พระครููพิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 99 กลุ่มเสี่ยงโดยตรง โดยมีวดั เป็นศูนย์กลางสร้างเครอื ขา่ ยบ้าน ผปู้ กครอง วัด พระสงฆ์ โรงเรียน ครู นักเรียน โดยมีเป้าหมายเพ่ือการทำความรู้จักกัน ร้จู ักพระภกิ ษทุ วี่ ดั ร้จู ักผู้ปกครองของนกั เรยี น ทำให้เกิดปฏสิ มั พันธ์ ภาพที่ 2 กจิ กรรมวถิ ที างศาสนาบรรพชาสามเณรประสานชมุ ชนกิจกรรมส่งเสริมวิถที างศาสนาเพอื่ ลดปจั จัย เสีย่ งในชุมชนคลองกระทิง จ.สมุทรสงคราม (ภาพคณะนกั วจิ ัย, 4 ธันวาคม 2563;พระมหากฤษฎา กิตติโสภ โณ และคณะ,2564) ระหว่างกันภายใต้กิจกรรมทางศาสนา ไหว้พระ สวดมนต์ ฟังเทศน์ กิจกรรม รู้จักกัน เล้ียงอาหาร การแจกทุนการศึกษา ทำให้นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของ สมาชิกวัดและศาสนาภายใต้แนวคดิ กล่อมเกลาทางสังคมให้เป็นสมาชิกของวัด และชมุ ชนภายใต้ “รู้จักกนั เป็นสว่ นหนึ่งของชมุ ชน และเปน็ หุ้นสว่ นของชุมชน -วสิ าสา ปารมา ญาต/ิ การรจู้ ักเสมือนเปน็ ญาติ” ทำให้เกิดปฏิสัมพันธท์ างบวก ตอ่ กนั เป็นต้น ดังนัน้ ภาพรวมของวถิ ีทางศาสนาในกิจกรรมที่เกิดข้ึน วดั อนิ ทา
100 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ราม จึงเปน็ ศูนยก์ ลางของกจิ กรรมชมุ ชนทีเ่ กิดขึ้น ภายใต้กรอบ รว่ มคดิ รว่ มทำ ร่วมขับเคลื่อนโดยเป็นกลไกสำคญั ประสาน สร้าง สง่ เสริมใหเ้ กดิ กิจกรรมโดยมี วถิ ีทางศาสนาเป็นหลักสำคญั ในการขับเคลอื่ น ดังปรากฏตามภาพ 1-4 ทน่ี ำมา ประกอบ (พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยูร),2560;พระเอกลักษณ์ อชิตโต,2563;พระปลัดระพนิ พุทธสิ าโร,2561)
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 101 ภาพที่ 3 กิจกรรมในวิถีทางศาสนาพิธบี วชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิกเหลา้ บุหรี่ ตลอดพรรษา รณรงค์ ลดปจั จัยเสีย่ ง เหลา้ บุหรี่ โดยคณะสงฆ์ ผู้นำภาครัฐ สถาบันการศกึ ษา ทีช่ ุมชนคลองกระทิง ต.เหมืองใหม่ จ.สมุทรสงคราม (ภาพคณะ นักวิจัย, 3 กรกฎาคม 2563;พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ และคณะ,2564) ภาพที่ 4 กิจกรรมเยาวชนเครือข่ายบรรพชาสามเณรประสานเครือข่ายโรงเรยี นเสด็จ สุทธวิ ทิ ยานสุ รณ์ และโรงเรยี นถาวรวทิ ยา และนำสามเณร นักเรยี น เยาวชน เครอื ข่ายวดั โรงเรียน สง่ เสริมวิถที างศาสนาเพ่ือลดปัจจยั เสีย่ งในชุมชนคลองกระทงิ จ.สมทุ รสงคราม (ภาพคณะนักวิจยั , 4 ธนั วาคม 2563) การพัฒนาเครอื ขา่ ยเยาวชนการจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งเครอื ข่ายลด ปจั จัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมทุ รสงคราม แน วท าง ใน ก าร พั ฒ น าเค รือ ข่าย ท่ี เกิ ด ขึ้น เกิ ด ข้ึ น ภ าย ใต้ กา ร ปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างกัน โดยมีเยาวชนเป็นแกนกลาง หรือเป็น เครือข่ายในการบริหารจัดการทำให้เกิดกลไกร่วมกันระหว่างการปฏิบัติ และการไมป่ ฏบิ ตั ิ ซ่ึงสามารถจำแนกในแต่ละส่วน จนกลายเปน็ ปฏสิ ัมพนั ธ์ ทำใหเ้ กดิ การสรา้ งกลไกรว่ มระหวา่ งงานกัน
102 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน 1.เครือข่ายเยาวชน หมายถึง เยาวชนท่ีเข้ารับการอบรม ผ่าน การบรรพชสามเณร การจดั อบรมสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรยี น ระหว่าง 17-18 มิถุนายน 2564 ทำให้นักเรียนได้รู้จักกัน ซึ่งส่วนใหญเ่ ปน็ นกั เรียน ในชุมชน ทำให้รู้จกั กันแม้จะอยู่กนั คนละโรงเรยี น ได้เหน็ กัน เป็นเพ่ือนกัน โดยมีวัด ครู พระ เป็นฐานเชื่อมทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา การอบรม การบวช การเข้าค่ายคุณธรรม และกิจกรรม จติ อาสาภายในวัด ทำให้นักเรียนรูจ้ ักกัน และทำกิจกรรมเกี่ยวกับงด ลด สิ่งเสพติด เหล้า บุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน แนวคิดในเร่ืองรู้จัก จึงเป็น เครือข่ายแบบหลวม ๆ เมื่อมาทำกิจกรรมจึงสามารถเปน็ การสร้างความรู้ ความเข้าใจและเยาวชนนักเรียนจะกลายเป็นเครือข่ายจัดตั้งให้ช่วยกัน กำกบั ตดิ ตาม สอดส่อง แจ้งเบาะแส ให้ข้อมูลได้ นักเรยี นเยาวชนจึงเป็น เครือข่ายในหน้างาน หรือเชงิ พน้ื ท่ีจากปจั จยั เสย่ี งทจ่ี ะเกดิ ขึ้น เม่อื นกั เรียน ตรวจตรา สอดส่องกันเองแล้ว จึงทำให้เครือข่ายเกิดข้ึนและเข้มแข็งใน ตวั เองรว่ มกัน 2.เครือขา่ ยระหว่างหน่วยงานรฐั (โรงเรียน/โรงพยาบาล/สถานี ตำรวจ) หมายถึง การสร้างเครือข่ายเชิงปฏิบัติในส่วนของความรู้ ความ เข้าใจ และเป็นภาคีร่วมปฏิบัติให้เกิดข้ึนร่วมกัน โดยในส่วนน้ีจะมี โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล และสถานีตำรวจ โรงเรยี น โดย 3 ส่วน นี้อาจมีเง่ือนไขว่าไม่ได้ติดอยู่กับชุมชนตลอดด้วยสภาพของเงื่อนเวลาใน การปฏิบัตงิ าน ภมู ลิ ำเนาของบคุ ลากรอาจอย่นู อกพ้นื ท่ีเม่อื ไมไ่ ด้ปฏิบัตงิ าน จึงเป็นข้อจำกัด แต่ท่ีสำคัญส่วนน้ีถือว่าเป็นองค์กรรัฐที่จัดตั้งและใกล้ชิด
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 103 โดยในชั้นแรกโรงเรียนจะเป็นห น่วยจัดต้ังท่ีมีนักเรีย นและเยาวชนเป็ น สาเหตขุ องปัจจัยเสย่ี ง การส่งเสริมให้ครูได้จัดการศึกษา จดั กิจกรรมทีเ่ น่ือง ด้วยการลดปัจจัยเส่ียง โดยร่วมกับหน่วยอ่ืน ๆ ทั้งวัด สถานีตำรวจ โรงพยาบาล และชุมชน ทำใหน้ ักเรียนเยาวชน เห็นโทษของภัยบุหรี่ เหล้า ยาเสพติด การพนัน และสิ่งที่เป็นอบายมุข โดยชี้ให้เห็นโทษด้วยการให้ ความรู้ ช้ีให้เห็นโทษต่อสุขภาพ โทษทางกฎหมาย และโทษทางศีลธรรม ความดีร่วมกัน เครือข่ายเหลา่ นจ้ี ึงเป็นเครอื ขา่ ยทท่ี ำให้เกดิ ความตระหนัก เห็นโทษ พิษภัย และการสร้างความตระหนักรู้ต่อปัจจัยเสี่ยง จนกระท่ัง ปฏบิ ัตจิ นกลายเป็นความไมเ่ สยี่ งไปในท่ีสดุ ภาพท่ี 5 กิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “ยวุ ชนรกั ษ์ถิน่ พิทกั ษ์ คลองกระทิง” ณ วดั อินทาราม ระหว่าง 17-18 มถิ ุนายน 2564 (ภาพ คณะนักวจิ ัย 17-18 มถิ ุนายน 2564) 3. เครือข่ายชุมชน วัด พระสงฆ์และผู้ปกครอง หมายถึง สอง ส่วนน้ี รวมท้ังวัด พระสงฆ์ ทำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางประสานโดยใช้ระบบ รูจ้ ัก เครือญาติ ในการกำกับจรยิ ธรรมการประพฤตปิ ฏิบัติเฝา้ ระวงั และลด
104 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ปจั จยั เส่ียง ร่วมกับผู้นำชุมชน ชุมชน ชาวบ้าน เพราะชุมชนส่วนใหญ่เป็น ชาวพุทธมีวัดพระสงฆเ์ ป็นเครอื ข่ายระดับใกล้ ทเี่ ข้าหาได้ ให้ข้อมูลได้ และ ประสานรว่ มกนั ได้ตลอดเวลา เครือขา่ ยสว่ นน้จี งึ เป็นเครอื ข่ายท่ีอยใู่ นระดบั ปฏิบัติการท่ีอยู่กับพ้ืนที่ตลอด เหมือนอยู่หน้างานในพื้นท่ีตลอดเวลา เพราะมีคุณสมบัติเป็นสมาชิกในชุมชน ไม่ใช่คนนอกชุมชน เป็นสมาชิก ภายในทำให้เช่ือมเป็นเครือข่ายให้ข้อมูล ปรึกษาและกำกับในเรื่องปัจจัย เสีย่ งจากส่ิงเสพติด เหลา้ บุหรไ่ี ดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง ภาพที่ 6 กจิ กรรมการจดั อบรมสร้างเครอื ขา่ ยของวดั อินทาราม ตอ่ กลมุ่ เยาวชนจากโรงเรียนทง้ั 3 แห่ง ภายใตก้ จิ กรรมสรา้ งแรงใจเขม้ แขง็ มุง่ มนั่ สู่ลดปัจจยั เสีย่ ง (ภาพคณะนักวิจัย 17-18 มิถนุ ายน 2564) 4. การประสานพัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงแบบองค์รวม หมายถึง แนวคิดในเรื่อง “บวร/บวช-บา้ น-ชมุ ชน-วัด-โรงเรียน-หน่วยงาน รฐั ” เครอื ข่ายในองคร์ วมครบทุกองค์ประกอบ จึงเกดิ ขึ้นภายใต้ การเชื่อม ประสานระหว่างกนั โดยให้มองภยั คกุ คามในเรอ่ื งสงิ่ เสพตดิ นานาชนิด เหล้า
พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 105 บหุ รี่ การพนัน หรือเกมส์ ท่ีเป็นปัญหาสำหรับนักเรียนและเยาวชน สร้าง ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั ต่อพิษภัย รวมท้ังให้ทุกคนเป็นภาคีเฝ้า ระวังร่วมกนั เมอ่ื เครอื ขา่ ยเกดิ ขนึ้ ระหว่างเยาวชนดว้ ยกันเอง เครอื ข่ายใน ภาพใหญ่พึงขยับดำเนินการร่วมไปพร้อม ๆ กัน ไปจนถึงเครือข่ายเชิง สังคมที่ประกอบด้วยผู้ปกครอง พ่อแม่ ครู พระสงฆ์ และเครือข่ายเชิง หน้าท่ีอันประกอบด้วยสถานศึกษา ทำหน้าที่กล่อมเกลาอบรม สถาบัน ศาสนาทำหน้าทใ่ี นการกระต้นุ สง่ เสริม มสี ถานพยาบาลใหค้ วามรตู้ อ่ พษิ ภัย ผู้บังคับใช้กฎหมายทำหน้าที่ให้ความรู้ต่อความผิดตามกระบวนการทาง กฎหมาย สอดส่องตรวจตรา เป็นภาคีร่วมในแบบเครือข่ายในการ เสริมสร้างการลดปัจจัยเส่ียงในกลุ่มเยาวชนและชุมชนในภาพกวา้ ง โดยมี เป้าหมายเป็น “พลังบวร/บวช” บ้าน วัด ชุมชน โรงเรียน นักเรียน ครู พระสงฆ์ หน่วยงานภาคราชการ ท่ีสร้างความตระหนัก เข้าใจ ใช้ปัญญา แก้ปัญหาตามสภาพความเป็นจริง ซ่ึงท้ังหมดเกดิ ขึ้นในชุมชนคลองกระทิง อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (นายญาวัชร์ วรรณสกุล,2563) องค์ความรู้ การสร้างเครือข่ายโดยมีนักเรียนเป็นแกนนำหลักในการสร้าง ปฏิสัมพันธร์ ่วมกัน โดยมีวดั พระสงฆ์ ชุมชน ผู้ปกครอง เป็นผู้ท่ีนำชุมชน ให้เกดิ การสอดส่อง คอยกำกับ และมภี าคีร่วมระหว่างชุมชนเป็นโรงเรียน สถานพยาบาล และสถานีตำรวจ ซึ่งเป็นส่วนกำกับในเชิงศีลธรรมภายใน ชมุ ชนให้เกดิ การปฏิบตั ริ ว่ มกนั ดังแผนภาพท่ีนำเสนอได้ คือ
106 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ภาพที่ 7 เครือขา่ ยสามประสานจากภาคีเกย่ี วข้อง “บวร/ บวช” ลดปัจจยั เส่ียงในชุมชนคลองกระทงิ โดยมเี ยาวชนเป็นแกนนำสำคัญ จากภาพท่ี 7-8 เครือข่ายท้ังหมดเป็นกลไกรว่ มกัน ทำหน้าทีผ่ ่าน การฝึกอบรม เช่ือมประสานกันและกัน ดังภาพท่ี 1-6 ที่เน้นชุมชน ผู้ปกครอง เยาวชน นักเรียน และวัด เป็นกิจกรรมที่ทำให้รู้จักกัน เช่ือม ประสานกัน ระหว่าง บ้าน โรงเรียน วัด ชุมชน หน่วยงานราชการ โดยมี เป้าหมายเพอ่ื สรา้ งความตระหนัก เฝ้าระมัดระวงั สอดส่อง เป็นเครือข่าย ของกันและกันภายใตก้ รอบระมัดระวงั ป้องปราม ป้องกัน และห้ามปราม การลดปจั จัยเสี่ยงจากยาเสพตดิ เหล้า บหุ ร่ี การพนัน อบายมุขอ่ืน ๆ ดว้ ย ทั้งหมดจึงเป็นกลไกเครือข่ายขับเคลอ่ื นรว่ มกัน ดังภาพที่ 8
พระครูพู ิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 107 วัด พระ โรงเรยี น ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ทำหน้าท่ีเปน็ ศนู ยใ์ น การกำกบั จรยิ ธรรมการประพฤติปฏบิ ตั ิลดปจั จัยเสี่ยงตอ่ เยาวชน นกั เรยี น โดยมภี าคเี ครือข่ายร่วมดำเนินการ การพฒั นาเครอื ขา่ ยเยาวชนการจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งเครอื ข่ายลด ปัจจยั เสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวดั สมุทรสงคราม เยาวชน - รบั การอบรม เครอื ขา่ ย เครือข่าย เครือข่ายระหวา่ ง รัฐ - ให้ความรู้ กลอ่ มเกลา รู้ คุณโทษ ชมุ ชน ชุมชน หนว่ ยงานรัฐ สอดส่อง ตรวจตรา ตรวจสอบ ดูแล ตาม เปน็ หู เป็นตา ร่วมกบั นกั เรียน/ วัด พระสงฆ์ (โรงเรยี น/ หน้าท่ี กฎหมาย ครู โรงเรียน ผู้ปกครอง เยาวชน โรงพยาบาล/ พระ วัด ฯ สถานีตำรวจ) การประสานพัฒนาเครือข่ายลดปจั จัยเสี่ยง ประสานเช่อื มโยงเปน็ เครือข่ายแบบหลวมในการทำหนา้ ทขี่ ับเคลอ่ื นลดปจั จยั เสี่ยงท่เี กิดขึ้น ภายใตบ้ ้าน วัด โรงเรียน นักเรยี น เยาวชน ครู พระ หนว่ ยงานรฐั ตำรวจ พยาบาล รปู ภาพท่ี 8 กลไกการขับเคล่ือนการพฒั นาเครอื ขา่ ยเยาวชนจัดกิจกรรม เสรมิ สร้างเครอื ข่ายลดปจั จยั เสีย่ งตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัด สมทุ รสงคราม บทสรุป การพัฒนาภายใต้กรอบพลังบวร ท่ีมีเครือข่ายเป็นโรงเรียน บ้าน วดั ชุมชน (บวช) หรือเป็นบ้าน วัด โรงเรียน และหน่วยงานของรัฐ (บวร) ท่ีทำให้เกิดกลไกความร่วมมือระหว่างกัน และเป็นกลไกขับเคล่ือนการ
108 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ประสานความร่วมมือระหวา่ งกันภายใต้ความเปน็ ไปได้ และก่อให้เกิดการ ขับเคล่อื นเชงิ ปฏิบตั ิ (1) ตระหนกั เหน็ ความสำคญั ของสิ่งเสพติด เหล้าบุหร่ี และอบายมขุ ชนิดตา่ ง ๆ และคิดว่าเป็นปัจจัยเส่ียงสำหรบั สมาชกิ ในชุมชน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และเยาวชนในฐานะท่เี ป็นเพือ่ นกัน ระหวา่ งโรงเรยี น ๓ แห่ง ที่ร่วมกิจกรรม ในฐานะเป็นเยาวชนในชุมชน ก็ทำหน้าท่ีในการ สอดส่องแก่กันและกัน และนำสิ่งท่ีเหน็ ผดิ ปกติ เช่น พฤติกรรมเปล่ียน ไม่ เข้าร่วมกิจกรรม มีความเส่ียงคบเพื่อนไม่ดี ก็บอกให้ผู้ปกครอง ครู หรือ บุคคลใกล้ชดิ เพ่ือใหก้ ับ สอดส่องอีกช้ันหนงึ่ เป็นต้น (2) นกั เรียนเยาวชน ใหค้ วามรว่ มมอื ร่วมกนั สอดส่อง เปน็ หูเปน็ ตา ร่วมมอื กับผู้ใหญ่ในทุกภาค ส่วนท้ังวัด โรงเรียน และครู โรงเรียน และส่วนงานท่ีเกี่ยวข้อง (3) เครือข่ายเชิงสังคมอันประกอบด้วยชมุ ชน ที่ประกอบด้วยสมาชกิ ในแต่ละ ครอบครัว วดั วัดที่ทำหน้าท่ีรณรงค์ผ่านกิจกรรมทางศาสนาและใช้กลไก ทางศาสนาเป็นสาระสำคญั ในการขับเคลื่อนเพือ่ ไม่ป้องกัน ปอ้ งปราม และ กระตุ้นไม่เกิดการปฏิบัติท่ีผิดพลาด โรงเรียนคอยกำกับติดตามเชิงบุคคล โรงพยาบาลให้ความรู้ต่อโทษภัยของส่ิงเสพติด เหล้าบุหร่ี ผ่านการ ประชาสัมพันธ์ ใหค้ วามรู้ จดั อบรมในโรงเรียน วัด แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ตำรวจทำหน้าท่ีในการอบรม ให้ความรู้ผ่านนักเรียน โรงเรียน หรอื กิจกรรมอนั จะพงึ เกิดขึ้นแกว่ ดั เปน็ ตน้ ภาพลักษณ์เหลา่ นจ้ี งึ กลายเป็น การประสานความร่วมมือหรือเครือข่ายร่วมกัน โดยมีเป้าหมายเป็นการ ขับเคล่อื นให้เยาวชนเป็นพลังชว่ ยเหลือตนเอง ช่วยเหลือกนั และกัน และ ช่วยเหลอื สังคมผ่านการสอดส่องแก่กันและกันจนกลายเป็นความเข้มแข็ง
พระครููพิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 109 ภายในชุมชนในรูปแบบเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง “ยุวชนรักษ์ถิ่น พทิ ักษ์คลองกระทิง” ที่ จ.สมุทรสงคราม เอกสารอ้างอิง นายญาวชั ร์ วรรณสกลุ (2519). ผ้ใู หญบ่ า้ นหมู่ที่ 1 ต.เมอื งใหม่ (29 พฤษภาคม 2563), สมั ภาษณ์. ธนัชชา รอดกันภัย,เสน่ห์ บุญกำเนิด. (2560). การสร้างภมู คิ มุ้ กันทางสงั คม ของเยาวชนกลุม่ เสย่ี ง : กรณีศึกษา นักศกึ ษา กศน. ตำบลควน ทอง อำเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช. วารสารนาคบตุ ร ป ริ ท ร ร ศ น์ . 9 (2),132-140. https://so0 4 . tci- thaijo.org/index.php/nakboot/article/view/105869/83954 พระครพู ศิ ิษฏ์ประชานาถ (นนทฺ ิโย ประยูร). (2560). บทบาทการพฒั นา ชมุ ชนของวัดอินทาราม อำเภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม. วารสาร มจร สังคมศาสตรป์ รทิ รรศน์. 6 (2) (ฉบับพเิ ศษ),439-455. พระครูพิศษิ ฏป์ ระชานาถ (นนฺทิโย ประยรู ). วัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม (29 พฤษภาคม 2563), สมั ภาษณ์. พระเอกลกั ษณ์ อชิตโต. วดั อนิ ทาราม จ.สมุทรสงคราม (29 พฤษภาคม 2563), สัมภาษณ์. พระปลัดระพนิ พทุ ธิสาโร. (2561). บทบาทพระสงฆ์กบั การพัฒนาชุมชน ต้นแบบวิถีพทุ ธ : กรณศี กึ ษาหลวงพอ่ แดง วดั อินทาราม จ.สมุทรสงคราม. งานประชุมวิชาการการพัฒนาชุมชนทอ้ งถิ่นและ สงั คม (CSD สมั พนั ธ์) ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 17 และนานาชาติ คร้งั ที่
110 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน 1 “คณุ ธรรมจรยิ ธรรมกับการพฒั นาที่ยง่ั ยืน”. ระหวา่ งวนั ท่ี 28- 31 มกราคม 2561 ณ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ต.ลำไทร อ.วังนอ้ ย จ.พระนครศรีอยธุ ยา. พระสวุ จิ กั ขณ์ กุลยศชยังกูร. (2560). การบรู ณาการบทบาทของพระสงฆ์ ร่วมกบั เครือข่ายสงั คมในการเฝา้ ระวังทางวัฒนธรรมของชมุ ชน ภาคอสี าน. วารสาร มจร สงั คมศาสตรป์ รทิ รรศน.์ 6 (2) ฉบบั พิเศษ เล่มท่ี 5,1-14. พระมหากฤษฎา กติ ติโสภโณ และคณะ. (2564). ยวุ ชนคุณธรรม : แนวทางลดปจั จยั เสีย่ งตามแนวพระพุทธศาสนาของชมุ ชนคลอง กระทงิ อำเภออัมพวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม.การประชมุ วชิ าการ ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 3 พ.ศ. 2564 (เล่ม 2) คณะศาสนาเเละปรชั ญา มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั . หนา้ ท่ี 737-749. สืบคน้ เม่ือ 30 กนั ยายน 2564 จาก https://bit.ly/3hhVo6P พระมหากฤษฎา กติ ติโสภโณ และคณะ. (2564). ถอดบทเรยี นจากพน้ื ที่ วจิ ัย : บวชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิกเหลา้ บรุ ี่ ตลอดพรรษา รณรงคล์ ดปจั จัยเสีย่ งดา้ นสขุ ภาวะ ชุมชนบ้านคลองกระทิง จังหวัดสมทุ รสงคราม.การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 3 พ.ศ. 2564 (เลม่ 2) คณะศาสนาเเละปรชั ญา มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. หน้าที่ 853-865. สบื คน้ เมื่อ 30 กันยายน 2564 จาก https://bit.ly/3yZVfLk ภิรมย์ศักดิ์ กจิ พัฒนาสมบตั ิ และคณะ. (2561). ยุทธศาสตร์การสร้าง
พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 111 ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาสิ่งเสพติดอย่าง ย่งั ยนื ในเยาวชนของ กรงุ เทพมหานคร. วารสารสถาบันวิจัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. 5 (1),131-142. มณีวรรณ เกตบุ ุญลอื พชร สนั ทัด. (2563). การจดั การเครอื ขา่ ยความ ปลอดภัยในการปอ้ งกันปัญหายาเสพตดิ ในชุมชนด้วยกองทุนแม่ ของแผน่ ดิน อำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม. วารสารคุณภาพ ชวี ติ กับกฎหมาย. 16 (1),116-133 สภุ ทั รชัย สสี ะใบ และคณะ. (2564). ถอดบทเรียนจากพื้นทวี่ ิจยั : การ เสรมิ สรา้ งเครือขา่ ยทางสงั คมเพ่อื ลดปัจจัยเส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนาในชมุ ชนคลองกระทงิ จงั หวดั สมทุ รสงคราม.การ ประชมุ วิชาการ ระดบั ชาติ คร้ังท่ี 3 พ.ศ. 2564 (เล่ม 2) คณะ ศาสนาเเละปรัชญา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย. หน้าท่ี 764-779. สืบค้นเม่อื 30 กนั ยายน 2564 จาก https://philo.mbu.ac.th/25640529-02/ สายสุดา สขุ แสง และคณะ. (2560). รูปแบบการเฝา้ ระวังในการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ โดยภาคประชาชน กรณีศึกษา ต.สาคร อ.ทา่ แพ จ.สตลู และ ต.ควนรู อ.รตั ภมู ิ จ.สงขลา. วารสาร เครือข่ายวทิ ยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 4 (พิเศษ), S230-242 อรรณพ กาวิกุล. (2557). การพฒั นารูปแบบและกระบวนการถ่ายทอด ความรูเ้ พ่ือป้องกนั ยาเสพติด สำหรับเยาวชนของตำรวจชมุ ชน มวลชนสมั พนั ธใ์ นพืน้ ท่ีตำรวจภูธรภาค 5. วารสารสงั คมศาสตร์
112 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน วชิ าการ สำนกั วิชาสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 7(2),1-12. เอกรตั น์ มหามนตรี. (2561). ความสำเร็จของชุมชนในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเยาวชนท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงต่อการติดยาเสพติดใน จังหวัดอ่างทอง. มหาจุฬานาครทรรศน์. 5 (2),435-451.
พระครููพิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 113 พลงั บวรพิทกั ษค์ ลองกระทิง : การเสริมสรา้ งเครือขา่ ยทางสังคมเพ่ือลด ปจั จยั เสี่ยง ตามแนวพระพทุ ธศาสนา จังหวัดสมทุ รสงคราม* “Bavorn” Power for Klongkrathing Canal Protection: The Social Network Promotion for Reducing Risk Factors According to Buddhism in Samut Songkram Province ------------------------------------------- พระปลัดระพนิ พทุ ธฺ สิ าโร, พระมหากฤษฎา กติ ฺติโสภโณ Prahalad Raphine Buddhisaro, Phramaha Krisada Kittisobhano มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั Mahachulalongkornrajavidhayalaya University E-mail: [email protected] บทความวิจยั นี้มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อพฒั นาเครอื ขา่ ยชมุ ชน เครือข่าย สามเณร และเครือข่ายเยาวชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายลด ปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงครามเป็นการวิจัย แบบผสมผสานเนน้ การวิจยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research) โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลท้ังใน เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบวา่ ในการพฒั นาเครือข่ายชุมชน มกี ารใช้วดั และ พระสงฆ์ ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เป็นเครือข่ายร่วมโดยมีกิจกรรม *ตีพิมพ์ในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 1 มกราคม- กุมภาพนั ธ์ 2565,หนา้ 227-240.
114 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน อธิษฐานจิต บวชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิกเหล้า บุหรี่ ตลอดพรรษา เท เหล้า เผาบหุ รี่ “เลกิ ด่มื เลกิ สูบ ลดเส่ียง” การพัฒนาเครือข่ายผลท่ีปรากฏ คือ (1) มีการใช้วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชา-วัน เข้าพรรษา” มาเปน็ กลไกขับเคล่ือน หมายของการเรม่ิ ต้น ตลอด 3 เดือน ระหว่างพรรษา ตั้งใจทำส่ิงดียืนยันเจตนารมณ์ ที่มีประโยชน์เพื่อสุขภาพ ตวั เองและคนรอบขา้ ง (2) ใช้ความสำคัญของวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน ใน การทำกิจกรรม (3) ใช้กระบวนการของเครือข่ายเป็นแนวทางหรอื วิธีการ ในการขับเคลอื่ นให้เกิดการยอมรับและนำไปส่กู ารปฏิบัติตามในองค์รวม เกิดขึ้นเป็นภาพแบบอย่างเป็นเครือขา่ ยภาพรวมและทำให้เกิดพลังในการ สร้างสรรค์ (4) แผนภาพที่สื่อสารสาธารณะ ผ่านการประชาสัมพันธ์ รณรงค์ส่งเสริมจะทำใหเกิดภาพของการตระหนัก สร้างความสำนึก ตระหนักนกึ ให้เกิดการปฏิบตั ิตาม หรือไม่ปฏิบัติตามเมื่อเหน็ โทษ หรือพิษ ภยั ปฏิบตั ติ ามในสง่ิ ท่ีเปน็ คุณประโยชน์ คำสำคัญ: เครือข่ายชุมชน: เครือข่ายสามเณร: เครือข่ายเยาวชน: ปัจจัย เสยี่ ง; พระพุทธศาสนา Abstract Objectives of the research article were to develop community networks, novice network and youth network to organize network promoting activities to reduce risk factors according to Buddhism in Samut Songkram Province. Using
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 115 mixed methods, focusing on Participatory Action Research, PAR. Collecting and analyzing data by both quantitative and qualitative methods. Findings of the study were found that: The results of community network development was found that monasteries, monks, communities, government agencies jointly organized as network to perform activities of mind undertaking, spiritual ordination as perfection of strong determination to reduce, discard and quit drinking alcoholic drinks, quit smoking, all through Buddhist Lent with spiritual prayer activities. ordained, pray, prestige quit drinking and smoking throughout the Buddhist Lent with liquor pouring, cigarette burning with slogan “quit liquor, stop cigarette, reduce risk”. Network development. The results of net work development were as follows: 1 ) Important Buddhist days \"Asarnha Bucha Day - Buddhist Lent Day\" were used as a driving mechanism to initiate the beginning day to pledge that the 3 months during the Buddhist Lent intending to do good things, affirming the intention that were useful for the health of oneself and those around him, 2) using the importance of the monasteries as the centers of the community for
116 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน organizing the activities, 3 ) use the network process as guideline or method to drive for acceptance and lead to holistic compliance, forming a model as a whole network and generating creative power, 4) public communication through public relations to promote campaigns create a picture of awareness and alertness to follow or not to follow what was not useful but follow what was useful. Keywords: community networks; novice network; youth network; reduce risk factors; Buddhism บทนำ สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเก่ียวกับเหล้า บุหรี่ เม่ือต้องจำเพาะไปที่ จงั หวดั สมทุ รสงคราม พบวา่ ประชากรจงั หวัดสมุทรสงครามท่ีมีอายุ 15 ปี ข้ึนไปที่สบู บุหรี่ ร้อยละ 17.29 ซึ่งลดลงจากเดมิ เมอื่ เทียบกบั ปี พ.ศ. 2554 ท่พี บอัตราการสบู บุหร่ีของประชากร รอ้ ยละ 18.32 (ศูนย์วิจยั และจัดการ ความรู้เพื่อควบคุมยาสูบ , ๒๕๖๑) จากอัตราท่ีลดลง มีการเข้าไป ดำเนินการและพยายามเพือ่ ลดปัจจัยเสี่ยงจากเหลา้ บหุ รี่ โดยสว่ นหนึ่งเป็น ผลมาจากการลงพ้ืนที่อย่างจริงจังของสาธารณสุขจังหวดั ร่วมกบั เครอื ขา่ ย อสม. ในการรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักรู้ถึงพิษภัยของบุหร่ีและเหล้า อย่างจริงจัง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ อาทิเช่น กระบวนการสร้าง ความเชือ่ มั่น เปน็ ตน้ ซ่ึงกระบวนการในชว่ งแรกเนน้ ไปทก่ี ารลงพน้ื ทจี่ ดั เวที
พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 117 สร้างความเข้าใจให้กับคนในชุมชน เพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายของการทำ โครงการ แต่ด้วยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุทำให้การลงไปชวนคุยเร่ือง เหล้า บุหรี่โดยตรงไม่ประสบความสำเร็จ ดังน้ันจึงมีการนำเครื่องมือ ประวตั ศิ าสตร์ของชมุ ชนเขา้ มาใชใ้ นการสรา้ งความสัมพันธ์ ซงึ่ “การพูดคยุ ในเร่ืองความสุขของอดีต ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดี ของคนในปัจจุบัน” ทำให้กระบวนการในการพูดคยุ มบี รรยากาศท่เี ปน็ มิตรและพร้อมพูดคยุ ใน ทุกเรื่อง เป็นการจัดเวทีท่ีเน้นกระบวนมีส่วนร่วมไม่ใช่การลงไปสัมภาษณ์ เพอ่ื มุง่ หวังข้อมลู แต่เปน็ เวทีพดู คยุ ท่เี นน้ ความสขุ และเปดิ พ้นื ที่ใหท้ ุกคนได้ เล่า และแสดงความคิดเห็นของตนเอง เมื่อทำบ่อยๆเข้าจึงกลายเป็น ความคุ้นเคย เมื่อเปล่ียนจากเวทีประวัติศาสตร์เป็นการเก็บข้อมูล สถานการณ์เร่อื งบุหรี่ เหล้า ก็ไม่ใช่ปัญหา เม่ือทุกคนพร้อมที่จะเล่าอย่าง เปิดใจ ในส่วนสถานการณ์พน้ื ฐานในหมู่บา้ นคลองกระทิง ซ่ึงเป็นหมู่บ้าน ขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ประกอบดว้ ย 85 ครวั เรอื น มีประชากรทั้งส้ิน 325 คน ประชาชนสว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดต้ัง กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ ยามว่างชาวบ้านมักรวมกลุ่มกันเป็นจิตอาสา พัฒนาสังคม ตามโครงการลงแขกลงคลอง มีการจัดต้ังชุดรักษาความ ปลอดภยั ของหมู่บา้ น กลุ่มอาสาสมคั รสาธารณสุข (อสม.) และกลุ่มพัฒนา เด็กและเยาวชน สำหรับสถานการณด์ ้านบุหร่ีและเหล้าพบวา่ ประชาชนท่ี ติดบุหรี่ 13 คน เป็นนักสูบหน้าใหม่ 2 คน ประชาชนท่ีติดเหล้า 15 คน
118 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน เปน็ นกั ดื่มหนา้ ใหม่ 3 คน จากข้อเท็จจรงิ ท่ีปรากฏ ประกอบกับชุมชนเป็น ชุมชนท่ีอย่ดู ้วยวิถที างเศรษฐกจิ ชุมชน มวี ัด พระสงฆ์ และพระพทุ ธศาสนา เป็นฐานของชุมชน มีสถาบันการศึกษา โรงเรียนเป็นหน่วยร่วมในการ พฒั นาการเรยี นรู้ ดงั นน้ั ในการวิจัยนจ้ี ึงมีแนวคิดในเรื่องการ “บวร/บวช : บ้าน-วัด-โรงเรียน-ชุมชน” 4 ประสาน มาเป็นฐานสร้างกลไกลดความ เส่ยี งจากการสิ่งเสพตดิ ทั้งเหล้าบหุ รใี่ นชุมชนหมูบ่ ้านกระทิง ด้วยตระหนัก ว่า วัด พ ระสงฆ์ ชาวพุทธ พุ ทธศาสนาเป็นหน่วยทางสังคม ซ่ึง ประกอบด้วยคน มีระเบียบแบบแผนการปฏิบัติ ที่มีการจัดตั้งเป็น กจิ จะลักษณะและเป็นทางการ ท่ีประกอบด้วย นักบวช คฤหัสถ์ คณะสงฆ์ วดั และกล่มุ บุคคลทีร่ วมตัวกันเพอื่ ดำเนินการทางพุทธศาสนารูปแบบตา่ งๆ ท้ังเป็น “สถาบัน” ท่ีมี กฎกติกา มีจุดมุ่งหมาย และมีความชอบธรรมใน การดำรงอยู่และการทำกิจกรรม ตามบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ เกี่ยวกับพุทธศาสนา หรืออาศัยหลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาเป็นแนวทาง ในการขับเคล่ือนไปสู่เป้าหมายของตน นอกจากน้ียังปรากฏงานวิจัยท่ี สะท้อนถงึ บทบาทของพระสงฆ์ วดั และพระพุทธศาสนาตอ่ ชุมชน ทเ่ี ข้าไป มบี ทบาทพัฒนาชมุ ชน ดงั ปรากฏในงานวจิ ัย เช่น พระบทบาทพระสงฆก์ ับ การพัฒนาชุมชนต้นแบบวิถีพุทธ : กรณีศึกษาหลวงพ่อแดง วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม (พระปลัดระพิน พุทธิสาโร, 2561) บทบาทการ พัฒนาชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (พระ ครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยูร), 2560) ท้ังมีการเข้าไปรณรงค์ ส่งเสริมการลดเหล้า บุหร่ี และส่ิงเสพติดอื่น ๆ ผ่านแนวคิดเรื่องศีลใน
พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 119 พระพุทธศาสนา ดังปรากฏโครงการหมู่บ้านศีล 5 กับงานวิจัยท่ีให้ผล การศึกษา เรอื่ ง “แนวคิด ตัวช้ีวัด องคป์ ระกอบ บทเรยี น และบูรณาการ ตามโครงการหม่บู ้านรกั ษาศีล 5” (พระมหายุทธนา นรเชฏโฐ (ศิริวรรณ) และจุฑารัตน์ ทองอินจันทร์, 2561) วิเคราะห์กิจกรรมเชิงพุทธตาม โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 กับการหนุนเนื่องคุณค่านิยม 12 ประการ (สมคดิ พุ่มทุเรียนและคณะ, 2562) รูปแบบการขบั เคลอ่ื นนโยบายหมบู่ ้าน รักษาศีล 5 ให้ประสบความสำเร็จ (วณิฎา ศิริวรสกุลและวัชรินทร์ อินท พรหม, 2561) รวมทั้งการใช้บทบาทนำของพระสงฆ์ เป็นปัจจัยสำคัญใน การรณรงคส์ ่งเสรมิ ดงั ปรากฏในงานวจิ ัย เช่น การมสี ่วนร่วมของพระสงฆ์ ในการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะและเครือข่ายทางสงั คม เพอ่ื ลดเหลา้ บหุ ร่ีเชงิ พทุ ธ บูรณาการในจังหวัดนนทบุรี (พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร)และ คณะพระมหานิกร ฐานตุ ฺตโร, 2562) กระบวนการปรับเปลย่ี นพฤติกรรม การสูบบุหร่ีของพระสงฆ์ส่กู ารเป็นต้นแบบปลอดบหุ ร่ี จังหวดั เลย (พระครู ปริยัตสิ าทร, 2562) รูปแบบการมสี ่วนรว่ มของพระสงฆ์ในการแกไ้ ขปญั หา การติดยาเสพติด ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 2 (พระครูพินิตปริยัติกิจ (สมบัติ วรธมฺโม) และคณ ะ, 2561) ซ่ึงจากข้อมูลวิจัยจะพบ ว่า พระพุทธศาสนา คำสอนทางพระพุทธศาสนา วัด และพระสงฆ์ ยังคงมี บทบาทนำในการส่งเสริม กระตุ้น หรือรณรงค์ ให้เกิดการปฏิบัติ หรือไม่ ปฏิบัติโดยมีกรอบ ของบุญ ทาน ศีล ภาวนา เป็นฐานในการชับเคลื่อน ดงั น้ันกระบวนการในการลดปจั จัยเสีย่ งจากการดืม่ แอลกอฮอลแ์ ละการสบู บุหรี่ ตามหลักพระพุทธศาสนา จงึ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการลด ละ เลิก
120 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน หรือยุติการใช้ เสพ โดยมีแนวทางที่เป็นกลไกการปฏิบัติจากการตั้งจิต อธิษฐานบวชใจ (จิตตสังวร) สมาทานถอื เว้นโดยสง่ เสริมให้เกิดการทำทาน (ทาน-จาคะ) ที่หมายถึงการให้ เสียสละแก่คนรอบข้างด้วยการควบคุม ตนเอง โดยมีบุญและบารมีทางพระพุทธศาสนาเป็นเป้าหมายปลายทาง เพื่อยกจิตพัฒนาใจ ลด ละ เลิก (เหล้า-บุหรี่) โดยมีบุญ ทาน เป็น เป้าประสงค์นำจิตไปสู่ปลายทางตามคติทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็น รูปแบบและกระบวนการที่สามารถลดปัจจัยเส่ียงจากการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ได้ จากการทบทวนเอกสาร รายงานวิจัยท้ัง จากกรณีประเทศไทย และต่างประเทศ พบว่าในกระบวนการเพ่ือการ บำบัดฟ้ืนฟูหรือการใช้โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ จะมีวิธีการใช้วิธี เจริญ สมาธิภาวนาร่วมด้วย การใช้สมาธิเป็นตัวช่วยกระตุ้นท่ีสำคัญและใช้การ ภาวนาหรือการสรา้ งวธิ ีการ ตระหนกั รู้ด้านในอย่างจรงิ จงั จนกระท่ังตนเอง สมั ผสั และรบั รู้ได้ถงึ โทษการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอลแ์ ละการสูบบุหร่ี การ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการแบบ ผสมผสานเพ่ือให้เกิดแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนักรู้ผ่านบุคคลากร ทางพระพุทธศาสนาและบุคคลที่เก่ียวข้องเป็นรูปแบบท่ีอาจเรี ยกว่าการ “ผนึก ผสาน” ระหว่าง พระสงฆ์ บุคลากรสาธารณสุข ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน กิจกรรมที่โครงการได้เลือกใช้ให้ เหมาะสมกับผู้เข้าร่วมโครงการ ส่วน แนวทางกระบวนการที่ใช้เพื่อลดปัจจัยเส่ียงในกรณีศึกษาในต่างประเทศ นั้น เน้นกระบวนการเชิงวิจัยและอาศัยนักบำบัดท่ีเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และดูแลกำกับตลอดโปรแกรมอย่างเข้มข้น จริงจัง โดยมีวธิ ีเจริญสติเป็น
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 121 เครื่องมือ และกลไกหลักในกระบวนการ ทั้งวิธีการอธิษฐานบวชใจ (สมาทาน-ยกจิต-ต้ังใจ) ท่ีมีผลการวิจัยยืนยันว่าเป็นเง่ือนไขหรือ องค์ประกอบสำคญั ทสี่ ามารถลดปจั จยั เสยี่ งในการดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ และการสูบบุหร่ีได้ ในบางกรณี สามารถทำให้ผู้รับการบำบัดฟื้นฟูไม่ กลับมาดมื่ หรอื สบู ซ้ำได้ เพราะเหตุนี้เพื่อเป็นการถอดองค์ความรูแ้ ละกระบวนการในการ ลดปัจจัยเสี่ยงของหมู่บ้านคลองกระทิง ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม นำไปสู่การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ของพลัง “บวร-บวช” บ้าน-วัด-โรงเรียน-ชมุ ชน ในการลดปัจจัยเส่ยี งของหมู่บ้าน ผวู้ ิจยั จงึ สนใจศกึ ษาวิจัยเรอ่ื ง พลงั บวรพทิ กั ษค์ ลองกระทิง : การเสริมสร้าง เครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม เพ่ือนำเสนอโมเดลต้นแบบในการลดปัจจัยเส่ียงแก่หมู่บ้านในการแก้ไข ปัญหา เป็นชุมชนต้นแบบในการแก้ปัญหาลดปัจจัยเส่ียงให้เป็นชุมชน ตน้ แบบตามแนวพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง เครอื ขา่ ยลดปจั จยั เสย่ี งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัดสมทุ รสงคราม 2. เพื่อพัฒนาเครือข่ายสามเณรในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง เครอื ขา่ ยลดปจั จัยเสย่ี งตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมทุ รสงคราม
122 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน 3. เพ่ือพัฒนาเครือข่ายเยาวชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง เครือขา่ ยลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม วธิ ดี ำเนินการวิจัย ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วม (Participation Action Research) โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ขอ้ มลู ท้ังในเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ โดยใช้ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน (ปีงบประมาณ 2563 มีนาคม 2563 ถึงกันยายน 2564) เพ่ือ พัฒนาโมเดล พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายลด ปจั จัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งคณะผวู้ ิจัย ทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทางสังคม ประกอบด้วย คณะสงฆ์จังหวัด สมทุ รสงคราม หน่วยงานราชการจังหวัดสมุทรสงคราม สาธารณสขุ จังหวัด สมุทรสงคราม สถานีตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม สำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสงคราม สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด สมุทรสงคราม สำนักงานเขตพ้ืนที่ประถมศึกษาสมุทรสงคราม องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลเหมืองใหม่ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนหมู่บ้านคลองกระทงิ ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออมั พวา จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีวิธีการศึกษา ใน 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
พระครููพิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 123 1. การศึกษาในเชิงเอกสาร (Documentary study) เพื่อ ค้นหาข้อมูลความรู้เก่ียวกับองค์ความรู้และกระบวนการในการลดปัจจัย เส่ียงตามแนวพระพทุ ธศาสนา 2. การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) โดยแบ่ง ออกเปน็ 5 ระยะ คอื ระยะที่ 1 โด ยการป ระชุม กลุ่ม ย่อ ย (Focus group) กั บ ผู้เช่ียวชาญ จำนวน 12 รูป/คน ประกอบด้วยตัวแทนคณะสงฆ์ 3 รูป ตัวแทนหน่วยงานราชการ 3 คน ตัวแทนผู้นำท้องถิ่น 3 คน และตัวแทน ประชาชน 3 คน เพอื่ ถอดองคค์ วามรู้และกระบวนการในการลดปจั จยั เสยี่ ง ตามแนวพระพทุ ธศาสนา ถอดบทเรียนกรณีศึกษาของหมูบ่ า้ นคลองกระทงิ ตำบลเหมอื งใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมทุ รสงคราม และออกแบบการ จัดกจิ กรรมเชงิ สร้างสรรค์ ระยะท่ี 2 เป็นการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ในการเสริมสร้าง เครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนาของหมู่บา้ นคลองกระทิง ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออมั พวา จังหวัดสมทุ รสงคราม ในลกั ษณะของการ จดั ฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการในการให้ความรู้เก่ยี วกับการลดปัจจัยเส่ียงตาม แนวพระพทุ ธศาสนา บทบาทหนา้ ท่ีของแกนพิทักษ์คลองกระทงิ จำนวน 3 ครง้ั คอื คร้ังท่ี 1 จดั ฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการรว่ มกับภาคีเครอื ขา่ ยทางสังคม จำนวน 9 เครือข่าย ในการสร้างและพัฒนาแกนนำผู้สูงอายุต้นแบบ เป็น “ปราชญ์อาวุโส พิทกั ษค์ ลองกระทิง” ณ วัดอนิ ทาราม ตำบลเหมอื งใหม่
124 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 2 วัน 1 คืน ภายในเดือน มถิ ุนายน 2563 มผี ู้สงู อายุหมู่บา้ นคลองกระทงิ เข้าร่วมฝึกอบรมอยา่ งน้อย 15 คน ครัง้ ท่ี 2 จัดฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการรว่ มกับภาคเี ครอื ข่ายทางสงั คม จำนวน 9 เครือข่าย ในการสร้างและพัฒนาแกนนำเยาวชนต้นแบบเป็น “ยุวชนรักษ์ถิ่น พิทักษ์คลองกระทิง” ณ โรงเรียนถาวรวิทยา ตำบล เหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 2 วัน 1 คืน ภายในเดือนกรกฎาคม 2563 มีนกั เรียน เข้ารว่ มฝกึ อบรมอยา่ งน้อย 100 คน ครั้งที่ 3 จดั ฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการรว่ มกบั ภาคีเครอื ข่ายทางสังคม จำนวน 9 เครือข่าย ในการสร้างและพัฒนาแกนนำสามเณรต้นแบบเป็น “สามเณรโฆษกะ พทิ กั ษค์ ลองกระทงิ ” ณ วดั อนิ ทาราม ตำบลเหมอื งใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 5 วัน 4 คืน ภายในเดือน ตุลาคม 2563 มนี ักเรยี นเขา้ รว่ มฝกึ อบรมอย่างนอ้ ย 20 คน ระยะที่ 3 เป็นการนำผลการพัฒนาแกนนำต้นแบบ ลงไปทำงาน เชิงพื้นท่ี โดยแกนนำแต่ละคนจะร่วมกนั รณรงค์ให้เยาวชนและประชาชน ในหมู่บ้านคลองกระทิง ลด ละ เลิก เหล้าและบุหร่ี โดยตั้งเป้าหมายไว้ท่ี แกนนำ 1 คน สามารถรณรงค์ใหเ้ ยาวชนและประชาชนเขา้ ร่วมโครงการได้ อย่างน้อย 10 คน ก็จะได้เยาวชนและประชาชนท่เี ข้าร่วมโครงการไม่น้อย กวา่ 400 คน
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 125 ระยะที่ 4 เป็นการพัฒนาโมเดล พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัด สมุทรสงคราม และจัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus group) กับผู้เช่ียวชาญ จำนวน 12 รปู /คน เพอื่ ยืนยนั รปู แบบท่นี ำเสนอ ระยะที่ 5 เป็นการตดิ ตามและประเมินผลการใช้โมเดล พลังบวร พิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนา จงั หวดั สมทุ รสงคราม กับกลุ่มตวั อยา่ ง ระยะที่ 6 สรุปปัญหาอุปสรรค และข้อจำกัดของโมเดล พลังบวร พิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม ก่อนสรุปเป็นแนวปฏิบัติที่ดีเสนอ แผนงานวจิ ัยต่อไป 3. เป็นการศึกษาระดับเจตคติท่ีดีและแนวคิดเชิงคุณค่า ตามหลกั พระพุทธศาสนา ที่ส่งผลต่อการเสริมสรา้ งเครือข่ายลดปจั จัย เสีย่ งตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวดั สมุทรสงคราม จากการสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง 4. นำเสนอข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายในการขบั เคล่ือนพลังบวรพทิ ักษ์คลอง กระทิง : การเสรมิ สร้างเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมทุ รสงคราม ในรปู แบบของรายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ ผลการวจิ ัย
กระทิง : การเสรมิ สร้างเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวดั สมทุ รสงคราม ในรปู แบบของรายงานการวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ์ 126 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง เครือขา่ ยลดปัจจยั เสย่ี งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวดั สมุทรสงคราม ในการทำกิจกรรมอธิษฐานจิต บวชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิก เหล้า บหุ รี่ ตลอดพรรษา เทเหล้า เผาบุหรี่ “เลิกดมื่ เลิกสูบ ลดเส่ียง” เปน็ การ (1) ใช้วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชา -วัน เข้าพรรษา” มาเป็นเคร่ืองหมายของการเร่ิมต้น ตลอด 3 เดือนระหว่าง พรรษา ต้ังใจทำส่ิงดียนื ยันเจตนารมณ์ ทม่ี ปี ระโยชน์เพอ่ื สุขภาพตัวเองและ คนรอบข้าง (2) ใช้ความสำคัญของวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน ในการทำ กิจกรรม (3) ใช้กระบวนการของเครือข่ายเป็นแนวทางหรอื วิธกี ารในการ ขับเคล่ือนให้เกิดการยอมรับและนำไปสู่การปฏิบัติตามในองค์รวมเกิดขึ้น เป็ น ภาพ แบ บ อ ย่ าง เป็ น เครื อ ข่ าย ภาพ ร วม แล ะ ท ำให้ เ กิ ด พ ลั ง ใน ก าร สร้างสรรค์ (4) แผนภาพที่ส่ือสารสาธารณะ ผ่านการประชาสัมพันธ์ รณรงค์ส่งเสริมจะทำใหเกิดภาพของการตระหนัก สร้างความสำนึก ตระหนกั นึกให้เกิดการปฏิบัตติ าม หรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามเมอ่ื เหน็ โทษ หรือพิษ ภัย ปฏิบัติตามในสิ่งท่ีเป็นคุณประโยชน์ ดังนั้นการส่ือสารจงึ มีความหมาย เป็นแนวทางหรือวิธกี าร เพื่อสง่ เสรมิ ให้เกิดการปฏิบตั ิ อันเปน็ สว่ นหนึง่ ของ โครงการวจิ ยั พลงั บวรพิทกั ษค์ ลองกระทิง : การเสรมิ สร้างเครือข่ายทาง สังคมเพ่ือลดปัจจยั เส่ยี งตามแนวพระพุทธศาสนา จงั หวัดสมทุ รสงคราม บทสรุปของการจัดกิจกรรม จึงเป็นวิธีการ หรือแนวทาง ให้เกิดการ ขับเคลอื่ นเป็นพลังชุมชน เป็นกลไกชุมชน ร่วมกับภาคเี ครอื ข่ายและส่วน งานตา่ ง ๆ ใหเ้ กิดเป็น พลังบวร “บ้าน วัด โรงเรียน ราชการ ชมุ ชน” เกิด
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 127 เป็นภาคีร่วมกันในการลดเหล้า บุหรี่ จนกระท่ังไปสู่การเลิกเหล้าบุหรี่ลด ปัจจัยเส่ียงต่อไป ส่งผลเป็นมวลรวมความสุขจากสุขภาวะท่ีดีของคนใน ชมุ ชนและสังคมภาพกว้าง ซึ่งนับเป็นส่วนสำคัญและผลได้จากการดำเนิน กิจกรรมโครงการในคร้ังน้ี คือ (1) ชุมชน คลองกระทิง จังห วัด สมุทรสงครามมีชาวพุทธเป็นส่วนใหญ่หรือเกือบท้ังหมด (2) ชุมชนมี กิจกรรมรว่ มกบั ทางวัด พระสงฆ์ และผนู้ ำชมุ ชน หมายถึงมีความเคารพใน ตวั หลวงพอ่ แดง นนทฺ ิโย หรอื พระสงฆใ์ นวัดอยูจ่ ึงปฏิบตั ิตามแนวทางทท่ี าง วัด หรือพระสงฆ์ส่งเสริมรณรงค์เรื่องเหล้า บุหรี่ หรือปัจจัยเส่ียงอื่น ๆ รวมท้ังผู้นำชุมชน ผู้นำด้านสาธารณสขุ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการลดปจั จัย เส่ียง (3) หลวงพ่อ พระสงฆ์ ผู้นำชุมชน ผู้นำระบบสาธารณสุข ได้ใช้วัด เป็นชอ่ งทางในการทำกิจกรรมเชงิ หมบู่ า้ นศีล 5 ดงั นน้ั การรณรงค์จึงเกดิ ขนึ้ อย่างต่อเน่ือง หมายถึงทุกวันพระ วันสำคัญของพระพุทธศาสนา วัน เข้าพรรษา วันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนาและวันสำคัญ โดยใช้วันดังกลา่ ว เปน็ เง่อื นไขรณรงค์ ดำเนินกิจกรรม ส่งเสรมิ ลดปจั จัยเสย่ี งให้เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ งดว้ ย (4) ความเคารพผู้ใหญ่ตามหลักความเคารพหรอื คารวตาเป็น แนวทางหรือเป็นกลไกในการรณรงค์ส่งเสริม กลไกเชิงเครือข่ายภายใน ชุมชน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผูน้ ำชุมชน ผใู้ หญ่บา้ น ครู พระสงฆ์ วัด เป็น ส่วนสำคัญในการควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ช่วยให้สามารถขับเคลื่อนลด ปัจจัยเส่ียงเก่ียวกับเหล้าบุหรี่ ส่ิงเสพติด ชนิดอ่ืน ๆ ในชุมชนด้วย (5) ความเชื่อต่อผ้นู ำทางด้านระบบสาธารณสุข เชน่ โรงพยาบาล หมอ แพทย์ พยาบาล และ อสม. ทเี่ ขา้ ไปรณรงค์ในชว่ งท่ีผ่านมา ส่งเสริมให้เกิดผลต่อ
128 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน การปฏิบัติหรอื ความเชื่อตอ่ การปฏบิ ัติ รวมทั้งการสร้างความตระหนัก เห็น ความสำคัญและนำไปสู่การปฏิบัติตาม (5) ความเป็นวิถชี ุมชนเกษตรแบบ ชาวสวน และสถานบันเทิง และสิ่งที่จะเป็นปัจจัยนำไปสู่การสร้างความ เสีย่ งดา้ นสงิ่ เสพตดิ จงึ นอ้ ยไปดว้ ย ดังนน้ั สิง่ ทป่ี รากฏและพบเหน็ สัมภาษณ์ เกบ็ ข้อมูลเชิงพน้ื ท่จี งึ นำมาถอดเป็นข้อมลู เพ่ือประโยชน์ในความรู้ แนวทาง วธิ ีการ ท้งั ก่อใหเ้ กิดการขบั เคลอื่ นการลดปัจจัยเสยี่ งในภาพกว้างตอ่ ชุมชน คลองกระทงิ จังหวดั สมทุ รสงครามได้ 2. ผลการพัฒนาเครือข่ายสามเณรในการจดั กิจกรรมเสรมิ สร้าง เครือข่ายลดปจั จยั เส่ียงตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัดสมุทรสงคราม โครงการบรรพชา ลดปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหร่ี ท่ีวัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นแนวทาง กลไก ท่ีเข้าไปส่งเสริมการลดปัจจัย เสีย่ ง โดยใช้วิธกี ารสง่ เสริมปอ้ งกันผ่านวิธที างศาสนา การปลกู ฝังคา่ นิยมที่ ถูกต้องตามหลักวิถีทางศาสนา การส่งเสริมให้สามเณรผู้เข้ามาบวชได้ ตระหนักและเห็นความสำคัญ รวมท้ังส่งเสริมให้สามเณรเหล่าน้ันได้เป็น กลไกร่วม ดว้ ยการรณรงคส์ ่งเสริม สร้างแรงจูงใจเชงิ บวกกับเพื่อนภายใน โรงเรียน ผ่านกิจกรรมที่ดำเนินการร่วมกันระหว่างบ้านกับวัดท่ีได้พา สามเณรไปเยี่ยมบ้าน เยี่ยมผู้สูงอายุ อันเป็นกิจกรรมของวัด การพา สามเณรไปเย่ียมโรงเรียนทำกิจกรรมแจกทุน การศึกษา นัยหนึ่งเพ่ือเป็น การสร้างภาพจำ สร้างแบบอย่างในใจให้เกิดข้ึนผ่านการรณรงค์ภายใต้ กรอบบ้าน วัด โรงเรียน การให้ความสำคัญกับการบวช การพาสามเณร ออกบิณฑบาต เพ่ือเป็นการเย่ียมชุมชน และให้เห็นความสำคัญว่าวัดยัง
พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 129 เป็นศูนย์กลางของชุมชนและเป็นหลักชัยท่ีพี่งสำคัญของชุมชนในการ พัฒนาให้เยาวชนไดม้ ีภมู ิคมุ้ กนั สร้างภาพจำในใจ ให้เป็นแบบอย่างท่ีดี ลด ปจั จัยเสยี่ ง การสร้างการเรียนรวู้ า่ ศลี กนิ ได้ หรือความดกี ินได้ หรือความดี ทำให้เกิดรายได้ หลวงพ่อแดง นนฺทิโย ได้จัดมอบทุนการศึกษา เพื่อ สนบั สนนุ ค่าเส้อื ผา้ รองเทา้ ซงึ่ ไม่ได้มาก แต่ได้ปลกู การเรยี นรใู้ นใจสำหรบั เดก็ ผู้เข้าร่วมโครงการว่าการท่ีนักเรียนเหล่านั้น มาบวช อบรม ลดปัจจัย เสี่ยง รักษาศาสนา และสร้างภาพจำในใจต่อการบวช สร้างภาพจำต่อ นักเรยี นเยาวชน และจะเป็นมุมมองท่ีทาบทับกลายเป็นเจตคติที่ดีต่อวัด พระสงฆ์ และศาสนา เห็นคณุ และโทษของเหลา้ บุหรี่ ตามการรณรงค์ ไม่ยงุ่ เกย่ี วตัง้ แตแ่ รก หรอื ปรับเปล่ยี นพฤติกรรมไม่ยุง่ เก่ียว ลดละเลกิ ปัจจัยเสี่ยง จากอบายมขุ ส่ิงเสพติดทใี่ หโ้ ทษทุกชนดิ ในทีส่ ดุ 3. ผลการพัฒนาเครอื ขา่ ยเยาวชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง เครือข่ายลดปจั จัยเสยี่ งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวดั สมุทรสงคราม การพัฒนาภายใต้กรอบพลังบวร ท่ีมีเครือข่ายเป็นโรงเรียน บ้าน วัด ชุมชน (บวช) หรือเป็นรัฐบ้าน วัด โรงเรียน และหน่วยงานของรัฐ (บวร) ท่ีทำให้เกิดกลไกความรว่ มมือระหว่างกัน และเป็นกลไกขับเคล่ือน การประสานความร่วมมือระหว่างกันภายใตค้ วามเป็นไปได้ และก่อให้เกิด การขบั เคล่อื นเชิงปฏิบัติ (1) ตระหนกั เหน็ ความสำคญั ของส่ิงเสพติด เหล้า บุหรี่ และอบายมุขชนิดต่าง ๆ และคดิ ว่าเป็นปัจจัยเสีย่ งสำหรับสมาชิกใน ชุมชนท้ังเด็กและผู้ใหญ่ และเยาวชนในฐานะท่ีเป็นเพื่อนกัน ระหว่าง โรงเรียน 3 แห่ง ที่รว่ มกิจกรรม ในฐานะเป็นเยาวชนในชุมชน ก็ทำหน้าที่
130 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ในการสอดคล้องแก่กันและกัน และนำส่ิงที่เห็นในความผิดปกติ เช่น พฤตกิ รรมเปล่ียน ไม่เข้าร่วมกิจกรรม มีความเส่ียงคบเพื่อนไม่ดี ก็บอกให้ ผู้ปกครอง ครู หรือบุคคลใกล้ชิด เพ่ือให้กับ สอดส่องอีกช้ันหน่ึง เป็นต้น (2) นักเรยี นเยาวชนให้ความรว่ มมือ ร่วมกนั สอดสอ่ ง เป็นหเู ป็นตา ร่วมมือ กบั ผู้ใหญ่ในทุกภาคส่วนท้ังวัด โรงเรียน และครู โรงเรียน และส่วนงานที่ เก่ียวข้อง (3) เครือข่ายเชิงสังคมอันประกอบด้วยชุมชน ท่ีประกอบด้วย สมาชิกในแต่ละครอบครัว วัด วัดที่ทำหน้าท่ีรณรงค์ผ่านกิจกรรมทาง ศาสนาและใช้กลไกทางศาสนาเป็นสาระสำคัญในการขับเคล่ือนเพื่อไม่ ป้องกัน ป้องปราม และกระตุ้นไม่เกิดการปฏิบัติที่ผิดพลาด โรงเรียนคอย กำกับติดตามเชิงบุคคล โรงพยาบาลให้ความรู้ต่อโทษภัยของสิ่งเสพติด เหลา้ บุหร่ี ผา่ นการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ จัดอบรมในโรงเรยี น วัด แผน่ พบั ประชาสมั พันธ์ ให้ความรู้ ตำรวจทำหน้าที่ในการอบรม ให้ความรผู้ ่าน นกั เรยี น โรงเรียน หรอื กจิ กรรมอนั จะพงึ เกดิ ข้นึ แก่วัด เป็นต้น ภาพลักษณ์ เหล่าน้ีจงึ กลายเป็นการประสานความร่วมมือหรือเครือข่ายร่วมกัน โดยมี เป้าหมายเป็นการขบั เคล่อื นให้เยาวชนเป็นพลังช่วยเหลือตนเอง ชว่ ยเหลือ กันและกัน และช่วยเหลือสังคมผ่านการสอดส่องแก่กันและกันจน กลายเป็นความเขม้ แขง็ ภายในชมุ ชน อภิปรายผลการวจิ ัย ผลจากการวิจัยทำให้ค้นพบ (1) กลไกเชิงปฏิบัติเพื่อการลด ปจั จยั เส่ียงจากส่ิงเสพติดเหล้าบุหร่ี (2) บทบาทของสถาบันศาสนา
พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 131 กับการทำหน้าที่ในการรณรงค์ตามแนวพระพุทธศาสนา (2) บทบาทของชุมชนต่อการส่งเสริมและระมัดระวงั ปัจจยั เส่ียงระดับ ตน้ (3) บทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการเป็นภาคีเครือข่ายใน การลดปัจจัยเส่ียง (4) บทบาทเยาวชนแกนนำ และร่วมเฝ้าระวัง ต่อการลดปัจจัยเสี่ยง โดยท้ังหมดได้เป็นภาคีเครือข่ายในการลด ปัจจยั เสีย่ งร่วมกัน ซึ่งแสดงผลเขิงประจกั ษ์เปน็ พลังบวร (บา้ น-วัด- ชุมชน-พระ-โรงเรียน-รัฐ หน่วยราชการ) ลดปัจจัยเสี่ยงตามแนว พระพุทธศาสนา ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดและงานวจิ ัยของ พระอุดมสิทธิ นายก (กำพล คุณงฺกโร)และพระมหานิกร ฐานุตฺตโร (2562) วิจัยเร่ือง “การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการเสริมสร้างสุขภาวะและเครือข่ายทาง สังคม เพ่ือลดเหล้าบุหร่ีเชิงพุทธบูรณาการในจังหวัดนนทบุรี” พบว่า พระสงฆ์ต้องมกี ารสร้างเครอื ข่ายกลไกการขับเคล่อื นการปอ้ งกันและแก้ไข การรณรงค์และป้องกัน เป็นการทำงานร่วมกันขององค์กรภาคีและ เครอื ขา่ ยภาคประชาชน ตอ้ งมีการบรู ณาการกระบวนการและรปู แบบการ จัดกจิ กรรมที่มคี วามสอดคล้องกับสภาพปญั หาอนั แท้จรงิ ทเี่ กิดข้นึ ในชมุ ชน อยา่ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของพระครูปริยัติสาทร (2562) วิจัยเรอ่ื ง “กระบวนการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการสบู บุหร่ีของพระสงฆ์สู่ การเปน็ ต้นแบบปลอดบุหรี่ จังหวัดเลย” พบว่า กระบวนการปรับเปล่ียน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพระสงฆ์สู่การเป็นต้นแบบปลอดบุหร่ี จังหวัด เลย ควรทำงานแบบบูรณาการร่วมกันขององค์กรภาครัฐ เอกชน และ สำนักพุทธศาสนาและคณะสงฆ์ในพื้นที่ต้องแสดงออกถึงความตระหนัก
132 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ร่วมกันในการแก้ไขปัญหาและวางแผนร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยให้ พระสงฆ์ทเี่ คยสูบมาเลา่ ประสบการณแ์ ละเป็นพี่เลย้ี งให้พระสงฆแ์ ละคนท่ี อยากเลิกบุหร่ี, จัดทำธรรมนูญห้ามจัดจำหน่ายเหล้า บุหรี่ในบริเวณ กิจกรรมงานบุญ งานประเพณตี ่างๆ องค์ความร้จู ากการวิจยั วดั พระ โรงเรยี น ครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน ทำหน้าทเ่ี ปน็ ศนู ยใ์ นการ กำกับจรยิ ธรรมการประพฤติปฏิบัตลิ ดปัจจยั เสย่ี งต่อเยาวชน นกั เรยี น โดยมภี าคีเครือขา่ ยร่วมดำเนนิ การ การพฒั นาเครอื ขา่ ยเยาวชนการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งเครือข่าย ลดปัจจยั เสยี่ งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัดสมทุ รสงคราม เยาวชน - รับการอบรม เครอื ข่าย เครือข่าย เครอื ขา่ ยระหว่าง รฐั - ให้ความรู้ กลอ่ มเกลา รู้ คณุ โทษ นักเรยี น/ ชุมชน ชุมชน หน่วยงานรฐั สอดส่อง ตรวจตรา เยาวชน วัด พระสงฆ์ (โรงเรยี น/ ตรวจสอบ ดูแล ตาม เปน็ หู เปน็ ตา ร่วมกับ หน้าท่ี กฎหมาย โรงพยาบาล/สถานี ครู โรงเรยี น ผูป้ กครอง ตำรวจ) พระ วัด ฯ การประสานพัฒนาเครอื ข่ายลดปัจจยั เส่ยี ง ประสานเชื่อมโยงเป็นเครือขา่ ยแบบหลวมในการทำหน้าทีข่ ับเคลื่อนลดปจั จัยเสย่ี งท่เี กิดขึ้น ภายใต้บา้ น วัด โรงเรียน นกั เรยี น เยาวชน ครู พระ หนว่ ยงานรัฐ ตำรวจ พยาบาล ภาพที่ 1 องคค์ วามรทู้ ไี่ ด้สงั เคราะหจ์ ากการวจิ ัย จากแผนภาพท่ี 1 พบว่า การพัฒนาภายใต้กรอบพลงั บวร ท่ีมี เครือขา่ ยเป็นโรงเรียน บ้าน วัด ชุมชน (บวช) หรอื เปน็ รัฐบ้าน วัด โรงเรยี น
พระครูพู ิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 133 และหนว่ ยงานของรัฐ (บวร) ทที่ ำให้เกิดกลไกความร่วมมอื ระหว่างกัน และ เป็นกลไกขับเคลื่อนการประสานความร่วมมือระหว่างกันภายใต้ความ เป็นไปได้ และก่อให้เกิดการขับเคล่ือนเชิงปฏิบัติ (1) ตระหนักเห็น ความสำคัญของสิ่งเสพติด เหล้าบุหร่ี และอบายมุขชนิดต่าง ๆ และคิดว่า เป็นปัจจัยเส่ียงสำหรับสมาชิกในชุมชนท้ังเด็กและผู้ใหญ่ และเยาวชนใน ฐานะทีเ่ ป็นเพอื่ นกัน ระหว่างโรงเรียน 3 แห่ง ที่ร่วมกิจกรรม ในฐานะเป็น เยาวชนในชุมชน ก็ทำหน้าที่ในการสอดคล้องแก่กันและกัน และนำส่ิงที่ เห็นในความผิดปกติ เช่น พฤติกรรมเปล่ียน ไม่เข้าร่วมกิจกรรม มีความ เส่ียงคบเพื่อนไม่ดี ก็บอกให้ผู้ปกครอง ครู หรือบุคคลใกล้ชิด เพ่ือให้กับ สอดส่องอีกชั้นหนึ่ง เป็นต้น (2) นักเรียนเยาวชนให้ความร่วมมือ ร่วมกัน สอดส่อง เป็นหเู ป็นตา ร่วมมอื กบั ผู้ใหญใ่ นทกุ ภาคสว่ นท้ังวดั โรงเรียน และ ครู โรงเรียน และส่วนงานท่ีเกี่ยวข้อง (3) เครือข่ายเชิงสังคมอัน ประกอบด้วยชุมชน ทีป่ ระกอบด้วยสมาชกิ ในแตล่ ะครอบครัว วัด วัดท่ีทำ ห น้ า ท่ี ร ณ ร งค์ ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม ท า ง ศ า ส น า แ ล ะ ใช้ ก ล ไก ท า งศ า ส น าเป็ น สาระสำคัญในการขับเคล่ือนเพ่ือไม่ป้องกัน ป้องปราม และกระตุ้นไม่เกิด การปฏิบัติทีผ่ ิดพลาด โรงเรยี นคอยกำกับตดิ ตามเชงิ บุคคล โรงพยาบาลให้ ความรู้ต่อโทษภัยของสิ่งเสพติด เหล้าบุหรี่ ผ่านการประชาสัมพันธ์ ให้ ความรู้ จัดอบรมในโรงเรียน วัด แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ตำรวจ ทำหน้าทใ่ี นการอบรม ใหค้ วามรผู้ า่ นนกั เรยี น โรงเรียน หรอื กิจกรรมอันจะ พงึ เกิดข้ึนแก่วัด เป็นต้น ภาพลกั ษณ์เหลา่ น้ีจึงกลายเป็นการประสานความ รว่ มมือหรือเครือข่ายรว่ มกนั โดยมีเปา้ หมายเป็นการขบั เคลอ่ื นให้เยาวชน
134 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน เป็นพลังช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือกันและกัน และช่วยเหลือสังคมผ่าน การสอดส่องแกก่ นั และกันจนกลายเปน็ ความเข้มแขง็ ภายในชมุ ชน ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 1. คณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสงคราม นำผลการวิจัยและแนวปฏิบัติ จากการลดปัจจัยเสี่ยงนำไปกำหนดเป็นนโยบายขับเคล่ือนการลดปัจจัย เส่ียงร่วมกิจกจิ กรรมโครงการหมู่บา้ นศีล 5 และวัดในพระพทุ ธศาสนาเพ่ือ สง่ เสริมขับเคล่ือนลงสูก่ ารปฏิบัตใิ นชมุ ชนองค์รวม 2. หน่วยงานภาครัฐ (โรงเรยี น/สถานีตำรวจ/โรงพยาบาล) ในเขต จังหวัดสมทุ รสงคราม นำผลการวจิ ัยไปกำหนดเปน็ นโยบายขับเคลอื่ นลงสู่ การปฏบิ ตั ิในชุมชนองคร์ วม ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ัติการในพืน้ ที่ เพ่ือใหก้ ารลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนาในพื้นที่จังหวัด สมุทรสงครามเกดิ ความย่ังยืนต่อไป คณะผู้วจิ ัยจึงขอนำเสนอข้อเสนอแนะ เชิงปฏบิ ัติการในพืน้ ทีด่ งั นี้ 1. วัด พระสงฆ์ โรงเรยี น ครู นกั เรียน ชุมชน หนว่ ยงานรัฐ ในเขต จังหวัดสมุทรสงคราม นำกลไกรูปแบบเครอื ขา่ ยลดปจั จัยเสี่ยงไปขบั เคลือ่ น สกู่ ารปฏิบตั ิทงั้ ระบบ 2. หน่วยงานในพ้ืนท่ีวิจัยศาสนสถาน วัด พระสงฆ์ หน่วยงาน ราชการ และภาคีเครือข่าย นำผลจากแนวปฏิบัติจากการวิจัยท่ีดี ไปขยาย
พระครููพิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 135 ผล ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติในเชิงเครือข่ายเพื่อการขับเคล่ือนการลด ปจั จัยเส่ียงในเขตจงั หวัดสมทุ รสงคราม ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั ครัง้ ต่อไป 1. คณะนักวจิ ัยผู้จะทำวิจัยต่อไป ควรศึกษาวิจัยต่อแนวทางการ ลดปัจจัยเส่ียงท่ีมีลักษณะพหุวัฒนธรรมทางศาสนาและทางสังคม เพ่ือ ศึ ก ษ า ปั จ จั ย แ ท ร ก ซ้ อ น ต่ อ ก า ร ล ด ปั จ จั ย เ สี่ ย ง ใน เชิ ง สั ง ค ม ท่ี มี ค วา ม หลากหลาย 2. คณะนักวิจยั ผู้จะทำวิจัยตอ่ ไป ควรศึกษาวจิ ัยต่อกล่มุ ประชากร ท่ีหลากกลุ่มและช่วงช้ัน เช่น เยาวชน ครู นักเรียน พระสงฆ์ วัด รัฐ โรงเรยี น ท่ีมผี ลให้การทำงานเชงิ เครอื ขา่ ยขับเคล่ือนชัดเจนย่ิงข้นึ ในการลด ปัจจัยเสีย่ งทั้งระบบในองคร์ วม เอกสารอา้ งองิ พระครูปริยัติสาทร. (2562). กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบ บุหรี่ของพระสงฆ์สู่การเป็นต้นแบบปลอดบุหรี่ จังหวัดเลย . วารสารสถาบันวจิ ัยญาณสังวร, 10(2), 12-24. พระครูพินิตปริยัติกิจ (สมบัติ วรธมฺโม) และคณะ. (2561). รูปแบบการมี ส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาการตดิ ยาเสพติด ในเขต ปกครองคณะสงฆ์ภาค 2. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(3), 1-14.
136 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยูร). (2560). บทบาทการพัฒนา ชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปรทิ รรศน์, 6(2), 439-455. พระปลัดระพนิ พุทธิสาโร. (2561). บทบาทพระสงฆก์ ับการพัฒนาชุมชน ต้นแบบวิถีพทุ ธ : กรณศี ึกษาหลวงพ่อแดง วัดอินทาราม จังหวัด สมุทรสงคราม. พระนครศรีอยุธยา: งานประชุมวิชาการการ พฒั นาชมุ ชนท้องถิน่ และสงั คม CSD สมั พันธ์ ระดับชาติ ครั้งท่ี 17 และนานาชาติ คร้ังท่ี 1 “คุณธรรมจริยธรรมกับการพัฒนาท่ี ยั่งยืน”. ระหว่างวันท่ี 28-31 มกราคม 2561 ณ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จงั หวัด พระนครศรีอยุธยา. พระมหายุทธนา นรเชฏโฐ (ศิริวรรณ) และจุฑารัตน์ ทองอินจันทร์. (2561). แนวคิด ตัวชี้วัด องค์ประกอบบทเรียน และบูรณาการ ตามโครงการหมบู่ ้านรกั ษาศีล 5. วารสารชุมชนวจิ ัย, 12(2), 204- 214. พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร) และคณะ. (2562). การมีส่วนร่วม ของพระสงฆ์ในการเสริมสร้างสุขภาวะและเครือข่ายทางสังคม เพ่ือลดเหล้าบุหร่ีเชิงพุทธบูรณาการในจังหวัดนนทบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปรทิ รรศน์, 8(4), 1-16.
พระครูพู ิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 137 วณฎิ า ศิรวิ รสกุลและวชั รินทร์ อนิ ทพรหม. (2561). รปู แบบการขบั เคล่อื น น โย บ า ย ห มู่ บ้ าน รัก ษ า ศี ล 5 ให้ ป ร ะ ส บ ค วา ม ส ำเร็จ . วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ธนบุรี, 12(29), 203 - 209. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพ่ือควบคุมยาสูบ. (2561). รายงานสถิติการ บริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: เจรญิ มั่นคง การพมิ พ์. สมคิด พุ่มทุเรียนและคณะ. (2562). วิเคราะห์กิจกรรมเชิงพุทธตาม โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 กับการหนุนเนื่องคุณค่านิยม 12 ประการ. วารสารบัณฑิตปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 7(1), 225-238.
หลพวระงสพงฆอ่ ์ไมแท่ ดิ้งงปรนะชนาชทฺ นิโย นวำ�ิสวยั ิสธัยรทรัศมน์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142