Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP

คู่มือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP

Published by Akhadat Thiamthan, 2021-04-15 10:02:15

Description: คู่มมือโครงการ

Search

Read the Text Version

คู่ มื อ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพือกลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (Quadrant D) กรอบการคัดสรรสุดยอดหนึงตําบล หนึงผลิตภัณฑ์ ป 2564

สารบัญ การดำเนนิ โครงการหน่งึ ตำบล หนง่ึ ผลิตภัณฑ์ และเส้นทางสคู่ วามสำเร็จ.................................................5 แนวคิด OTOP ...............................................................................................................................................6 หลักการพน้ื ฐาน 3 ประการ ...........................................................................................................................6 วตั ถุประสงคโ์ ครงการ OTOP.........................................................................................................................6 ตราสญั ลกั ษณ์ หนึ่งตำบล หนง่ึ ผลติ ภัณฑ์ (ONE TAMBON ONE PRODUCT LOGO)................................6 ประเภทของผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP .....................................................................................................6 กลมุ่ ผผู้ ลิตชมุ ชน.........................................................................................................................................6 ผผู้ ลติ ท่เี ป็นเจา้ ของรายเดียว......................................................................................................................7 ผผู้ ลติ SMEs................................................................................................................................................7 ผลติ ภณั ฑ์ OTOP..........................................................................................................................................7 อาหาร ........................................................................................................................................................ 7 เครือ่ งดืม่ ....................................................................................................................................................8 ผ้าและเคร่ืองแตง่ กาย.................................................................................................................................8 ของใช้ ของตกแตง่ ของท่ีระลกึ ..................................................................................................................8 สมุนไพรทไ่ี มใ่ ชอ่ าหาร..............................................................................................................................10 แนวคดิ การแบง่ หมวดผลติ ภณั ฑ์ (Quadrant) ของ OTOP ตามศักยภาพของกลุ่มผผู้ ลติ ............................10 กลมุ่ ดาวเดน่ สสู่ ากล A..............................................................................................................................10 กล่มุ เอกลกั ษณส์ รา้ งคณุ คา่ B...................................................................................................................10 กลมุ่ พัฒนาสูก่ ารแขง่ ขนั C .......................................................................................................................10 กลุม่ ปรับตัวการพัฒนา D.........................................................................................................................10 เสน้ ทางการกา้ วเดนิ ของผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP.................................................................................11 มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชนและการควบคมุ คณุ ภาพสินค้า .......................................................................12 มาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน (มผช.)................................................................................................................12 1

ความเปน็ มา .............................................................................................................................................12 มาตรฐานผลิตภัณฑ์......................................................................................................................................12 มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชนกำหนดข้ึนเพ่อื อะไร ........................................................................................12 ผลติ ภณั ฑ์ทใี่ หก้ ารรับรองฯ มี 5 ประเภท.....................................................................................................12 ใครสามารถขอการรับรองได้?.......................................................................................................................13 มาตรฐานประกอบดว้ ย.................................................................................................................................13 ขัน้ ตอนการรบั รองคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน.................................................................................................14 การรับคำขอ.............................................................................................................................................14 การตรวจประเมินสถานทที่ ำ ....................................................................................................................14 ระยะเวลาการยนื่ ขอ มผช. ...........................................................................................................................16 ได้รบั รองแลว้ ไดอ้ ะไร....................................................................................................................................16 การยกเลิกการรับรอง ...................................................................................................................................16 เคร่อื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน.........................................................................................................17 แสดงเคร่อื งหมายและฉลากอยา่ งไร.............................................................................................................17 การควบคมุ คณุ ภาพผลติ ภัณฑช์ มุ ชน............................................................................................................18 การตรวจติดตามผลคุณภาพ.........................................................................................................................18 คุณภาพทีผ่ ้บู รโิ ภคสว่ นใหญต่ อ้ งการ ........................................................................................................18 ทำไมต้องมกี ารควบคมุ คณุ ภาพในระบบการผลิต.....................................................................................18 ขอ้ กำหนดที่ใช้ในการควบคมุ คณุ ภาพ......................................................................................................18 ประโยชนข์ องการควบคมุ คุณภาพ ...........................................................................................................18 การขอรบั เลขสารบบอาหาร (อย.)................................................................................................................19 แนวคิดการออกแบบ พฒั นาผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ และการสร้างแบรนด์...............................................24 การพฒั นาบรรจุภัณฑ์ เพือ่ แขง่ ขันทางการตลาด .........................................................................................24 วัตถปุ ระสงคข์ องการทำบรรจภุ ัณฑ์..............................................................................................................24 หนา้ ที่หลกั ของบรรจุภณั ฑ์............................................................................................................................24 2

ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์................................................................................................................................25 ข้อพิจารณาในการออกแบบ .........................................................................................................................26 ขน้ั ตอนการออกแบบ (หรือพฒั นา)..........................................................................................................26 การสรา้ ง Brand ให้ประสบความสำเรจ็ .......................................................................................................27 ขจดั ความเขา้ ใจผดิ ตา่ ง ๆ.........................................................................................................................27 สรปุ องคป์ ระกอบ 7 ประการ ของ Brand ที่ลูกคา้ ตอ้ งการ........................................................................28 การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ OTOP ให้เปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาด........................................................................28 ความรเู้ บอ้ื งตน้ ดา้ นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ .....................................................................................................28 ประเภทผลติ ภณั ฑใ์ หม่ แบ่งเปน็ 7 ประเภท ................................................................................................29 การแปรรปู อาหาร ........................................................................................................................................29 แนวโน้มการตลาดและ Digital Marketing............................................................................................29 พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค.................................................................................................................................29 Product Life Cycle ...................................................................................................................................30 Digital Marketing คือ.................................................................................................................................31 หลกั พน้ื ฐานวเิ คราะห์ผล Digital Marketing...............................................................................................31 ชอ่ งทางการทำ Digital Marketing..............................................................................................................31 กลยทุ ธ์ Digital Marketing..........................................................................................................................31 สิง่ ท่ีต้องกระทำใน Digital Marketing ....................................................................................................32 ส่ิงทท่ี ำพลาดในโลก Digital Marketing..................................................................................................32 เทรนด์ของ Digital Marketing ท่นี า่ จับตามอง .......................................................................................33 แนวโน้มการตลาดท่ีนา่ จับตามอง.................................................................................................................33 เทคนิคการถ่ายภาพผลติ ภณั ฑแ์ ละฝึกปฏิบัติ...........................................................................................35 เทคนิคการถา่ ยภาพผลิตภณั ฑ์......................................................................................................................35 แอพแต่งรูป...................................................................................................................................................36 การทำแอพแตง่ รปู ...................................................................................................................................37 3

เทคนคิ การถา่ ยภาพสินคา้ ใหส้ วยน่าซือ้ ดึงดูดใจลกู คา้ ออนไลน์................................................................37 กรอบการคัดสรรสดุ ยอดหนง่ึ ตำบล หนึ่งผลติ ภัณฑ์ไทย...........................................................................39 คุณสมบัตขิ องผผู้ ลติ ผู้ประกอบการและผลติ ภัณฑท์ ส่ี ามารถสมคั รเขา้ รับการคดั สรร .................................39 สว่ นท่ี 2 แนวทางการดำเนนิ งานการคดั สรรสดุ ยอดหนงึ่ ตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2564 (OTOP Product Champion : OPC)......................................................................................................................44 ระดับจงั หวดั และกรุงเทพมหานคร...........................................................................................................44 ระดับประเทศ...........................................................................................................................................49 สว่ นท่ี 3 หลกั เกณฑก์ ารคัดสรรสุดยอดหน่งึ ตำบล หน่งึ ผลติ ภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2564..................................52 (OTOP Product Champion : OPC) ........................................................................................................52 4

โครงการพัฒนาและการจัดทำคมู่ อื สำหรับการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ เพอ่ื กลุ่มผูป้ ระกอบการกลุม่ ปรบั ตัวสกู่ ารพัฒนา (Quadrant D) *************************************** โครงการพัฒนาและการจัดทำคู่มือสำหรับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อกลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มปรับตัวสู่ การพัฒนา (Quadrant D) เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อผู้ประกอบการกลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนาให้เข้าใจถึง หลักการที่สามารถทำให้ผลิตภัณฑ์ของตนเองสามารถพัฒนาเป็นสินค้าที่อยู่ในเกณฑ์คุณภาพมาตรฐาน โดยมี เนื้อหาดังน้ี 1) การดำเนินโครงการหน่ึงตำบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ และเส้นทางสูค่ วามสำเรจ็ 2) มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและการควบคมุ คุณภาพสนิ คา้ 3) แนวคดิ การออกแบบ พัฒนาผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ และการสรา้ งแบรนด์ 4) การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ OTOP ใหเ้ ป็นที่ตอ้ งการของตลาด 5) แนวโน้มการตลาดและ Digital Marketing 6) เทคนคิ การถ่ายภาพผลติ ภณั ฑ์และฝึกปฏบิ ตั ิ 7) เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ \"ผลติ OTOP อย่างไรใหต้ รงใจผู้บรโิ ภค\" 1. การดำเนนิ โครงการหนึ่งตำบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ และเสน้ ทางสคู่ วามสำเรจ็ กรมการพัฒนาชุมชน ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการส่งเสริมการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีบทบาทในการดำเนินการต่าง ๆ ได้แก่ การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP การ คัดสรรสุดยอด OTOP ไทย ดำเนินการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP การจัดงานต่าง ๆ อาทิ OTOP CITY และ OTOP MIDYEAR ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2544 อีกทั้งได้พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการของกลุ่มผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ OTOP ด้วยองคค์ วามรูท้ างวิชาการและเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั ผสมผสานกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน นำมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และมีความโดดเด่นสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ OTOP เป็นที่ยอมรับของตลาดและสามารถจำหน่ายได้ทั้ง ในและตา่ งประเทศ 5

แนวคดิ OTOP การดำเนินโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อให้แต่ละชุมชนได้นำทรัพยากรที่มีในชุมชนและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการพัฒนาสินค้า โดยภาครัฐพร้อมที่จะเข้าช่วยเหลือ ในด้านความรู้สมัยใหม่และ การบริหารจัดการเพอื่ เชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสตู่ ลาดทัง้ ใน และต่างประเทศ หลกั การพ้ืนฐาน 3 ประการ 1 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ สู่สากล (Local Yet Global) 2 พึ่งตนเองและคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ (Self-Reliance & Creativity) 3 การสร้างทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development) วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ OTOP 1. สรา้ งงาน สร้างรายได้ แกช่ ุมชน 2 สร้างความเขม้ แขง็ แก่ชุมชน 3 สง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 4 ส่งเสริมการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ 5 ส่งเสริมความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ของชมุ ชน ตราสญั ลกั ษณ์ หนง่ึ ตำบล หน่ึงผลติ ภัณฑ์ (ONE TAMBON ONE PRODUCT LOGO) ตราสัญลักษณ์ จุดเริ่มต้นการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์ คณะกรรมการ กอ.นต.ผ. เห็นชอบให้กำหนดตราสัญลักษณ์ โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ โดยใช้ตราทมี่ ีคำวา่ \"OTOP\" แทนตราท่ีมีรูปปลาตะเพยี น ประเภทของผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP 1. กลุ่มผู้ผลิตชุมชน หมายถึง ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มคนที่ได้รวมตัวกันเป็น กลุ่ม ภายในชุมชน ผลิตสินค้าที่แสดงความเป็นไทย หรือภูมิปัญญาไทย และสมาชิกในกลุ่มร่วมกันผลิต รวมท้ัง ร่วมกันบริหารจัดการ และร่วมรับผลประโยชน์ เช่น กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่จดทะเบียนอย่างเป็นทางการ ได้แก่ 6

สมาคม สหกรณ์ มูลนิธิ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่เป็นกลุ่มภายในชุมชนผลิตสินค้าที่แสดงความเป็น ไทย หรือภูมิปัญญาไทย และสมาชิกในกลุ่มรว่ มกันผลิต รวมทั้งร่วมกันบริหารจัดการ และร่วมรับผลประโยชน์ เช่น กลมุ่ ผู้ผลติ ชมุ ชนทีจ่ ดทะเบียนอย่างเป็นทางการ ได้แก่ สมาคม สหกรณ์ มูลนธิ ิ วสิ าหกจิ ชุมชน กลุ่มผู้ผลิต ชมุ ชน ทไ่ี มจ่ ดทะเบยี นอยา่ งเปน็ ทางการ ได้แก่ กล่มุ ชมรม เปน็ ต้น 2. ผู้ผลิตท่เี ป็นเจ้าของรายเดยี ว หมายถงึ ผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการที่เปน็ บุคคลใดบุคคลหนึ่งในชุมชนที่ ผลิตสินค้าทีแ่ สดงความเป็นไทยหรือภูมิปัญญาไทย และมีความเชื่อมโยงกบั ชุมชนในข้อใดข้อหนึ่ง ได้แก่ การท่ี ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิต หรือมีการจ้างแรงงานในชุมชน หรือมีการใช้วัตถุดิบในชุมชน หรือมีส่วนร่วมใน การบรหิ ารจดั การ หรือมีสว่ นรว่ มรับผลประโยชน์ 3. ผู้ผลิตSMEs หมายถึง ผู้ผลิต / ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ได้แก่ บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ ซึ่งผลิตสินค้าทีแ่ สดงความเป็นไทยหรือภูมิปัญญาไทยและ มีความเชื่อมโยงกับชุมชนในขอ้ ใดข้อหนึ่ง ได้แก่ การที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิต/จ้างแรงงานในชุมชน/ใช้วัตถุดิบในชุมชนหรือมีส่วนร่วมใน การบริหารจัดการหรอื มสี ่วนรว่ มไดร้ บั ผลประโยชน์ โดยมีสินทรัพยล์ งทุนไมเ่ กิน 10 ล้านบาท ผลิตภณั ฑ์ OTOP 1. อาหาร หมายถึง ผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูป ซึ่งได้รับมาตรฐาน อย., GAP, GMP, HACCP, Qmark, มผช., มอก., มาตรฐานเกษตรอินทรีย์, ฮาลาล และมีบรรจุภัณฑ์เพื่อการจำหน่ายทั่วไป แบ่งเปน็ ๓ กล่มุ ดงั นี้ ๑) ผลิตผลทางการเกษตรที่ใช้บริโภคสด เช่น พืชผัก ผลไม้ เช่น มะม่วง สับปะรด ส้มเขียวหวาน มังคุด ส้มโอ กล้วย เป็นต้น กรณีพันธุ์ไม้ เช่น กิ่งพันธุ์มะม่วง กิ่งพันธุ์มะปราง ไม้ประดับ ฯลฯ ไม่ถอื ว่าเปน็ ผลิตภณั ฑท์ ่ีลงทะเบียนได้ ๒) ผลิตผลทางการเกษตรที่เป็นวัตถุดิบและผ่านกระบวนการแปรรูปเบื้องต้น เช่น น้ำผ้ึง ข้าวสาร ข้าวกล้อง ข้าวฮาง เป็นต้น เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น เนื้อโคขุน เนื้อนกกระจอกเทศแช่แข็ง หมูแดดเดียว หมูยอ แหนม ไส้อั่ว ไส้กรอก ปลาอบรมควัน หอยจ้อ เป็นต้น อาหารประมงแปรรูป เช่น ไส้กรอกปลา ปลา ช่อนแดดเดียว ปลาสลิดแดดเดียว ส้มปลาตัว น้ำบูดู กะปิ กุ้งแห้ง น้ำปลา ปลาร้า เป็นต้น กรณีสัตว์ที่มีชีวิต เชน่ ไกช่ น ปลากดั ไมถ่ อื ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ท่ลี งทะเบียนได้ เพราะไม่ผ่านกระบวนการแปรรปู เบือ้ งต้น ๓) อาหารแปรรูปกึ่งสำเร็จรูป/สำเร็จรูป เช่น ขนมเค้ก เฉาก๊วย ขนมโมจิ เต้าส้อ กระยา สารท กล้วยฉาบ กล้วยอบ มะขามปรุงรส ทุเรียนทอด กาละแม กะหรี่ปั๊บ ขนมทองม้วน ข้าวเกรียบ ข้าวแต๋น น้ำพริกเผาและน้ำพริกต่าง ๆ แจ่วบอง น้ำจิ้มสุกี้ น้ำปลาหวาน ผักกาดดอง พริกไทย แคบหมู ไข่เค็ม กุนเชียง หมทู ุบ หมแู ผน่ เป็นตน้ 7

อาหารสำเร็จรูป หมายถึง อาหารที่ผ่านขั้นตอนการหุงต้ม หรือกระบวนการ แปรรูปผลิตผล การเกษตร โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อให้อาหารนั้นสามารถเก็บได้เป็นเวลานานพอสมควร โดยไม่เน่าเสีย และ สามารถรับประทานได้ทันทีเมื่อต้องการ เช่น หมูแผ่น หมูหยอง น้ำพริกเผา น้ำจิ้มไก่ ซอสพริก น้ำจิ้มปลา ซาบะ ปลาหมกึ ปลาอบกรอบ ขนมอบกรอบ น้ำกะทิ ข้าวสกุ บรรจกุ ระป๋อง ปลากระปอ๋ ง อาหารกึ่งสำเร็จรูป ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๒๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๓ กำหนดให้ อาหารกงึ่ สำเรจ็ รูป หมายถึง อาหารท่ีผ่านกรรมวิธีและปรุงแต่งมาบ้างแล้ว เพียงแค่ผ่านกรรม วิธอี ยา่ งง่ายๆ ใช้ ระยะเวลาสั้นๆ เช่น โดยการเติมน้ำร้อน หรือการต้มเพียงไมก่ ี่นาที ก็สามารถนำมารับประทานได้แล้ว อาหาร กงึ่ สำเร็จรูปสามารถแบ่งออกได้ ๔ ชนิด ไดแ้ ก่ ก๋วยเต๋ยี ว กว๊ ยจ๊ับ บะหม่ี เส้นหม่ี และวุ้นเสน้ ที่ปรุงแตง่ , ข้าวตม้ และโจ๊กที่ปรุงแต่ง, แกงจืดและซุปชนิดเข้มข้น ชนิดก้อน ชนิดผง หรือ ชนิดแห้ง, แกงและน้ำพริกแกงต่าง ๆ “ต้องผา่ นการแปรรปู มาแลว้ เท่านนั้ ไมใ่ ชอ่ าหารปรงุ สด” 2. เครื่องดื่ม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ สุราแช่ สุรากลั่น สาโท อุ ไวน์ เหล้าขาว ๓๕-๔๐ ดีกรี เป็นต้น และเคร่ืองดื่มที่ไมม่ ีแอลกอฮอล์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เคร่ืองดื่มประเภทพรอ้ ม ด่ืม ผลิตภณั ฑ์ประเภทชงละลาย และผลิตภณั ฑ์ประเภทชง เชน่ น้ำผลไม้ นำ้ สมนุ ไพร เครอื่ งด่มื รังนก กาแฟค่ัว กาแฟปรุงสำเร็จ ขิงผงสำเร็จรูป มะตมู ผง ชาใบหม่อน ชาจีน ชาสมุนไพร ชาชัก น้ำเฉากว๊ ย น้ำเตา้ ห้นู มสด นม ข้าวกล้อง เปน็ ต้น 3. ผ้า เครื่องแต่งกาย หมายถึง ผ้าทอและผ้าถักจากเส้นใยธรรมชาติหรือเส้นใยสังเคราะห์ รวมท้ัง เสื้อผ้า/เครื่องนุ่งห่ม และเคร่ืองแต่งกายที่ใช้ประดับตกแต่งประกอบการแต่งกาย ทั้งเพื่อประโยชน์ในการใช้ สอยและเพือ่ ความสวยงาม โดยจำแนกเปน็ ๒ ลกั ษณะ คอื ๑) ผ้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ผ้าผืนที่ทำจากเส้นใย เส้นด้าย นำมาทอถักเป็นผืนมีลวดลายเกิด จากโครงสร้างการทอหรือตกแต่งสำเร็จบนผืนผ้า ทำด้วยมือหรือเครื่องจักร รวมถึงผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าและ เครื่องนุ่งห่มซึ่งเป็นเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์ที่ทำจากผ้าเป็นหลักและมีวัสดุ อืน่ ๆ เปน็ องคป์ ระกอบผสม เชน่ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผา้ โสร่ง ผา้ ขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผา้ บาตกิ ผ้าถุง ผ้าปักชาวเขา ผ้าคลมุ ผม หมวกกะปิเยาะ ผ้าพันคอ เส้ือผ้า สำเรจ็ รปู บรุ ุษ – สตรี เปน็ ตน้ ๒) เครื่องแต่งกาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ประดับตกแต่งประกอบการแต่งกาย ที่ทำจาก วัสดุทุกประเภทเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย เช่น รองเท้า เข็มขัด กระเป๋าถือ เป็นต้น และเพื่อความสวยงาม เชน่ สรอ้ ย แหวน ต่างหู เข็มกลดั กำไล นา กิ าขอ้ มือ เนคไท หมวกแฟชั่น เปน็ ต้น 4. ของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีไว้ใช้หรือตกแต่งประดับในบ้าน สถานที่ ต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องครัว เครื่องเรือน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้สอย หรือประดับตกแต่ง หรือ 8

ให้เป็นของขวญั เพื่อให้ผูร้ ับนำไปใช้สอยในบา้ น ตกแต่งบ้าน รวมทั้งสิง่ ประดิษฐ์ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่น และสินค้านั้นต้องไม่ผลิตโดยใช้เครื่องจักรเป็นหลักหรือใช้แรงคนเป็นส่วนเสริมหรือไม่ ใช้แรงงานคน ประเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของที่ระลึก แบ่งออกเปน็ ๗ กลุ่ม ๑) ไม้ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ที่มีวัสดุที่ทำจากไม้เป็นหลัก เช่น ไม้ แกะสลัก เฟอร์นิเจอร์ กล่องไม้ นา ิกาไม้ตั้งโต๊ะ โคมไฟกะลามะพร้าว ของเล่นเด็ก เครื่องดนตรี ตู้พระธรรม เรือจำลอง แจกนั ไม้ กรงนก ไม้แขวนเสอื้ เปน็ ตน้ ๒) จักสาน ถักสาน หมายถึง ของใช้/ของตกแตง่ /ของที่ระลึก ที่มีวัสดุที่เป็นเส้นใยธรรมชาติ หรือวัสดุสังเคราะห์ใด ๆ เช่น พลาสติก นำมาจักสาน หรือถักสาน ถักทอ เป็นรูปร่าง เช่น ตะกร้า กระจูดสาน เสื่อกก ที่รองจานทำจากเสื่อกก ที่ใส่ของทำจากพลาสติกสาน กระจาด กระบุง กระด้ง กระติบข้าว เชือกมัด เปลยวน โคมไฟผกั ตบชวา ไมก้ วาด กระเช้าเถาวัลย์ พรมเช็ดเทา้ ฝาชี หมวกสานไมไ้ ผ่ เปน็ ตน้ ๓) ดอกไม้ประดิษฐ์/วัสดุจากเส้นใยธรรมชาติ หมายถึง ดอกไม้ ต้นไม้ กล้วยไม้ ผลไม้ ที่ ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ แต่ทำจากวัสดุต่าง ๆ เพื่อเลียนแบบธรรมชาติ หรือ/และผลิตภัณฑ์ประเภทของ ใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ที่มีวัสดุที่ทำจากกระดาษสาเป็นหลัก เช่น ถุงกระดาษ กล่องกระดาษสา ต้นไม้ ประดิษฐ์ ผลไมป้ ระดษิ ฐ์ เป็นตน้ ๔) โลหะ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึกที่ทำจากโลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองเหลอื ง ดีบุก แสตนเลศ ทอง สังกะสี เป็นตน้ เปน็ ส่วนประกอบหลกั เชน่ ช้อนส้อม มีด ผลติ ภณั ฑ์ ภาชนะที่ใช้โลหะ ภาชนะที่ทำจากแสตนเลสทุบ ทองเหลืองทุบ พิวเตอร์ บรอนซ์ แกะสลักที่ใช้ตกแต่งสถานที่ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ๕) เซรามิค/เครอื่ งปนั้ ดินเผา หมายถงึ ผลิตภณั ฑ์ท่ีมกี ารนำวสั ดปุ ระเภทดิน สินแร่ ไปขนึ้ รปู และนำไปเผาด้วยความร้อนสูง เพื่อเป็นภาชนะ ของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก เช่น เบญจรงค์ ถ้วยชาม ภาชนะกระเบอื้ ง เซรามิค โอง่ อา่ ง กระถางต่าง ๆ เป็นต้น ๖) เคหะสิ่งทอ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ที่มีวัสดุทำจากผ้า มีการตัดเย็บ เช่น ชุดเครอ่ื งนอน พรมเช็ดเทา้ ผ้าปูโต๊ะ ถงุ มอื ถักสำหรบั ทำการเกษตร เป็นตน้ ๗) อ่ืน ๆ ของใช/้ ของตกแต่ง/ของทีร่ ะลึก หรอื ผลติ ภัณฑ์อืน่ ๆ ท่ีใช้วัสดุอน่ื ใดนอกเหนือจาก ข้อ ๑-๖ เช่น ทำจากพลาสติก เรซิน แก้ว เทียน รูปวาด เปเปอร์มาเช่ กระจก ซีเมนต์ ต้นไม้มงคล ตุ๊กตาจาก ดินไทย ผลไมเ้ ผาดูดกล่นิ พระพุทธรูป เป็นตน้ 9

5. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร หมายถึง ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร หรือมีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบอาจใช้ ประโยชน์และอาจส่งผลต่อสุขภาพ ได้แก่ ยาจากสมุนไพร เครื่องสำอางสมุนไพร วัตถุอันตรายที่ใช้ใน บ้านเรือนเชน่ น้ำยาลา้ งจานสมุนไพร สมุนไพรไล่ยุงหรือกำจัดแมลง และรวมถึงผลติ ภัณฑ์ จากสมุนไพรที่ใช้ ทางการเกษตร เช่น นำ้ หมกั ชีวภาพ น้ำส้มควันไม้ เป็นต้น แบง่ เป็น ๓ กลุ่ม ๑) ยาจากสมุนไพร ๒) เครื่องสำอางสมนุ ไพร ๓) วตั ถอุ นั ตรายทใ่ี ช้ในบ้านเรอื น แนวคดิ การแบง่ หมวดผลิตภัณฑ์ (Quadrant) ของ OTOP ตามศกั ยภาพของกลุ่มผู้ผลติ 1. กลุ่มดาวเด่นสู่สากล A มีคุณภาพสูงและผลิตได้จำนวนมากอย่างต่อเนื่อง มีตลาดจำหน่ายทั้ง ภายในและต่างประเทศ มีกำลงั การผลิตท่รี องรับการสั่งซื้อได้ในปรมิ าณมากและมศี ักยภาพในการ สง่ ออกตลาดตา่ งประเทศได้ระยะยาว 2. กลุ่มเอกลักษณ์สร้างคุณค่า B มีคุณภาพสูง ผลิตได้จำนวนน้อย ขั้นตอนกระบวนการผลิตยาก และซับซ้อนเป็นงานหัตกรรมประณีตศิลป์ มีเอกลักษณ์ของสินค้าแต่ละชิ้นใช้ระยะเวลาในการ ผลิตและไม่สามารถผลติ สินคา้ ท่ีเหมอื นกนั ในปรมิ าณมากได้ 3. กลุ่มพัฒนาสู่การแข่งขัน C มีคุณภาพระดับพ้ืนฐานตามที่กฎหมายกำหนด หรือมาตรฐานอื่นท่ี รองรับผลิตไม่มีความซับซ้อน ผลิตจำนวนมาก มีกำลังการผลิตเพียงพอ หรือมีกำลังการผลิตใน ลักษณะเป็นเครือข่าย มีตลาดจำหน่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน และสามารถเข้าสู่การ แข่งขันในตลาดได้ 4. กล่มุ ปรบั ตวั การพัฒนา D มกี ารผลิตงา่ ย ไม่ซับซ้อน ผลติ ได้จำนวนนอ้ ย หรือหลากหลาย ยงั ไม่ได้ มีการรับรองมาตรฐานต้องการในการพัฒนาศักยภาพในตัวผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต และการ บรหิ ารจดั การเพือ่ เข้าสู่การรับรองมาตรฐาน 10

เส้นทางการกา้ วเดนิ ของผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP 11

2. มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนและการควบคมุ คุณภาพสินคา้ มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) ความเป็นมา สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ในฐานะหน่วยงาน รับผิดชอบด้านมาตรฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ของประเทศได้จัดทำ “โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน” ขึ้นเพื่อกำหนดมาตรฐานและให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งสอดรับกับนโยบายของรัฐบาล ที่ได้จัดต้ัง “โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” ขึ้นเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับเศรษฐกิจชุมชน ตลอดจน เพ่อื สง่ เสริมรักษาภูมปิ ญั ญาชาวบ้านท่เี ปน็ เอกลักษณ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ - มาตรฐาน: ข้อกำหนดจัดที่ขึ้นจากการเห็นพ้องต้องกันและได้รับความเห็นชอบ จาก องค์กรอันเป็นท่ยี อมรับกนั ทว่ั ไป - มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (Product standard) หมายถึง ข้อกำหนดรายการอย่างใดอย่าง หนึ่งหรือหลายอย่างเกี่ยวกับจำพวก แบบ รูปร่าง มิติ วัตถุที่จะนำมาทำ ความสามารถในการใช้งาน เครื่องหมาย และฉลาก รวมท้ังวธิ ที ดสอบ - มาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชนคอื อะไร หมายถึง ขอ้ กำหนดทางวิชาการท่สี ำนกั งานมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ไดก้ ำหนดขน้ึ เพ่อื เป็นแนวทางแกผ่ ู้ผลติ ชุมชนในการผลิตสินคา้ ให้มีคณุ ภาพ - มาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชนกำหนดขึ้นเพอื่ อะไร 1) ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรอง และแสดง เครอื่ งหมายการรบั รอง 2) ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลาย 3) สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน 4) มงุ่ เน้นให้มีการพฒั นาแบบยั่งยืน ผลติ ภัณฑท์ ใ่ี หก้ ารรับรองฯ มี 5 ประเภท 2) เครื่องด่มื 1) อาหาร 4) ของใช้ ของตกแตง่ ของท่ีระลึก 3) ผา้ เครอ่ื งแตง่ กาย 5) สมุนไพรท่ไี ม่ใชอ่ าหาร ปัจจบุ ันมี มผช. ท่ยี น่ื ขอรับรองได้ 1,263 มผช. 12

ใครสามารถขอการรับรองได้? 1) ผู้ผลติ OTOP, ผผู้ ลติ ชมุ ชน - กลุม่ ผู้ผลติ ชมุ ชน - ผ้ผู ลิตรายเดยี ว -SMEs - กลุ่มเกษตร กลมุ่ สหกรณ์ กลุ่มอาชพี ฯ 2) บุคคลธรรมดา 3) บรษิ ทั / ห้างห้นุ สว่ นจำกดั เง่อื นไข จะตอ้ งเป็นบรษิ ทั /ห้างหุ้นสว่ นจำ กดั (หจก.) ท่ไี ด้รบั การขึ้นทะเบยี น OTOP เท่านนั้ มาตรฐานประกอบดว้ ย 2) ขอบขา่ ย 1) ชอ่ื มาตรฐาน 3) นยิ าม 4) คุณลักษณะที่ตอ้ งการ 5) การบรรจุ 6) เครือ่ งหมายและฉลาก 7) การซักตัวอย่างและเกณฑ์การตัดสนิ 8) การทดสอบ 9) สขุ ลักษณะ 13

ขนั้ ตอนการรบั รองคุณภาพผลติ ภัณฑช์ ุมชน 1) ตรวจประเมินศักยภาพและตวั อยา่ งผลิตภัณฑ์ - การตรวจประเมนิ ศกั ยภาพและตวั อย่างผลิตภณั ฑ์ ตรวจสอบคณุ สมบัตแิ ละหลกั ฐานเอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ประเมินสถานที่ทำ พิจารณาผลิตภัณฑ์เบื้องต้นโดยการตรวจพินิจ ได้แก่ ลักษณะโดยรวม เป็นไปตามข้อกำหนดใน มผช.การบรรจุควรมีลักษณะของภาชนะบรรจุที่ดี ลักษณะปรากฏโดยใช้ประสาท สมั ผสั เชน่ การดมกล่นิ การสมั ผัส การชิมรส เกบ็ ตวั อยา่ งส่งตรวจสอบ 2) การรบั คำขอ - กรณีเป็นกลุ่ม หนังสือรับรองกลุ่มสำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ของประธานกลมุ่ - กรณีเป็นชื่อบุคคลธรรมดา สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ยื่น ขอใบทะเบียนพาณชิ ย์ - กรณีเป็นบริษัท / ห้างหุ้นส่วนจำกัด ประกาศนียบัตร OPC หนังสือรับรองบริษัท หรือหนังสือจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจํากัดสำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้มีอำนาจหรือ หุ้นสว่ น - กลมุ่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล-์ ใบมาตรา 5 และรายงานผลการวเิ คราะห์ผลิตภัณฑ์จาก กรมสรรพสามติ - กลุ่มอาหารและเครอ่ื งด่มื สำเนาใบอนญุ าตสถานท่ีผลิตจาก สสจ. / อย. - กลุ่มเครอ่ื งสำอาง สำเนาใบรับแจง้ ผลิตเคร่ืองสำอางควบคุม สสจ./อย. - กลุ่มวัตถุอันตราย (ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและผลิตภัณฑ์ใส่ / กำจัดแมลง) สำเนาใบแจ้งขอ้ เทจ็ จรงิ จากสสจ. อย. 3) การตรวจประเมินสถานทท่ี ำ - เปน็ สถานทที่ ำการผลติ จริง - ไม่เป็นผู้แอบอ้างหรือทำการผลิตแอบแฝง 14

- มีเครือ่ งจักรเครอื่ งมอื อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการผลติ อย่างเพียงพอ - สถานท่ที ำต้องมีสุขลักษณะเปน็ ไปตามที่มาตรฐานกำหนด - ควรมีความรูค้ วามเข้าใจการควบคมุ คณุ ภาพเบอื้ งต้น 15

ระยะเวลาการย่ืนขอ มผช. 1) สามารถยื่นขอได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน ของทุกปี 2) เนื่องจากระยะเวลาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน เป็นช่วง ใกลห้ มดปงี บประมาณ สมอ.จะทำการเบิกจา่ ยคา่ ตรวจผลิตภัณฑ์ให้แก่หน่วยตรวจสอบ 3) ระยะเวลาในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ที่ส่งตรวจ และจำนวนผลิตภณั ฑท์ ่สี ่งให้หน่วยตรวจ ได้รับรองแลว้ ไดอ้ ะไร 1) เปน็ สง่ิ ยนื ยนั และถอื เป็นหลกั ประกันด้านคุณภาพทีเ่ พ่มิ ความเช่ือถือแก่ผู้ซ้ือท้ังใน ประเทศและตลาดตา่ งประเทศสง่ เสริมดา้ นการตลาดโดยมีเครอ่ื งหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชนรบั รอง 2) ชว่ ยสรา้ งภาพลกั ษณ์ทีด่ ีต่อผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 3) สนับสนุนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้เป็นที่แพร่หลาย เป็นที่นิยม ของผ้บู ริโภค 4) พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพ และมีมาตรฐานการผลิตที่ดียิ่งข้ึน 5) เพิ่มศักยภาพการแข่งขันและสร้างรายได้แก่ผู้ผลิตชุมชน เสริมสร้าง เศรษฐกจิ ระดับรากหญ้าให้มีความแขง็ แรง มกี ารพฒั นาแบบยงั่ ยืน การยกเลิกการรับรอง 1) ผลติ ภัณฑไ์ ม่ผา่ นการตรวจตามมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน 2 ครง้ั ตดิ ต่อกนั 2) ขอยกเลิกใบรบั รอง 3) มปี ระกาศแก้ไขหรือยกเลกิ มผช. เรื่องท่ีกำหนดไว้ 4) เมอื่ ใบรบั รอง ครบอายุ 3 ปี 5) มกี ารกระทำอันเป็นการฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏบิ ัตติ าม 16

เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน มีลกั ษณะเปน็ รูปมือประสานโดยมสี ัญลักษณ์ของ สมอ. อยตู่ รงกลางมีความหมายดงั น้ี มือ หมายถึง การผลติ ทีใ่ ช้มอื เป็นหลกั มอื ทป่ี ระสานกนั หมายถึง การผลิตท่ีเป็นการผลิตในชุมชนมกี ารรวมกลมุ่ กนั สัญลักษณ์ สมอ. หมายถึง การรบั รองโดย สมอ. สใี ชส้ ีพื้นเพียงสีเดียว แสดงเครอ่ื งหมายและฉลากอยา่ งไร 1) ชอื่ ประเภท หรอื ชนดิ ของสินคา้ 2) ช่ือหรือเครอ่ื งหมายการค้าทจ่ี ดทะเบียน 3) สถานที่ต้ังของสถานทีผ่ ลิต 4) ขนาด / มติ ิ / ปริมาณ / ปริมาตร / น้ำหนัก 5) แสดงวิธใี ช้ 6) ข้อแนะนำในการใช้ 7) คำเตือน ( ถ้ามี ) 8) วนั เดอื นปีทผ่ี ลิต / วันเดอื นปที ่ีหมดอายกุ ารใช้ / วันเดือนปีทค่ี วรใช้กอ่ น เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) แสดงได้เฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ รับรองแล้วเท่านั้น โดยที่ผู้ผลิตต้องแจ้งรายละเอียดทุกข้อที่ระบุไว้ในหัวข้อเครื่องหมายและฉลากในมาตรฐาน ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนท่ีไดร้ บั การรบั รอง โดยให้ระบไุ ว้ท่ีฉลากหรือหีบห่อของผลติ ภณั ฑท์ กุ หน่วย ดังนี้ - ช่ือประเภทของสินคา้ ทแ่ี สดงใหเ้ ข้าใจได้ว่าสินคา้ นน้ั คืออะไร 17

- ชื่อหรือเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนในประเท ศไทยของผู้ผลิต - สถานทต่ี ัง้ ของสถานทผี่ ลิต การควบคมุ คณุ ภาพผลติ ภัณฑช์ มุ ชน คุณภาพ คอื คุณสมบตั ิต่าง ๆ ของผลติ ภณั ฑท์ ่ที ำให้ผบู้ รโิ ภคเกดิ ความพึงพอใจ การตรวจตดิ ตามผลคณุ ภาพ ภายหลังได้รับการรับรอง มผช. แล้ว ผู้ผลิตจะต้องรักษาซึ่งคุณภาพตามมาตรฐาน ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนโดย สมอ.จะทำการตรวจตดิ ตามผลการรกั ษาคุณภาพอย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง คุณภาพท่ผี ู้บริโภคสว่ นใหญต่ ้องการ 1) ใช้งานได้ดี ตามท่กี ำหนด 2) มคี วามปลอดภัย 3) คุม้ ค่ากับเงนิ ราคา 4) เหมาะสมกับการใชง้ าน 5) มีลกั ษณะเฉพาะทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของผู้บรโิ ภค 6) ความสะดวกในการบริโภคสินคา้ น้ัน 7) ผลติ ภัณฑ์สรา้ งความภาคภูมิใจ พงึ พอใจ ทำไมตอ้ งมีการควบคมุ คุณภาพในระบบการผลติ การควบคุมคุณภาพ คือ กระบวนการที่ทำให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นไปตาม มาตรฐานทกี่ ำหนดไว้ มาตรฐาน : ขอ้ กำหนด / สง่ิ ท่ีนำมาใชใ้ นการเปรียบเทยี บ ข้อกำหนดทใ่ี ชใ้ นการควบคมุ คณุ ภาพ 2) ควบคมุ กระบวนการผลติ 1) ควบคมุ วัตถดุ ิบ 3) ตรวจสอบผลิตภัณฑส์ ำเร็จรูป ประโยชนข์ องการควบคมุ คุณภาพ 6) ลดคา่ ใชจ้ ่าย 1) ของเสยี น้อยลง 7) เพมิ่ รายได้ 2) ขายสนิ คา้ ได้ตามราคาท่กี ำหนด 8) คณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ดขี ้นึ 3) ผ้บู ริโภคพอใจ 9) ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการทำงาน 4) ยกระดับผลติ ภณั ฑ์ 5) มชี ่อื เสียง + ผบู้ ริโภคบอกตอ่ 18

การขอรับเลขสารบบอาหาร (อย.) การขออนญุ าตสถานท่ี แบ่งเปน็ 3 ลกั ษณะ ผู้ผลติ รายเลก็ (ไมเ่ ข้าขา่ ยโรงงาน) 1) มีคนงานนอ้ ยกว่า 50 คน 2) ใช้เครอ่ื งจักร,อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ,ก๊าซหุงตม้ นำมาคำนวณเปน็ แรงม้า ไดน้ ้อยกวา่ 50 แรงม้า ผูผ้ ลิตรายใหญ่ (เข้าข่ายโรงงาน) 1) มคี นงานตงั้ แต่ 50 คนข้นึ ไป 2) ใช้เครื่องจกั ร,อุปกรณไ์ ฟฟ้า,ก๊าซหงุ ตม้ นำมาคำนวณเป็นแรงม้าได้ 50 แรงม้าขนึ้ ไป ผู้นำเข้า 1) นำหรอื สงั่ อาหารเขา้ มาในราชาอาณาจกั ร 2) โดยมีสถานทเ่ี กบ็ ที่เหมาะสม 19

20

กลุ่มที่ ๑ อาหารควบคมุ เฉพาะ - อาหารเสรมิ สำหรบั ทารกและเด็กเล็ก - อาหารสำหรบั ผทู้ ีต่ ้องการควบคมุ น้ำหนกั - นมดดั แปลงสำหรับทารกและนมดดั แปลงสตู รตอ่ เนื่องสำหรับทารกและเดก็ เล็ก - อาหารทารกและอาหารสตู รต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็กเล็ก - วัตถุเจือปนอาหาร (เฉพาะแบ่งบรรจ)ุ การขออนุญาตผลิตภัณฑ์ (อาหารกลุม่ ที่ 1) ไม่เขา้ ขา่ ยโรงงาน เข้าขา่ ยโรงงาน นำเข้า สบ. 3 อ.17 อ.17 กลุ่มท่ี ๒ อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน เกลอื บริโภค นำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนทิ ขา้ วเติมวติ ามิน น้ำปลา 21

ไขเ่ ยี่ยวมา้ นำ้ ผงึ้ ครีม นำ้ มนั ถั่วลสิ ง นำ้ มนั เนย น้ำแข็ง ช็อกโกแลต น้ำมนั ปาล์ม นำ้ มนั มะพร้าว ชา นำ้ มันและไขมนั ชาสมุนไพร น้ำแร่ธรรมชาติ ซอสบางชนิด น้ำส้มสายชู นำ้ เกลือปรงุ อาหาร น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดิ สนทิ เนย เนยแขง็ เนยใสหรือกี อาหารก่ึงสำเร็จรปู ผลติ ภัณฑ์ปรงุ รสท่ไี ดจ้ ากการยอ่ ยโปรตนี ของถว่ั เหลือง แยม เยลลี่ มารม์ าเลด ในภาชนะบรรจุทป่ี ิดสนิท เทยี ม เนยผสม ผลิตภัณฑ์เนยเทียม และผลิตภณั ฑเ์ นยผสม ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร (เฉพาะแบ่งบรรจ)ุ รอยลั เยลล่ี และผลิตภณั ฑ์รอยัลเยลลี่ (เฉพาะแบ่งบรรจ)ุ เคร่ืองด่มื เกลอื แร่ กาแฟ อาหารกลุม่ re-process • นมโค • นมปรงุ แตง่ • ผลติ ภัณฑข์ องนม • นมเปรย้ี ว • อาหารในภาชนะบรรจุทปี่ ิดสนทิ (เฉพาะหน่อไมป้ ๊ีบฯ) • ไอศกรมี • เครอื่ งดื่มในภาชนะบรรจุทีป่ ดิ สนทิ การขออนุญาตผลติ ภณั ฑ์ (อาหารกลมุ่ ท่ี 2) ไม่เขา้ ขา่ ยโรงงาน เขา้ ขา่ ยโรงงาน นำเขา้ สบ. 7 สบ. 7 สบ. 7 (e-submission) (e-submission) (e-submission) สบ.5 สบ.5 สบ.5 (re-process)+ (re-process)+ (re-process)+ 22

กาแฟปรงุ สำเรจ็ กาแฟปรงุ สำเร็จ กาแฟปรงุ สำเร็จ +เครอื่ งดมื่ เกลอื แร่ +เคร่อื งด่มื เกลอื แร่ +เครอื่ งดื่มเกลือแร่ สบ.3 สบ.3 สบ.3 เสริมอาหาร/รอยลั เยลล่ีที่ เสริมอาหาร/รอยลั เยลลี่ทไี่ มม่ ี เสริมอาหาร/รอยลั เยลลที่ ่ไี มม่ ี ไมม่ อี ยู่ใน positive list อยใู่ น positive list อยใู่ น positive list กลุ่ม ๓ อาหารทตี่ อ้ งมีฉลาก - ขนมปงั - ซอสในภาชนะบรรจทุ ปี่ ิดสนทิ - ผลิตภณั ฑ์จากเนอ้ื สตั ว์ - วตั ถแุ ตง่ กลิ่นรส - ว้นุ สำเร็จรปู และขนมเยลลี่ - หมากฝรั่งและลกู อม - อาหารพรอ้ มปรุง - อาหารสำเรจ็ รูปที่พร้อมบริโภคทันที - แป้งขา้ วกลอ้ ง การขออนญุ าตผลิตภัณฑ์ (อาหารกลมุ่ ที่ 3) ไมเ่ ขา้ ขา่ ยโรงงาน เข้าขา่ ยโรงงาน นำเขา้ สบ. 7 สบ. 7 สบ. 7 (e-submission) (e-submission) (e-submission) สบ.3 สบ.3 สบ.3 เฉพาะอาหารท่ีมี เฉพาะอาหารทม่ี ี เฉพาะอาหารทมี่ ี วัตถุประสงคพ์ ิเศษ วัตถปุ ระสงค์พิเศษ วตั ถุประสงค์พิเศษ กลุ่ม ๔ - สัตวแ์ ละผลิตภัณฑ์ - พืชแลผลติ ภัณฑ์ - สารสกัด/สารสังเคราะห์ - สารอาหาร - เครอื่ งปรงุ รส - นำ้ ตาล - เครื่องเทศ - แป้งและแปง้ ผลติ ภัณฑ์ - ผลติ ภัณฑ์สำหรับทำอาหารชนิดตา่ ง ๆ ทยี่ งั ไมพ่ ร้อมบริโภค 23

การขออนุญาตผลิตภณั ฑ์ (อาหารกลมุ่ ที่ 4) ไมเ่ ขา้ ขา่ ยโรงงาน เขา้ ขา่ ยโรงงาน นำเข้า สบ. 7 สบ. 7 สบ. 7 (e-submission) (e-submission) (e-submission) หมายเหตุ : กรณปี ระสงค์จะขอเลขสารบบอาหาร สถานทยี่ นื่ คำขออนุญาต • สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา • สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัด หมายเหตุ: กรณีมอบอำนาจ/สถานทผ่ี ลิตหรอื สถานท่ีนำเข้าตง้ั อยูท่ ไ่ี หนใหย้ นื่ ขอที่จังหวัดนนั้ 3. แนวคิดการออกแบบ พัฒนาผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ และการสร้างแบรนด์ การพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ เพ่ือแข่งขนั ทางการตลาด บรรจุภัณฑ์ หมายถึง “หน่วยรูปแบบวัตถุภายนอกที่ทำหน้าที่ปกป้องคุ้มครอง หรือห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ ภายในให้ปลอดภัย สะดวกต่อการขนส่ง เอื้ออำนวยให้เกิดผลประโยชน์ในทางการค้าและการบริโภค” “บรรจุภัณฑ์เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ทีใ่ ช้ในการบรรจุภัณฑ์ในการจัดจำหน่าย เพื่อสนองความต้องการของผู้ซ้ือ หรอื ผบู้ รโิ ภคด้วยต้นทนุ ทีเ่ หมาะสม” วัตถุประสงค์ของการทำบรรจุภัณฑ์ - เพื่อป้องกนั ผลิตภณั ฑ์ (To Protect Products) - เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (To Distribute Products) - เพือ่ โฆษณาประชาสัมพนั ธผ์ ลติ ภัณฑ์ (To Promote Prod) หนา้ ทหี่ ลักของบรรจภุ ัณฑ์ - ทำหนา้ ท่รี องรับ (Contain) - ปอ้ งกัน (Protect) - ทำหนา้ ที่รกั ษา (Preserve) - บง่ ช้ี (Identify) หรอื แจง้ ข้อมูล (Inform) รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ของสินคา้ - ดึงดูดความสนใจ (Consumer Appeal) และชว่ ยชกั จูงในการซ้อื สนิ คา้ 24

- ชว่ ยเพิม่ ผลกำไร - สรา้ งมลู คา่ เพ่ิม (Value Added) ใหแ้ ก่ผลิตภณั ฑ์ สรา้ งความเชื่อถอื และเป็นทีย่ อมรับของผู้บรโิ ภค - การสง่ เสริมการจำหนา่ ย (Promotion) - การแสดงตัว (Presentation) คือ การสอื่ ความหมาย บุคลกิ /ภาพพจน์ - การจดั จำหน่ายและการกระจาย (Distribution) ประเภทของบรรจุภณั ฑ์ ประเภทของบรรจุภณั ฑ์สามารถแบ่งได้หลายวิธี ตามหลักเกณฑต์ ่าง ๆ ดังนี้ แบ่งตามวธิ ีการบรรจุและวธิ กี ารขนถ่าย โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท 1) บรรจภุ ณั ฑ์เฉพาะหน่วย คือ บรรจภุ ณั ฑท์ ส่ี ัมผสั อยกู่ ับผลติ ภณั ฑ์ชนั้ แรก 2) บรรจุภัณฑ์ชั้นใน คือ บรรจุภัณฑ์ชั้นที่สอง มีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกเข้าไว้ ด้วยกนั เปน็ ชุด ตัง้ แต่ 2 – 24 ช้นิ ขนึ้ ไป 3) บรรจภุ ณั ฑช์ นั้ นอกสุด คือ บรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นหนว่ ยรวมขนาดใหญท่ ่ใี ช้ในการขนสง่ แบ่งตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใช้ แบ่งตามความคงรปู แบง่ ตามวสั ดบุ รรจุภณั ฑท์ ีใ่ ช้ - กระดาษ กระดาษเหนยี ว เช่น ถุงกระดาษ กระดาษกันไขมัน เชน่ กระดาษห่อเนย กระดาษห่อของทอด กระดาษกลาสซีน เช่น กระดาษห่ออาหารที่มีไขมันสูง กระดาษแข็ง เช่น กล่องกระดาษ แป้ง กระดาษลกู ฟกู - แกว้ ขวดแก้ว บรรจเุ คร่ืองดมื่ เครอ่ื งสำอาง อาหาร ยาฯ - โลหะ กระปอ๋ งเคลือบเพื่อการบรรจุอาหาร ยา สารเคมฯี - พลาสติก ขวด/ถาดพลาสติก เช่น HDPE PET PP PS ถุงพลาสติก เช่น ถุงIPP ซองOPP ซองVACUM ซอง FOIL/MET - ไม้ จักสาน ลังไม้ พาเลท 25

ขอ้ พิจารณาในการออกแบบ - ตลาดเปา้ หมาย - ลกั ษณะของสนิ คา้ - วธิ ีการจัดจำหนา่ ย - การขนสง่ - การเก็บรักษา (Storage) - ลักษณะการนำไปใชง้ าน - ต้นทนุ ของบรรจภุ ัณฑ์ - ปญั หาดา้ นกฎหมาย - ผลกระทบต่อสงั คม ขั้นตอนการออกแบบ (หรอื พฒั นา) - การวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผน อาจวางแผนได้ 2 วิธี คือ 1) ปรับปรุง พัฒนาให้ฉีกแนว แตกต่างจากคู่แข่งในตลาด 2) ปรับปรุงพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งใน ตลาดโดยตรง ไดด้ ้วยบรรจุภณั ฑ์ท่ดี ีกว่าหรือดว้ ยค่าใชจ้ ่ายที่ถกู กว่า ใช้การวเิ คราะห์ 5 W 2 H เริม่ จากเจ้าของสินค้า(ตวั เรา) ว่าสินค้าของเราตอบคำถามเหล่านไ้ี ด้หรอื เปล่า Who สินค้าเราขายใคร! ชาย หญงิ เด็ก (อาย)ุ ฯ What สนิ ค้าเราคืออะไร มกี ป่ี ระเภท! แบรนด์เนมวา่ อะไร ! When เราจะขายสินคา้ ไดเ้ มื่อไร! ช่วงเทศกาลหรือตลอดปี Where ขายทไ่ี หน! หา้ ง ตลาดนัด โรงพยาบาล โรงเรียน ตามบา้ น ฯ Why คิดวา่ ทำไมลูกค้าจึงนยิ มชมชอบสินค้าเรา! How เรามีวิธีหรือแนวคดิ ทีจ่ ะจับใจลูกค้าของเราไดอ้ ยา่ งไร! How Much มตี ังคอ์ ยเู่ ท่าไร! และของคู่แขง่ 5 w 2 H…. ! ตอบได้ ตอบไมค่ รบ...ดไี ซนท์ ่ีดเี กดิ ข้ึนไดอ้ ยาก ขน้ั ตอนท่ี 1 กำหนดตราสนิ ค้า ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลการตลาด สถานการณ์แข่งขัน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย / พฤติกรรมผู้บริโภค เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางด้านวัสดุบรรจุ ภัณฑ์ ระบบบรรจภุ ัณฑ์และเครือ่ งจักร 26

ขั้นตอนท่ี 3 การออกแบบรา่ ง ขั้นตอนที่ 4 การประชุมวิเคราะห์ปรับต้นแบบ วิเคราะห์ความเป็นไปได้วิเคราะห์การสนอง ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย เลอื กต้นแบบทีย่ อมรบั ได้ การสร้าง Brand ใหป้ ระสบความสำเร็จ ขจัดความเขา้ ใจผิดตา่ ง ๆ 1) ความเขา้ ใจผดิ คิดวา่ การสรา้ ง Brand คือ การสรา้ ง Logo Logo คืออะไร การสร้างการจดจำ, คุ้มครองธุรกิจ, สร้างความน่าเชื่อถือและ มูลค่าเพิ่มในอนาคต ซึ่งความเป็นจริงนั้น โลโก้เป็นแค่ส่วนประกอบหนึ่งในการสื่อถึงผลิตภัณฑ์ เหมือนกับการ สร้างบ้าน ที่ไม่มีเสาเข็มแล้วก็ทาสีบ้านให้สวยงาม การทำโลโก้ ก็เหมือนแค่ทาสีให้บ้านสวยงาม แต่ไม่แข็งแรง ดีที่สุดคือสร้างความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์จากฐานรากแล้วค่อยทาสีคือการทำโลโก้ แสดงสิ่งที่เป็นตัวตนของ แบรนด์ และกลยุทธของแบรนด์ เป็นฐานรากที่ดีของแบรนด์ เราเรียกกันว่าแบรนด์ DNA คือการกำหนด ตัวตนและจุดยนื ใหช้ ดั เจนเพอ่ื จะไดส้ อ่ื สารกับลูกคา้ ไดต้ รงประเดน็ 2) ความเข้าใจผิด คิดว่าการสร้าง Brand คือ การขายแต่สรรพคุณ ความสำเร็จไม่ใช่เพียงแต่ นำเสนอแค่ สรรพคุณ จุดที่สำคัญ คือ การนำเสนอที่มีเรื่องราวของอารมณ์ Emotion มาเป็นจุดขาย หรือ กำหนดเป็น คณุ สมบตั ทิ แี่ ตกต่าง Unique selling point ตัวอย่างการใช้ Emotion ร้านกาแฟ Star Buck… Old Concept :Emotion in Third place party แนวคิดทใ่ี ช้ : ให้ร้านเปน็ ที่พบปะสังสรรค์แหลง่ ท่ี 3 New Concept : Barista DIY and Story Knowing แนวคิดใหม่ : ให้ลกู คา้ มีสว่ นการรบั รใู้ นเร่อื งกาแฟ 3) ความเข้าใจผิด คิดว่าการสร้าง Brand คือ การคิดให้บรรเจิดว่าเราจะไปให้ไกลที่ถูก ต้องการสร้างแบรนด์ที่เหมาะสมคือการเก็บข้อมูลอย่างครบถ้วนและนำมาเป็นแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซ่ึง การเกบ็ ข้อมูลใหค้ รบถว้ นตอ้ งเก็บ ทงั้ ข้อมูลภายใน และข้อมลู ภายนอก - ข้อมลู ภายใน ประกอบดว้ ย คนในครอบครัว ญาติพ่ีนอ้ ง และ ผ้รู ว่ มงาน/ลูกจา้ ง - ข้อมูลภายนอก มีหลายอย่างเช่น : ลูกค้า (ลูกค้าในอดีต, ปัจจุบัน, ลูกค้าในอนาคต) supplier (ผู้ที่ขายวัตถุดิบ/บริการต่าง ๆให้เรา) คนกลาง (ผู้ที่ช่วยขายของให้เรา) คู่ค้าคู่แข่ง (ผู้ที่ทำสินค้า เหมือนของเรา) ตวั อย่างการใช้ข้อมูลมาทำผลิตภัณฑ์ - จากข้อมูล: ที่มีการนำเข้าแมลงจากประเทศเพื่อนบ้านปีละ 800 ตัน และยังไม่มีใครทำ ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้อย่างจริงจัง จึงมีแรงบันดาลใจและเป็นที่มาของธุรกิจนี้ขึ้น และความเป็นแหล่งทดแทน โปรตีน สร้างความเปน็ ตัวตนของแบรนด์ คอื แมลงทอดกรอบท่ีม่ันใจได้ ในความสะอาดปลอดภัย, มีมาตรฐาน ในการผลิต, ทานได้ทกุ ที่ทกุ เวลา 27

- ให้สโลแกนของผลติ ภัณฑ์ว่า Smart snack โปรตีนสงู เน้นการใช้บรรจภุ ัณฑท์ ี่ดึงดดู สายตา ใช้ mascot เป็นแมลงที่เป็นการ์ตูน เพื่อลดความไม่น่ามองของตัวแมลง Logo คำว่า ไฮโซ ที่สื่อถึงการ ยกระดบั ของแมลงท่ีมมี าตรฐานขนั้ สูง กล่มุ ลูกคา้ เปา้ หมาย: Gen X และ Gen Y การเก็บข้อมูลจากลูกค้า ภายในและภายนอก ข้อมูลที่สำคัญ ถังหนัก, ขึ้นสนิม, ไม่น่าดู การ เก็บข้อมูลจากลูกค้า:ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตอบโจทย์ กลุ่มลูกค้าคนรุ่นใหม่ ใช้ นวัตกรรมใหม่ : วตั ถดุ ิบเปน็ คอมโพสติ ไมเ่ ป็นสนิม ทนแรงระเบิด ใชภ้ าพลกั ษณ์ : ท่สี ดใสสวยงาม ไม่สกปรก 4) ความเข้าใจผิด คิดว่าการสร้าง Brand คือ การสร้างภาพ ที่แท้จริงคือการดึงภาพลักษณ์ จุดเดน่ ต่าง ๆ ของผลติ ภณั ฑท์ ี่ มาใช้เป็น กุลยุทธใ์ นการสร้างผลติ ภณั ฑแ์ ละสร้างการขาย 5) ความเข้าใจผิด คิดว่าการสรา้ ง Brand คอื การใชเ้ งนิ มากในการทำ สรปุ องค์ประกอบ 7 ประการ ของ Brand ทล่ี กู คา้ ต้องการ 1) คณุ สมบตั ทิ ่แี ตกตา่ ง Unique selling point แตกต่าง, ดีกวา่ เดิม, โดนใจ, ชดั เจน 2) คณุ ประโยชน์ Function+Emotion สื่อสารคุณประโยชนท์ ี่มีกับลูกคา้ ใหช้ ดั เจนทีส่ ุด 3) คณุ ภาพ Quality สรา้ งผลติ ภัณฑท์ ่มี ีคุณภาพ รักษาคุณภาพและมาตรฐาน 4) รูปแบบ Design รูปแบบของตัวสินค้าที่ตอบโจทย์ลูกค้า รูปแบบ ช่องทางการจัดจำหน่าย ออนไลน์ ออฟไลน์ ที่มคี วามสะดวก 5) ตำแหน่งของแบรนด์ Position กลุ่มเป้าหมายหลัก คือลูกค้าที่ซื้อ กลุ่มเป้าหมายรอง คือ ลกู คา้ ทีม่ ีแนวโนม้ ว่าจะซ้ือ 6) คุณคา่ ทีม่ ี Value added ที่โดนใจ นวตั กรรม Innovation ภูมิปัญญา Wisdom เรื่องราว ทีบ่ อกเล่า Story Telling ความคิดสร้างสรรค์ Creative 7) อัตลักษณ์ Identity จุดจดจำ ที่เป็นทั้ง รูป, รส, กลิ่น, เสียง จุดจดจำที่ดีต้อง เรียบง่าย, กะทัดรัด ต้องมีความแตกต่างและโดดเด่น @ ตั้งชื่อ Naming @ สร้างโลโก้ Logo @ สโลแกน/คำขวัญ Slogan @ บรรจุภัณฑ์ Packaging 4. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ OTOP ให้เป็นทตี่ ้องการของตลาด ความรเู้ บอื้ งต้นด้านการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ จดุ ม่งุ หมาย 1) ทำส่ิงทแ่ี ปลกแตกตา่ งไปจากเดิม 2) ทำสง่ิ ใหมใ่ หด้ ีกวา่ เดมิ หรือ จากเดิมใหด้ ีขน้ึ 3) เพือ่ สร้างผลกำไร และเพอื่ ความอยู่รอดของบรษิ ทั 28

ประเภทผลติ ภณั ฑ์ใหม่ แบง่ เปน็ 7 ประเภท 1) ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการขยายสายการผลิตโดยใช้กระบวนการผลิตที่มีอยู่ 2) การสรา้ งแนวคดิ ใหม่ในผลติ ภัณฑ์เดมิ 3) ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิมแต่ปรับเปลี่ยนรูปแบบใหม่ เช่น เปลี่ยนรูปลักษณ์ ผลิตภัณฑแ์ ละ/ หรือบรรจภุ ณั ฑ์ 4) ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการปรับปรุงสูตรที่มีอยู่แล้ว เช่น การลดหรือเพิ่มปริมาณวัตถุดิบ หรอื การเปลี่ยนวตั ถุดบิ เพื่อลดต้นทนุ หรอื ตอบสนองความตอ้ งการของผู้บริโภค 5) ผลิตภัณฑใ์ หมใ่ นบรรจุภณั ฑใ์ หม่ 6) ผลิตภัณฑท์ เี่ ป็นนวตั กรรม 7) ผลติ ภัณฑ์ที่เกิดจากความคิดสรา้ งสรรค์ การแปรรปู อาหาร การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาเพื่อหาเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มาปรับใช้เพื่อการแปรรูปอาหารให้มี อายุการเก็บรกั ษาไดน้ านข้นึ ชะลอการเปลย่ี นแปลงสี กลิ่น รส เน้ือ สมั ผัส และ/หรือลักษณะ 1) เทคโนโลยกี ารถนอมอาหารโดยใชค้ วามร้อน 2) เทคโนโลยกี ารถนอมอาหารโดยใชค้ วามเย็น 3) เทคโนโลยกี ารถนอมอาหารโดยการทำแหง้ 4) เทคโนโลยีการถนอมอาหารโดยการหมกั 5) เทคโนโลยกี ารแช่อ่ิม 5. แนวโนม้ การตลาดและ Digital Marketing พฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้บริโภคแสวงหาประสบการณ์มากกว่าการเป็นเจ้าของโดยเฉพาะ อย่างยิ่งประสบการณ์ที่สามารถแชร์ให้เพื่อนๆ ในสังคมออนไลน์ได้ การซื้อสินค้าที่เป็นชิ้นๆ จะยังคง มีอยู่ แต่เราจะเห็นพฤติกรรมในการซื้อสินค้าที่เป็นชิ้นๆ จะยังคงมีอยู่ แต่เราจะเห็นพฤติกรรมในการ ใช้เงิน ของผู้บริโภคไปกับการซื้อประสบการณ์มากชิ้นไม่ว่าจะเป็น อาหาร ท่องเที่ยว งานเลี้ยง หรือ การออกกำลังกาย พฤติกรรมในลักษณะนี้ทำให้ร้านอาหารจำนวนมากหันมาให้ความสนใจ และ 29

ความสำคัญกับรูปร่าง หน้าตา และสีสันของอาหารมากขึ้นในต่างประเทศถึงข้ันระบุว่าอาหารที่ดีนั้น จะต้องเปน็ อาหารที่ Instagram Mable ได้ Product Life Cycle 1) ช่วงเปิดตัว สิ่งที่เจ้าของสินค้าควรทำตั้งแต่เริ่มต้นนั่นคือการโปรโมท ไม่ว่า จะโปรโมทสินค้า เว็บไซต์ เพื่อเป็นการทำให้สินค้าเป็นที่รู้จัก และลูกค้าสามารถจดจำได้มากที่สุดนั่นเอง และในบางครั้งอาจจำเป็นต้องยอมรับการขาดทุนบ้าง เพื่อยอดขายในอนาคต 2) ช่วงเติบโต เมื่อทำการโปรโมทแล้ว สิ่งที่ต้องทำต่อมาคือ พยายามเก็บ รายชื่อลูกค้าใส่ใจรายละเอียดของลูกค้า และนำกำไรที่ได้มาสร้างสรรค์เพื่อให้ผู้บริโภคได้จดจำเรามาก ที่สุด มากเท่าที่จะเป็นไปได้ เพราะวันหนึ่งที่คู่แข่งได้มีเพิ่มมากขึ้น เราก็จะเป็นในส่วนที่ ลูกค้ารู้จัก และ จดจำได้ ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในการทำธุรกิจอย่างมาก 3) ช่วงเติบโตเต็มที่ เมื่ออยู่ในช่วงที่ยอดขายนั้นเจริญเติบโตอย่างมากและเต็มที่ เจ้าของสินค้าควรให้บริการลูกค้าอย่างสุดความสามารถเช่นกัน ต้องหมั่นคอยตรวจสอบสินค้า ปรับปรุง ผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงการบริการต่าง ๆ ให้ก้าวล้ำนำคู่แข่ง เกิดเป็นความประทับใจต่อลูกค้า และสิ่งที่ทำ นั้นควรชัดเจนและโปร่งใส เพื่อให้ลูกค้าได้พบเห็นอย่างหลากหลาย และการจัดโปรโมชั่นก็เป็นส่วนช่วย ในการทำให้สินค้าของเรานั้นได้เปรียบเหนือคู่แข่ง 4) ช่วงถดถอย ในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่มีคู่แข่งเข้ามาเยอะจนล้นตลาด สินค้าของ เรานั้นอาจเป็นที่ต้องการของตลาดลดน้อยลงเรื่อย ๆ อาจเป็นเพราะความทันสมัย พฤติกรรมของ ผู้บริโภค หรือสิ่งอื่นนั้นมีความน่าสนใจมากกว่า ตอบโจทย์การใช้งานและความต้องการมากกว่า เรื่อง เหล่านี้อาจทำการแก้ไขด้วยวิธีการปรับปรุงธุรกิจ ภาพลักษณ์ที่นำเสนอออกสู่สายตาสาธารณชน เพื่อให้ เกิดเป็นความแตกต่างจากคู่แข่งและเข้ากับพฤติกรรมลูกค้าและชีวิตประจำวันมากท่ีสุด 30

Digital Marketing คอื 1) การตลาดที่ใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบดิจิตอล เช่น การใช้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต Face Book, Instagram, YouTube ผ่านมือถือและWebsite ต่าง ๆ 2) การสร้างสินค้าใหม่ ๆ ที่เด่นกว่าสินค้าเดิมที่มีอยู่ หรือเป็นนวัตกรรม ที่สามารถเข้าใช้ได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือเครือข่ายโทรคมนาคม มีชื่อเรียกว่า Cloud Computing หรือ SaaS (Software as a Service) ข้อดีของ Digital Marketing 1) สามารถวัดผลได้จากจำนวนผู้ที่คลิกเข้ามาชมเว็บไซต์ หรือผู้ที่เข้ามา ลงทะเบียนร่วมกิจกรรม 2) สามารถทำให้มีจำนวนลูกค้าเพิ่มข้ึน 3) ใช้งบประมาณในการทำการตลาดน้อย 4) สามารถให้บริการลูกค้าได้ตลอดเวลา หลักพืน้ ฐานวเิ คราะห์ผล Digital Marketing 1) พฤติกรรม 2) ปริมาณของการเปลี่ยนแปลง 3) ระยะเวลา ช่องทางการทำ Digital Marketing 1) Mobile Marketing 2) Content Marketing 3) Social Media Marketing 4) Infographic กลยุทธ์ Digital Marketing 1) Pull Digital Marketing Strategy เป็นกลยุทธ์ที่ผู้บริโภคเป็นฝ่ายเลือก ข้อมูลต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น การสื่อสาร และข้อเสนอทางการตลาด ฯลฯ ดังนั้นนักการตลาด ต้อง พยายามทำให้ยี่ห้อสินค้า หรือข้อเสนอของเป็นที่สะดุดตา พบเจอได้ง่าย และชักจูงให้ผู้บริโภคสนใจและ ทำการซื้อสินค้าหรือกิจกรรมต่าง ๆ กลยุทธ์ที่ควรใช้ เช่น Search Engine Optimization, Viral Marketing, Social Media Marketing, Email Marketing เป็นต้น 2) Push Digital Marketing Strategy เป็นกลยุทธ์ที่นักการตลาด เป็นฝ่าย สื่อสาร ส่งข้อมูล ข่าวสาร ข้อเสนอ ฯลฯ ไปยังผู้บริโภค เช่นการโฆษณาบนเว็บไซต์ ส่งสติ๊กเกอร์ผ่าน 31

Line กลยุทธ์ที่ควรใช้เช่น Search Engine Advertising, Webinars/Seminars, Demonstrations, Free Trial เป็นต้น สง่ิ ท่ีต้องกระทำใน Digital Marketing 1) สร้างการรับรู้ของแบรนด์ (Building Brand Awareness) เป็นการกระตุ้นให้ ผู้บริโภคเกิดความต้องการหรือรู้ถึงปัญหาหรือความต้องการของตนเอง ที่เรียกว่า Lead Generation โดยใช้เครื่องมือ เช่น Search Engine Optimization, Email Marketing หรือเสริมด้วยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ Telemarketing เป็นต้น 2) ช่วยการค้นหา (Facilitating Discovery) เป็นการนำเสนอข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผู้บริโภคต้องการเพื่อการตัดสินใจ กลยุทธ์ที่ใช้เช่น Search Engine Advertising, Search Engine Optimization ฯลฯ 3) เสนอทางเลือกเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ( Guiding Solution) เสนอสิ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการและโน้มน้าวสร้างความมั่นใจให้กับตราสินค้า เคร่ืองมือท่ีใช้ เช่น Trial/Demonstration, Viral Marketing, Reference Marketing เป็นต้น 4) ขายและปิดการขาย (Sales and Close Sale) เมื่อผู้บริโภคตัดสินใจซื้อ สินค้า งานสุดท้ายคือการเลือกวิธีการขายและปิดการขายที่เหมาะกับท่านและลูกค้า สินค้าบางอย่างอาจ ขาย ชำระค่าสินค้าและส่งมอบสินค้าออนไลน์ เช่น การดาวน์โหลด หรือสินค้าบางอย่างอาจต้องส่ง พนักงานขายไปชี้แจงและทำการขาย สินค้าบางอย่างอาจต้องให้ลูกค้าไปรับสินค้าด้วยตนเอง หรือส่ง สินค้าให้ทางไปรษณีย์ หรือส่งสินค้าไปให้ เป็นต้น เรื่องสำคัญคือผู้บริโภคในยุคปัจจุบันต้องการมีส่วนร่วม (Customer Engagement) เป็นตัวของตัวเอง และมีความต้องการมากขึ้น ที่สำคัญคือต้องตอบสนองให้โดนใจและ รวดเร็ว สง่ิ ที่ทำพลาดในโลก Digital Marketing 1) ต้ัง KPI อย่างไม่สมเหตุสมผล คำแนะนำ : ควรมีการทดสอบเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานในการทำงานก่อน เพราะบางครั้ง แม้ว่าเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จาก Category เดียวกัน แต่เง่ือนไขของแต่ละแบรนด์ก็แตกต่างกัน 2) ไม่มีการสนับสนุนเชิงนโยบาย ตดั สนิ ใจเห็น คำแนะนำ : การเปรียบเทียบให้เห็นข้อแตกต่างในการปฏิบัติงาน ให้ผู้มีอำนาจการ 3) Romantic Planning คำแนะนำ : กำหนดเป้าหมายให้ชัด เน้นการระวังตัว เพ่ือให้เกิดความคุ้นเคย 32

4) เชื่อใจใน Tools ต่าง ๆ มากเกินไป เช่น การทำ Video Content แต่ไม่เคยอ่าน comment รอแต่ comment ชมที่ทีมงานสรุปให้ คำแนะนำ : ควรดู Feedback อ่ืน ๆ ด้วยตนเอง Media ร่วมกัน 5) ขาดการผสมผสานหลายทาง ตัวอย่างเช่น คือการใช้ SEO และ Social คำแนะนำ : แบ่งงบประมาณ และวัตถุประสงค์ของการใช้ Media แต่ละ ประเภทให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ 6) ปรับเปล่ียนช้าเกินไป คำแนะนำ : วางแผนสำรอง และความยืดหยุ่นในการทำงาน 7) คน และทีม คำแนะนำ : ควรมีการประชุมและมอบหมาย Job description ให้เหมาะสม กับบุคลากร รวมถึงการทบทวน ตรวจเช็คความคืบหน้าในโปรเจค เหมือนเป็นเรื่องพ้ืนฐาน 8) คิดงานตามแหล่งอ้างอิงหรือตัวอย่างมากเกินไป ข้อแนะนำ: ควรจะมีแนวคิดเป็นของตนเอง เทรนด์ของ Digital Marketing ทนี่ ่าจบั ตามอง 1) content Marketing การทำการตลาดด้วยบทความเป็นการสร้างความ น่าเชื่อถือของตราสินค้าของตนเอง 2) Advertising การโฆษณา โดยใช้ระบบ DMP หรือ Data Management Platform ทำให้นักการตลาดสามารถที่จะเลือกกลุ่มเป้าหมายได้อย่างแม่นยำเพื่อให้โฆษณาแสดงผลต่อ คนกลุ่มนี้เท่านั้นได้มากขึ้น 3) Big Data ข้อมูลขนาดใหญ่ปริมาณมหาศาล ที่ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วย มือคนธรรมดาหรือด้วยโปรแกรมใดเพียงโปรแกรมเดียว 4) Mobile Marketing การตลาดบนอุปกรณ์พกพา มีการปรับรูปแบบเว็บไซต์ เป็นแบบ Responsive Web Design คือการออกแบบเว็บให้สามารถตอบสนองหรือตอบโต้ได้ ซึ่งยิ่ง เว็บไซต์ตอบสนองกับผู้ใช้ได้มากเท่าไหร่ก็ย่ิงเพิ่มโอกาสให้ผู้ใช้กลับมามากขึ้นเท่าน้ัน แนวโน้มการตลาดทนี่ า่ จับตามอง 1) Content Marketing Distribution เนื่องจากContent Marketing กลาย มาเป็นส่วนสำคัญของการทำการวางแผนการตลาดของทุกบริษัทและนักการตลาดในยุคดิจิตอล การที่มี content จำนวนมากถูกผลิตออกมา มันจึงเป็นเรื่องยากในการดึงดูดความสนใจจากลูกค้าก่อนคู่แข่ง 33

ทางการตลาด การแก้ปัญหานี้ไม่ใช่การสร้าง content เป็นจำนวนมากขึ้นหรือเร็วขึ้น แต่ที่จริงแล้วควร จะคิดถึงวิธีการในการเผยแพร่กระจายข่าวสารให้ดีกว่าเดิม มากกว่าการใช้โซเชียลในรูปแบบเดิม เนื่องจากการเข้าถึงของคน (organic reach) มีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด และในอนาคตมีแนวโน้ม ที่จะลดลงอีก ดังนั้นการวางแผนในการเผยแพร่ content (content distribution strategy) เพื่อให้ ข้อความที่เราต้องการส่ือสารตรงกับความต้องการของลูกค้า เป็นส่ิงท่ีขาดไม่ได้ 2) PR & Content Marketing ในสมัยก่อน การประชาสัมพันธ์ (PR) และเรื่อง ของ Content Marketing เป็นเรื่องที่แยกจากกันคนละส่วน งบประมาณที่ใช้และเป้าหมายของงานนั้น แยกจากกันอย่างชัดเจน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไป จากการที่เป็นการเน้นในการพูดถึงชื่อแบ รนด์และบริการที่บริษัทกำลังทำ มาเป็นการนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี สร้างความน่าเชื่อถือ และทำให้ลดความรู้สึกที่ไม่ดีเกี่ยวกับการพูดถึงแต่แบรนด์กับการโฆษณา เมื่อ ข้อความรวมเข้ากับตัว content จะทำให้การประชาสัมพันธ์และเป้าหมายทางการตลาดเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น มันจึงกลายเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับความเกี่ยวข้อง กันของทั้ง 2 อย่างนี้ 3) Authenticity (ความน่าเชื่อถือ) in marketing ปัจจุบันเราอยู่ในยุคที่ สามารถเข้าถึงได้ง่าย รวดเร็ว และมีปริมาณที่มากมายมหาศาล ซึ่งในมุมหนึ่งผู้คนมองว่าสิ่งเหล่านี้ จะเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า หรือเป็นช่องทางในการรักษาความสัมพันธ์ที่ ดีกับลูกค้าไว้ แต่ในทางกลับกัน การเพิ่มขึ้นของปริมาณข้อมูลที่อยู่บนสื่อออนไลน์นั้นทำให้ความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือในบางสิ่งลดลง ตัวอย่างเช่น ในการทำธุรกิจแบบ B2B อาจจะเป็นไปได้ยากในการทำ ทุกอย่างผ่านสื่อออนไลน์ เนื่องด้วยบริษัทเองต้องการความน่าเชื่อถือ การยืนยันตัวตน ดังนั้นการคุยกัน เป็นการเห็นหน้า (face-to-face communication) ยังคงเป็นสิ่งที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวบริษัท ได้ดี “เนื่องมาจากการที่ความน่าเชื่อถือของสื่อต่าง ๆ สามารถถูกบิดเบือนได้ง่าย ดังนั้นผู้คนส่วนหนึ่ง มักเลือกที่จะตามหาความจริงโดยการพูดคุยแบบต่อหน้าด้วยตนเอง” 4) Chatbots การใช้ Chatbots เริ่มจะเห็นได้มากขึ้น โดยเฉพาะการใช้งาน ร่วมกับ social media ไม่ว่าจะเป็น Facebook Messenger, Line@ หรือ Live chat เนื่องจากฟังก์ชัน การใช้งานที่ทำให้สามารถรับมือกับลูกค้าได้ทุกเวลา สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ ทันที และเพิ่มประสบการณ์ที่ดี (Customer Experience) ที่ลูกค้าได้พบเจออีกด้วยยิ่งไปกว่านั้นใน ปัจจุบันมีเครื่องมือสำเร็จรูปมากมายที่ช่วยให้เราสามารถสร้าง Chatbots ได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ เรื่องโปรแกรมระดับสูง เพียงมีความรู้เบื้องต้นในการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้งานได้ ดังนั้น Chatbots จะเป็นอีกส่ิงหนึ่งที่มีความสำคัญมากต่อบริษัทที่เน้นการบริการเป็นหัวใจหลัก 34

5) Voice search หรือที่หลายคนรู้จักในชื่อ “Siri” ของระบบ IOS หรือจะเป็น ฟังก์ชัน “OK, Google” ของทาง Google เป็นสิ่งที่ผู้นกำลังให้ความสนใจกันมากขึ้นจากการสำรวจของ ประเทศสหรัฐอเมริกา มีผู้คนจำนวนมากข้ึนที่เริ่มใช้งานระบบสั่งการด้วยเสียงและคาดว่าในปี 2020 จะมี คนเกินกว่า 50% ที่จะใช้งานฟังก์ชั่นนี้ ซึ่งอาจมีผลต่อการทำการตลาดที่เกี่ยวกับ Search engine ใน อนาคต เน่ืองจากการส่ังการด้วยเสียงสามารถทำให้เราหาข้อมูลประเภท Long-tail keyword ได้สะดวก มากย่ิงขึ้น 6) Video content คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าวิดีโอเป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจ ของคนได้มากกว่าการโพสข้อความปกติทั่วไป โดยผู้คนประมาณ 55% นั้นบริโภคข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ ของวิดีโอ ซึ่งมีการคาดการณ์ว่าอาจขึ้นไปถึง 80% ในปี 2022 ดังนั้นบริษัทส่วนใหญ่ควรนำ video content เข้ามาอยู่ในแผนงานการตลาดที่จะทำในอนาคต แม้ว่าในสมัยก่อนอาจจะต้องใช้เงินในการ ลงทุนจำนวนมากในการทำวิดีโอข้ึน แต่การเริ่มทำวิดีโอในปัจจุบันเริ่มจะมีทางเลือกมากขึ้นทำให้สามารถ ลดต้นทุนให้เหมาะสมกับสิ่งที่เรากำลังจะทำได้ 6. เทคนิคการถา่ ยภาพผลิตภณั ฑแ์ ละฝึกปฏบิ ัติ 1. เทคนคิ การถ่ายภาพผลติ ภณั ฑ์ 1.1 การถา่ ยภาพผลิตภัณฑ์ 1) หลักและศลิ ปะการถา่ ยภาพ 2) เทคนคิ การถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ 1.2 การถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายรปู 1) โทรศัพทม์ ือถอื 2) กล้องคอมแพคท์ 3) กล้องโปรฯ (มอื อาชีพ) 2. ศิลปะถ่ายภาพ ในหลักการถ่ายภาพ การจัดองค์ประกอบภาพ เป็นสิ่งสำคัญทำให้ภาพดูสวยงาม และน่าสนใจ 1. ภาพแบบสมมาตร ที่ใช้เส้นแบ่งภาพในแนวตั้งและแนวนอน ให้มีความสมดุลทั้งในแนวต้ัง และแนวนอน ภาพแบบนี้ ให้ความร้สู ึกจริงจัง มคี วามเป็นระเบียบเรยี บร้อย เป็นทางการ 35

2. การถ่ายภาพแบบไม่สมมาตร (แต่สมดุล) จะช่วยทำให้ภาพมีความน่าสนใจ กฎสามส่วนท่ี ใช้เสน้ แบง่ ภาพในแนวตัง้ และแนวนอนออกเป็นสามส่วนและมจี ดุ ตดั จำนวน 4 จดุ และให้วางภาพไว้ในจุดตัด ในภาพน้นั 3. หลักการถ่ายภาพสนิ ค้า 1 ถา่ ยด้วยแสงสว่างท่เี พียงพอ 2 โฟกสั ให้ชัด 3 ถา่ ยรปู ใหส้ ินคา้ อยา่ ให้ฉากหลังเดน่ กว่าสินคา้ 4 มีรายละเอยี ดหลายมุม (มุมกว้าง, มุมแคบ) 4. เทคนิคการถ่ายภาพสนิ ค้า การถ่ายภาพสนิ คา้ มีความสำคัญชว่ ยทำให้สินคา้ มโี อกาสขายไดม้ ากขึ้น 1. ต้องถา่ ยภาพสนิ ค้าใหช้ ัด เพราะลูกค้าที่ซ้ือออนไลนไ์ ม่สามารถจับตอ้ งสินค้าได้ 2. ฉากหลังสีขาว ช่วยให้เห็นผลิตภัณฑ์ชัดเจน ให้ฉากหลังผลิตภัณฑ์แบบอื่นได้ แต่ไม่ควรให้ โดดเด่นกวา่ ตัวผลิตภณั ฑ์ 3. หลกี เล่ียงการใชแ้ ฟลช์ ควรใชแ้ สงทีท่ ำใหภ้ าพนุ่มนวลข้ึน เช่น แผน่ สะท้อนแสง หรือรีเฟลกซ์ 5. แสงกบั การถ่ายภาพ 1 แสงจากธรรมชาติ 2 แสงจากไฟ, โคมไฟสองสว่าง ไฟจากหลอดไฟแสงสีเหลืองเหมาะกับสินค้าบางประเภท เทา่ น้ัน 6.การถา่ ยภาพดว้ ยโหมด HDR HDR คืออะไร HDR ย่อมาจาก High Dynamic Range เมื่อคุณใช้ HDR จะนำเอาส่วนที่ดี ที่สุดจากรูปภาพสามรูปที่ถ่ายอย่างรวดเร็วที่ค่าการเปิดรับแสงต่างกันมารวมเข้าด้วยกันโดยอัตโนมัติ โดยรูป หน่ึงจะถา่ ยไวท้ ่ีคา่ การเปิดรบั แสงปกติ อีกสองรูปก็จะเป็นสว่ นที่สว่างทส่ี ุดและมดื ทีส่ ุด 7. แอพแตง่ รูป 2 ใส่ตัวอักษรลงบนรปู 1 ปรบั ความสว่างและสีของรูป 3 รวมรูปหลายใบให้เปน็ ใบเดียว 36

การทำแอพแตง่ รูป 1) Open เปดิ ไฟลร์ ปู เพื่อนำมาใชง้ านในแอพ 2) เลือก เครือ่ งมือ (Tools) เพื่อแสดงเครือ่ งมอื ที่ใช้งานในการแต่งรูป 3) เลือก ไวทบ์ าลานซ์ (White Balance) เพื่อปรบั ตงั้ ค่าสมดุลแสงขาว 4) ใช้ AWB เพ่ือปรบั สมดลุ แสงขาวอัตโนมัติ 5) ภาพทไี่ ดห้ ลังจากการปรบั สมดลุ แสงขาวแลว้ 6) หากต้องการให้ภาพถ่ายสวา่ งขน้ึ ให้เลือกเครอื่ งมืออีกครงั้ เพอ่ื แสดงเครอ่ื งมอื ท้ังหมด 7) เลือก Tune Image ที่สามารถปรับความสว่าง, ปรับสี เพิ่ม ลด แสงเงา กด บริเวณรูปจะสามารถปรับตั้งค่าต่าง ๆ ได้ Brightness - ความสว่าง Contrast - โทนมืดโทนสว่าง Saturation – ความอิ่มของสี Ambiance -แสงสภาพแวดล้อม Highlight -แสงไฮไลท์ Shadows - เงาWarmth - แสง โทนร้อน /เยน็ 8) ภาพท่ีแต่งเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ใหก้ ดเครอ่ื งหมายถกู เพือ่ กลบั ไปหนา้ หลกั 9) เลือก Export เพื่อส่งภาพออกไปเก็บไว้ในโทรศัพท์มือถือ (หากยังไม่ส่งออกภาพจะยัง อยู่ในแอพ) 10) ภาพท่ีแต่งเสรจ็ กดสง่ ออกภาพจะถูกส่งไปอยู่ในอัลบั้มรูปบนโทรศพั ท์ 11) การใสข่ อ้ ความในรูปภาพ ใหเ้ ลือกเครอื่ งมอื เพ่ือแสดงตวั เลือกท้งั หมดอีกคร้ัง 12) กดข้อความจะเป็นการพมิ พข์ ้อความลงบนรูปภาพ 13) ดับเบิ้ลคลิกบนข้อความเพื่อเปลี่ยนข้อความใด การเปลี่ยนข้อความสามรถ เปลี่ยนได้ตลอด แต่หลักจากท่ีกดเลอื กเลือกเครอื่ งหมายถกู แล้ว จะไม่สามารถแกไ้ ขข้อความได้ เทคนิคการถ่ายภาพสินคา้ ให้สวยนา่ ซ้อื ดงึ ดูดใจลูกค้าออนไลน์ 1. เข้าใจเรื่องแสง แสงทำใหเ้ หน็ สินคา้ ชดั เจน และสรา้ งอารมณ์และความร้สู ึกตอ่ ภาพได้ แสงธรรมชาติ เป็นมาตรฐานและดีที่สุดต่อระบบการประมวลผลภาพ ของกล้อง ข้อควรระวัง มีแสงเพยี งพอ การถ่ายภาพย้อนแสง แสงไฟ สะดวกในการถ่ายภาพในอาคาร สามารถจัดแสงได้ตาม ความต้องการข้อ ควรระวงั ทศิ ทางของแสง 37

2. การเลือกพื้นหลัง พื้นหลังสีขาวล้วน สร้างความรู้สึก เรียบง่าย ชัดเจน เน้นให้สินค้า เด่นชัดพื้นหลังสีดำล้วน สร้างความรู้สึก ลึกลับ น่าค้นหา และหรูหรามีระดับพื้นหลังสีตัดกันกับสีของ วัตถพุ ื้นหลงั ลวดลาย 3. มุมของการมอง ถ่ายภาพในระนาบเดียวกันกับสินค้าถ่ายภาพ 45 องศา หรือแนวทแยง มมุ กับสินคา้ ถ่ายภาพจากด้านบนของสินคา้ มุมอ่นื ๆ 4. ระยะห่างการถ่ายภาพ ระยะไกลระยะกลาง ระยะปกติ ระยะใกล้ Close-up หรอื การซูม 5. การโฟกัส หาจุดที่ต้องการในตัวสินค้าแล้วเลือกโฟกัสไปที่จุดนั้น โดยการแตะหรือจิ้มลง ไปที่ตำแหนง่ นั้น เพมิ่ ให้กลอ้ งมอื ถอื ทำการโฟกสั ให้จดุ น้ันชัดเจนและโดดเดน่ ขึน้ แลว้ จงึ กดถ่ายภาพ 6. อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์ที่เข้ามาเป็นองค์ประกอบเสริมในภาพถ่ายสินค้าจะช่วยให้ ภาพดูน่าสนใจมากขึ้น และสร้างความรู้สึกและอารมณ์ของภาพได้ ข้อควรระวัง คือ อุปกรณ์ประกอบไม่ควร เด่นกว่าสนิ คา้ และไม่ควรมีมากไปจนดูรก 7. ถ่ายภาพการใช้งาน แสดงให้เห็นการใช้งานจริง ทำให้สินค้าดูมีชีวิตชีวา และสามารถทำใหล้ ูกค้าจินตนาการถงึ ตวั สินค้าไดง้ า่ ยขนึ้ 8. การคมุ โทนสขี องภาพ 9. การค่าค่า กล่อง ของอุปกรณ์มือถือ การตั้งค่าจุดตัด 9 ช่อง การตั้งค่าความละเอียดของ ภาพ การซมู การเพมิ่ ความสวา่ ง การเลอื กฟลิ เตอร์ รปู แบบของภาพ แนวตงั้ แนวนอน ส่ีเหลี่ยมจตั ุรัส พาโนราม่า 10. แตง่ ภาพก่อนโพสตข์ าย 38

กรอบการคดั สรรสดุ ยอดหนงึ่ ตำบล หนึ่งผลิตภณั ฑ์ไทย ******************************* 1. สามารถส่งออกได้ (Exportable) โดยมีความแกรง่ ของตราผลติ ภัณฑ์ (Brand Equity) 2. ผลติ อยา่ งตอ่ เนื่องและคงคุณภาพเดมิ (Continuous & Consistent) 3. ความมีมาตรฐาน (Standardization) โดยมีคุณภาพ (Quality) และสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า (Satisfaction) 4. มีประวัติความเปน็ มาของผลติ ภณั ฑ์ (Story of Product) ทสี่ ะทอ้ นอตั ลกั ษณข์ องชุมชนเชิงพน้ื ที่ คณุ สมบัติของผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการและผลิตภัณฑท์ ่สี ามารถสมคั รเข้ารับการคัดสรร 1. เป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ที่มีชื่ออยู่ในการสำรวจและลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปี พ.ศ.2557-2563 (ภายในวันท่ี 30 กันยายน 2563) ของจังหวัดหรอื กรุงเทพมหานคร 2. เป็นที่ผลิตภัณฑ์ที่ได้แจ้งไว้ในการสำรวจและลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปี พ.ศ. 2557-2563 3. ผลิตภัณฑ์ตามข้อ 2 ต้องผ่านการขออนุญาตและการรับรองมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น อย. และหากผลิตภัณฑ์ใดไม่มีข้อกำหนดของกฎหมายระบุไว้ต้องผ่านการรับรองมาตรฐานอย่าง ใดอย่างหนึ่ง ก่อนวันสมัครเข้ารับคดั สรรฯ เช่น มผช., มอก. , ฮาลาล, คิว (Qmark), GAP, GMP , HACCP และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป็นต้น ทั้งน้ีกรณีผลิตภัณฑ์เครื่องประดับอัญมณี หากไม่ มีมาตรฐานใดรับรองไม่สามารถส่งเข้ารับการคัดสรรฯ ได้ ทั้งนี้ใบรับรองต้องไม่หมดอายุก่อนวัน รบั สมัครคัดสรรฯ ในระดับจังหวัด 4. กรณีผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร จะไม่รับพิจารณาผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตาม กฎหมายกำหนด เชน่ 4.1 ลูกประคบ กรณีได้มาตรฐาน มผช. ฉลากผลิตภัณฑ์ต้องไม่บรรยายสรรพคุณในการ บำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรค ส่วนกรณีที่พบฉลากผลิตภัณฑ์มีการแสดง สรรพคุณทางยา เช่น บรรเทาอาการปวด คลายกล้ามเนื้อจะใช้หลักพิจารณาตาม กฎหมายว่าดว้ ยยา ถ้าผลติ ภัณฑ์ไมไ่ ด้ ขึ้นทะเบียนตารบั ยาจะไมร่ บั พจิ ารณาคดั สรร 4.2 เครื่องสำอางที่จดแจ้งตามกฎหมายแล้ว แต่พบการแสดงฉลากโอ้อวดเกินความเป็น เครือ่ งสำอาง ใหร้ ับพิจารณาคัดสรร โดยให้ตัดคะแนนในสว่ นข้อความฉลากเทา่ นน้ั หาก พบผลติ ภัณฑ์ท่ีจดแจง้ เปน็ เคร่ืองสำอาง แตม่ ฉี ลากและส่วนประกอบแสดงสรรพคุณทาง ยา เช่น ยาหม่อง น้ำมันเหลือง ครีมนวดสมุนไพร ฉลากแสดงสรรพคุณรักษาหรือ บรรเทาอาการปวดเมอื่ ย กล้ามเนอ้ื จะไมร่ ับพิจารณาคัดสรร 39

4.3 กรณีผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร ที่ฉลากระบุสรรพคุณทางยา จะใช้หลักพิจารณา ตาม กฎหมายว่าด้วยยา ถ้าผลติ ภณั ฑน์ ั้นไม่ได้ขึ้นทะเบยี นตำรับยาจะไมร่ บั พิจารณาคัดสรร 5. จำนวนผลิตภณั ฑท์ ี่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสามารถส่งเขา้ คัดสรรฯ ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP สามารถส่งผลิตภัณฑ์ ที่ได้แจ้งไว้ในการสำรวจและ ลงทะเบียนผ้ผู ลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ปี พ.ศ. 2557- 2561 ซ่งึ เปน็ ผลิตภณั ฑ์หลกั ทผ่ี ่านการรับรอง มาตรฐานที่กำหนดไว้ ตามข้อ 4.3 ส่งสมัครเข้ารับการคัดสรรฯ ได้รายละ 3 ผลิตภัณฑ์ (กรณี ผลิตภณั ฑเ์ ดยี่ ว) หรือ 3 ชดุ (กรณชี ุดผลติ ภณั ฑ์) 6. ประเภทผลิตภัณฑ์ที่คัดสรรฯ ผลิตภัณฑ์ที่คัดสรรฯ แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ ตาม นยิ ามความหมายที่ระบุ ต่อไปน้ี 6.1 ประเภทอาหาร หมายถึง ผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูป ซึ่งได้รับมาตรฐาน อย., GAP, GMP, HACCP, Qmark, มผช., มอก., มาตรฐานเกษตรอินทรยี ์, ฮาลาล และ มีบรรจุภณั ฑ์เพ่ือการจาหนา่ ยทว่ั ไป แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ดังน้ี 6.1.1 ผลิตผลทางการเกษตรทใี่ ช้บริโภคสด - ผลผลิตทางการเกษตรที่สามารถลงทะเบียนได้ เช่น พืชผัก ผลไม้ เช่น มะม่วง สบั ปะรด ส้มเขียวหวาน มงั คดุ ส้มโอ กล้วย ฯลฯ - ผลผลิตทางการเกษตรที่ไม่สามารถลงทะเบียนได้ เช่น กิ่งพันธุ์ไม้ทุกชนิด เช่น ก่ิง พันธ์ุมะมว่ ง ก่งิ พนั ธมุ์ ะปราง ไมป้ ระดบั ฯลฯ 6.1.2 ผลติ ผลทางการเกษตรท่เี ป็นวัตถุดบิ และผ่านกระบวนการแปรรปู เบ้ืองต้น เชน่ นา้ ผ้ึง ข้าวสาร ข้าวกลอ้ ง ขา้ วฮาง เป็นต้น เนือ้ สัตว์แปรรูป เช่น เน้ือโคขนุ เนอ้ื นกกระจอกเทศแช่แข็ง หมแู ดดเดียว หมยู อ แหนม ไสอ้ ่ัว ไสก้ รอก ปลาอบรมควนั หอยจอ๊ เป็นต้น อาหารประมงแปรรูป เช่น ไส้กรอกปลา ปลาช่อนแดดเดียว ปลาสลิดแดดเดียว ส้มปลาตัว น้ำบูดู กะปิ กุ้งแห้ง น้าปลา ปลาร้า เป็นต้น ยกเว้นกรณีสัตว์ที่มีชีวิต เช่น ไก่ชน ปลากัด ไม่ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ลงทะเบียนได้ เพราะไม่ ผา่ นกระบวนการแปรรปู เบือ้ งตน้ 6.1.3 อาหารแปรรูปกึ่งสำเร็จรูป/สำเร็จรูป เช่น ขนมเค้ก เฉาก๊วย ขนมโมจิ เต้าส้อ กระยาสารท กล้วยฉาบ กล้วยอบ มะขามปรุงรส ทุเรียนทอด กาละแม กะหรี่ปั๊บ ขนมทองม้วน ข้าว เกรยี บ ขา้ วแตน๋ น้าพรกิ เผาและน้ำพรกิ ต่าง ๆ แจ่วบอง นำ้ จิม้ สุกี้ นำ้ ปลาหวาน ผักกาดดอง พริกไทย แคบหมู ไข่เคม็ กนุ เชยี ง หมูทบุ หมูแผ่น เปน็ ตน้ 40

6.2 ประเภทเครื่องดื่ม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ สุราแช่ สุรากลั่น สาโท อุ ไวน์ เหล้าขาว 35-40 ดีกรี เป็นต้น และเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มประเภทพร้อมดื่ม ผลิตภัณฑ์ประเภทชงละลาย และผลิตภณั ฑ์ประเภทชง เช่น น้ำแร่ น้ำผึ้ง น้ำผลไม้ น้ำสมุนไพร เครอ่ื งด่มื รงั นก กาแฟค่ัว กาแฟปรงุ สำเร็จ ขิงผงสำเรจ็ รปู มะตมู ผง ชาใบหมอ่ น ชาจนี ชาสมุนไพร ชาชักน้ำเฉาก๊วย น้ำเต้าหู้ นมสด นมข้าวกล้อง เป็นต้น ทั้งนี้น้ำดื่มบรรจุขวดไม่ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ท่ี ลงทะเบียนได้ 6.3 ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย หมายถึง ผ้าทอและผ้าถักจากเส้นใยธรรมชาติหรือเส้นใย สังเคราะห์ รวมทั้งเสื้อผ้า/เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องแต่งกายที่ใช้ประดับตกแต่งประกอบการแต่งกายทั้งเพ่ือ ประโยชนใ์ นการใช้สอยและเพ่อื ความสวยงาม 6.3.1 ผ้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ผ้าผืนที่ทำจากเส้นใย เส้นด้าย นำมาทอถักเป็นผืนมี ลวดลายเกิดจากโครงสร้างการทอหรือตกแต่งสำเร็จบนผืนผ้า ทำด้วยมือ หรือเครื่องจักร รวมถึงผลิตภัณฑ์ เสื้อผ้าและเครือ่ งนุ่งห่มซึ่งเป็นเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์ สิ่งทอ และผลติ ภัณฑ์ท่ีทำจากผ้าเป็นหลกั และมีวัสดุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบผสม เช่น ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าโสร่ง ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าบาติก ผ้าถุง ผ้า ปักชาวเขา ผา้ คลุมผม หมวกกะปเิ ยาะ ผา้ พันคอ เสือ้ ผา้ สำเร็จรปู บุรษุ – สตรี เป็นต้น 6.3.2 เครื่องแต่งกาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ประดับตกแตง่ ประกอบการแต่งกายที่ ทำจากวัสดุทุกประเภทเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย เช่น รองเท้า เข็มขัด กระเป๋าถือเป็นต้น และเพื่อความ สวยงาม เช่น สร้อย แหวน ต่างหู เขม็ กลดั กำไล นาฬิกาข้อมือ เนคไทหมวกแฟช่ัน เปน็ ต้น 6.4 ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีไว้ใช้หรือตกแต่ง ประดับในบ้าน สถานที่ต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องครัว เครื่องเรือน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้สอย หรือประดับตกแต่ง หรือให้เป็นของขวัญ เพื่อให้ผู้รับนำไปใช้สอยในบ้าน ตกแต่งบ้าน รวมทั้ง สิ่งประดิ ษฐ์ท่ี สะท้อนถึงวิถีชีวิต ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่น และสินค้านั้นต้องไม่ผลิตโดยใช้เครื่องจักรเป็นหลัก และ ใช้แรงคนเป็นส่วนเสริมหรือไม่ใชแ้ รงงานคน โดยประเภทของใช/้ ของตกแต่ง/ของที่ระลกึ แบ่งออกเปน็ 7 กลุ่ม ดงั นี้ 6.4.1 ไม้ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก ที่มีวัสดุที่ทาจากไม้เปน็ หลักเชน่ ไม้แกะสลกั เฟอรน์ ิเจอร์ กลอ่ งไม้ นาฬกิ าไมต้ ัง้ โตะ๊ โคมไฟกะลามะพร้าว ของเล่นเดก็ เคร่อื งดนตรี ตู้พระธรรม เรือจำลอง แจกนั ไม้ กรงนก ไมแ้ ขวนเสื้อ เป็นต้น 6.4.2 จักสาน ถักสาน หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ที่มีวัสดุที่เป็นเส้น ใยธรรมชาติ หรือวัสดุสังเคราะห์ใด ๆ เช่น พลาสติกนำมาจักสาน หรือถักสานถักทอเป็นรูปร่าง เช่น ตะกร้า 41

กระจูดสาน เสื่อกก ที่รองจานทำจากเสื่อกก หมวกจักสาน ที่ใส่ของทำจากพลาสติกสาน กระจาด กระบุง กระด้ง กระตบิ ข้าว เชือกมัด เปลยวน โคมไฟผกั ตบชวา ไมก้ วาด กระเชา้ เถาวัลย์ พรมเช็ดเท้า ฝาชี หมวกสาน ไม้ไผ่ เปน็ ตน้ 6.2.3 ดอกไม้ประดิษฐ์/วัสดุจากเส้นใยธรรมชาติ หมายถึง ดอกไม้ ต้นไม้ กล้วยไม้ ผลไม้ที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ แต่ทำจากวัสดุต่าง ๆ เพื่อเลียนแบบธรรมชาติหรือและผลิตภัณฑ์ประเภท ของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก ที่มีวัสดุที่ทำจากกระดาษสาเป็นหลัก เช่น ถุงกระดาษกล่องกระดาษสา ต้นไม้ ประดิษฐ์ ผลไมป้ ระดษิ ฐ์ เปน็ ตน้ 6.2.4 โลหะ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึกที่ทำจาก โลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองเหลือง ดีบุก สเตนเลส ทอง สังกะสี เป็นต้น เป็นส่วนประกอบหลัก เช่น ช้อนส้อม มีด ผลิตภัณฑ์ภาชนะที่ใช้โลหะ ภาชนะที่ทำจากสเตนเลสทุบ ทองเหลืองทุบ พิวเตอร์ บรอนซ์ แกะสลักที่ใช้ ตกแตง่ สถานทต่ี ่าง ๆ เปน็ ต้น 6.2.5 เซรามคิ /เครอื่ งปน้ั ดินเผา หมายถงึ ผลิตภณั ฑ์ท่มี กี ารนำวัสดปุ ระเภทดนิ สินแร่ ไปขึ้นรูปและนำไปเผาด้วยความร้อนสูง เพื่อเป็นภาชนะ ของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก เช่น เบญจรงค์ ถ้วย ชาม ภาชนะกระเบอ้ื ง เซรามิค โอง่ อ่าง กระถางตา่ ง ๆ เป็นตน้ 6.2.6 เคหะส่ิงทอ หมายถึง ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลกึ ที่มีวัสดุทาจากผ้ามกี าร ตดั เย็บ เชน่ ชดุ เครือ่ งนอน พรมเชด็ เท้า ผ้าปูโตะ๊ ถุงมอื ถกั สำหรบั ทาการเกษตร เป็นต้น 6.2.7 อื่น ๆ ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก หรือผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ใช้วัสดุอื่นใด นอกเหนือ จาก ขอ้ 6.4.1 – 6.4.6 เชน่ ทำจากพลาสติก เรซิน แกว้ เทยี น รูปวาด เปเปอรม์ าเช่ กระจก ซีเมนต์ ตน้ ไม้มงคล ตุ๊กตาจากดนิ ไทย ผลไมเ้ ผาดูดกลิน่ พระพทุ ธรปู เป็นต้น 6.5 ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร หมายถึง ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรหรือมีสมุนไพรเป็น ส่วนประกอบอาจใช้ประโยชน์ และอาจส่งผลต่อสุขภาพ ได้แก่ ยาจากสมุนไพร เครื่องสำอางสมุนไพรวัตถุ อันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน เช่น น้ำยาล้างจานสมุนไพร สมุนไพรไล่ยุง หรือกำจัดแมลง และรวมถึงผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพรที่ใช้ทางการเกษตร เช่น น้ำหมักชีวภาพ น้ำส้มควันไม้ ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้นโดยประเภทสมุนไพรที่ ไมใ่ ช่อาหาร แบง่ เปน็ 3 กล่มุ 6.5.1 ยาจากสมุนไพร 6.5.2 เครื่องสำอางสมนุ ไพร 6.5.3 วัตถอุ ันตรายท่ใี ชใ้ นบา้ นเรือน 42

6.5.4 ผลติ ภัณฑ์จากสมนุ ไพรทใ่ี ชใ้ นทางการเกษตร ในกรณีที่มีปญั หาการจัดประเภทผลติ ภัณฑ์ ให้พิจารณาจัดโดยคำนึงถึงวตั ถุประสงค์ หรือประโยชนใ์ นการใช้สอย และใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของคณะอนุกรรมการ นตผ. จังหวดั 7. การจดั ระดบั ผลิตภณั ฑ์ การคัดสรรสดุ ยอดหน่ึงตำบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ไทย ปี พ.ศ.2564 (OTOP Product Champion : OPC) ผลการดำเนินการคดั สรรฯ จัดระดบั ผลิตภณั ฑ์ มรี ะดบั เดยี ว คือ ระดับประเทศเทา่ น้นั โดยใชห้ ลักเกณฑเ์ ฉพาะ แต่ละประเภทผลิตภัณฑ์ (Specific Criteria) ซึ่งกำหนดคะแนนรวมไว้ 100 คะแนน ประกอบด้วย หลักเกณฑ์ ในการพิจารณา 3 ด้าน คือ หลักเกณฑ์ด้านผลิตภัณฑ์และความเข้มแข็งของชุมชน หลักเกณฑ์ด้านการตลาด และความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ และหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะนำมากำหนดกรอบในการจัด ระดับผลติ ภณั ฑ์ (Product Level) ออกเป็น 5 ระดับ ตามค่าคะแนน ดังน้ี 1. ระดับ 5 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 90 -100 คะแนน) เป็นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือมี ศักยภาพในการส่งออก 2. ระดับ 4 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 80 – 89 คะแนน) เป็นสินค้าที่มีศักยภาพ เป็นที่ยอมรับ ระดบั ประเทศ และสามารถพฒั นาสู่สากล 3. ระดับ 3 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 70 – 79 คะแนน) เป็นสินค้าที่มีคุณภาพระดับกลางที่ สามารถพัฒนาสู่ระดับ 4 ดาวได้ 4. ระดับ 2 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 50 – 69 คะแนน) เป็นสินค้าที่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 3 ดาวมีการประเมนิ ศกั ยภาพเป็นระยะ 5. ระดับ 1 ดาว (ได้คะแนนต่ำกว่า 50 คะแนน) เป็นสินค้าท่ีไม่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 2 ดาว ได้ เนอ่ื งจากมีจุดออ่ นมาก และพัฒนายาก 43

ส่วนท่ี 2 แนวทางการดำเนนิ งานการคัดสรรสุดยอดหนึง่ ตำบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑไ์ ทย ปี พ.ศ. 2564 (OTOP Product Champion : OPC) การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. ๒๕64 (OTOP Product Champion : OPC) กำหนดหน่วยดำเนินการเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร และระดับประเทศ โดยมี กระบวนการข้ันตอนในการดำเนนิ การ ดงั น้ี ระดับจงั หวัดและกรงุ เทพมหานคร ขนั้ ตอนท่ี 1 การแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินการคดั สรรสดุ ยอดหนึ่งตาบล หน่ึง ผลิตภณั ฑไ์ ทยระดบั จงั หวดั และกรงุ เทพมหานคร 1.1 สรรหาหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการคัดสรรฯ และผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อแต่งตั้งเป็น คณะกรรมการและคณะทำงานดำเนนิ การคดั สรรฯ 1.2 แต่งตัง้ คณะกรรมการและคณะทำงานดำเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร โดย มีองค์ประกอบและอำนาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ 1.2.1 คณะกรรมการดำเนนิ การคดั สรรฯ ระดบั จงั หวัด องค์ประกอบ 1) ผวู้ ่าราชการจังหวัด หรอื รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั ประธานกรรมการ ที่ผู้ว่า ราชการจังหวัดมอบหมาย 2) หวั หน้าส่วนราชการทเ่ี ก่ยี วข้อง ก ร ร ม ก า ร จ ำ น ว น ต า ม ท่ี เหน็ สมควร (เช่นสาธารณสขุ จังหวดั /อุตสาหกรรมจงั หวัด/พาณชิ ย์จังหวัด เป็นต้น) 3) ผ้ทู รงคณุ วุฒิ จานวนตามทีเ่ หน็ สมควร กรรมการ 4) พัฒนาการจงั หวัด กรรมการและเลขานกุ าร 5) หัวหนา้ กลุ่มงานสง่ เสริมการพัฒนาชุมชน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สำนกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัด อำนาจหนา้ ที่ 1) จัดทำแผนการดำเนินการคัดสรรฯ และใหค้ วามเห็นชอบผลการพจิ ารณารับรองผลิตภัณฑ์ เขา้ รบั การคดั สรรฯ ของจังหวดั 44

2) กำกบั ติดตาม ตรวจสอบดแู ลการคดั สรรฯ ของจงั หวัด 3) รายงานผลการดำเนนิ การคัดสรรฯ ให้กรมการพฒั นาชุมชน ทราบ 4) แต่งตง้ั คณะทางานเพ่ือชว่ ยเหลอื การดำเนินการคัดสรรฯ ไดต้ ามท่ีเห็นสมควร 5) ปฏิบตั ิหนา้ ทอี่ ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 1.2.2 คณะกรรมการดำเนนิ การคดั สรรฯ ระดบั กรงุ เทพมหานคร องคป์ ระกอบ 1) ผู้วา่ ราชการกรงุ เทพมหานคร หรือรองผวู้ ่าราชการ ประธานกรรมการ กรุงเทพมหานคร ท่ีผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานครมอบหมาย 2) ปลัดกรุงเทพมหานคร รองประธานกรรมการ 3) รองปลดั กรุงเทพมหานคร กรรมการ 4) หวั หนา้ ส่วนราชการทเี่ ก่ยี วข้อง กรรมการ จำนวนตามความเหมาะสม 5) ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จำนวนตามความเหมาะสม กรรมการ 6) ผอู้ ำนวยการสานกั พฒั นาสังคม กรรมการและเลขานกุ าร 7) ขา้ ราชการของกรงุ เทพมหานครทีเ่ ก่ียวขอ้ ง กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ อำนาจหน้าท่ี 1) จัดทำแผนการดำเนินการคัดสรร และให้ความเห็นชอบผลการพิจารณารับรองผลิตภัณฑ์ เข้ารบั การคัดสรรฯ ของกรงุ เทพมหานคร 2) กำกับ ติดตาม ตรวจสอบดูแลการคดั สรรฯ ของกรงุ เทพมหานคร 3) รายงานผลการดำเนินการคัดสรรฯ ของกรุงเทพมหานคร ให้กรมการพัฒนาชมุ ชนทราบ 4) แต่งต้ังคณะทำงานเพือ่ ชว่ ยเหลือการดำเนินการคดั สรรฯ ไดต้ ามทเ่ี หน็ สมควร 5) ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี นื่ ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 45

1.2.3 คณะทำงานงานพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ ประเภท........... (อาหาร, เคร่อื งดื่ม, ผา้ เครื่องแต่งกาย, ของใช/้ ของตกแตง่ /ของท่ีระลกึ และสมนุ ไพร ทไ่ี มใ่ ชอ่ าหาร) ระดับจังหวดั องค์ประกอบ 1) หัวหนา้ ส่วนราชการท่ีผู้วา่ ราชการจังหวดั มอบหมาย หวั หน้าคณะทางาน 2) ผู้ทรงคุณวฒุ หิ รอื ผเู้ ชยี่ วชาญเก่ยี วกบั ผลิตภณั ฑ์ คณะทำงาน ประเภทน้นั จานวนตามความเหมาะสม 3) ข้าราชการพัฒนาชมุ ชนที่ผวู้ า่ ราชการจังหวัด คณะทำงานและ เลขานกุ ารมอบหมาย จำนวน 1 คน อำนาจหน้าที่ 1) ดำเนินการพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ และให้ค่า คะแนน ส่วน ก และส่วน ข ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับมอบหมายตามแนวทางและ หลักเกณฑ์ท่กี ำหนด 2) รายงานผลการดำเนินการคัดสรรฯ ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมอบหมายให้ คณะกรรมการดำเนนิ การคัดสรรฯ ระดบั กรุงเทพมหานครทราบ 3) ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อน่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 1.2.4 คณะทำงาน งานพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ ประเภท........... (อาหาร, เครอ่ื งดื่ม, ผ้า เครอ่ื งแตง่ กาย, ของใช้/ของตกแตง่ /ของทร่ี ะลกึ และสมุนไพร ท่ไี มใ่ ชอ่ าหาร) ระดบั กรงุ เทพมหานคร องค์ประกอบ 1) หัวหน้าส่วนราชการของกรุงเทพมหานคร หัวหนา้ คณะทำงาน ทผี่ วู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย 2) ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ/ผู้เช่ียวชาญ/ข้าราชการท่มี คี วามรู้ คณะทำงาน เก่ยี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ประเภทนน้ั จำนวนตามความเหมาะสม 46

3) ขา้ ราชการสำนักพฒั นาสงั คม คณะทำงานและเลขานุการ ท่ีผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย จำนวน 1 คน อำนาจหนา้ ท่ี 1) ดำเนินการพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ และให้ค่า คะแนน ส่วน ก และส่วน ข ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับมอบหมายตามแนวทางและหลักเกณฑ์ที่ กำหนด 2) รายงานผลการดำเนินการคัดสรรฯ ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมอบหมายให้ คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรฯ ระดบั กรงุ เทพมหานครทราบ 3) ปฏบิ ตั หิ น้าที่อนื่ ๆ ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย ขนั้ ตอนที่ 2 การประชุมชี้แจงทาความเข้าใจผทู้ ี่เกี่ยวข้อง จัดประชุมชี้แจงแนวคิด กลไก กระบวนการและหลักเกณฑ์การคัดสรรสุดยอดหน่ึงตำบลหน่ึง ผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ.2564 (OTOP Product Champion : OPC) ให้แก่คณะกรรมการ/คณะทำงาน/ เจา้ หนา้ ที่ ท่เี กีย่ วขอ้ ง เครอื ข่ายและผผู้ ลติ /ผ้ปู ระกอบการ OTOP ขนั้ ตอนท่ี 3 การประชาสมั พนั ธ์ จัดทำประกาศและประชาสัมพันธ์อย่างแพร่หลายและทั่วถึงเพื่อเชิญชวนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ที่ขึ้นทะเบียนปี 2557-2561 แล้ว ให้ส่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด สมัครเข้ารับ การคัดสรรฯ ตามสถานที่ที่กาหนด ณ จังหวัด/กรุงเทพมหานคร ภายในระยะเวลาที่กาหนด (โดยผู้ผลิต/ ผู้ประกอบการสินค้า OTOP 1 ราย สามารถส่งผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ ได้เพียง 3 ผลิตภัณฑ์หลัก/ชุด) รวมทั้ง ประชาสมั พันธก์ ระบวนการ หลักเกณฑก์ ารคดั สรรฯ ผลการคัดสรรฯ และกิจกรรมอืน่ ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการคัด สรรฯ ขนั้ ตอนที่ 4 การเตรียมเจา้ หน้าที่ สถานท่ี และวสั ดอุ ปุ กรณ์ 4.1 จัดเตรียมเจ้าหน้าที่รับสมัคร เจ้าหน้าที่บันทึก/ประมวลผลข้อมูล เจ้าหน้าที่รายงานผลเจ้าหน้าท่ี ประชาสมั พนั ธ์ และอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม 4.2 จัดเตรยี มสถานทีร่ บั สมัคร สถานที่รบั ผลิตภณั ฑ์ และถา่ ยภาพผลิตภัณฑ์ท่สี ง่ เขา้ รับการคัดสรรฯ 47

4.3 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการคัดสรรฯ ให้ครบถ้วนเพียงพอ เช่น เอกสารใบสมัคร ทะเบียน ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ปี พ.ศ. 2557-2561 ทะเบียนรับ-ส่งผลิตภัณฑ์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ เครื่องถ่ายภาพดิจิตอล เครื่องเขียนแบบพมิ พ์ โต๊ะ เก้าอ้ี ฯลฯ ขนั้ ตอนท่ี 5 การรบั สมคั รผลิตภณั ฑเ์ ขา้ รบั การคดั สรรฯ 5.1 ดำเนินการรับสมคั รผลติ ภัณฑ์เขา้ คดั สรรฯ ตามวนั เวลา สถานที่ และหลกั เกณฑ์ทกี่ ำหนด 5.2 ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ที่ส่งผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ ว่ามีช่ือ อยู่ในทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้า OTOP ปี พ.ศ. 2557-2561 และมีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดหรือไม่ พร้อมกับตรวจสอบการจัดประเภทผลิตภัณฑ์ว่าถูกต้องตามประเภทผลิตภัณฑ์ที่กำหนดไว้ หรือไม่ 5.3 แนะนำให้ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินคา้ OTOP ที่ประสงค์จะสมคั รเข้ารับการคัดสรรฯ กรอกข้อมูล ในเอกสารใบสมัคร และจดั ทำเอกสารสำหรับการสมัครให้ครบถว้ น 5.4 บันทึกข้อมูลการรบั ผลติ ภัณฑเ์ ขา้ คัดสรรฯ ลงในโปรแกรมตามทกี่ ำหนด 5.5 ให้ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ ส่งผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ เพื่อให้เจ้าหน้าที่บันทึกภาพลงใน โปรแกรม จัดทำทะเบยี นรบั -สง่ ผลิตภัณฑ์ไว้เปน็ หลักฐาน จดั ทำรหัสผลิตภณั ฑแ์ ยกตามกลุม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ ตามรหัสประจำตวั ผผู้ ลิต/ผปู้ ระกอบการ OTOP ท่ีขึน้ ทะเบียนไว้ ขนั้ ตอนท่ี 6 การพิจารณา ตรวจสอบและกลนั่ กรองรบั สมคั รผลิตภณั ฑเ์ ข้าคดั สรรฯ 6.1 คณะทำงานพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ ทั้ง 5 ประเภท ผลิตภัณฑ์ ดำเนินการพิจารณา ตรวจสอบและกล่ันกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครเข้ารับการคัดสรรฯ และให้ค่า คะแนนในส่วน ก และส่วน ข ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด จากนั้นสรุปผลการพิจารณานำเสนอคณะกรรมการ ดำเนนิ การคัดสรรฯ ระดบั จังหวดั /กรุงเทพมหานคร 6.2 คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ติดตามการคัดสรรฯ และให้ ความเหน็ ชอบรับผลิตภณั ฑ์เขา้ รับการคดั สรรฯ ขนั้ ตอนท่ี 7 การบนั ทึก ประมวลผล รายงานผลการคดั สรรฯ และการจดั ส่งผลิตภณั ฑ์ 7.1 คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร บันทึกประมวลผลตาม โปรแกรมที่กำหนดพร้อมจัดทำงบหน้าและรายงาน ผลการรับสมัครผลิตภัณฑ์เข้ารับการคัดสรรฯให้ที่ประชุม หวั หนา้ ส่วนราชการของจงั หวดั /กรุงเทพมหานครทราบ 48

7.2 จังหวัด/กรุงเทพมหานคร จัดส่งข้อมูลการรับสมัครผลิตภัณฑ์เข้าคดั สรรฯ บัญชีผลิตภัณฑ์งบหนา้ บัญชีผลิตภณั ฑ์ (เปน็ เอกสารและแผน่ ดสิ เกต็ ) พร้อมตัวผลิตภณั ฑ์ท่ไี ด้รบั การรบั รองฯ ให้ กรมการพฒั นาชุมชน ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนด ระดับประเทศ ขัน้ ตอนท่ี 1 การแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนิ นการคัดสรรสุดยอดหนึ่ งตาบล หนึ่ ง ผลิตภณั ฑไ์ ทย ปี พ.ศ.2564 (OTOP Product Champion : OPC) ระดับประเทศ ให้ส่วนราชการที่ได้รับมอบหมายดังต่อไปนี้ รับผิดชอบดำเนินการสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการคัดสรรฯ ตามประเภทผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับมอบหมาย โดยคณะกรรมการแต่ละคณะมีองค์ประกอบ และจำนวนคณะกรรมการฯ ตามท่สี ่วนราชการเหน็ สมควร ดังนี้ 1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รบั ผิดชอบการคดั สรรฯ ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร 2) กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับผดิ ชอบการคดั สรรฯ ผลติ ภณั ฑ์ประเภทเคร่ืองด่มื 3) กระทรวงอุตสาหกรรม รับผดิ ชอบการคัดสรรฯ ผลติ ภัณฑ์ประเภทผ้า เครือ่ งแตง่ กาย 4) กระทรวงพาณิชย์ รับผิดชอบการคดั สรรฯ ผลิตภณั ฑป์ ระเภทของใช/้ ของตกแตง่ /ของท่ีระลกึ 5) กระทรวงสาธารณสุข รบั ผิดชอบการคัดสรรฯ ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทสมนุ ไพรทไี่ ม่ใช่อาหาร อำนาจหน้าท่ี 1) แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการคัดสรรฯ ระดับประเทศ ตามกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ มอบหมาย ตามจำนวนทเี่ หน็ สมควร 2) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยเหลือการดำเนินการคัดสรรฯ ระดับประเทศ ตามกลุ่มประเภท ผลิตภัณฑ์ทไี่ ดร้ ับมอบหมายได้ตามความเหมาะสม 3) จดั ทำประมาณการ งบประมาณ และแผนปฏบิ ัติการการคดั สรรฯ ระดบั ประเทศ ตามกลุ่มประเภท ผลติ ภัณฑท์ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย เสนอใหก้ รมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทยทราบ 4) ดำเนินการคดั สรรสุดยอดหนึง่ ตำบล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑไ์ ทย ระดบั ประเทศ ตามกลุม่ ประเภทผลติ ภัณฑ์ ท่ีได้รับมอบหมายตามแนวทางและหลกั เกณฑท์ ีก่ ำหนด 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook