พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 49 สว่ นอยา่ งมากในการสร้างสง่ิ แวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การพัฒนาสขุ ภาวะ รวมถึงจะมีส่วนในการปรับพฤติกรรมของคนที่จะลดความเส่ียง โดยเฉพาะการดื่มสรุ าและสบู บุหร่ีได้ การถวายเปน็ พทุ ธบชู า บชู าพระรตั นตรัย ดว้ ยรา่ งกายที่ สะอาด ดว้ ยวาจาทสี่ ะอาด ใกลช้ ิด วิถีชีวิตท่เี กี่ยวข้องกบั ขุมชน และราชการ ดูแลสิ่งแวดลอ้ ม ใหเ้ กิดปฏริ ปู ประเทศ พระมีความ หว่ งใยอย่างน้ี หว่ งใยจากเหล้าบุหร้ี ทำแบนนีพ้ รอ้ ม ๆ กนั จะทำ ให้ความสำเรจ็ ไดม้ าก ทำดว้ ยความหว่ งใย เมื่อเลกิ ไดแ้ ลว้ เม่อื ชว่ งเขา้ พรรษา พระพรหมบณั ฑติ ,ศ.ดร. กรรมการมหาเถรสมาคม,เจา้ อาวาสวดั ประยรุ วงศาวาส หม่บู ้านคลองกระทิง เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ใน ต.เหมืองใหม่ ประกอบด้วย 85 ครัวเรือน มีประชากรท้ังส้ิน 325 คน ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง มกี าร จัดตงั้ กลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ ยามว่างชาวบ้านมกั รวมกลุ่มกนั เป็นจิตอาสาพัฒนาสังคม ตามโครงการลงแขกลงคลอง มีการ จัดตั้งชุดรักษาความปลอดภัยของหมู่บ้าน กลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุข (อสม.) และกลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน สำหรับ สถานการณ์ด้านบุหรีแ่ ละเหล้าพบว่า ประชาชนท่ตี ิดบุหร่ี 13 คน เป็นนกั สบู หนา้ ใหม่ 2 คน ประชาชนที่ตดิ เหลา้ 15 คน เป็นนักด่ืม
50 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน หน้าใหม่ 3 คน จากข้อเท็จจริงดังกล่าว ประกอบกับชุมชนเป็น ชุมชนท่ีอยู่ด้วยวิถีทางเศรษฐกิจชุมชน มีวัด พระสงฆ์ และ พระพุทธศาสนาเป็นฐานของชุมชน มีสถาบันการศึกษา โรงเรียน เป็นหน่วยร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ ดังน้ันวัดอินทาราม จึงมี แนวคิดในเรื่องการ “บวร/บวช : บ้าน-วัด-โรงเรียน-ชุมชน” 4 ประสาน มาเป็นฐานสร้างกลไกลดความเสยี่ งจากการสิง่ เสพติดทง้ั เหลา้ บหุ รใี่ นชุมชนหมบู่ ้านกระทิง ปัจจุบันชุมชนคลองกระทิง มีผู้ติดบุหร่ีและติดเหล้า ประมาณ 10 คน โดยกิจกรรมน้ีจะเป็นจุดเร่ิมต้นในการนำหลัก พลงั บวรมาสรา้ งเครอื ข่ายลดปจั จัยเส่ียงตอ่ ไป กิจกรรมเหล้าบุหรี่ ท ำ ให้ เป็ น แ บ บ อ ย่ า ง เป็ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ร ณ ร ง ค์ ใน ช่ วง เท ศก า ล เข้าพรรษา การทม่ี หาวทิ ยาลัยสงฆ์มีบุคลากรที่ผ่านการศึกษาทั้ง ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก พึงทำงานให้เกิดการ ช่วยเหลือสังคมในภาพกวา้ ง สังคมอย่ไู ด้วัด และคณะสงฆ์กอ็ ยู่ได้ กลับมาทำอาชพี เราเถอะ ทุกตารางน้วิ ใหไ้ ดเ้ งิน “....เข้าพรรษา ลดเหล้า เผาบหุ ร่ี เป็นกิจกรรมโครงการ ท่ีรณรงค์เพ่ือป็นความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ราชการ คณะสงฆ์ มหาวทิ ยาลยั สงฆ์ ปัญหาสุรา เปน็ เป็นปัญหาท่ี เรอ้ื รัง ภาคเี ครือข่ายจงึ จะทำให้เกดิ พลังในการรณรงค์สง่ เสรมิ ให้ เกิดความร่วมมือเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง พระพรหมบัณฑิต (อดีต อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย) ตอ้ งทำงาน
พระครููพิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 51 ทำงานเพือ่ สงั คมสว่ นรวม ซ่งึ การทำงานจะต้องมกี ารรณรงค์ เรอ่ื ง เหล้า บุหรี่ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการทำตาม วัดอินทาราม เป็น ต้นแบบ จากน้ันจะส่งต่อไปยังชุมชนต่าง ๆ ท่ัวประเทศ หรือทั่ว โลก ยาเสพติด ส่ิงเสพติด ไม่ได้มีอยู่เฉพาะประเทศไทย แต่มีท่ัว โลก การรณรงคจ์ ึงมีเป้าหมายเพอื่ เป็นการส่งเสรมิ ให้ลด ละ เลิก และจะมีผลตอ่ การลดปจั จัยเสยี่ ง และมสี ขุ ภาพกาย จิต ท่ีดี...” พระครพู ศิ ษิ ฏ์ประชานาถ,ดร. (หลวงพอ่ แดง นนั ทิโย) เจา้ อาวาสวัดอนิ ทาราม, รองเจ้าคณะอำเภออัมพวา จงั หวัดสมุทรสงครามเปน็ เมืองพเิ ศษทมี่ รี ะบบนิเวศแบบ 3 นำ้ น้ำเค็ม น้ำกร่อย และนำ้ จืด เรามีคณะกรรมการจงั หวัดเพื่อ การขบั เคลอ่ื น โรคทางสงั คม โรคทางเศรษฐกจิ ใน 4 ประเด็นท่ี จะขบั เคลื่อนจงั หวดั สมุทรสงครามสเู่ มอื งแหง่ ความสุข City of Happiness 1. Clean เมอื งแหง่ ความสะอาด 2. Safty เมอื งแหง่ ความปลอดภยั 3. Green เมืองสีเขียว 4.Healthy การเสรมิ สรา้ ง สขุ ภาวะของประชาชน สมุทรสงครามให้ความสำคัญกบั สขุ ภาพ มาก ปจั จบุ นั คนไทยเสยี ชีวติ จากโรค NCD เปน็ โรคท่ีเกดิ จาก ลักษณะนสิ ัย หรือพฤตกิ รรม เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ รอ้ ย ละ 73 ซงึ่ เราจะมกี ารรณรงค์ตลอดทง้ั ปี จะมกี ารตดิ ตามเพื่อให้ เหล้าบหุ รี่ ซง่ึ เปน็ สาเหตสุ ำคญั ของโรคใหล้ ดนอ้ ยลงไป นายชรสั บญุ ณสะ
52 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ผวู้ ่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม “....(กิจกรรมน้ี) มหาวิทยาลัยสงฆ์ กับ สสส . เป็นผู้ ขับเคล่ือนโครงการน้ี เป็นการรณรงค์ให้เกิดลด เหล้า ลดบุหรี่ ในชว่ งเทศกาลเข้าพรรษา มีส่วนช่วยเหลอื สังคมในส่วนนี้ เหล้าบหุ รี่ แม้จะอยู่ในศีลข้อท่ี 5 เหล้าบุหรี่ ยาเสพติด เป็นปัญหาของสังคม ในช่วงใกล้เข้าพรรษา ในช่วงสามเดือน ระหว่างเข้าพรรษา เป็น จังหวะที่เหมาะเจาะพอดี น่าจะมารณงรงค์ ในช่วงเข้าพรรษา โครงการเปน็ เรอื่ งท่ีมหาวิทยาลัย ทำรว่ มกันมานานแล้ว รณรงคก์ ัน ต่อไป ทำต่อไปอีก หยุดไม่ได้ พระเดชพระคุณยังเรียกว่ามาร เป็น เรือ่ งผลประโยชน์และเศรษฐกิจอยา่ งไร ก็แล้วแต่ มจร เราไมไ่ ด้สอนทฤษฎอี ยา่ งเดยี ว แตเ่ รานำแนวทฤษฎมี า ปฏบิ ตั ิดว้ ย เหลา้ บุหรี่ เป็นส่วนหนึง่ ของอบายมุข เป็นสิ่งควรลด ละ เลิก ประชาคม มจร ของเรา เราทำร่วมกัน จะเป็นพลังมหาศาล ส่วนโครงการวิจัยเราทำ 10 จังหวัด มจร ก็มีความภาคภูมิใจ ขอ ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ช่วยกันขับเคล่ือน รณรงค์ เพ่ือสุขภาพของคนไทยในองค์ รวม รศ.ดร.สุรพล สยุ ะพรหม รองอธกิ ารบดฝี ่ายกจิ การทั่วไป มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ท้ังหมดเป็นข้อมูลส่ือสารสาธารณะท้ังทางสื่อส่ิงพิมพ์ ออนไลน์ และภาพข่าวทางทีวีสาธารณะ ในภาพรวม ทุกท่านสะท้อนคิดและให้คติ อนั เป็นแนวคิดว่า เหล้าบุหรี่ และส่ิงเสพติด อ่ืน ๆ เป็นส่ิงท่ีไม่พึงประสงค์
พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 53 ในชุมชน และสังคม สง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาวะของคน ประชากร และส่งผล กระทบต่อประเทศชาติ ควรเว้น ลด ละ เลิกไปในท่ีสุด โดยทุกท่านใช้การ สอื่ สารสาธารณะ พูด สะท้อนคิด โดยมีผลคาดหวังเป็นการขับเคล่ือน (1) รณรงค์ (2) กระตุ้นเร้าให้เกิดการทำ หรือดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยงจาก เหล้า บุหรี่ ส่ิงเสพติดชนิดอ่ืน ๆ รวมถึงการพนัน (3) ขับเคลื่อนภายใต้ ขอบขา่ ยภาคีร่วมให้เกดิ กลไกขับเคล่ือนต่อทั้งในระดับพ้ืนท่ีและภาพกว้าง (4) เป็นการรณรงค์ให้เกิดกระบวนการขับเคล่ือนในองค์รวมหลายพื้นท่ี และระดับประเทศตอ่ ไป (5) ท้ังหมดมีเป้าหมายเพอ่ื สขุ ภาวะของคนในองค์ รวม ทำให้เกิดเป็นพลวัฒน์ กระตุ้นเร้า และเห็นความสำคัญของสุขภาพ จากพิษภัยของส่ิงเสพติด เหล้า บุหร่ี และสิ่งเสพติด ชนิดอื่นๆ ด้วย ทั้งหมดจึงเป็นการส่ือสารแบบมีเป้าหมายผ่านระบบส่ือ (ทีวี ระบบ ออนไลน์ สอื่ สิ่งพมิ พ)์ มผี ลคาดหวังเป็นการ “ลดปจั จยั เสย่ี ง” โดยมฐี านต้ัง ต้นดำเนินการท่ีชุมชนคลองกระทงิ วัดอินทาราม อำเภออัมพวา จังหวัด สมทุ รสงคราม การสอ่ื สารเพ่ือให้เกิดผลในทางปฏิบตั แิ ละการเอาอยา่ ง ในการจดั งานรณรงค์ส่งเสริมเชิงพื้นท่ีครั้งนี้ มีวิธีการส่ือสารผ่าน ห ล าย ช่อ งท าง ท้ั งก ารสื่ อส ารผ่ าน ก ารถ่ าย ท อ ดส ด Facebook Live,Youtube Live การสอื่ สารผ่านทวี ีช่องตา่ ง ๆ ส่ือสิง่ พิมพอ์ อนไลน์ ทำ ใหเ้ กดิ การขับเคล่อื นเป็นสาร (Message) จากภาคเี ครอื ข่าย ผู้บรหิ ารคณะ สงฆ์ และรัฐระดับพ้ืนท่ี (จังหวัด) คณะสงฆ์วัดอินทาราม คณะนักวิจัย บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั โดยมผี สู้ ่งสารเปน็
54 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ทีมงานเครือข่ายท้ังหมด (Sender) ใช้ช่องทางการส่ือสารผ่าน (Chanel) ในการสอื่ สารสาธารณะ ทง้ั Facebook Live Youtube หนังสอื พิมพ์ และ ทีวชี ่องปกติ เชน่ ช่อง 5 และ 9 รวมทงั้ ช่อง MCU TV มีเปา้ หมายเปน็ การ สือ่ สารสาธารณะเพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจ รณรงค์ กระตุ้น สง่ เสริมส่กู ารลงมอื ทำ ห วั ง ผ ล เป็ น ก า ร ณ ร ง ค์ ให้ ป ร ะ ช าช น ใน ภ าพ ก ว้า ง ได้ รั บ ท ร า บ ข้ อ มู ล (Receiver) โทษ พิษภัย และเห็นความสำคัญของการลด ละ เลิก ท้ัง ตระหนัก นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมการเลกิ เหล้า บุหร่ี หรือยาเสพติดท่มี ี ผลเสียต่อสุขภาพในองค์รวมในแบบอื่น ๆ ด้วย ซ่ึงนับว่าเป็นไปตาม เปา้ หมายและเจตจำนงสูงสดุ ของการจดั กิจกรรมน้ีดว้ ยเช่นกัน ภาพท่ี 5 ภาคีเครือข่ายรว่ มกนั รณรงค์ เพ่อื กระต้นุ และสง่ เสรมิ ให้เห็นพษิ ภยั ของเหล้าและบุหร่ี ผา่ นสือ่ บคุ คล สู่สอ่ื สาธารณะชนดิ ตา่ งๆ เพอ่ื ลด ปจั จยั เสี่ยง (ภาพคณะนกั วจิ ัย, 3 กรกฎาคม 2563)
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 55 ต้นแบบ พลงั บวรพทิ ักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครอื ขา่ ยทาง สงั คมเพ่ือลดปัจจยั เส่ยี งตามแนวพระพุทธศาสนา จงั หวดั สมทุ รสงคราม 1.การสร้างแบบอย่างผ่านแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ใน ความหมายคือ การใช้หลักทางศีลธรรม เกณฑ์ทางศาสนามาเป็นกลไก สำคัญกระตนุ้ ให้เกดิ การรณรงค์ ลดเหลา้ บุหร่ี และสิ่งเสพตดิ เพอื่ ป้องกัน ผล การส่งต่อแนวคิดทางพระพุทธศาสนาให้เป็นแบบอย่าง (1) พระสงฆ์ เป็นแบบอย่างในการลดปัจจัยเสี่ยง ปลอดเหล้า บุหรี่ ตามหลักศีล ทำตน เป็นตน้ แบบ (พระครูปริยตั ิสาทร, 2562,12-24) (2) พระสงฆ์ วดั ใชบ้ ญุ พิธี ศาสนพธิ ี และวนั สำคัญทางพระพทุ ธศาสนา เปน็ กลไกในการลดปัจจยั เสย่ี ง (3) หลักคำสอนในเรื่องบุญบาป เหตุผล ความเป็นคุณเป็นโทษ คุณค่าแท้ คณุ ค่าเทียม และโครงการหมู่บ้านศีล 5 ภายใต้กรอบรักษาศลี โดยเฉพาะ ข้อ 5 ที่ว่าด้วยอมายมุข สิ่งเสพติด มึนเมา รวมไปถึงการพนัน และการมี สมั มาชีพเปน็ องค์ประกอบร่วมดว้ ย ดังปรากฏผลเชงิ ปฏบิ ัตใิ นงานวจิ ัยเรือ่ ง รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายหมูบ่ ้านรักษาศีล 5 ให้ประสบความสำเร็จ (วณิฎา ศิริวรสกุล,วัชรินทร์ อินทพรหม,2561,203-209) และวิจัยเร่ือง รปู แบบการมีสว่ นร่วมของพระสงฆใ์ นการแก้ไขปญั หาการติดยาเสพตดิ ใน เขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 2 (พระครพู ินิตปริยัติกิจ (สมบตั ิ วรธมโฺ ม) และ คณะ,2561,1-14) และงานวิจัยเรื่อง แนวคิด ตัวช้ีวัด องค์ประกอบ บทเรียน และบรู ณาการตามโครงการหมบู่ า้ นรักษาศลี 5 (พระมหายุทธนา นรเชฏโฐ (ศริ ิวรรณ),จุฑารตั น์ ทองอนิ จนั ทร์, 2561,204-214. เปน็ ตน้
56 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน 2.แบบอย่างสามัคคีแบบมีส่วนร่วมในชุมชน หมายถึง การ ทำงานเชิงพ้ืนที่ในระดับปฏิบัติ ที่ใช้มิตรสัมพันธ์ ความใกล้ชิดเสมือนหนึ่ง ญาติมิตรในการให้คำแนะนำ บอกกล่าวให้ระมัดระวงั หรือป้องกันโดยใช้ มิติสัมพันธ์ชุมชน เครือญาติและความใกล้ชิด โดยมีวัด พระสงฆ์ ชุมชน และเครือข่ายในการทำงานร่วมกัน พระสอนธรรมะ หมอพยาบาล ให้ ความรู้ด้านสุขภาพ ผู้นำชุมชนกำกบั ดูแล ตรวจสอบ ผู้ปกครอง พ่อแม่ ว่า กล่าว ตักเตอื น โดยมีเปา้ หมายหลักเป็นสขุ ภาวะของสมาชกิ ในชุมชน เห็น ความสำคญั ตระหนกั และปฏิบตั ติ ามต่อการลดปัจจัยเสีย่ ง ดังปรากฎแนว ปฏบิ ตั ใิ นงานวิจัยเร่อื ง ความสมั พันธ์ระหวา่ งความรู้ และทัศนคตขิ องผู้สูบ บุหรี่ในการป้องกันการสัมผัสควันบุหรี่มือสองให้กับสมาชิ กในครอบครัว (วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ, น้ําฝน ไวทยวงศ์กร, วิรุฬจิตรา อุ่นจางวาง, 2556,31-41) หรอื การใช้ปฏิสัมพันธ์เชิงชุมชนของพระสงฆ์กับการทำงาน ดังปรากฏในงานวิจัย เร่ือง บทบาทการพัฒนาชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยรู ), 2560,439-455) เป็นต้น 3.การกระตุ้นส่งเสริม รณรงค์บ่อย ๆ ผ่านภาคีเครือข่า ย หมายถงึ ทำบอ่ ย ๆ ต่อเนอื่ งจนกลายเปน็ ภาพจำ หรือความสำนึกเชงิ สงั คม โดยพระเทศน์สอน ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ภาครัฐ หน่วยงานราชการ โรงพยาบาล ตำรวจ ช่วยกันรณรงค์เสรมิ ในแบบภาคีเครือข่าย ทำให้เกิด การปฏบิ ัติและเอาอย่างทำใหเ้ กิดการยอมรับ และปฏิบตั ิตามในภาพกว้าง กลายเป็นแนวปฏิบัติเดียวกัน เหมือนน้ำตลอดสาย ตามช่ือคลองกระทิง
พระครูพู ิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 57 ต่างทำหน้าที่ในการดูแลชมุ ชนภายใต้ “ภาครี ว่ ม” การเกดิ การขบั เคลือ่ นก็ จะเกิดข้ึนในภาพรวมด้วยเช่นกัน ดังปรากฏเป็นผลเชิงปฏิบัติในงานวิจัย เรื่อง การมีสว่ นร่วมของพระสงฆ์ในการเสริมสร้างสุขภาวะและเครือข่าย ทางสงั คม เพื่อลดเหล้าบหุ รี่เชิงพุทธบูรณาการในจังหวัดนนทบรุ ี (พระอดุ ม สิทธินายก (กำพล คุณงกฺ โร), พระมหานกิ ร ฐานุตตฺ โร, 2562,1-16) 4.การใชส้ อ่ื รณรงคส์ ่งเสรมิ กระต้นุ ให้เกิดการปฏิบตั ิ หมายถึง ใน การจัดงานได้มกี ารรณรงค์ผ่านกจิ กรรมที่จัดขึ้นภายในวัด แตอ่ ีกนัยหน่งึ ใน การจัดงาน ได้มกี ารนำไปประชาสัมพันธบ์ อกต่อเพื่อให้เกิดการปฏบิ ัตติ าม ผ่านสื่อชนิดต่าง ๆ เป้าหมายเพ่ือการลดปัจจัยเสี่ยงจากเหล้าบุหรี่อันจะ เกิดข้ึน ดังปรากฏภาพข่าวทางทีวีช่องต่าง ๆ การถ่ายทอดสดผ่าน Facebook, Youtube การเขยี นเปน็ ภาพขา่ ว สกู๊ปข่าว เปน็ ต้น ดังปรากฏ เป็นแนวปฏิบัติในงานวิจัยเรื่อง ช่องทางการส่ือสาร, งดเหล้าเข้าพร การ วิเคราะห์ช่องทางการส่ือสาร โน้มน้าวใจในการณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา ของหน่วยงานรัฐในอำเภอเมืองน่าน จังหวดั น่าน (สมคิด นันต๊ะ,บัณฑิกา จารุมา, 2562,97-106) หรือในงานวิจัยเรื่อง กระบวนการปรับแปลง ความหมายของ “เหล้า” ในพิธีกรรมงานศพ (บุษยากร ตีระพฤติกุลชัย กาญจนา แกว้ เทพ, 2555,34-50) ท่ใี ชก้ ารสอ่ื สารมาเป็นช่องทางในการลด ปจั จยั เสี่ยงจากเหล้าบหุ ร่ี เปน็ ต้น.
58 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ภาพท่ี 6 ประชาชนเขา้ รว่ มกิจกรรมรณรงค์ โครงการเทเหลา้ เผาบหุ รี่ “เลิกด่ืม เลิก สูบ ลดเส่ยี ง” กับชมุ ชนคลองกระทิง วัดอินทาราม ต.เหมืองใหม่ จ.สมทุ รสงคราม (ภาพคณะนักวิจยั , 3 กรกฎาคม 2563) สรปุ ส่งทา้ ย ในการทำกิจกรรมอธษิ ฐานจิต บวชใจอธษิ ฐานบารมี ลดละเลิก เหล้า บุหร่ี ตลอดพรรษา เทเหล้า เผาบุหรี่ “เลิกด่ืม เลิกสูบ ลดเสี่ยง” เป็นการ (1) ใช้วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชา-วัน เข้าพรรษา” มาเป็นเคร่ืองหมายของการเร่ิมต้น ตลอด 3 เดือนระหว่าง พรรษา ต้งั ใจทำสิง่ ดยี ืนยนั เจตนารมณ์ ท่มี ปี ระโยชน์เพอ่ื สขุ ภาพตัวเองและ คนรอบข้าง (2) ใช้ความสำคัญของวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน ในการทำ กจิ กรรม (3) ใช้กระบวนการของเครือข่ายเป็นแนวทางหรือวิธกี ารในการ ขบั เคลื่อนให้เกิดการยอมรับและนำไปสู่การปฏิบัติตามในองค์รวมเกิดขึ้น เป็นภาพแบบอย่างเป็นเครือข่ายภาพรวมและทำให้เกิดพลังในการ สร้างสรรค์ (4) ภาพที่ส่ือสารสาธารณะ ผ่านการประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ส่งเสริมจะทำใหเกิดภาพของการตระหนัก สร้างความสำนึก ตระหนักนึก ให้เกิดการปฏิบัติตาม หรือไม่ปฏิบัติตามเมื่อเห็นโทษ หรอื พิษภัย ปฏิบัติ ตามในส่ิงที่เป็นคุณประโยชน์ ดังน้ันการสื่อสารจึงมีความหมายเป็น
พระครูพู ิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 59 แนวทางหรือวิธีการ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติ อันเป็นส่วนหน่ึงของ โครงการวจิ ยั พลังบวรพทิ ักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือขา่ ยทาง สังคมเพือ่ ลดปัจจัยเสยี่ งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัดสมุทรสงคราม บทสรุปของการจัดกิจกรรม จึงเป็นวิธีการ หรือแนวทาง ให้เกิดการ ขบั เคล่ือนเป็นพลังชุมชน เป็นกลไกชุมชน ร่วมกับภาคีเครอื ข่ายและส่วน งานตา่ ง ๆ ใหเ้ กิดเปน็ พลงั บวร “บ้าน วัด โรงเรียน ราชการ ชุมชน” เกิด เป็นภาคีร่วมกันในการลดเหลา้ บุหรี่ จนกระทั่งไปสู่การเลิกเหล้าบุหร่ีลด ปัจจัยเสี่ยงต่อไป ส่งผลเป็นมวลรวมความสุขจากสุขภาวะท่ีดีของคนใน ชมุ ชนและสงั คมภาพกว้าง ซึ่งนับเปน็ ส่วนสำคัญและผลไดจ้ ากการดำเนิน กิจกรรมโครงการในครั้งนี้ ภาพที่ 7 พระพรหมบัณฑิต,ศ.ดร. กรรมการมหาเถรสมาคม เปน็ ประธานในพิธี โครงการเทเหลา้ เผาบุหร่ี “เลกิ ดม่ื เลิกสูบ ลดเสยี่ ง” กับชุมชนคลองกระทิง วัดอนิ ทา ราม ต.เหมืองใหม่ จ.สมุทรสงคราม (ภาพคณะนักวิจัย, 3 กรกฎาคม 2563) เอกสารอา้ งองิ ชรัส บญุ ณสะ. ผูว้ ่าราชการจงั หวัดสมทุ รสงคราม,3 กรกฎาคม 2563), สัมภาษณ์. บุษยากร ตรี ะพฤติกุลชยั กาญจนา แก้วเทพ. (2555). กระบวนการปรบั
60 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน แปลงความหมายของ “เหลา้ ” ใน พิธีกรรมงานศพ. วารสาร นิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 30 (2),34-50. ผอ่ งศรี ศรีมรกต,อิทธิพล พ่ออามาตย์. (2557). การสำรวจตดิ ตามสภาพ ฝ่นุ ควนั จากบหุ ร่ีในส่งิ แวดล้อมรอบตัวผสู้ ูบบหุ รี่ และผู้สมั ผัสควนั บหุ รม่ี ือสองในโรงพยาบาล. วารสารการพยาบาล. 63 (1),48-54. พระพรหมบณั ฑติ ,ศ.ดร. กรรมการมหาเถรสมาคม รก.เจ้าคณะใหญห่ น กลาง, 3 กรกฎาคม 2563, สมั ภาษณ์. พระครูพิศษิ ฎป์ ระชานาถ. เจา้ อาวาสวดั อินทาราม, รองเจา้ คณะอำเภอ อัมพวา,3 กรกฎาคม 2563, สมั ภาษณ์. พระครพู ิศิษฏป์ ระชานาถ (นนทฺ ิโย ประยรู ). (2560). บทบาทการพฒั นา ชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออมั พวา จงั หวดั สมุทรสงคราม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 6 (2) (ฉบบั พเิ ศษ),439-455. พระอดุ มสิทธนิ ายก (กำพล คณุ งกฺ โร) พระมหานิกร ฐานตุ ตฺ โร. (2562). การมสี ่วนร่วมของพระสงฆ์ในการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะและครอื ขา่ ย ทางสงั คม เพ่อื ลดเหลา้ บุหรี่เชิงพุทธบรู ณาการในจงั หวดั นนทบรุ ี. วารสาร มจร สงั คมศาสตร์ปริทรรศน์. 8 (4),1-16. พระครปู รยิ ัตสิ าทร. (2562). กระบวนการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการสบู บุหร่ีของพระสงฆส์ ู่การเปน็ ตน้ แบบปลอดบหุ ร่ี จังหวัดเลย. วารสารสถาบันวิจยั ญาณสงั วร. 10 (2),12-24.
พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 61 พระครพู ินิตปริยัตกิ ิจ (สมบัติ วรธมโฺ ม) และคณะ. (2561). รปู แบบการมี สว่ นร่วมของพระสงฆ์ในการแกไ้ ขปัญหาการติดยาเสพติด ในเขต ปกครองคณะสงฆ์ภาค 2. วารสาร มจร สงั คมศาสตรป์ ริทรรศน์. 7 (3),1-14. พระมหายุทธนา นรเชฏโฐ (ศริ วิ รรณ),จฑุ ารัตน์ ทองอนิ จนั ทร์. (2561). แนวคิด ตวั ช้ีวัด องคป์ ระกอบ บทเรียน และบรู ณาการตาม โครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี 5”.วารสารชมุ ชนวจิ ัย. 12 (2),204-214. วิภารัตน์ สวุ รรณไวพฒั นะ, นา้ํ ฝน ไวทยวงศ์กร, วริ ุฬจติ รา อุ่นจางวาง . (2556). ความสัมพนั ธ์ระหว่างความรู้และทัศนคตขิ องผู้สบู บหุ รีใ่ น การป้องกนั การสมั ผสั ควนั บหุ ร่มี อื สองใหก้ บั สมาชิกในครอบครัว . วารสารวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีนครราชสมี า.19 (1),31-41. วณิฎา ศิริวรสกุล,วชั รินทร์ อินทพรหม. (2561). รปู แบบการขับเคลอื่ น นโยบายหมู่บา้ นรกั ษาศีล 5 ให้ประสบความสำเร็จ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบรุ ี . 12 (29),203-209. ศิริพร จนิ ดารตั น์,สุกัญญา โลจนาภวิ ฒั น์,ถนอมศรี อินทนนท์. (2554). การ พัฒนาแนวปฏิบตั ิในการสนบั สนนุ การเลกิ บหุ รข่ี องผใู้ ช้บริการคลกิ นกิ อดบุหรี่. วารสารการพยาบาล. 26 (3),64-77. ศูนยว์ ิจยั และจัดการความรูเ้ พ่ือควบคุมยาสูบ. (2561). รายงานสถติ กิ าร บริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2561. สืบค้น 30 ธนั วาคม 2563,จาก http://www.trc.or.th/th/. สมคิด พุม่ ทเุ รยี น, ศศิกิจจ์ อำ่ จยุ้ , อนงค์นาฏ แกว้ ไพฑรู ย์. (2562). วิเคราะหก์ จิ กรรมเชงิ พทุ ธตามโครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี 5 กับการ
62 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน หนนุ เนื่องคณุ ค่านยิ ม 12 ประการ. วารสารบณั ฑติ ปรทิ รรศน์ วทิ ยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. 7 (1),225-238. สมคิด นนั ตะ๊ ,บัณฑิกา จารมุ า. (2562). ช่องทางการสอื่ สาร, งดเหล้าเขา้ พร การวเิ คราะห์ชอ่ งทางการส่ือสารโนม้ นา้ วใจในการณรงคง์ ด เหลา้ เข้าพรรษาของหน่วยงานรฐั ในอำเภอเมอื งน่าน จงั หวัดน่าน. วารสาร มจร มนษุ ยศาสตร์ปริทรรศน์. 5 (2),97-106. สุรพล สยุ ะพรหม. รองอธกิ ารบดีฝ่ายกจิ การท่ัวไป มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลยั , 3 กรกฎาคม 2563, สัมภาษณ์.
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 63 ยุวชนคณุ ธรรม : แนวทางลดปัจจัยเสย่ี งของชมุ ชนกระทงิ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม* Virtue Youth: Guidelines For Reducing Risk Factors Of Krathing Cummunity, Amphawa District, Samut Songkhram Province ------------------------------------------- พระครพู ิศษิ ฏป์ ระชานาถ (ประยูร นนทฺ โิ ย), สมชาย ลำภู, พระมหากฤษฎา กติ ตฺ ิโสภโณ, พระปลัดระพิน พทุ ธิสาโร, สุภัทรชยั สสี ะใบ Phrakhru Phisit Prachanat (Prayoon Nonthiyo), Somchai Lamphu, Phramaha Krisada Kittisobhano, Phrapalad Rapin Bhuddhisaro, Suphatchai Sisabai วัดอนิ ทาราม จงั หวัดสมุทรสงคราม Wat Intharam, Samut Songkhram Province E-mail: Krisada.sae@mcu.ac.th บทคดั ย่อ บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัย เร่ืองยุวชนคุณธรรม : แนวทางลดปัจจัยเสี่ยงของชุมชนกระทิงอำเภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม ใช้วธิ กี ารเข้ารว่ มสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม การสมั ภาษณ์ และ การศึกษาจากเอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง เขียนนำเสนอในรปู แบบการ สะท้อนคดิ บนั ทึกสิง่ ทไ่ี ด้พบในรูปแบบบทความวชิ าการ *ตีพิมพ์เผยแผ่ในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ (Journal of Interdisciplinary Innovation Review) ปที ี่ 4 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2563 Vol. 4 No. 1 January – June 2021 หน้า 102-117.
64 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ผลการศึกษาพบว่า พระสงฆ์วัดอินทารามมีบทบาทในการเข้าไป ส่งเสริมกิจกรรมยุวชนคุณธรรม โดยการจัดบรรพชาสามเณร เพ่ือเป็นการ ฝึกหัด ขัดเกลา ปลูกเจคติที่ดี ห่างไกลอบายมุข ให้เป็นต้นแบบในการ รณรงค์ส่งเสริมการงดเหล้า ลดบุหร่ีเพ่ือสุขภาพ ระยะเวลา 3 วัน 3 คืน ในช่วงวนั พอ่ แหง่ ชาติ มีการส่งเสรมิ ให้เยาวชน ซึ่งเป็นกลุม่ เส่ียงไดบ้ รรพชา เป็นสามเณรเข้าไปทำกิจกรรรมรณรงค์ส่งเสริมการลดเหล้า ลดบุหรี่ ส่งเสริมให้เยาวชนมปี ฏิสมั พนั ธ์กับชุมชน ดว้ ยการแจกส่งิ ของเครอ่ื งอุปโภค บริโภค จัดมอบทนุ การศกึ ษา และทุนอาหารกลางวนั โรงเรียนทสี่ ามเณรมา บวชทั้ง 2 แห่ง เป็นปฏิสัมพนั ธ์และภมู ิคุ้มกันดา้ นสุขภาวะ รณรงค์ส่งเสริม ศีลกินได้ บวชเณรกินได้ ลดปัจจัยเสี่ยงการไม่กินเหล้าสูบบุหรี่ของคนใน ชุมชนกระทิง อำเภออมั พวาจังหวดั สมทุ รสงคราม คำสำคัญ: ยุวชนคณุ ธรรม; แนวทางลดปัจจยั เส่ียง; ชมุ ชนกระทิง ABSTRACT This article is part of a research on virtue youth: guidelines for reducing risk factors of Krating Community, Amphawa District, Samut Songkhram Province. Study on the using of participatory observation, interviews and a study of relevant papers and research. Write presentations in the form of reflecting, recording and recording what has been found in the form of academic articles
พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 65 The results of the study showed that Monks of Wat Intharam play a role in promoting virtue youth activities by arranging the ordination of novices to be a practice, refining, cultivating, good belief, far away from intrigue to be a model for the campaign to promote the abstention of alcohol reduce smoking for health for 3 days and 3 nights during Father's Day. There is a promotion for youth which is a risk group, ordained as a novice to do a campaign to promote the reduction of alcohol and smoking. Encourage youth to interact with the community with distribution of consumer goods, Provide scholarships and a scholarship for school lunches where a novice came to ordain both schools. It is an interaction and immunity in health. Campaign to promote can eat principle (Sila), Novices (Samanera) to eat. Reduce the risk of alcohol smoking among people in the Krating community, Amphawa District, Samut Songkhram Province. Keywords: Virtue Youth; Guidelines for Reducing Risk Factors; Krating Community
66 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน บทนำ คณะนักวิจัยพร้อมคณะพระวิทยากร ภายใต้กิจกรรมโครงการ บรรพชาสามเณรนอ้ มเกล้าถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ร่วมกับวัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม จัดโครงการ อุปสมบท โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นกุลบุตร ที่มีพร้อมความท่ีจะบวชเป็น พระภิกษุ และกลุ่มอายุน้อยกวา่ 20 ปี ที่จะประสงค์บวชเป็นสามเณร โดย มีเป้าหมายการบวชเพอ่ื น้อมเกล้าถวายเป็นพระราชกุศล และเพ่ือสง่ เสริม กิจกรรมทางศาสนา ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ รวมทั้งเป็นการปลูกฝัง น้อง ๆ วัยเรียนโดยใช้วิธีทางศาสนา คือการบรรพชาเป็นสามเณร โดย กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน (1) โรงเรียนวัดเสด็จสุทธิวิทยานุสรณ์ (2) โรงเรยี นถาวรวทิ ยา เปา้ หมายเป็นเปน็ กลไกฝกึ อบรม ให้นกั เรยี น เยาวชน ผ่านวิถีสามเณร ผู้ใหญ่ ประชาชนผา่ นวิถีทางศาสนาในการลดปัจจัยเสี่ยง กรณีบวชเป็นพระหมายถึงกลุ่มผู้ใหญ่ โตแล้ว ก็ให้หยดุ เลิก เว้นระยะห่าง โดยใชก้ ารบวช เพื่อป้องกันด้านสุขภาพ อันจะเกิดจากเหล้าหรือบุหรี่ได้ ส่วนเด็กนักเรยี น เยาวชน ลดปัจจัยเสี่ยง ฝึกอบรม สร้างภาพจำเก่ียวกับ การบวชและวิถีทางศาสนา รวมไปถึงการบวชเนื่องในวันท่ี 4 ธันวาคม 2563 ซงึ่ เปน็ การถวายเปน็ พระราชกุศลอดตี บูรพกษตั รยิ ์ไทยรัชกาลท่ี 9 ท่ี ครองราชยเ์ ปน็ เวลานานในทีส่ ุดของกษัตรยิ ์ในระดับนานาชาติ แม้พระองค์ จะไดเ้ สดจ็ สวรรคตแลว้ กไ็ ดม้ ีการจดั กิจกรรมอันเน่อื งด้วยพระองค์ท่าน อีก นัยหนึ่งเป็นการให้ค่านิยมเรื่องการบวช ที่สัมพันธ์กับคำสอนทาง พระพทุ ธศาสนาว่าดว้ ยความกตัญญูรู้คุณคน นอกจากนี้ยงั มีเป้าหมายเป็น
พระครููพิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 67 การบวชเพ่อื รณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนได้เป็นส่วนหน่ึงของชมุ ชนในการ ทำกจิ กรรมร่วมกัน เป็นรูปแบบการสง่ เสรมิ ลดปัจจยั เสีย่ ง เหล้า บหุ รี่ ส่ิง เสพติด การพนัน เกมส์ และอ่นื ๆ โดยใช้วถิ ีและกลไกทางศาสนา การลง พ้ืนท่ีอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพ่ือร่วมพิธีการบรรพชา อุปสมบทในครั้งน้ี จึงนับเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย รวมทั้งเป็นกลไก ขบั เคล่ือนลดปัจจัยเสย่ี งโดยวิถีทางศาสนาโดยกลมุ่ เป้าหมายเป็นเด็กและ เยาวชน จากน้ันถอดองค์ความรู้เป็นต้นแบบ เป็นแบบอย่าง ส่งต่อให้กับ ชมุ ชนอน่ื ๆ ในการสรา้ งการตระหนักรู้ สร้างภูมคิ ุ้มกนั ให้สอดคล้องกบั ชว่ ง วัย รวมทงั้ เป็นการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะในองคร์ วมลดปัจจัยเสย่ี งจากเหลา้ บุหรี่ และสิ่งอ่ืน ๆ ทั้งปลูกฝังแต่เด็ก พร้อมรณรงค์ให้ผู้ใหญ่ วัยทำงาน ได้เห็น ความสำคัญร่วมกับวิถีทางศาสนาท่ีจัดดำเนินการข้ึน ซึ่งได้มีการนำ สามเณรไปร่วมรณรงค์ในชมุ ชน ถอื แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ แจกถงุ ยงั ชีพ กับทางวัด พร้อมนำกิจกรรมน้ีต้ังแต่บวชจนจบโครงการไปทำส่ือ ประชาสัมพนั ธ์ รณรงค์ส่งเสรมิ ในสอื่ สาธารณะ และชุมชนอ่ืน ๆ ดว้ ย ซ่ึงใน การเขียนเป็นความเรยี งนจ้ี ะได้นำเสนอแบ่งปันเป็นการถอดบทเรียนจาก พืน้ ทจ่ี ากกิจกรรมส่วนนเ้ี ป็นลำดบั ต่อไป การลดปัจจยั เสีย่ งกบั วิถที างศาสนาในสงั คมไทย ในงานวิจัยเร่ือง วิธีการสร้างแรงจูงใจในการบรรพชาเป็น สามเณรในสังคมไทย (พระมหาสุวทิ ย์ ธมฺมิกมุนิ (ธีรเนตร) และธวัช หอม ทวนลม, 2561) ที่การบวชมีผลต่อการสร้างแรงจูงใจและจริยธรรมเชิง
68 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน คาดหวังในสามเณรผู้บวชให้เป็นไปตามกรอบของศีลและวินัย หรืออีก ความหมายคือเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กหรอื เยาวชนผ่านกระบวนการ ทางศาสนาได้ ในงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาจริยธรรมนักเรียนโดยอาศัย กระบวนการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชน อำเภอนำ้ พอง จังหวดั ขอนแก่น (ธรี ะศักด์ิ บึงมุม, 2558) ท่ีเสนอ ว่า การอบรมสั่งสอนเป็นหลักท้ังภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติและแบบอยา่ ง การประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ ซ่ึงมีพระวิทยากร สามเณรพี่เลี้ยง ใน ระยะเวลาท่ีอยู่ร่วมกัน ส่งผลให้เกิด การเรียนรู้ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการมิสัมมาคารวะรวม วิจยั เร่ือง ศึกษาวเิ คราะห์รปู แบบการ พฒั นาสามเณรช่อสะอาด (พระบารมี นนฺทธมฺมิโก, พระมหาหรรษา ธมฺ มหาโส, 2562) ท่ีเสนอผลการศึกษาว่า การจัดโครงการบรรพชาสามเณร ช่อสะอาด สามารถช่วยพัฒนาเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันปัญหาต่างๆ และ สามารถตอบโจทย์คุณลักษณะเยาวชนที่ดีของชุมชน สังคม และ ประเทศชาติได้ ในงานวิจัยเรื่อง วิธีการสร้างแรงจูงใจในการบรรพชา เป็นสามเณรในสังคมไทย (พระมหาสุวทิ ย์ ธมฺมิกมุนิ (ธีรเนตร) และธวัช หอมทวนลม, 2561) ที่มีเป้าหมายเพื่อศึกษาวิธีสร้างแรงจูงใจในการ บรรพชาเป็นสามเณรในสังคมไทยรวมท้ังวิธีการกล่อมเกลาการดูแลให้ การศึกษา ในงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาจริยธรรมนักเรียนโดยอาศัย กระบวนการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ชมุ ชน อำเภอนำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น (ธรี ะศักดิ์ บึงมุม, 2558) ที่ให้ผล วิจัยว่าการสร้างความเปลี่ยนแปลงในพฤติก รรมของผู้บวชเกิดจากการ
พระครููพิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 69 อบรมส่ังสอนเป็นหลักทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติและแบบอย่างกา ร ประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ นำไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการม สมั มาคารวะ เป็นต้น หรือในงานศึกษาเรอ่ื ง ศึกษาวิเคราะห์รปู แบบการ พัฒนาสามเณรช่อสะอาด (พระบารมี นนฺทธมฺมิโก และพระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, 2562) ที่ให้ผลการศึกษาว่า โครงการบรรพชาสามเณรช่อ สะอาด สามารถชว่ ยพฒั นาเยาวชนใหม้ ีภมู คิ ุ้มกนั ปัญหาต่างๆ และสามารถ ตอบโจทย์คุณลักษณะเยาวชนที่ดีของชุมชน สังคม และประเทศชาติได้ หรือในงานวจิ ัยเร่ือง กระบวนการพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพสามเณร โรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (พระชินภัทร ชินภทโท และคณะ, 2556) ท่ีสะท้อนถึงสุขภาวะของสามเณรผ่านการบวช โดยมีการทดลอง ส่งเสริมเกี่ยวกับสุขภ าพ ที่เน้นกระบวนการท่ีสำคัญ ในการเพ่ิ ม ความสามารถในการควบคุมและปรับปรุงสขุ ภาพตนเอง พฒั นาระบบการ ดูแลสุขภาพสามเณรอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเน่ืองรวมถึงการพัฒนา ส่งิ แวดล้อมให้เอื้อต่อการสรา้ งเสรมิ สุขภาพของสามเณร นอกจากน้ีในงานวิจัยอีกหลายฉบับเช่น ปัจจัยทางจิตวิทยาเชิง บวกที่มีต่อพฤติกรรมการปรับตัวของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดปทุมธานี (พระนิพนธ์ โกวโิ ท (แลเชอะ) และคณะ, 2562) การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาพุทธ ศาสนทายาทให้ย่ังยืน (พระมหาบุญศรี ญาณวุฑฺโฒ, 2555) รูปแบบการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตไทยในประเทศอนิ เดีย (บุญร่วม คำเมืองแสน และคณะ, 2560) โดยแนวทางของงานวิจัยทั้งหมดใช้วิธกี าร
70 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ผ่านการพัฒนาเยาวชนเด็กในรูปแบบของการบวช หรอื บรรพชาสามเณร โดยมีเป้าหมายวา่ จะเปน็ ช่องทางในการพฒั นาปลูกฝงั จริยธรรม รวมไปถึง การลดปัจจัยเส่ียงทเ่ี กิดขน้ึ กับเด็กในชว่ งเว้นจากการเรียนในช่วงปิดเทอม ด้วยการจัดกิจกรรมบรรพชสามเณรภาคฤดูร้อน แนวคิดน้ีนัยหนึ่งจึงเป็น แนวทางของวดั อินทาราม ผู้จัดโครงการร่วมกับโรงเรยี น ทมี่ เี ป้าหมายเพื่อ กระต้นุ เพอ่ื ลดปจั จัยเส่ียงและเปน็ การลดเงื่อนไขแทรกซ้อนทีจ่ ะเกิดขึน้ ในส่วนของวัดอินทาราม ได้สร้างกลไก เช่น ส่งเสริมการให้ โครงการอาหารกลางวัน การให้ทุนการศึกษาแก่ผู้บรรพชาเป็นสามเณร และเข้าร่วมโครงการลดปัจจัยเส่ียง นัยหนึ่งเป็นวิธีวิทยาทางจิตวิทยาที่ สร้างแรงจูงใจให้เกิดข้ึนเป็นกลไกหรือวิธีการที่สำคัญและนำไปสู่การ ขบั เคลื่อนให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ซึ่งวิธีการดังกล่าวปรากฏเป็นแบบอย่าง ของวัดนิมมานรดีด้วยดังปรากฏในงานวิจัยเร่ือง บทบาทพระเทพสุธี (สมควร ปิยสีโล) เจ้าคณะภาค 14 เจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี กับงาน พัฒนาเด็กและเยาวชน (พระมหาจิรศักดิ์ คำลายและวรรณวีร์ บุญคุ้ม, 2561) ท่ีสะท้อนผลเป็นวิธีการในการพัฒนาเยาวชนเด็ก นัยหน่ึงเป็นการ ลดปัจจัยเส่ียงด้วยวิธกี าร มอบทุนสนับสนุนโรงเรยี นเพ่ือการจดั การเรียน การสอนธรรมศึกษา ซ่ึงเป็นการดำเนินนโยบายในชื่อ “ให้ธรรม ให้ทุน” และจัดกิจกรรมโครงการบรรพชาสามเณรและบวชเนกขมั มจารณิ ีภาคฤดู ร้อน การเข้าคา่ ยพุทธบุตรเป็นประจำทกุ ปี ผลที่เกิดขึน้ ตอ่ ชุมชน คือ การ ให้ความช่วยเหลือด้านปัจจัยพื้นฐานของคนในชุมชน การให้ทาน เช่น โครงการแจกข้าวสารทุกเดือน โครงการเยี่ยมบ้านพระภิกษุสามเณรวัด
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 71 นมิ มานรดี โดยจัดสรรงบประมาณชว่ ยเหลอื ครอบครวั ใชห้ ลักการทำใหค้ น เกิดศรัทธาและมีความเช่ือมั่นในส่ิงที่หลวงพ่อทำ ทั้งยังประสานความ รว่ มมือไปยังชุมชน วัด โรงเรียน และหน่วยงานราชการ หรือ “บวร” ใน การพัฒนาชมุ ชนวัดนิมมานรดี ดังน้ัน วัดอนิ ทารามจัดบรรพชาอุปสมบท น้อมเกล้าถวายเป็นพระราชกุศล และเจาะจงไปยังการบวชสามเณรเพ่ือ เป็นกลไกลดเส่ยี งน้นั มีความหมายเป็นการจดั การหรอื รณรงคเ์ พ่ือให้เกิด การขับเคล่ือนระหว่างวัด ชุมชน เยาวชน โรงเรียน ครู โดยการบรรพชา บวชสามเณรตามวถิ ที างพทุ ธศาสนา ซึ่งเชือ่ ว่าจะเป็นวธิ กี าร เปน็ ทางเลือก ในการสร้างภูมิคุ้มกัน ปลูกกุศลเจตคติ ให้ค่านิยมท่ีถูกต้องสอดคล้องกับ ช่วยวัย ห่างไกลเหล้าบุหร่ี ลดปัจจัยเส่ียงใหส้ อดคล้องกับช่วงของวัย ดงั มี ผลเชิงประจักษ์ยืนยันเป็นงานวิจัยที่เก่ียวกับวิธีการบรรพชาสามเณรใน สงั คมไทย ที่มเี ป้าหมายเปน็ การพัฒนาและปลูกเจตคติ ขัดเกลา ลดปัจจัย เสยี่ งทางสังคมดงั ปรากฏ ภาพที่ 1 ภาพกจิ กรรมท่ีเนอ่ื งดว้ ยการสง่ เสริมวถิ ีทางศาสนาเพื่อลดปจั จัย เส่ยี งในชมุ ชนคลองกระทงิ จังหวดั สมทุ รสงคราม ที่มา: ผเู้ ขยี น (2563)
72 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน จากภาพ 1 วัดอินทารามใช้วิถีของวัดและทุนทางสังคมใน พระพทุ ธศาสนา “บรรพชา” เปน็ กลไกในการลดปจั จยั เส่ียงทสี่ อดคลอ้ งกบั ชว่ งของวยั อธิบายได้เป็น 2 ลักษณะ คอื การสร้างพืน้ ท่เี ฉพาะต่อเยาวชน นักเรียนทเี่ ขา้ มาบรรพชาเปน็ สามเณร ถือศีล บิณฑบาต ไหว้พระ สวดมนต์ จิตอาสาช่วยงานกิจกรรมของวัด และอีกความหมายสร้างจิตสำนึกเชิง ตระหนักปลูกฝัง โดยผ่านกิจกรรมเชิงปฏิบัติการโดยคณะพระวิทยากร อบรมโครงการค่ายคุณธรรม การบรรพชาสามเณร และอุปสมบทพระทวี่ ดั อนิ ทาราม กลุม่ ประชากรผเู้ ขา้ รว่ มอบรมเป็นสมาชกิ ในชมุ ชนเอง และเปน็ นักเรยี นจากโรงเรียนถาวรวิทยา ซ่ึงเป็นโรงเรียนเอกชน ท่มี กี ลุ่มเป้าหมาย เปน็ เดก็ นักเรยี นทีด่ อ้ ยโอกาส และมีพฤติกรรมเส่ยี ง และโรงเรยี นวดั เสด็จ สทุ ธิวิทยานุสรณ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนใกล้วัดอยู่ในความอุปถัมภ์ของวดั อินทา ราม ทั้ง 2 โรงเรียน ได้เข้าร่วมกิจกรรมกับทางวัด โดยนักเรียนได้เข้ามา บวชเป็นสามเณร ฝึกหัด ขัดเกลาตามวิถีทางศาสนา ตามกลไกทาง พระพุทธศาสนา การไหว้พระ สวดมนต์ ตามหลักของศีล และการอบรม โดยทเี่ น้นการให้เห็นคณุ ค่าของการบวช การถอื ศลี และวินัย ซึ่งเปน็ วินัยใน เชิงปฏบิ ัติ (ศลี ) เพ่ือให้ผู้เข้ารับการบรรพชา ไดม้ ีวินยั ทางสงั คม รบั ผดิ ชอบ ต่อส่วนรวม มีจิตสาธารณะ และเหน็ ความสำคัญของสมาชิกร่วมสังคมผ่าน “ลดปัจจัยเสยี่ ง” ไม่เบียดเบียดเบยี นตนเอง (ปาณาตบิ าท) ด้วยสิ่งเสพติด หรือสุราบุหร่ี ไม่เบยี ดเบยี นคนอืน่ ๆ หากแมเ้ รามีพฤติกรรมเส่ียงเป็นผู้เสพ ด่ืมเหล้าสูบบุหร่ีจนกลายเป็นผู้เบียดเบียนคนอ่ืนด้านสุขภาวะทางจิต ความคิด และสุขภาพทางกาย ดงั นั้นการบวชสามเณรจึงมคี วามหมายเป็น
พระครูพู ิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 73 ฝกึ หัดการมีวินยั ในตนเองและความรบั ผิดชอบท่ีจะเป็นผู้มีวินัยทางสังคม ท้ังหมดเป็นความคาดหวังว่าเขาเหลา่ น้ันจะได้มจี รยิ ธรรมทางศาสนา และมี วินยั เชงิ สังคมในการอย่รู ่วมกัน ตาราง 1 แนวทางลดเส่ียงวิถีทางศาสนา และความคาดหวังจากการลด ปัจจยั เสยี่ ง แนวทางลดเส่ียงวถิ ีทาง ความคาดหวงั การลดปจั จยั เส่ยี ง ศาสนา 1) การบรรพชา บณิ ฑบาต 1)พฤตกิ รรมจรยิ ธรรมเชงิ (ศีล-วินัย) ลดปัจจยั เสย่ี ง สวดมนต์ เยย่ี มบ้าน สงั คมในเร่อื งจริยธรรม จากสง่ิ เสพติด มึนเมา ผูส้ งู อายุ แจกเคร่ืองอุปโภค ทางศาสนา ผ่านการห้ามเวน้ สรุ ามยั บรโิ ภค ผปู้ ว่ ยติดเตียง การ 2) พฤตกิ รรมเชงิ สุขภาพ (ศีลขอ้ 5) ลดปัจจยั เส่ยี ง รณรงคเ์ รือ่ งเหล้าบุหร่ี ใน ลดปัจจัยเส่ียงจากเหลา้ จากการทะเลาะวิวาท โรงเรยี น ชุมชน ใน บุหรี่ และสิง่ เสพตดิ อืน่ ๆ การใชค้ วามรุนแรงต่อกัน ภาพลักษณข์ องสามเณร 3) พฤติกรรมความมวี ินัย หรอื สมาชิกรอบข้าง (ศีล 2) อปุ สมบท บวชพระลด ทางสังคม ศลี จริยธรรม ข้อ 1) การส่งเสริมให้เกดิ ปจั จยั เส่ยี ง จากการบวชสามเณร ความรักในครอบครัว (ศีล 3)การปฏบิ ตั ิตามหลักศีล 5 4) จิตสำนึกความ ขอ้ 3) จะทำใหน้ ักเรียน ตามกรอบโครงการหมู่บา้ น รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม และเยาวชนเห็น ศลี 5 ส่วนรวมผ่านกจิ กรรม ความสำคัญในตนเอง ใช้ 4) รณรงค์ผ่านวิถีทาง เย่ยี มบา้ น เย่ียมผู้ป่วย ความรทู้ ี่ไดร้ บั อย่าง ศาสนา บญุ พิธี ศาสนพธิ ี เยีย่ มผูส้ งู อายุ ถูกต้อง เข้าใจถูกตอ้ ง วันสำคญั ทาง 5) การสร้างภูมคิ ุ้มกนั ปฏบิ ัตถิ กู ต้องว่าเหลา้ บุหรี่ พระพทุ ธศาสนา หรือความคดิ เชงิ สง่ิ เสพติดไม่ดี (ศีลขอ้ 4)
74 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน 5.การดำเนินการโดยวัดอิน เปรียบเทียบ “ศลี ธรรม- ไม่ย่งุ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ทาราม คณะสงฆ์วดั อนิ ทา พฤติกรรม” (ศีลขอ้ 5) พฒั นาเจตคตทิ ่ี ราม คณะนักวจิ ัย คณะ 6) อบรมสรา้ งแรงจูงใจที่ ดไี ปสกู่ ารประพฤตสิ ุจรติ ตดั ชอ่ งการได้มาท่ีถูกตอ้ ง วทิ ยากร ชมุ ชน/วัด/ แตกตา่ งกันเพ่ือเป้าหมาย ตามครรลองดังกรณบี วช โรงเรียน ภาคเี ครือขา่ ย ในการทำใหน้ ักเรยี น สามเณรแล้วได้ ทุนการศกึ ษา (ศีลขอ้ 2) เยาวชนในชมุ ชน ได้มีการ เปรยี บเทียบระหว่าง “ขาวดำ-ดไี ม่ดี” การรณรงคล์ ดปจั จัยเส่ยี งผา่ นวิถีทางศาสนาและวิถชี าวพทุ ธ จากการลงพ้ืนที่ร่วมสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมกับกิจกรรม รณรงค์ลดปัจจัยเส่ียงจากเหล้าบุหรี่โดยวถิ ีทางศาสนา การเข้าไปส่งเสริม บทบาทของวัดซึ่งทำงานอยู่แล้วในเชิงศาสนาและชุมชน มาเป็นบทบาท ร่วมเน้นเฉพาะเร่ืองเหล้าบุหรีม่ ากข้ึนเพ่ือให้ตระหนักจนเลิกหรือเว้นขาด รวมท้งั เข้าไปมบี ทบาทในการเขา้ ไปกำกับตามเกณฑ์ทางศลี ธรรมของสังคม ในการรณรงค์เฉพาะในเร่ืองการลดเหล้า ลดบุหรี่ หรือการยุติเรื่องเหล้า บุหร่ีไม่ให้เกิดข้ึน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชน ให้เป็นส่วนนำ และส่วน สำคัญภายใตแ้ นวทาง บา้ นก็ใส่ใจ ดแู ลสอดส่อง (บ้าน) โรงเรยี นก็ขดั เกลา ให้ความรู้ ดูแล พัฒนา ส่งเสรมิ ให้กำลังใจ (โรงเรียน) และวัดก็เป็นส่วน สำคัญสนับสนุนเปิดพื้นทใี่ ห้ (วัด) ใช้วิถีทางศาสนามาเป็นกลไกขับเคลื่อน ขัดเกลาพฒั นา ด้วยวัดมีทุนทางสงั คม มที ุนพลังสนบั สนุนทางสังคมท้ังทุน ทางความเชื่อและทุนทางวตั ถุ และที่สำคัญจริยธรรมทางศาสนาเป็นฐาน
พระครููพิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 75 สำคัญทำให้เกิดพลัง “บวร” บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานภาคี ท่ีเกี่ยวขอ้ งจงึ ไดเ้ ขา้ มาเปน็ กลไกสนบั สนุนขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมลดปัจจยั เสีย่ ง ท่ีวัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม ในระหว่างวันท่ี 4-7 ธนั วาคม 2563 ซึ่ง จะได้นำเสนอให้ขอ้ มลู เพอ่ื เปน็ แนวปฏบิ ตั แิ ละการเรยี นรรู้ ่วมกันตอ่ ไป การท่ีคณะนักวิจัย คณะสงฆ์ในเขตอำเภอ คณะสงฆ์วดั อินทาราม ชมุ ชน โรงเรียน ไดร้ ่วมจัดกจิ กรรมบรรพชาสามเณร เพื่อลดปจั จยั เสยี่ ง ได้ รว่ มกับชุมชน ภายใตก้ รอบคิด “พลังบวร” บ้าน–วัด–โรงเรียน–ชมุ ชน-รฐั ” ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมท่ีมีเป้าหมายเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมี กลุ่มเป้าหมายเปน็ เยาวชนในชุมชน เป็นกลุ่มเส่ียง และคาดว่าจะเป็นพลัง ของอนาคต ท่ีจะต้องเปน็ คนรุน่ ใหม่ การจัดการโดยใชท้ ุนทางสังคม คอื วัด พระสงฆ์ บุญประเพณี และวิถที างศาสนามาเปน็ กลไกขบั เคลือ่ น สรา้ งแบบ ในใจหล่อหลอมใหเ้ ยาวชน นกั เรยี นกลมุ่ ทดลองจากทงั้ สองโรงเรียนตามได้ เห็นความสำคัญ กระทำตาม จนกลายเป็นพลังขับเคล่ือนที่เป็นหัวใจของ การลดปจั จัยเสี่ยงตามแนวปฏบิ ตั คิ าดหวงั นี้ ภาพท่ี 2 ภาพกจิ กรรมที่เนอื่ งด้วยการสง่ เสรมิ วถิ ที างศาสนาเพอื่ ลดปัจจัย เสี่ยงในชมุ ชนคลองกระทงิ จังหวัดสมทุ รสงคราม ทีม่ า: ผเู้ ขยี น (2563)
76 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ภาพที่ 2 สามเณรกับแนวทางลดปัจจัยเสยี่ งจากพระพุทธศาสนา โดยการจัดบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ น หลงั เสร็จกิจการสวดมนตไ์ หวพ้ ระ นั่งสมาธิ จากนั้นบิณฑบาต ซึ่งเป็นการฝึกหัดการเรียนรู้ประหนึ่งเป็น การศกึ ษาชุมชนผา่ นการเดิน และการเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณี ท่ีเรียกว่า ทำบุญใส่บาตรในตอนเชา้ ทำให้สามเณรเข้าใจคำว่าให้และรับ หรือมีภาพ จำ จากนั้นมีการเรียนหนังสือตามช่วงวัย แนะน ำ เรียนรู้เก่ียวกับ พระพุทธศาสนา ศีล วัตร ปฏบิ ัติ การกินอยู่ รวมทั้งกิจกรรมพาเยี่ยมบ้าน เยี่ยมชุมชน โดยมีเครื่องอุปโภค บริโภค ถุงยังชีพ จัดมอบให้กับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ในสถานการณ์โควิด โดยหลวงพ่อแดง นนฺทิโย หลวงพ่ี เอกลักษณ์ และคณะสงฆ์วัดอินทารามเป็นแกนนำขับเคล่ือน โดยเข้าไป ร่วมและดำเนินการรว่ มกันภายใต้กรอบ การให้ (ทาน) ช่วยเหลอื แบง่ ปัน (สาธารณสงเคราะห์-โครงการหมู่บ้านศลี 5) และการรณรงค์ “เลิกเหลา้ - บหุ ร่ี” ไปพร้อมกนั ในคราวเดยี วกนั ทำใหเ้ กดิ ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสมาชกิ ใน ชุมชน ระหว่างสมาชิกในชุมชน สามเณรท่ีมีฐานมาจากโรงเรียน และวัด พระสงฆ์ ซึ่งกลายเป็นการเรียนรู้ร่วมจากการปฏิบัติหรือเพื่อร่วมปฏิบัติ ด้วยกนั การรณรงคล์ ดปจั จัยเส่ียงจากเหลา้ บหุ รี่ผา่ นเยาวชน โครงการได้มกี ารดำเนินกจิ กรรม (1) นำนักเรียนจากโรงเรียนท่า เสด็จสุทธิวิทยานุสรณ์ และโรงเรียนถาวรวิทยา โดยเป็นนักเรียนท่ีเป็น เครือขา่ ยของวัดอินทาราม ได้เข้าร่วมบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน โดยมี
พระครูพู ิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 77 เป้าหมายเป็นการพัฒนาตัวนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ ตามกรอบของ ศาสนา จริยธรรมทางสังคม ความรับผิดชอบ สรา้ งการเรียนร้ทู ่ีสอดคล้อง กับช่วงวัยและการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับวัย พร้อมกับใช้ภาพลักษณ์การ บวชเปน็ เป็นช่องทางในการสอื่ สาร นำภาพลักษณ์ของสามเณร กับนักเรยี น ในการส่อื สารสาธารณะเพ่ือให้เกิดการบรหิ ารจัดการ “ลดปจั จัยเสี่ยง” ใน องค์รวม เป็นการสื่อสารภาพจำหรือสร้างภาพจำสำหรบั นักเรียนโดยตรง (2) สามเณรท่ีเข้าร่วมโครงการบรรพชาได้ฝึกปฏิบัติ ให้เป็นผู้มีวินัยทาง ศาสนา (ศีลบวช) การทำวัตรสวดมนต์ การบิณฑบาต เป็นการฝึกการ เรียนรู้โดยมีเป้าหมายให้มีวนิ ัยทางสงั คม (กิจวัตร) รับผิดชอบต่อตัวเองใน กจิ ที่กำหนดร่วมกับสมาชิกอ่ืน ๆ ในวัด และนำส่ิงท่ีได้ระหว่างบวช ไดไ้ ป เป็นวินยั ในการรบั ผิดชอบต่อตัวเอง ให้รับผิดชอบต่อส่วนรวม ไมก่ ินเหล้า สบู บุหร่ี ช่วยเหลือผู้อืน่ (วนิ ัยทางสังคม) (3) สามเณรท่ีเข้าร่วมโครงการได้ ฝึกปฏิบตั ิตามกรอบทางศาสนาแล้ว ไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมเยย่ี มบ้าน รณรงค์ ส่งเสริม นำสามเณรท่ีเข้าร่วมบวชในโครงการทำกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริม ใหเ้ กิดจติ อาสา จิตสาธารณะ ช่วยเหลอื ผู้อืน่ ภายใต้แนวคดิ ความเอื้ออาทร มนี ้ำใจแบง่ ปนั ต่อผู้อน่ื และสังคม (วินัยทางสังคม) (4) การนำน้องสามเณร กลับไปยังเรียนที่น้องสามเณรได้เรียนอยู่ คือ โรงเรียนเสด็จสุทธิวิทยา นุสรณ์ และโรงเรียนถาวรวิทยา เพ่ือทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างครู นักเรียน พระสงฆ์ เป็นกิจกรรมไหว้พระ สวดมนต์ พระพูดธรรมะส้ัน ๆ สอดคล้องกับช่วงวัย พาเพื่อนเณรมาเย่ียมเพ่ือนยุวชนในโรงเรียน แจก ทุนการศึกษา สนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน โดยกจิ กรรมท่ดี ำเนินการ
78 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน คาดหวังว่าจะทำให้นักเรียนมีภาพจำว่าเพ่ือนไปบวชสามเณร หลวงพ่อ มอบทุนอาหารกลางวันใหเ้ ขาท้ังโรงเรยี น หลวงพ่อมอบทุนการศึกษาเป็น ทุนเส้ือผ้ารองเท้าแก่ผู้บวชสามเณร ทำให้นักเรียนมีภาพจำต่อการให้ (ทาน) การรับ (ปฏิคาหก) ภายใต้กรอบทางศาสนาเป็นปฏิสมั พันธ์ระภาพ จำระหวา่ งกันและกัน (5) การรณรงคส์ ่งตอ่ รว่ มกับโรงเรียนและนกั เรยี นซ่ึง เป็นภาพน้องสามเณรถือป้ายงดเหล้า งดบุหรี่ในโรงเรียนท่ีน้องสามเณร ศึกษาเรียนอยู่ ตามภาพท่ี 3 ผลได้เชิงประจักษ์ คือ (ก) นักเรียนในฐานะ เยาวชนได้เห็นภาพและเห็นว่าเหล้าบุหรี่ เป็นส่ิงต้องห้าม หรือไม่พึง เก่ียวข้อง เหมือนเป็นการปลูกจติ สำนึกขั้นต้น ปลูกเจตคติต่อพิษภัยทำให้ นักเรียนมีภาพจำต่อพิษภัยของเหล้าบุหร่ี (ข) ปลูกจิตสำนึกภาพจำต่อ พระพุทธศาสนา พระภิกษุสงฆ์ และความเก้ือกูลภายใต้การให้และการ สงั เคราะห์ รวมท้ังต้องมีวินัยในตนเอง วินัยทางสังคม ภายใต้ศีล (5) หรือ ตอ้ งมีศลี ในแบบศาสนา เปน็ ต้น ภาพที่ 3 การนำนักเรยี นจากโรงเรียนเสดจ็ สทุ ธวิ ิทยานสุ รณ์ และโรงเรียนถาวรวทิ ยา และนำสามเณรไปรณรงคส์ ง่ เสรมิ ภายในโรงเรียน เปน็ ภาพจำสำหรับนกั เรียน ผ่าน การส่งเสรมิ วิถที างศาสนาเพอื่ ลดปจั จยั เสีย่ งในชุมชนคลองกระทงิ จังหวดั สมุทรสงคราม ทีม่ า: ผเู้ ขียน (2563)
พระครููพิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 79 จากภาพที่ 1-3 มีความหมายเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงด้วยวิถีทาง ศาสนา อันหมายถงึ ใช้วธิ ีการทางพระพุทธศาสนาเปน็ ชอ่ งทางสร้างภูมกิ ัน ให้เด็ก และเยาวชนได้มีศักยภาพในการดูแลตัวเอง ปกป้องตัวเอง ผ่าน อารมณ์ความรู้สึกท่ีรจู้ ักยบั ย้ังชั่งใจ รวมไปถึงกล่มุ เป้าหมายเปน็ เยาวชน ท่ี จะเป็นวัยท่ีต้องมีพัฒนาการและอาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงด้วยวัย อยากลองอยากรู้ ดงั นั้นการบรรพชาสามเณร เปา้ หมายเพื่อถวายเป็นพระ ราชกุศล เพ่ือเป็นการฝึกหัดขัดเกลา และเป็นการเสริมสร้างศักยภาพใน ตัวเองให้กับนักเรียนและเยาวชนย่อมเป็นกลไกของการทดลองเป็นส่วน หนึ่งของการวิจัย เป็นมาตรการในการสร้างกลไกเข้าไปขับเคล่ือนเพ่ือให้ นักเรียน เยาวชนได้เห็นและตระหนัก ท้ังสะท้อนถอดผลจากการทดลอง ปฏิบตั ิน้ีไปสู่การลงมอื และการออกแบบหรือขยายผลไปยังพน้ื ที่อน่ื ๆ ต่อ ได้ภายใต้กรอบเยาวชน นักเรียน และกลไกทางศาสนาเพื่อการป้องกัน ความเสยี่ งอันจะพึงเกิดข้ึนสำหรับเด็กและนกั เรียน นอกจากนี้เม่อื นักเรียน เยาวชน สามารถปกปอ้ งตนเองได้ ผ่านการอบรมแลว้ ยังได้มีส่วนร่วมเป็น ปฏิสมั พนั ธเ์ ชิงสงั คม ดว้ ยการเยีย่ มชุมชน และส่งเสริมการรณรงค์ในชุมชน เยย่ี มโรงเรียน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน ใช้ภาพสง่ ภาพสอื่ สารภาพลักษณ์ เปน็ การกระตุ้นรณรงค์อีกช่องทางหน่ึงส่งต่อสู่สาธารณะ สร้างการรบั ร้ใู น แบบรณรงคผ์ า่ นสือ่ ลดปจั จยั เสยี่ งอกี ชอ่ งทางหนง่ึ ได้
80 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน การรณรงคผ์ ่านการทำกจิ กรรมรว่ มกับชมุ ชน การรณรงค์ผ่านการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน เป็นการสร้าง กิจกรรมท่ีนอกเหนือจากการบิณฑบาตเยีย่ มบ้าน ในภาคกลางวันไดม้ ีการ นำพาสามเณรเยี่ยมบ้าน เย่ียมชุมชน ได้เห็นชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของ กจิ กรรมโครงการท่ีมเี ป้าหมายลดปัจจยั เสย่ี งในชมุ ชนคลองกะทิง ดว้ ยมอง วา่ นกั เรียนในโรงเรียน ท่ีมาบวชเป็นสามเณรพึงได้ซึมซับวถิ ีทางศาสนาเชิง ประจักษ์ และรว่ มปฏบิ ัติ และสง่ เสริมใหเ้ ขาเหล่าน้ันมีปฏิสมั พันธก์ บั ชมุ ชน ในฐานะที่เขาก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในชุมชน ร่วมกับชุมชนทำกิจกรรม ร่วมกัน นัยหนึ่งเป็นการค้ำยันซึ่งกันและกัน ภายใต้กรอบของ “บ้าน” ชุมชน โดยมีพระสงฆ์ สามเณร ตัวแทนฝ่ายวัด และโรงเรียน นักเรียน ตัวแทนฝ่ายการศึกษา (รัฐ) ได้มีปฏิสัมพันธ์ในการทำกิจกรรมอย่างมี เปา้ หมายร่วมกนั ภาพท่ี 4 ภาพกจิ กรรมทเ่ี นอ่ื งดว้ ยการส่งเสรมิ วิถีทางศาสนาเพอื่ ลดปัจจยั เส่ียงในชุมชนคลองกระทงิ จังหวดั สมทุ รสงคราม ทีม่ า: ผเู้ ขยี น (2563) จากภาพ 4 การสร้างปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างชุมชน วัด และสามเณรผู้ เข้ารวมโครงการ ภาพผู้สูงอายุท่ีเป็นผู้ทรงความน่าเคารพในชุมชน ได้รับ
พระครููพิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 81 การดูแลจากลูกหลานตามหลักกตัญญุตา การให้อุปการะคืนกลับต่อบุพ พการี (สามเณรได้เรยี นรู้ บตุ รหลานพึงปฏบิ ัติ ดูแลตอ่ พ่อแม่ ปูย่ ่า ตายาย/ ผู้สูงอายุ) สามเณรได้ถือป้ายไปรณรงค์ส่งเสริมให้เกิดการลดปัจจัยเสี่ยง โดยมีภาพลักษณ์ของสามเณรที่เป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา ไปด้วย เคร่ืองอุปโภคบริโภคให้แก่ชุมชน เพื่อให้การช่วยเหลือชุมชน รวมท้ังเป็น การสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างกัน ภายใต้กรอบ บ้าน วัด โรงเรยี น ชุมชน พระสงฆ์และผนู้ ำชุมชน โดยมผี ู้ใหญ่บ้านคลองกระทิง พาไปแต่ละ บ้านตามที่สำรวจพบว่าลูกหลานไม่มี หรือมีแต่มีความยากลำบาก เป็น ผู้สงู อายุ เปน็ ผู้ป่วยติดเตยี งบา้ ง แตส่ ่ิงท่ีเปน็ หัวใจสำคญั คอื สามเณรท่ีบวช ในกิจกรรมโครงการไดส้ รา้ งภาพจำในใจ ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของ การให้ (ทาน) และการรับ (ปฏิคาหก) ว่าควรให้ความช่วยเหลอื ซึง่ กันและ กันในยามยาก อันจะมีผลเป็นพฤติกรรมจิตจริยธรรมเอ้ืออาทร เอ้ือเฟื้อ แบ่งปนั และมคี วามเสียสละเพ่อื ส่วนรวม การทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน ฝึกให้ (ทาน) และรับ (ปฏิคาหก) สำหรับน้องนักเรียน โดยการนำอาหารที่น้อง ๆ บิณฑบาตมา ที่มี ความหมายว่าการให้ของญาติโยมในตอนบิณฑบาตเพราะเขาศรัทธาใน พระพุทธศาสนา ศรัทธาในความเป็นผ้มู ีศลี วินยั ในแบบอย่างของพระและ สามเณร อาหารสว่ นหน่งึ ท่นี ้องสามเณรบิณฑบาตมาให้ความรูแ้ ก่สามเณร เชิงปฏิบัติว่า อาหารที่ได้รับมา (เม่ือต้องเป็นผู้ให้) ต่อชีวิตคนอ่ืนได้อีก โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง ทำให้สามเณร ซ่ึงเป็นท้ังนักเรียน เป็นเยาวชน และเปน็ กลุม่ เสีย่ ง ไดต้ ระหนักถึงการให้ และการรับ ซ่ึงจะได้
82 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ความเอ้ืออาทร เห็นความสำคัญของการให้ รับ และเสยี สละแบง่ ปนั เปน็ จติ อาสา จิตสาธารณะได้ ดังน้ันการสร้างภูมิค้มุ กัน การสร้างภาวะตระหนัก หรือการเรียนรผู้ า่ นกจิ กรรมท่ีทางวัด และทางคณะวิทยากรได้จัดทำข้ึนจึง มีเป้าหมายเป็นการเรียนรู้ ผ่านการเข้าไปในพื้นท่ีจริง ทำให้เกิดการ เปรียบเทียบ และให้ความสำคัญกับยุวชน เพ่ือเป็นยุวชนคุณธรรมในเด็ก สร้างให้เขามีความภาคภูมิใจในตัวเอง ต่อการเป็นเยาวชนท่ีดี มีภูมิคุ้มกัน ในตัวเองด้วยเช่นกัน เม่ือเสร็จสิ้นโครงการ สามเณรเมื่อวาน (บวช) ได้ กลายเป็นนักเรยี น (สึก) ท่คี ืนกลับโรงเรียน สิ่งทีเ่ หน็ คอื การประสานหยอก ล้อแบบเพื่อนด้วยกัน (เพื่อนกลับมาแล้ว) หลังจากเพื่อนไปบวชเป็น สามเณร มีภาพจำร่วมกันต่อกิจกรรมท่ีจัดทำข้ึน โดยมีการเข้าไปรณรงค์ ส่งเสริมปัจจัยเสย่ี งร่วมกันภายในโรงเรยี น “ภาพหนึ่งภาพมีค่าเท่ากบั คำ สอนร้อยพันคำ” เพื่อให้เขาเหล่านั้นได้มีภาพจำแบบอย่างที่ดี ได้มี ภมู คิ ุม้ กนั ลดปัจจัยเส่ยี งอันจะไมพ่ ึงเกิดกับนกั เรยี นยุวชนเหลา่ นน้ั ภาพที่ 5 หลวงพอ่ แดง นนฺทิโย แจกทุนสรา้ งแรงจงู ใจต่อการบวชที่โรงเรยี นถาวร วทิ ยา ภาพกิจกรรมท่เี น่อื งด้วยการส่งเสริมวถิ ีทางศาสนาเพ่ือลดปัจจัยเสยี่ งในชมุ ชน คลองกระทิง จังหวดั สมทุ รสงคราม ที่มา: ผู้เขยี น (2563)
พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 83 ภาพที่ 6 ปฏิสมั พันธ์ปลกู จิตภาพจำใหน้ กั เรยี นเยาวชน วัดเลี้ยงขา้ ว กลางวนั เพื่อนสกึ แล้วกินข้าวรว่ มกัน ภาพกิจกรรมทเ่ี นื่องดว้ ยการส่งเสรมิ วิถที างศาสนาเพ่อื ลดปจั จยั เสี่ยงในชุมชนคลองกระทิง จงั หวดั สมุทรสงคราม ทีม่ า: ผเู้ ขยี น (2563) ภาพ 5-6 การสนับสนุนทุนการศึกษาสำหรับสามเณรท่ีเข้ามา บรรพชาในโครงการของวดั อนิ ทาราม ทางวัดไดจ้ ัดมอบเงนิ ขวัญถุง เป็นทุน เสื้อผ้า เพื่อสร้างขวญั กำลังใจ โดยสรา้ งแรงจูงใจว่าใครไปบวชท่ีวัดอินทา ราม ท้งั สามเณรและถือศลี ชุดขาวกรณีเปน็ เด็กนกั เรยี นหญงิ จะมที นุ เส้ือผ้า รองเท้าให้ ซ่ึงนัยหน่ึงเป็นการสร้างแรงจูงใจเพ่ือให้นักเรียนเห็นว่าเงิน สามารถสรา้ งแรงจงู ใจในการทำความดี หรือเข้าสกู่ จิ กรรมลดปจั จัยเส่ียงได้ โดยมกี ารจดั มอบให้ทง้ั 2 โรงเรียน (โรงเรียนถาวรวทิ ยา/โรงเรียนท่าเสด็จ) รวมท้ั งเม่ือ เสร็จ กิจก รรมสาม เณรล าสิกขาได้ส่ งมอ บนั กเรี ย นคื นส ร้าง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนในโรงเรียนและนักเรียนรวมทั้งเล้ียงอาหาร กลางวัน เป็นการปลูกฝังทศั นคตแิ ละสรา้ งแรงจงู ใจเชงิ บวกแกน่ กั เรยี นและ เพ่อื นนกั เรยี นรว่ มโรงเรียนด้วย
84 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน จากภาพ 4-6 เป็นภาพที่สามเณรเม่ือได้บวชแล้ว ได้ทำกิจกรรม เชงิ ชมุ ชน ท่ีเป็นปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งวดั กับศาสนา เชน่ การบณิ ฑบาตตอน เช้า ซึ่งชาวพุทธได้มีโอกาสร่วมใส่บาตรทำหน้าท่ีชาวพุทธถวายอาหาร บิณฑบาต เปน็ อาหารทานสนบั สนนุ อุปถมั ภ์พระพทุ ธศาสนา เด็กเยาวชนที่ บวชเป็นสามเณรได้ศึกษาวิถที างศาสนา ประเพณีของชาวพุทธด้วยสายตา เชิงประจักษ์ เป็นปฏิสัมพันธส์ องวัยระหว่างเยาวชน สามเณร ในฐานะชาว พุทธ เป็นศาสนทายาท กับคนรุ่นใหญ่ของชุมชน การที่สามเณรได้ไปทำ กิจกรรมร่วมกับเพ่ือนในโรงเรียนที่มีความหมายเป็นปฏิสัมพันธ์ภาพจำ ระหว่างเพื่อนว่าบวชเณรได้รับทุนสนับสนุนการศึกษา หรืออ่ืน ๆ ท่ีเป็น ภาพจำ ทำให้เกิดการส่ือสารทางบวก รวมทั้งสามเณรได้ถือป้ายรณรงค์ เยี่ยมบ้าน ประชาสัมพันธ์ (ก) ทำให้เกิดภาพจำว่าสามเณรมาบิณฑบาต ขอให้เลิกเหล้าเลิกบุหรี่ บิณบาตรเหล้าบุหร่ี ให้เลิก (ข) เกิดปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสามเณรกับผู้สูงอายุที่ไปเยี่ยมตามบ้านว่ายังมีผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติด เตยี ง ทตี่ ้องได้รบั การช่วยเหลอื หรอื ดำเนินชวี ิตดว้ ยความยากลำบาก วัดได้ กลายเป็นท่ีพ่ึงและให้ความช่วยเหลือได้ในสถานการณ์โควิด หรือยาม ยากลำบากน้ี (ค) การนำภาพไปสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเพ่ือ สร้าง แรงจูงใจต่อการจัดกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันและกันทำให้เกิด การนำไปเปน็ แบบอย่าง จนกระท่ังปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมลดปัจจัยเส่ียงให้ เกดิ ขึ้นในชมุ ชน สงั คม และภาพกว้างได้ ดงั น้ันในภาพรวมของกิจกรรมจงึ เปน็ กจิ กรรมในแบบสรา้ งภาพจำ สร้างแบบอย่าง และการเรียนรู้ การปลูกฝ่ัง กระตุ้น ส่งเสริมจึงเกิดขึ้น
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 85 ภายในช่วงระยะเวลาท่ีเกิดขึ้น แต่จัดได้ว่าเป็นกลไกหน่ึง หรือช่วงเวลา หนึ่งของการเรยี นรูส้ ำหรับเยาวชนที่สอดคล้องกับวัย ให้เขาตระหนักเห็น ความสำคญั ผ่านการเรยี นรู้ภายใต้กรอบ ของบ้าน วัด โรงเรยี น ทำให้เกิด การขับเคล่อื นพลงั ทางบวก ที่จะเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รยี น หรอื นกั เรยี นเยาวชนเอง เป็นภาพจำใหเ้ กิดตวั อยา่ งการเอาเปน็ แบบของชุมชน และภาพทกุ ภาพเม่ือ ส่อื สารสาธารณะเทา่ กบั เป็นการเสรมิ แรงใหเ้ กิดการปฏบิ ตั ิเอาอย่างหรอื ทำ ตามให้เกิดข้ึนภายในวัด ภายในโรงเรียน ชุมชน และคนที่รับส่ือข้อมูล ข่าวสารทั่วไป สู่การปรับใจ ปรับทัศนะคติ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ปัจจัยเส่ียงจากเหล้า บุหร่ี ส่ิงเสพติดในนามของบายมุขตามแบบสามเณร ยวุ ชนคณุ ธรรมที่ชุมชนคลองกระทิง วดั อินทาราม จ.สมทุ รสงคราม ได้ทำ และดำเนินการได้ สรปุ โครงการบรรพชา ลดปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ท่ีวัดอินทาราม จ. สมุทรสงคราม เป็นแนวทาง กลไก ที่เข้าไปสง่ เสรมิ การลดปัจจยั เสีย่ ง โดย ใช้วิธีการส่งเสริมป้องกันผ่านวิธีทางศาสนา การปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้อง ตามหลักวิถีทางศาสนา การส่งเสริมให้สามเณรผู้เข้ามาบวชได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญ รวมทั้งสง่ เสริมให้สามเณรเหล่าน้ันได้เป็นกลไกร่วม ด้วยการรณรงค์ส่งเสริม สร้างแรงจูงใจเชิงบวกกับเพ่ือนภายในโรงเรียน ผ่านกิจกรรมท่ีดำเนินการร่วมกันระหว่างบ้านกับวัดท่ีได้พาสามเณรไป เยี่ยมบ้าน เย่ียมผู้สูงอายุ อันเป็นกิจกรรมของวัด การพาสามเณรไปเย่ียม โรงเรียนทำกจิ กรรมแจกทุน การศึกษา นัยหนึ่งเพ่ือเป็นการสรา้ งภาพจำ
86 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน สร้างแบบอย่างในใจให้เกิดข้ึนผ่านการรณรงค์ภายใต้กรอบบ้าน วัด โรงเรียน การให้ความสำคัญกับการบวช การพาสามเณรออกบิณฑบาต เพ่ือเป็นการเยยี่ มชมุ ชน และให้เห็นความสำคัญว่าวัดยังเป็นศนู ย์กลางของ ชุมชนและเป็นหลักชัยท่ีพี่งสำคัญของชุมชนในการพัฒนาให้เยาวชนได้มี ภูมคิ ้มุ กัน สร้างภาพจำในใจ ให้เป็นแบบอย่างที่ดี ลดปัจจยั เสี่ยง การสร้าง การเรียนรู้ว่า ศีลกินได้ หรือความดีกินได้ หรือความดี ทำให้เกิดรายได้ หลวงพ่อแดง นนฺทิโย ได้จัดมอบทุนการศึกษา เพื่อสนับสนุนค่าเส้ือผ้า รองเท้า ซึ่งไม่ได้มาก แต่ได้ปลูกการเรียนรู้ในใจสำหรับเด็ก ผู้เข้าร่วม โครงการว่าการที่นักเรียนเหล่านั้น มาบวช อบรม ลดปัจจัยเสี่ยง รักษา ศาสนา และสร้างภาพจำในใจต่อการบวช สร้างภาพจำต่อนักเรียนเยาวชน และจะเป็นมุมมองท่ีทาบทับกลายเป็นเจตคติท่ีดีต่อวัด พระสงฆ์ และ ศาสนา เห็นคุณและโทษของเหล้าบุหร่ี ตามการรณรงค์ ไม่ยุ่งเก่ียวตั้งแต่ แรก หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ยุ่งเก่ียว ลดละเลิกปัจจัยเสี่ยงจาก อบายมขุ สง่ิ เสพติดทีใ่ ห้โทษทกุ ชนิดในทสี่ ุด เอกสารอ้างองิ ธีระศักด์ิ บึงมุม. (2558). การพัฒนาจริยธรรมนักเรียนโดยอาศัย กระบวนการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ นศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วารสารธรรมทัศน์, 15 (1), 143-150.
พระครููพิิศิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 87 บุ ญ ร่วม คำเมื อ งแ ส น แล ะ คณ ะ. (2560). รูป แบ บ ก ารเผย แ ผ่ พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตไทยในประเทศอินเดีย.วารสาร สถาบันวจิ ยั ญาณสังวร, 8(2), 231-244. พระชินภัทร ชินภทโท และคณะ. (2556). กระบวนการพัฒนาการสร้าง เสริมสุขภาพสามเณรโรงเรยี นสมเด็จพระพุทธชินวงศ์. พยาบาล สาร, 40(พเิ ศษ), 57-66. พระนิพนธ์ โกวิโท (แลเชอะ) และคณะ. (2562). ปัจจัยทางจิตวิทยาเชิง บวกท่ีมีต่อพฤติกรรมการปรับตัวของสามเณรในโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดปทุมธานี. วารสาร มจร มนุษศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 259-269. พระบารมี นนฺทธมฺมิโก และพระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2562). ศึกษา วิเคราะห์รูปแบบการพัฒนาสามเณรช่อสะอาด. วารสารสันติ ศึกษาปรทิ รรศน์. 7(ฉบบั เพิม่ เติม), S208-S223. พระมหาจิรศักดิ์ คำลาย และวรรณวีร์ บุญคุ้ม. (2561). บทบาทพระเทพ สุธี (สมควร ปิยสีโล) เจ้าคณะภาค 14 เจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี กับงานพัฒนาเด็กและเยาวชน. วารสาร มจร มนุษศาสตร์ ปรทิ รรศน์, 4(1), 119-128. พระมหาบุญศรี ญาณวฑุ โฺ ฒ. (2555). การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การพัฒนาพุทธศาสนทายาทให้ยั่งยืน.วารสาร สถาบันวิจัยญาณ สงั วร มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย. 3(1), 20-31.
88 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน พระมหาสวุ ิทย์ ธมมฺ ิกมนุ ิ (ธรี เนตร) และธวัช หอมทวนลม. (2561). วธิ กี าร สร้างแรงจูงใจในการบรรพชาเป็นสามเณรในสงั คมไทย. วารสาร บณั ฑติ ศึกษาปริทรรศน์, 14 (2),55-65.
พระครููพิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 89 การพัฒนาเครือขา่ ยเยาวชนในการจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งเครือข่ายลด ปัจจยั เส่ียงตามแนวพระพทุ ธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม* Networking of Youth Development through Enhance Organizing Activities for Risk Factors Reducing Accordance Buddhist in Samut Songkhram Province. ------------------------------------------- พระครพู ศิ ิษฏป์ ระชานาถ (ประยูร นนฺทิโย), พระมหากฤษฎา กติ ตฺ โิ สภโณ, พระปลดั ระพิน พุทธิสาโร, สภุ ทั รชยั สีสะใบ Phrakhru Phisit Prachanat (Prayoon Nonthiyo), Phramaha Krisada Kittisobhano, Phrapalad Rapin Bhuddhisaro, Suphatchai Sisabai วัดอินทาราม จงั หวัดสมทุ รสงคราม Wat Intharam, Samut Songkhram Province E-mail: Krisada.sae@mcu.ac.th บทคดั ย่อ บทความน้ีม่งุ ศึกษาการพฒั นาเครือข่ายเยาวชนในการจดั กิจกรรม เสริมสร้างเครือข่ายเพื่อลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัด สมุทรสงคราม ใช้ทบทวนและวิเคราะห์เนอื้ หาจากเอกสารและงานวจิ ัยท่ี เกย่ี วข้อง และเก็บขอ้ มูลคณุ ภาพจากสังเกตอยา่ งมีส่วนรว่ ม เขยี นเปน็ องค์ ความรูจ้ ากข้อคน้ พบเปน็ ความเรยี ง *ตีพิมพใ์ นวารวารสารพทุ ธนวตั กรรมและการจดั การ ปที ี่ 4 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564. หน้า 69-80.
90 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ผลการศึกษาพบว่า การจัดกิจกรรมของคณะสงฆ์วัดอินทาราม ภายใต้โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ “ยุวชนรกั ษ์ถ่นิ พิทกั ษ์คลองกระทิง” ระหว่างวันที่ 17-18 มถิ นุ ายน โดยมนี ักเรียนระดับประถมศึกษา 2 โรง ใน เขตชมุ ชนคลองกระทิงรว่ มกจิ กรรมโครงการ ผลการจดั กจิ กรรมชี้ว่าการใช้ พลังบวรเป็นฐานการพัฒนาทำให้เกิดเครือข่ายเชิงปฏิบัติการร่วมกัน ระหว่างชุมชน วดั โรงเรียน ซ่ึงมที ง้ั นักเรยี น และชุมชนร่วมกัน ในการสร้าง จิตสำนึกร่วมที่มีเป้าหมายเพ่ือให้เกิดการสร้างความตระหนักและเกิด จติ สำนึกในการลดปัจจัยเส่ียงโดยมีเครือข่ายเป็นการผสานพลังบวร เพ่ือ การทำกิจกรรมร่วมกันระหวา่ งสมาชกิ ในชุมชน ทำให้เกิดกลไกขับเคล่ือน การปฏิบัติระหวา่ งกัน เกิดความเขม็ แข็งของชมุ ชน ผ่านนักเรยี น โดยมีครู และ โรงเรียนเป็นฐานของการควบคุมป้องกันร่วมกัน และมีวัด รวมท้ัง ชุมชนเป็น เครือข่ายในการกำกับ ปัจจัยเส่ียงสร้าง ความเข้มแข็ งทางจิ ต ความคิด พฤตกิ รรมและการกระทำนำไปสู่การลดละพฤติกรรมเสย่ี งจากสงิ่ เสพตดิ เหลา้ บหุ ร่ีและอบายมุขต่าง ๆ ให้หมดไป คำสำคญั : การสร้างเครือข่าย,ลดปัจจยั เสี่ยง,พระพุทธศาสนา, เยาวชน, จังหวดั สมทุ รสงคราม Abstract This article is intended Development of youth networks in organizing activities to strengthen networks to
พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 91 reduce risk factors according to Buddhism Samut Songkhram Province Use studies from relevant documents and research. write an essay The results showed that Organizing activities of the monks at Wat Intharam Under the workshop project \"Youth Rak Tin Phithak Klong Krathing” during 1 7 -1 8 June by using three students in the Khlong Krathing community in 3 places. The result of the temple-based activities created a practical network between the temples, schools and students of the three places. and community together To create awareness with the goal of creating awareness and awareness of reducing risk factors by using the network as a power in joint activities among community members resulting in operational driving mechanisms between each other Strengthen the network through students, with teachers, schools as the base of mutual control and prevention, and temples and teachers, as well as the community as a network to direct between members of the community together to create mental strength, thinking, and behavior. and actions and leads to not creating risky behaviors from drugs, alcohol, cigarettes, and other vices
92 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน Key words: network development, noise reduction network strengthening activities, Buddhism concept, Samut Songkhram province บทนำ จากกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ยุวชนรกั ษถ์ ่ิน พิทักษ์ คลองกระทิง” เม่ือ 17-18 มิถุนายน 2564 คณะสงฆ์วัดอินทาราม จ. สมุทรสงคราม โดยพระครูพิศิษฎ์ประชานาถ,ดร. (แดง นนฺทิโย) รองเจ้า คณะอำเภออมั พวา (2563) รว่ มกับคณะนักวจิ ัย อันมีพระมหากฤษฎา กติ ฺ ติโสภโณ,ผศ.ดร. จากหลักสูตรสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ เป็นผู้ร่วม ขับเคล่ือนดำเนินโครงการ โดยมีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริมนักเรียนและ เยาวชนผู้เขา้ ร่วมโครงการให้มีศักยภาพในการสร้างความรู้ ความเข้าใจต่อ การลดปจั จยั เสยี่ งจากเหล้า บหุ ร่ี สง่ิ เสพติด และอบายมุขนานาชนิด มกี าร อบรมโดยพระสงฆต์ ามกรอบทางศาสนา มีตัวแทนผู้ปกครองสงฆ์ในฐานะ ตัวแทนผู้นำชมุ ชน ผู้บงั คบั ใช้กฎหมาย สถานพยาบาล มาสร้างความรู้ ครู โรงเรยี นเป็นภาคี เพอื่ ใหน้ ักเรียนได้รูจ้ ักกัน ทำกจิ กรรมร่วมกัน ณ วัดอิน ทาราม จ.สมุทรสงคราม โดยมีกลุ่มเป้าหมายในต่อการสร้างเครอื ข่ายลด ปัจจัยเส่ียงเป็นนักเรียน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากโรงเรียนถาวรวิทยา จำนวน 100 คน โดยประมาณ นักเรียนจากโรงเรียนวัดเสด็จ (สุทธิวิทยา นุสรณ์) 110 คน โดยมีเป้าหมายต่อกิจกรรมเป็นการสร้างความคุ้นเคย ร่วมกันระหว่างนักเรียน สถานศึกษา ครู พระสงฆ์ วัด ผู้ปกครอง ชุมชน
พระครูพู ิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 93 ผ้นู ำชุมชน และพยาบาล ตำรวจ สร้างเครือข่ายแบบหลวม ๆ จนกระท่ัง เข้มแข็งในชุมชน โดยการสร้างเครือข่ายให้ได้รู้จักซ่ึงกันและกันระหว่าง สมาชิกในชุมชนองค์รวมของผู้ปกครอง นักเรียน ผู้นำชุมชน โรงเรียน วัด พระสงฆ์ นักเรียน และการสร้างเครือขา่ ยระหว่างนักเรยี นด้วยกันให้รู้จัก กันทำกิจกรรมร่วมกนั ทงั้ ในเชิงใหค้ วามรู้ พิษภัย ผลกระทบ สภาพปัญหา จากยาเสพติด รวมท้งั ใช้วิถศี าสนาเป็นกิจกรรมรณรงค์ส่งเสรมิ ให้เห็นโทษ พษิ ภัยของส่งิ เสพติดเหลา้ บุหร่ี ตามท่ีกจิ กรรมไดก้ ำหนดและดำเนนิ การ ซง่ึ ในการเขียนบทความนจี้ ะไดน้ ำเสนอแบ่งปันและเล่าถงึ กจิ กรรมการพฒั นา เครอื ข่ายเยาวชนในการจดั กจิ กรรมส่งเสริมพฒั นาสร้างเครอื ข่ายลดปจั จัย เส่ียงตามแนวพระพทุ ธศาสนา ในชุมชนคลองกระทิง จังหวดั สมุทรสงคราม ต่อไป การพฒั นาเครอื ขา่ ยเยาวชน การพัฒนาเครือขา่ ยเยาวชน เป็นการพฒั นา เป็นกจิ กรรมทดี่ ำเนิน ข้นึ โดยมีเปา้ หมาย เป็นการดำเนนิ กจิ กรรมโดยมีเป้าหมายเพ่ือให้นักเรียน ที่เข้าร่วมโครงการไดร้ ู้จักกันและกัน เป็นเครือข่ายของกันและกันที่เชื่อม ภายใต้ แนวคิด “บ-ว-ร/บ-ว-ช” ท่ีหมายถึง บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน หนว่ ยงานภาครัฐ ท่ีจะเปน็ เครือขา่ ยร่วมกัน โดยเยาวชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการ จากโรงเรียน (1) การส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาตัวเองภายใต้กรอบของ การส่งเสริมภาวะการนำ ทำให้เยาวชนหรือนักเรียนคิด ทำ ดำเนินการ ภายใต้ ความม่ันใจ คิดได้ ทำได้ และนำเสนออย่างเหมาะสม ตามกรอบ ที่เราต้องการให้ศึกษา ทั้งเรื่อง การเมือง สังคม เศรษฐกิจ และ
94 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน วัฒนธรรม สู่การสร้างเครือข่าย ซึ่งในการศึกษานี้ใช้แนวคิดเรื่องปัจจัย เส่ียงจากเหล้า บุหรี่ ส่ิงเสพติด มาเป็นประเด็นหรือแนวคิดในการสร้าง เครือข่าย เพ่ือใหเ้ ยาวชนนักเรยี นกลา้ คดิ กล้าทำกล้าแสดงออกและเม่ือมี ปัจจยั เส่ยี งจากเหลา้ บหุ รี่ ก็สามารถทจ่ี ะช่วยเหลอื ตวั เองจากปจั จัยเส่ยี งนน้ั ๆ พร้อมแบง่ ปันความรูเ้ ปน็ ภาคีร่วมในการช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกัน รวมทั้ง สามารถช่วยเหลือเพ่ือน สมาชิกในสังคมและชุมชนได้ ในแบบเยาวชนต้น กลา้ ความดี เยาวชนตน้ กล้าช่วยเหลอื ชมุ ชนสังคม รวมท้ังเยาวชนชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ในแบบเครอื ขา่ ยลดปจั จัยเสี่ยงจากยาเสพติด เหล้าบุหรี่ โดย กจิ กรรมของการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักเห็น (ก) พิษภัยของยาเสพติด เหล้า บุหรี่ และอบายมุขชนิดอื่น (ข) เข้าใจและ ป้องกันตัวเองจากภัยของส่ิงเสพติดได้ หยดุ ไม่ลอง ไมเ่ สพ ไม่ด่ืม (ค) การ สรา้ งเครอื ข่ายระหว่างนกั เรียนร่วมกันสอดส่องตรวจตราซึง่ กนั และกนั รรู้ ัก หา่ งไกล ยาเสพติด เหล้าบหุ ร่ี โดยมีวัดเป็นฐานการสรา้ งเครือข่ายร่วมกัน หลวงพ่อและวดั ของพวกเรา (ง) เครอื ข่ายของโรงเรียน โรงเรียนพีโ่ รงเรยี น น้อง สอดส่องร่วมกัน ช่วยเหลือเป็นหูเป็นตาแม้ต่างโรงเรียนกัน (จ) ผู้ปกครองสมาชกิ รว่ มชมุ ชน ลกู หลานของพวกเรา ช่วยกันสอดส่องกำกับ พฤติกรรมการกระทำหา่ งเว้นยาเสพติด เหล้าบุหรี่ ท้งั ร่วมทำกจิ กรรมโดยมี วัดเป็นฐานของชุมชน ประชุมขับเคล่ือนเครือข่าย (ฉ) เครือข่ายของ หนว่ ยงานรฐั โรงเรียน ครู โรงพยาบาล หมอแพทย์ พยาบาล สถานีตำรวจ ทีท่ ำหน้าที่ให้ความรู้ให้ความเข้าใจ เม่ือมีสง่ิ เร้า เย้าใจ ให้รูจ้ ักยับยั้ง ห้าม ตัวเองได้ รวมทั้งรู้ว่ามีผลต่อสุขภาพ ไม่ดี รู้ว่าผิดกฎหมาย ไม่ปฏิบัติ หรือ
พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 95 ห้ามตัวเองได้ ภายใต้เครือข่ายความรู้ คุณครู หมอ พยาบาล และตำรวจ ทั้งหมดจึงเป็นเครือข่าย กลไกการปฏิบัติลดปัจจัยเส่ียงร่วมกัน เป็น เครือข่ายของเยาวชน ร่วมกับเครือข่ายขนาดใหญ่ในองค์รวมของชุมชน ตามที่ยกมา ภาพที่ 1 กจิ กรรมในวถิ ที างศาสนาในพนื้ ท่ีวจิ ัย ต.เหมืองใหม่ จ.สมทุ รสงคราม พรอ้ มรณรงคล์ ดปัจจยั เสี่ยงจากเหล้าบุหร่ี ในสถานการณ์โควดิ 19 (ภาพคณะ นกั วจิ ยั ,29 พฤษภาคม 2563;สุภทั รชยั สีสะใบ และคณะ,2564) ดงั ปรากฏในงานของ สายสุดา สุขแสง และคณะ (2560) ในเรือ่ ง รูปแบบการเฝ้าระวังในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยภาค ประชาชน กรณีศกึ ษา ต.สาคร อ.ท่าแพ จ.สตูล และ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ. สงขลา ในงานของ อรรณพ กาวิกุล (2557) ในงานวิจยั ของ การพัฒนา
96 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน รูปแบบและกระบวนการถ่ายทอดความรู้เพื่อป้องกัน ยาเสพติด สำหรับ เยาวชนของตำรวจชมุ ชนมวลชนสัมพันธใ์ นพื้นท่ตี ำรวจภธู รภาค 5 ในงาน ของเอกรัตน์ มหามนตรี (2561) ในวิจยั เรอื่ ง ความสำเร็จของชุมชนในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเยาวชนท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงต่อการติดยาเสพติด ในจังหวัดอ่างทอง ในงานของ มณีวรรณ เกตุบุญลอื พชร สนั ทดั (2563) วจิ ัยเรอื่ ง การจัดการเครือข่ายความปลอดภยั ในการป้องกันปญั หายาเสพ ตดิ ในชุมชนด้วยกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน อำาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ในงานวิจัยของ ภิรมย์ศักดิ์ กิจพัฒนาสมบัติ และคณะ (2561) วิจัยเร่ือง ยุทธศาสตร์การสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาสิ่งเสพติดอย่างยั่งยืนใน เยาวชนของ กรุงเทพมหานคร ในงานวิจยั ของ ธนัชชา รอดกันภัย,เสน่ห์ บุญกำเนิด (2560) เร่ือง การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมของเยาวชนกลุ่ม เสี่ยง : กรณีศึกษา นักศึกษา กศน. ตำบลควนทอง อำเภอขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช วิจัยของ พระสุวิจักขณ์ กุลยศชยังกูร (2560) เรื่อง การบรู ณาการบทบาทของพระสงฆ์รว่ มกับเครือข่ายสงั คมในการเฝ้าระวัง ทางวัฒนธรรมของชุมชนภาคอีสาน โดยงานวิจัยในภาพรวมสะท้อนถึง แนวทางในการลดปัจจัยเส่ียงทั้งในส่วนของการป้องกัน ป้องปราม และ ยับยั้ง เช่น การใช้มาตรการการเฝ้าระวัง ตรวจตรา อาทิ (ก) การเฝ้า ระวงั ผา่ นกิจกรรมการเดินลาดตะเวน/ตั้งด่านตรวจรอบหมู่บ้านทุกคืน มี ศูนย์รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน/มีชุดรักษาความสงบของ หมู่บ้าน การพูดคุยทำความเข้าใจ และเข้าถึงกลุ่มผู้เสพโดยกำนันและ
พระครููพิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 97 ผู้ใหญ่บ้าน (ข) การให้ความรู้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ให้แก่แกนนำภาคประชาชน (ค) การจัด กจิ กรรมทางเลอื กใหก้ บั กลมุ่ เยาวชน การสง่ เสริมพฒั นาการจดั กิจกรรมให้ ความรู้แก่เยาวชน เช่น ค่ายพุทธบุตร/การอบรม (ง) การสร้างภาคี เครอื ข่ายเพอื่ ใหเ้ กิดการร่วมคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับ ประโยชน์ และร่วมติดตามประเมินผล ในส่วนของการลดปัจจัยเส่ียงท่ี เก่ียวกับยาเสพติด เหล้า บหุ รี่ เปน็ ตน้ การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งเครอื ข่ายลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพทุ ธศาสนา กิจกรรมภาคต่อที่เกิดข้ึนจากโครงการ ได้ดำเนินการในหลาย ๆ คร้ัง เช่น (1) โครงการรณรงค์ประสานชุมชนภายใต้แนวทางวัดบ้านชุมชน “บวช-บ้าน-วดั -ชุมชน” เยี่ยมบ้าน บริการชุมชน แจกของยังชีพ เมื่อ 29 พฤษภาคม 2563 (2) วัดอินทาราม จัดพิธีเทเหลา้ เผาบุหร่ี บวชใจ อธิฐาน บารมี ลดละเลกิ เหลา้ บุหร่ตี ลอดพรรษา เม่อื 5 กรกฎาคม 2563 โดยมีวัด เปน็ ศูนย์กลางทำกิจกรรมประสานหน่วยงานรัฐ บ้าน ชุมชน โรงเรยี น รว่ ม ทำกิจกรรม ภายใต้แนวทาง “บวร-บ้าน/ชุมชน/-วัด/พระ-รัฐ/ราชการ/ โรงเรียน” (3) ยุวชนคุณธรรม : แนวทางลดปัจจัยเสี่ยงของชุมชนกระทิง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ระหว่างวันที่ 3-5 ธันวาคม 2564 เป็นการจัดบรรพชาสามเณรเพ่ือส่งเสริมคุณธรรมโดยวัด สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความตระหนักต่อส่ิงเสพตดิ เหล้าบุหร่ี ภายใต้กรอบของโรงเรียน บ้าน วัด โรงเรียน นักเรียน (4) กิจกรรมสร้างเครือข่ายเยาวชนผ่านการ
98 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ดำเนินกิจกรรมโครงการชุมชน โรงเรียน ครู นักเรียน ให้เป็นเครือข่าย ขับเคลื่อนร่วมกันภายใต้การประสานโดยให้เยาวชนเป็นศูนย์กลางของ กิจกรรม เครือข่ายเพ่ือนนกั เรยี น เครอื ข่ายครู เครือข่ายพระสงฆ์ วัด และ ผู้ปกครอง เป็นต้น ซึ่งดำเนินการระหว่าง 17-18 มิถุนายน 2564 เป็น โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ “ยุวชนรกั ษ์ถ่ิน พิทักษ์คลองกระทิง” ณ วัด อินทาราม มีนักเรียน โรงเรียนถาวรวิทยา 100 คน นักเรียนโรงเรียนวัด เสด็จ (สุทธิวิทยานุสรณ์) 110 คน โดยลักษณะของกิจกรรมเป็นส่งเสริม เครอื ข่ายภายในของนักเรยี นกันเองระหว่างนกั เรยี นกับนักเรียน นักเรียน กับผู้ปกครอง โดยมีครู และวัด เป็นกลไกร่วมขบั เคล่อื นใหเ้ กิดปฏิสมั พันธ์ ทำหน้าท่ีร่วมกัน ที่ใช้ในการสร้างกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาให้ เกดิ ขึ้น สามารถทำได้หลายแนวทางหรือหลายวธิ ีการ จากกิจกรรมที่วัดอิน ทาราม ได้ดำเนินการเป็นการเข้าไปส่งเสริมใหเ้ กิดกิจกรรมทางศาสนาเริ่ม ตั้งแต่ (ก) กิจกรรมผ่านโครงการหมู่บ้านศีล 5 การรณรงค์ผ่านวิถีทาง ศาสนา เย่ียมชมุ ชน พบปะให้กำลงั ใจ แจกเคร่ืองยังชพี ในสถานการณ์โควิด การรณรงค์ผ่านวิถีทางศาสนา งานบุญ งานบวช การดำเนินการรณรงค์ เนือ่ งในวนั พระวนั ศีลอุโบสถ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (ข) การจัดงด เหล้าเผาบหุ ร่ี อธิษฐานจติ บวชใจ (ค) การบวชบรรพชาสามเณรในโครงการ เพื่อลดการเลิกเหล้าบุหรี่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างชุมชน (ฉ) จนกระท่ัง ล่าสุดมีการดำเนินการโดยเน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรยี นเยาวชน ซ่ึงเป็น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142