04 ก.ย. 2014]. 3. ไขปริศนา พฤกษาพรรณ, ภาควชิ าพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. “ประดู” . [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจาก : www.il.mahidol.ac.th/e-media/plants/. [04 ก.ย. 2014]. 4. โรงเรยี นอุดมศึกษา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : www.udomsuksa.ac.th/Latphrao/Knowledge/vijai/thai_Abstrait.htm. [04 ก.ย. 2014].

ภาพประกอบ : www.flickr.com (by cmtungol, CANTIQ UNIQUE, 阿橋, Forest and Kim Starr, Shubhada Nikharge, SierraSunrise, Yeoh Yi Shuen, Hardwoods Incorporated, Russell Cumming) เรยี บเรียงขอมูลโดยเว็บไซตเมดไทย (Medthai) ท่มี า : https://medthai.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0% B9%88%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook