Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิ่งแวดล้อมสำหรับโรงเรียนและชุมชน

สิ่งแวดล้อมสำหรับโรงเรียนและชุมชน

Published by PRASIT P., 2021-10-31 11:04:47

Description: พระวิเทศพรหมคุณ, ดร.
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
....................
ออกปก-จัดรูปเล่ม
ประสิทธิ์ พุทธศาสน์ศรัทธา

Search

Read the Text Version

เอกสารคำสอน สโรงิ่ งแเวรดยี ลนอ แมลสะชำมุ หชรนับ (Environmental for School and Community) พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร.

( )2 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÂÑ สิ่งแวดลอมสําหรบั โรงเรียนและชมุ ชน พระวิเทศพรหมคณุ . ดร. (พระมหาพชิ าภพ บญุ แชม ) 250.- รศ.ดร.ชว งโชติ พันธุเวช รศ.ดร.ชาติชาย พิทักษธนาคม คณะกรรมการผทู รงคุณวุฒิ พระครูสังฆรักษจกั รกฤษณ ภูริปฺโญ, ผศ.ดร. ศ.ดร. จาํ นงค อดวิ ัฒนสิทธ์ิ รศ.ดร.สมศกั ด์ิ บุญปู รศ.ดร.สมชัย ศรีนอก ศิลปกรรม : ภรู ปิ ญโญ พมิ พที่ โรงพมิ พมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 11-17 ถ.มหาราช ทาพระจันทรแ ขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๒๑ ๘๘๙๒, ๐ ๒๖๒๓ ๕๖๒๓ โทรสาร ๐ ๒๖๒๓ ๕๖๒๓ สํานกั งานวังนอย โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๗๙ หมู ๑ ต.ลําไทร อ.วงั นอย จ.พระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๑๗๐ โทรศัพท ๐๓๕ ๒๔๘ ๐๐๐ ตอ ๘๗๗๙

( )Êè§Ô áÇ´ÅÍŒ ÁÊíÒËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪÁØ ª¹ 3 คํานํา เอกสารคําสอนรายวิชา “ส่ิงแวดลอมสําหรับโรงเรียนและชุมชน” (Environmental for School and Community) ผูบรรยายไดรวบรวมเรียบเรียง ตามแนวสังเขปรายวชิ า ตามหลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนสงั คม ศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีวัตถุประสงคใหนิสิตไดศึกษา เกย่ี วกบั ส่งิ แวดลอมสาํ หรับโรงเรยี นและชุมชน และกระบวนการ พัฒนาธรรมชาตเิ ปน แหลงการเรียนรูและแบบยั่งยืนดวยหลักภูมิปญญาทองถิ่นหรือปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ระหวางคนกับธรรมชาติ และเทคโนโลยีใหเกิดการพึงพาซ่ึงกันและกัน ตลอดจนเรียนรูการใชชีวิตบนโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคอุตสาหกรรมการ พัฒนาแบบกา วกระโดนจากกระเกษตรกรรมเขาสยู คุ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เมื่อประเทศมีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากเทาไร ก็เปนสาเหตุการทําลาย ธรรมชาติ เพ่ือนําทรัพยากรธรรมมาเปนพลังงานในการพัฒนาประเทศ ซ่ึงประเทศก็ นับวันจะเขาสูวิกฤตส่ิงแวดลอม จึงทําใหเกิดภัยพิบัติธรรมชาติ พายุฝน ดินถลม น้ําทวม ภูเขานํ้าแข็งละลาย แผนดินไหว ปรากฏการณธรรมชาติเหลานี้ ลวนเกิดข้ึน จากความเสื่อมโทรมของธรรมชาติ และสว นหน่ึงเกิดจากฝมนุษยดวย ถามนุษยเขาใจ ธรรมชาติอยูรวมกัน และสรางจิตสํานึกโลกจริยธรรมอุตสาหกรรมสีเขียว คือ ผลิต อุตสาหกรรมเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม โยงถึงเหตุผล และการกระทํา การอนุรักษ ส่งิ แวดลอมศึกษาเชิงบูรณาการและพัฒนาสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืน ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนมีสวนรวมรับผิดชอบส่ิงแวดลอมในชุมชนรวมกัน พัฒนาเปนแหลงการ เรียนรู สงเสริมกิจกรรม“สิ่งแวดลอมสําหรับโรงเรียนและชุมชน” ใหเกิดเปนแหลง การเรียนรู กจ็ ะชวยลดความเส่ือมโทรมทางทรพั ยากรธรรมชาตลิ งได หวังวา เอกสารคําสอนรายวิชาส่ิงแวดลอมสําหรับโรงเรยี นและชุมชน จะได มีสวนรวมและเปน แนวทางการศึกษาและปองกันสิ่งแวดลอม และแนวทางการปฏิบัติ ตนที่จะเผชิญกับภัยธรรมชาติ โดยมีกระบวนการและรูปแบบผสานวิธีดวยเทคโนโลยี สมัยใหม สามารถปองกันภยั ธรรมและรปู แบบการอนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอมดว ย เพื่อรวมกนั สรางสังคมแหงสนั ติสุขบนโลกแหงความจริง พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. (พระมหาพิชาภพ บญุ แชม )

( )4 พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ

( )ʧèÔ áÇ´ÅÍŒ ÁÊÒí ËÃºÑ âçàÃÂÕ ¹áÅЪØÁª¹ 5 สารบัญ (๑) เรอ่ื ง หนา คาํ นํา (๓) สารบญั สารบัญภาพ (๑-(๔๕)) มคอ. ๓ ((๕๙)) แผนบริหารการสอนประจําวชิ า (ตาม มคอ.3) แผนการสอนประจําบทที่ ๑ (๕-(๒๑๐๑)) บทที่ ๑ แนวคดิ หลักการ ความสําคญั การบริหารจัดการสิ่งแวดลอ ม (๒๑-(๒๒๖๗)) ๑.๑ แนวคดิ หลักการ ความสาํ คญั การบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอม ๑ ๑.๑.๑ แนวคดิ เกี่ยวกบั การจัดการส่งิ แวดลอม ๓ ๑.๑.๒ หลักการอนรุ กั ษส่ิงแวดลอ ม ๓ ๑.๑.๓ ความสาํ คญั สิ่งแวดลอม ๓ ๑.๑.๔ ประเภทของสิง่ แวดลอม ๕ ๑.๑.๕ การบรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอ ม ๗ ๙ สรปุ ประจาํ บท ๑๐ คําถามประจําบท ๑๓ เอกสารอา งองิ ประจําบท ๑๕ แผนการสอนประจาํ บทท่ี ๒ ๑๖ บทท่ี ๒ การบริหารจดั การบรรยากาศทางกายภาพ ๑๗ ๑๙ ๑.๑ การบริหารจัดการสิง่ แวดลอ มทางกายภาพ ๑.๑.๑ การจดั การสงิ่ แวดลอมทางกายภาพ ๑๙ ๑.๑.๒ การจัดการเรยี นการสอน ๒๑ ๓๑ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การส่ิงแวดลอ มในสถานศึกษา ๓๕ ๑.๒.๑ การบรหิ ารจัดการสง่ิ แวดลอมในสถานศกึ ษา ๓๕ ๑.๒.๒ การดาํ เนินการจดั กิจกรรมรักษาส่ิงแวดลอมในสถานศึกษา ๓๘ สรุปประจาํ บท ๔๑ คาํ ถามประจาํ บท ๔๓ เอกสารอา งองิ ประจําบท ๔๔

( )6 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÑ (๒) แผนการสอนประจาํ บทที่ ๓ ๔๗ ๔๙ บทท่ี ๓ การสรา งเครอื ขา ยการมสี ว นรวมระหวา งโรงเรยี นและชมุ ชน ๔๙ ๑.๑ ความหมายการสรา งเครือขาย ๕๑ ๑.๑.๑ ความสาํ คญั ของการสรา งเครอื ขา ย ๕๕ ๑.๑.๒ การสรา งเครือขายการมีสวนรว มระหวา งโรงเรียนและชมุ ชน ๕๖ ๑.๑.๓ การมีสว นรวมระหวางโรงเรยี นและชุมชน ๖๐ ๑.๑.๔ บทบาทและความสําคัญการสรา งเครือขา ยชมุ ชนตอโรงเรียน ๖๖ ๑.๒ การปลกู ฝง จริยธรรมสิ่งแวดลอ มการศึกษาสําหรบั โรงเรียนและชุมชน ๖๖ ๑.๒.๑ การปลูกฝงจรยิ ธรรมสงิ่ แวดลอมการศกึ ษา ๖๙ ๑.๒.๒ การมีสว นรว มการปลกู ฝงจริยธรรมของผูบรหิ าร ๗๑ ๑.๒.๓ หลกั พ้นื ฐานการมสี วนรวมการปลกู ฝงจริยธรรมของผูบรหิ าร ๗๕ สรุปประจาํ บท ๗๗ คําถามประจาํ บท ๗๘ เอกสารอา งอิงประจําบท ๘๑ แผนการสอนประจําบทท่ี ๔ ๘๓ ๘๔ บทที่ ๔ องคก รพัฒนาส่งิ แวดลอ มในชุมชน ๘๔ ๑.๑ องคกรทอ งถิ่นการพฒั นาสง่ิ แวดลอม ๘๗ ๑.๑.๑ บทบาทองคกรกํานนั กับการพฒั นาสิ่งแวดลอมแบบย่ังยืน ๘๙ ๑.๑.๒ บทบาทองคก รสงฆก ับการพฒั นาสิง่ แวดลอม ๙๑ ๑.๑.๓ การพัฒนาสิง่ แวดลอ มเชิงศลี ธรรม ๙๕ ๑.๑.๔ การพฒั นาสงิ่ แวดลอมเชิงจรยิ ธรรมแนวใหม ๙๕ ๑.๒ องคกรปกครองสว นทองถิ่นกับการพฒั นาสง่ิ แวดลอ ม ๑.๒.๑ ลักษณะการบังคบั ใชกฎหมายสง่ิ แวดลอ มขององคกรปกครองสว น ๙๘ ทอ งถน่ิ ๙๙ ๑.๒.๒ การบังคับใชก ฎหมายพัฒนาสิง่ แวดลอมสคู วามย่ังยืน ๑๐๒ ๑.๒.๓ แนวทางการพัฒนาสูความยัง่ ยนื ๑๐๓ ๑.๒.๔ หลักการพัฒนาส่ิงแวดลอมทีย่ ั่งยนื ๑๐๕ สรปุ ประจําบท ๑๐๖ คาํ ถามประจาํ บท เอกสารอางอิงประจาํ บท

ʧÔè áÇ´ÅŒÍÁÊíÒËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪØÁª¹ (7) แผนการสอนประจําบทท่ี ๕ (๓) บทท่ี ๕ การจดั การเรยี นรูสิง่ แวดลอ มในโรงเรียน ๑๐๗ ๑.๑ การจดั การเรียนรูสิ่งแวดลอ มในโรงเรียน ๑๐๙ ๑.๑.๑ การเรยี นรสู ิง่ แวดลอมในโรงเรยี น ๑๐๙ ๑.๑.๒ ชน้ั เรยี นนอกหองเรียน ๑๑๑ ๑.๑.๓ หลักการและการปฏบิ ัติทางส่ิงแวดลอมศึกษา ๑๑๔ ๑๑๖ ๑.๒ การสง เสรมิ การอนรุ กั ษสิง่ แวดลอมในโรงเรยี น ๑๑๙ ๑.๒.๑ แหลงการเรยี นรูส งเสรมิ อนรุ ักษส่งิ แวดลอ ม ๑๐๐ วธิ ี ๑๒๐ ๑.๒.๒ การนําทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชใ หเปนประโยชนต อ การศึกษา ๑๓๑ ๑๓๔ ๑.๓ การจัดการสงิ่ แวดลอมในชมุ ชน ๑๓๔ ๑.๓.๑ ความหมายของชุมชน ๑๓๗ ๑.๓.๒ การมีสวนรวมในการจดั การสง่ิ แวดลอมในชมุ ชน ๑๔๐ ๑.๓.๓ รูปแบบการจัดการสิ่งแวดลอมแบบมสี ว นรวมในชมุ ชน ๑๔๒ ๑.๓.๔ การสง เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดลอมในชุมชน ๑๔๔ สรปุ ประจําบท ๑๔๖ คาํ ถามประจาํ บท ๑๔๗ เอกสารอา งองิ ประจําบท ๑๔๙ ๑๕๑ แผนการสอนประจาํ บทที่ ๖ บทท่ี ๖ การพัฒนาแหลง การเรยี นรทู างธรรมชาติ ๑๕๑ ๑๕๓ ๑.๑ การพฒั นาแหลงเรยี นรูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มธรรมชาติ ๑๕๖ ตามนโยบายภาครฐั ๑๕๘ ๑.๑.๑ ความหมายแหลง การเรียนรทู างธรรมชาติ ๑๖๐ ๑.๑.๒ ความสาํ คญั ของแหลง เรยี นรูธรรมชาติ ๑๖๑ ๑.๑.๓ ประเภทของแหลง เรยี นรูธรรมชาติ ๑๖๓ ๑.๑.๔ ประโยชนของแหลง เรียนรูธรรมชาติ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑.๒ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติเปนแหลง การเรียนรู ๑๖๖ ๑.๒.๑ การพฒั นาสวนพฤกษศาสตรเปน แหลง การเรียนรูทางธรรมชาติ ๑๖๗ ๑.๒.๒ การบรู ณาแหลงการเรยี นรทู างธรรมชาติตามพระราชบญั ญัติ ๑๗๐ ๑.๒.๓ การพฒั นาแหลง เรียนรทู างธรรมชาติจากสวนพฤกษศาสตร ๑.๒.๔ วทิ ยาการชมุ ชนกับการพฒั นาแหลง การเรียนรู ๑.๒.๕ ความสาํ คญั ของแหลง วทิ ยาการชุมชน ๑.๒.๖ การพฒั นาแหลงการเรียนรูจ ากการทัศนะศกึ ษา

( )8 พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ (๔) สรปุ ประจําบท ๑๗๓ คาํ ถามประจําบท ๑๗๖ เอกสารอา งองิ ประจําบท ๑๗๗ แผนการสอนประจาํ บทที่ ๗ ๑๗๙ บทที่ ๗ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการพฒั นาคุณภาพสง่ิ แวดลอมที่ย่ังยืน ๑๘๑ ๑.๑ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๘๒ ๑.๑.๑ การพฒั นาตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๘๕ ๑.๑.๒ แนวทางปฏบิ ตั ติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑๙๐ ๑.๒.๓ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการพฒั นาส่ิงแวดลอ มและ ๑๙๒ ทรพั ยากรธรรมชาติ ๑๙๕ ๑.๒ การพัฒนาทีย่ งั่ ยนื ๑๙๕ ๑๙๙ ๑.๒.๑ ความหมายของการพัฒนาอยา งย่งั ยืน ๒๐๔ ๑.๒.๒ หลักการพัฒนาท่ีย่ังยืน ๒๐๖ ๒๐๗ สรปุ ประจาํ บท คําถามประจําบท ๒๐๙ เอกสารอางอิงประจําบท บรรณานกุ รม

ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÊÒí ËÃѺâçàÃÕ¹áÅЪØÁª¹ (9) สารบญั แผนภาพ (๕) แผนภาพท่ี กระบวนการศึกษาความรู ความเขาใจ ทักษะและทัศนคติ ๑๑๗ ความสาํ คญั ของแหลงวิทยาการชมุ ชน ๑๖๗ ๕.๑ สรปุ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง๒ ๑๘๓ ๖.๑ การประยุกตหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ นแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ๑๘๗ ๗.๑ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๐ ๗.๒

( )10 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ

( )ʧÔè áÇ´ÅÍŒ ÁÊÒí ËÃºÑ âçàÃÕ¹áÅЪÁØ ª¹ 11 มคอ. ๓ (๗) รายละเอยี ดของรายวชิ า (ตาม มคอ.3) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา หลักสตู รและการสอน คณะครุศาสตร หมวดที่ ๑ ขอมูลทั่วไป ๑. รหสั และชือ่ รายวชิ า ๖๒๓ ๓๑๗ สง่ิ แวดลอมสําหรบั โรงเรียนและชุมชน Environmental School and Community ๒. จํานวนหนว ยกติ ๓ (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวชิ า พทุ ธศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสงั คมศึกษา ๔. ผูร บั ผิดชอบรายวชิ าและอาจารยผ สู อน พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. (พระมหาพชิ าภพ บญุ แชม) ๕. ภาคการศกึ ษา/ชนั้ ปที่เรยี น เปดสอนภาคการศกึ ษา ๑ ชนั้ ปท ่ี ๑ ๖. รายวชิ าทีต่ องเรียนมากอน (Pre-requisites) - ๗. รายวชิ าท่ีตองเรียนพรอมกนั (Co-requisites) - ๘. สถานทเ่ี รียน ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๙. วันทจ่ี ดั ทาํ หรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาคร้ังลาสุด -

( )12 พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÂÑ (๘) หมวดที่ ๒ จุดมงุ หมายและวตั ถปุ ระสงค ๑. จดุ มุงหมายของรายวิชา เพื่อใหนิสิตมีความรูความเขาใจแนวคิดหลักการขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมใน โรงเรียนและชุมชน ขั้นตอนการอนุรักษและการสรางเครือยขายโรงเรียนและชุมชนตลอดการ บูรณาการการอนุรักษสง่ิ แวดลอ มตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหเ กิดความยั่งยืน วตั ถปุ ระสงค หลังเรียนจบวชิ านีแ้ ลว นสิ ิตสามารถ ๑. เขา ใจหลกั การและวธิ ีการอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ มในโรงเรยี นและชุมชน ๒. บอกข้นั ตอน กระบวนการอนุรกั ษและพฒั นาสง่ิ แวดลอ มใหเปนแหลง การเรยี นรู ๓. เขา ใจและอธิบายปญ หาสิ่งแวดลอมท่ีกําลังเสอ่ื มโทรม ๔. เขา ใจและอธิบายความเขาใจเก่ยี วกับสรา งเครอื ขายระหวา งโรงเรียน ชุมชนและ องคก ารพฒั นาส่ิงแวดลอมในชมุ ชน ๕. เขา ใจและอธิบายการจัดการส่ิงแวดลอ มในเรียนและชมุ ชน ๖. เขาใจและอธิบายเก่ียวกับการพัฒนาแหลงเรยี นรูทางธรรมชาติ ๗. เขาใจและอธบิ ายเกยี่ วกับภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ และการพัฒนาสิ่งแวดลอมทย่ี ่งั ยนื หมวดท่ี ๓ ลักษณะการดําเนินงาน ๑. คาํ อธบิ ายรายวชิ า ศึกษาแนวคิด หลักการ ความสําคัญการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ดานบรรยากาศทาง กายภาพ อาคาร สถานที่ ส่ิงแวดลอมทางสังคม การสรางเครือขายระหวางโรงเรียนและชุมชน องคกรพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชน การจัดการเรียนรูสิ่งแวดลอมในโรงเรียนและชุมชนและพัฒนา แหลง เรยี นรธู รรมชาติ โดยภูมปิ ญญาทอ งถนิ่ ทีย่ ่ังยืน

( )ÊèÔ§áÇ´ÅÍŒ ÁÊíÒËÃºÑ âçàÃÕ¹áÅЪÁØ ª¹ 13 (๙) ๒. จํานวนช่ัวโมงทใ่ี ชตอ ภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝกปฏบิ ตั ิ/งาน การฝกปฏิบตั ิ/งาน ภาคสนาม/การฝกงาน ภาคสนาม/การฝก งาน ๔๐ ช่วั โมง ตามความตองการ ๘ ชั่วโมง ๔ ชวั่ โมงตอสปั ดาห ของนสิ ิตเฉพาะราย ๓. จํานวนช่ัวโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนิสิตเปน รายบคุ คล - อาจารยป ระจาํ รายวชิ าประกาศเวลาใหคําปรกึ ษาทห่ี นา หองทํางาน และเวป็ ไซตคณะ - นสิ ติ จองวนั เวลาลวงหนา หรือมาพบตามเวลา - อาจารยจัดเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล/กลุมตามความตองการ 2 ชั่วโมงตอ สปั ดาห (เฉพาะรายทตี่ อ งการ) หมวดท่ี 4 การพัฒนาผลการเรียนรขู องนิสิต การพฒั นาการเรียนในกลุมมาตรฐานผลการเรียนรูที่มงุ หวัง ๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๑ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่ตอ งพัฒนา พัฒนานสิ ิตใหมีความรับผดิ ชอบ ซอื่ สัตย มีวินัย มคี วามอดทน มจี รรยาบรรณนักวิจัย เคารพในคุณคาและศกั ดศิ์ รีความเปนมนษุ ย มีจริยธรรมตอ การสรา งผลงานวจิ ัย ๑.๒ วธิ กี ารสอน - อภิปรายกลุม - บทบาทสมมติ ๑. ศกึ ษาเอกสารคาํ สอน วเิ คราะหลักษณะของการดําเนนิ งาน ๒. สอนแบบอภิปรายเน้อื หา / ซกั ถาม / และทาํ แบบฝก หดั ในชน้ั เรยี น ๓. แบง กลมุ ทํากจิ กรรมระดมพลงั สมอง เพ่ือแสดงความคดิ เหน็ ลักษณะของการ จัดการเรยี นการสอน ๔. รายงานหนาช้นั เรียนเปน ลายลกั ษณอกั ษรและวาจา

( )14 พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÑ (๑๐) ๕. จดั ทําปา ยนเิ ทศเกยี่ วกบั การจดั การเรียนการสอนประจําบท ๖. รวมวิเคราะหเอกสารจากโสตทศั นปู กรณ ๗. ศกึ ษานอกสถานที่ ๘. มอบหมายใหท ําคําถามทบทวนทา ยบท ๑.๓ วิธกี ารประเมินผล - พฤติกรรมการเขา เรียน และสงงานที่ไดร บั มอบหมายตรงเวลา - มีการอา งอิงอยางถูกตองและเหมาะสมในรายงาน - ประเมนิ ผลการอภิปรายกลุม ๒. ความรู ๒.๑ ความรูทต่ี อ งไดรบั มีความรูในแนวคิดและหลักการพ้ืนฐานของการแนวคิด หลักการ ความสําคัญการ บริหารจัดการส่ิงแวดลอม ดานบรรยากาศทางกายภาพ อาคาร สถานที่ ส่ิงแวดลอมทางสังคม การสรางเครือขายระหวางโรงเรียนและชุมชน องคกรพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชน การจัดการ เรียนรูส่ิงแวดลอมในโรงเรียนและชุมชนและพัฒนาแหลงเรียนรูธรรมชาติ โดยภูมิปญญาทองถิ่น ที่ยงั่ ยืน ๒.๒ วิธีการสอน - บรรยายรว มกับอภิปราย การทาํ งานวจิ ัยกลมุ และมอบหมายใหอา นและสรปุ บทเรียน ๑. ศกึ ษาเอกสารคาํ สอน วิเคราะหลกั ษณะของการดาํ เนนิ งาน ๒. สอนแบบอภปิ รายเนือ้ หา / ซักถาม / และทาํ แบบฝก หัดในชัน้ เรยี น ๓. แบง กลุมทํากิจกรรมระดมพลงั สมอง เพื่อแสดงความคดิ เห็นลักษณะของการ จดั การเรยี นการสอน ๔. รายงานหนา ชัน้ เรยี นเปนลายลักษณอกั ษรและวาจา ๕. จัดทําปา ยนิเทศเกยี่ วกับการจดั การเรยี นการสอนประจําบท ๖. รวมวิเคราะหเอกสารจากโสตทัศนูปกรณ ๗. ศกึ ษานอกสถานท่ี ๘. มอบหมายใหท ําคําถามทบทวนทา ยบท ๒.๓ วิธีการประเมินผล - สอบกลางภาคและปลายภาคดว ยขอ สอบและสอนปากเปลา - นาํ เสนองานกลุม - การนาํ เสนอสรปุ งานกลุมท่ีนําเสนอ

( )ÊèÔ§áÇ´ÅŒÍÁÊíÒËÃѺâçàÃÕ¹áÅЪÁØ ª¹ 15 (๑๑) ๓. ทักษะทางปญญา ๓.๑ ทกั ษะทางปญ ญาท่ีตอ งพฒั นา - พัฒนาความสามารถในการคดิ อยา งเปนระบบ คิดเชงิ เหตุผล คิดเพอ่ื แกไขปญหา อยา งสรางสรรค ๓.๒ วิธีการสอน - อภปิ รายกลุม - เขียนโครงการวจิ ัย - การสะทอนคิด ๑. ศึกษาเอกสารคาํ สอน วเิ คราะหล กั ษณะของการดําเนินงาน ๒. สอนแบบอภปิ รายเนอ้ื หา / ซกั ถาม / และทําแบบฝกหัดในชัน้ เรียน ๓. แบง กลมุ ทํากิจกรรมระดมพลงั สมอง เพื่อแสดงความคดิ เห็นลักษณะของการ จดั การเรยี นการสอน ๔. รายงานหนาช้ันเรยี นเปน ลายลักษณอกั ษรและวาจา ๕. จัดทําปายนิเทศเกย่ี วกับการจดั การเรยี นการสอนประจําบท ๖. รวมวเิ คราะหเ อกสารจากโสตทศั นปู กรณ ๗. ศึกษานอกสถานที่ ๘. มอบหมายใหท ําคาํ ถามทบทวนทายบท ๓.๓ วธิ ีการประเมิน - สอบกลางภาคและปลายภาค โดยขอ สอบเนน การใชปรากฏการณท างสงั คม - การนําเสนอโครงการอนรุ กั ษส ิง่ แวดลอ ม ๔. ทักษะความสัมพนั ธร ะหวางบุคคลและความรบั ผิดชอบ ๔.๑ ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบท่ีตอง พฒั นา - มที ักษะในการสรอ งสัมพันธภาพระหวา งนิสิตดวยกนั - แสดงความเปนผนู าํ และผตู ามในการทํางานเปน ทมี - รบั ผดิ ชอบในการเรยี นรูด ว ยตนเอง และทํางานที่มอบหมายใหแ ลวเสรจ็ ตรงตาม เวลากาํ หนด

( )16 พระวเิ ทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ (๑๒) ๔.๒ วิธกี ารสอน - จดั กิจกรรมกลมุ ในการเขยี นโครงการและทํางานดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม - มอมหมายงานใหคนควาและศกึ ษาดวยตนเอง เชน ใหเลือกและอานงานดาน สงิ่ แวดลอมศึกษา ๑. ศึกษาเอกสารคําสอน วเิ คราะหล กั ษณะของการดาํ เนินงาน ๒. สอนแบบอภิปรายเนื้อหา / ซกั ถาม / และทําแบบฝกหัดในชั้นเรียน ๓. แบง กลุมทํากิจกรรมระดมพลังสมอง เพื่อแสดงความคดิ เห็นลกั ษณะของการ จดั การเรยี นการสอน ๔. รายงานหนาช้นั เรียนเปนลายลักษณอักษรและวาจา ๕. จดั ทําปายนิเทศเก่ียวกบั การจัดการเรยี นการสอนประจําบท ๖. รวมวิเคราะหเอกสารจากโสตทัศนปู กรณ ๗. ศกึ ษานอกสถานที่ ๘. มอบหมายใหท าํ คาํ ถามทบทวนทา ยบท ๔.๓ วิธกี ารประเมนิ ผล - ประเมินตนเอง และเพือ่ นประเมนิ เพ่ือน ดวยแบบฟอรม ที่กําหนด - การรายงานงานวจิ ยั /พฤติกรรมการทาํ งานเปน ทีม - รายงานการศกึ ษาดว ยตนเอง ๕. ทักษะวเิ คราะหเ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕.๑ ทักษะวเิ คราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศทตี่ อง พัฒนา - ทกั ษะในการสื่อสารทั้งการพดู การฟง การเขียน โดยการทาํ งานวจิ ัยและเสนอใน ช้ันเรยี น - ทักษะในการวเิ คราะหปญ หาและสะภาพแวดลอมดานส่งิ แวดลอม - ทักษะในการสืบคน ขอมลู ทางอินเทอรเนตเพ่ือทํางานและทาํ รายงาน - ทกั ษะในการนาํ เสนองานและรายงานโดยใชเ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ๕.๒ วิธีการสอน - อภิปราย - มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดว ยตนเองจากเว็ปไซต, e-learning และทํารายงาน - มอบหมายงานใหเ ตรียมและนาํ เสนอโดยใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม

( )ÊÔ§è áÇ´ÅÍŒ ÁÊÒí ËÃºÑ âçàÃÂÕ ¹áÅЪÁØ ª¹ 17 ๑. ศึกษาเอกสารคําสอน วิเคราะหลกั ษณะของการดาํ เนนิ งาน ๒. สอนแบบอภิปรายเนื้อหา / ซกั ถาม / และทําแบบฝกหัดในช้นั เรยี น ๓. แบงกลมุ ทาํ กจิ กรรมระดมพลงั สมอง เพือ่ แสดงความคดิ เหน็ ลักษณะของการ จดั การเรยี นการสอน ๔. รายงานหนา ช้นั เรยี นเปน ลายลักษณอกั ษรและวาจา ๕. จัดทาํ ปา ยนิเทศเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นการสอนประจําบท ๖. รวมวเิ คราะหเ อกสารจากโสตทศั นปู กรณ ๗. ศึกษานอกสถานที่ 8. มอบหมายใหทาํ คาํ ถามทบทวนทายบท ๕.๓ วิธกี ารประเมนิ ผล - การมีสวนรว มในการอภิปราและคณุ ภาพการอภปิ ราย - รายงาน/งานโครงการ/กจิ กรรม - การนาํ เสนอดวยสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ

( )18 พระวิเทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÑ หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน หวั ขอ ํจานวน ั่ชวโมง กจิ กรรมการ ผูสอน เรียนการนอน สัปดาหที่ ๑ ปฐมนิเทศ/แนะนําราย วิชาและ -บรรยาย แผนการสอน -ประกอบส่ือ -แนวคิด หลกั การ ความสําคัญการบริหาร ๑ -แนะนาํ รายวชิ า พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. จดั การส่ิงแวดลอ ม -แนะนาํ หนังสือ -แนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั การส่งิ แวดลอม อานประกอบ -มอบหมาย รายงาน สัปดาหท ่ี ๒ บรรยาย -หลักการอนรุ ักษส ิง่ แวดลอม ประกอบสื่อ พระวเิ ทศพรหมคณุ , ดร. -ความสําคัญสงิ่ แวดลอ ม ๒ -สรุปสาระ -ประเภทของสง่ิ แวดลอม สําคญั -การบรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอม ประจาํ บท สปั ดาหท ี่ ๓ การบรหิ ารจัดการบรรยากาศทาง กายภาพ -บรรยาย -การบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอมทางกายภาพ ประกอบสื่อ -การจดั การสงิ่ แวดลอมทางกายภาพ -ศึกษาคนควา พระวิเทศพรหมคณุ , ดร. -การจัดการเรยี นการสอน -สรุปสาระ -การบริหารจัดการสง่ิ แวดลอ มในสถานศกึ ษา สําคญั -การบรหิ ารจัดการสง่ิ แวดลอมในสถานศกึ ษา ๓ ประจาํ บท -การดาํ เนินการจดั กจิ กรรมรักษาสิง่ แวดลอม ในสถานศึกษา

( )Êè§Ô áÇ´ÅŒÍÁÊíÒËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪÁØ ª¹ 19 (๑๕) สปั ดาหท่ี ๔ การสรางเครือขายการมี -บรรยาย สวนรว มระหวา งโรงเรยี นและชุมชน ประกอบสอื่ -ความหมายการสรา งเครือขา ย -อภิปรายหนา -ความสาํ คญั ของการสรางเครอื ขา ย ชน้ั เรยี น พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. -การสรา งเครือขา ยการมสี วนรว มระหวาง ๓ ฝก หัดการเขียน โรงเรียนและชมุ ชน โครงการกิจกรรม -การมีสวนรวมระหวา งโรงเรยี นและ ชุมชนสมั พนั ธ ชุมชน สง่ิ แวดลอม -บทบาทและความสําคญั การสรา งเครอื ขา ยชุมชนตอ โรงเรยี น สปั ดาหท ่ี ๕ -การปลกู ฝงจริยธรรมสิ่งแวดลอมการ -บรรยาย ศกึ ษาสาํ หรับโรงเรยี นและชมุ ชน ประกอบสอ่ื -การปลกู ฝงจริยธรรมสิง่ แวดลอ มการ -กิจกรรมอนุรักษ พระวเิ ทศพรหมคุณ, ดร. ศกึ ษา สิง่ แวดลอมในชมุ ชน -การมสี วนรวมการปลกู ฝงจรยิ ธรรมของ ๓ -สรปุ สาระสาํ คัญ ผบู รหิ าร ประจาํ บท -หลักพ้ืนฐานของความจําเปน การมสี ว น รวมการปลูกฝง ของผบู ริหาร สัปดาหที่ ๖ องคกรพัฒนาสิ่งแวดลอมใน -บรรยาย ชมุ ชน ประกอบสือ่ -องคก รทอ งถิน่ การพัฒนาสิง่ แวดลอ ม -นสิ ิตนาํ เสนอ -บทบาทองคกรกํานนั กบั การพฒั นา โครงการกิจกรรม พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. สิ่งแวดลอ มแบบย่งั ยนื -บทบาทองคก รสงฆกบั การพัฒนา ๓ ลดภาวะโลกรอ น -สรุปสาระสําคญั สิ่งแวดลอม ประจาํ บท -การพัฒนาสงิ่ แวดลอมเชงิ ศีลธรรม -การพัฒนาสง่ิ แวดลอ มเชิงจริยธรรม แนวใหม

( )20 พระวิเทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÂÑ (๑๖) สปั ดาหที่ ๗ -บรรยาย -องคกรปกครองสว นทองถ่นิ กบั การ ประกอบสื่อ พัฒนาส่ิงแวดลอ ม -นําเสนอ -ลกั ษณะการบังคับใชกฎหมาย ๓ -จัดกิจกรรม พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. ส่ิงแวดลอ มขององคก รปกครองสว น -ทําแบบฝกหดั ทองถิน่ -สรุปสาระสําคัญ -การบงั คบั ใชกฎหมายพัฒนาสิง่ แวดลอม ประจาํ บท สูความย่ังยืน -แนวทางการพฒั นาสคู วามยั่งยืน -หลกั การพฒั นาสงิ่ แวดลอมท่ยี ง่ั ยนื สัปดาหท่ี ๘ การจัดการเรยี นรูสิง่ แวดลอมในโรงเรียน -การจดั การเรียนรูสิง่ แวดลอ มในโรงเรียน -บรรยาย -การเรยี นรูส ่งิ แวดลอ มในโรงเรยี น ประกอบสื่อ -ชัน้ เรียนนอกหอ งเรียน -อภปิ รายหนา -หลกั การและการปฏบิ ตั ิทางส่งิ แวดลอม ชั้นเรยี น พระวเิ ทศพรหมคุณ, ดร. ศกึ ษา -การสง เสรมิ การอนรุ ักษส ่งิ แวดลอ มใน ๓ -แลกเปลยี่ นเรียนรู นาํ เสนอรายงาน โรงเรยี น -แหลงการเรยี นรูสงเสริมอนรุ ักษ สิ่งแวดลอม ๑๐๐ วธิ ี -การนาํ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชใ หเปน ประโยชนต อ การศึกษา สัปดาหท ี่ ๙ -การจดั การสงิ่ แวดลอ มในชมุ ชน -ความหมายของชุมชน -จดั กิจกรรมโครงการ -การมสี วนรว มในการจัดการสง่ิ แวดลอ ม ทัศนะศึกษาดูงาน พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. ในชุมชน ๓ นอกสถานที่ -รปู แบบการจดั การสิ่งแวดลอ มแบบมสี ว น -สรุปเปน รายงาน รว มในชุมชน -การสงเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดลอ มในชุมชน

( )ÊèÔ§áÇ´ÅÍŒ ÁÊíÒËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪØÁª¹ 21 สัปดาหที่ ๑๐ การพัฒนาแหลงการ เรียนรูทางธรรมชาติ -การพฒั นาแหลง เรียนรูท รพั ยากรและ -บรรยาย พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. สงิ่ แวดลอมธรรมชาติตามนโยบาย ๓ ประกอบส่อื ภาครฐั -ศึกษาดงู านแหลง -ความหมายแหลงการเรียนรทู าง การเรยี นรู ธรรมชาติ -ความสาํ คัญของแหลง เรียนรูธ รรมชาติ สัปดาหท ่ี ๑๑ -ประเภทของแหลง เรยี นรูธ รรมชาติ -นิสติ ออกแบบ -ประโยชนข องแหลงเรียนรูธ รรมชาติ โครงการพฒั นาแหลง -การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปน ๓ การเรยี นรูทางธรรม พระวเิ ทศพรหมคุณ, ดร. แหลงการเรียนรู -สรุปสาระสาํ คัญ -การพฒั นาสวนพฤกษศาสตรเปน แหลง ประจําบท การเรยี นรทู างธรรมชาติ สปั ดาหท ี่ ๑๒ -การบรู ณาแหลงการเรยี นรูทางธรรม ชาติตามพระราชบญั ญตั ิ นิสิตนาํ เสนอ -การพัฒนาแหลงเรียนรทู างธรรมชาติ (Model) จาํ ลอง จากสวนพฤกษศาสตร ๓ แหลง การเรียน พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. -วิทยาการชมุ ชนกับการพฒั นาแหลง รูทางธรรม การเรียนรู -สรุปสาระสําคัญ -ความสาํ คญั ของแหลง วิทยาการชุมชน ประจาํ บท -การพฒั นาแหลง การเรียนรจู ากการ ทศั นะศึกษา สัปดาหท่ี ๑๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอ -บรรยาย เพียงกับการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม ประกอบส่ือ ที่ยัง่ ยืน -จัดกิจกรรมโครงกา พระวิเทศพรหมคุณ, ดร. -ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๓ พุทธเศรษฐศาสตร -การพัฒนาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ กับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง พอเพียง -แนวทางปฏบิ ัติตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง

( )22 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÑ (๑๘) สปั ดาหท่ี ๑๔ -นสิ ิตนําเสนอ -ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการ รปู แบบ พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรม โครงการพทุ ธ ชาติ เศรษฐศาสตรกับ -การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ๓ ปรัชญาเศรษฐกิจ -ความหมายของการพัฒนาอยา งยั่งยนื พอเพยี ง -หลกั การพัฒนาทีย่ ่งั ยนื -สรปุ โครงการฯ สัปดาหท ี่ ๑๕ นําเสนอรายงาน/ สรปุ ผล/รายการนาํ เสนอ ๓ สรุปรายงานเปน รูปเลม สัปดาหท่ี ๑๖ สอบปลายภาค ๓ ๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู การประเมิน งานทีจ่ ะใชป ระเมนิ ผลผเู รียน สัปดาหท ่ีกําหนด สดั สวนของการ ประเมนิ ผล (๑) สอบ ๑๕ -สอบกลางภาค ๑๖ ๗๐% -สอบปลายภาค ๒๐% ๕๐% (๒) การเขา ช้นั เรียน ตลอดเทอม ๑๐% (๓) ทําคําถามทบทวนทายบท ตลอดเทอม ๑๐% ๑๐% (๔) ศกึ ษาคนควาทํารายงานและการนําเสนอ ๑๕ ๑๐๐% รวม

( )ÊÔè§áÇ´ÅÍŒ ÁÊÒí ËÃºÑ âçàÃÕ¹áÅЪØÁª¹ 23 หมวดท่ี ๖ ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. ตาํ ราและเอกสารหลกั กรมการปกครอง. พรบ. สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗. กรุงเทพฯ : โรง พิมพอาสารกั ษาดนิ แดน, ๒๕๔๒. กรมการพฒั นาชุมชน.คูมอื การปฏบิ ัติงานพัฒนาชุมชนสาํ หรบั นกั พัฒนากร. กรงุ เทพฯ : กรมการ พัฒนาชุมชน. กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๒๖. กรมวิชาการ กรมสามัญศึกษา. การประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทาง การศึกษา, ๒๕๔๔. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ความคดิ สรางสรรค หลักการ ทฤษฎี การเรียนการสอน การ วัดผลประเมนิ ผล. พมิ พครงั้ ท่ี ๒ กรงุ เทพฯ: องคก ารคาครุ สุ ภา, ๒๕๓๕. กิ่งแกว อารรี ักษ. การจัดการความรูโดยใชร ูปแบบหลากหลาย. กรงุ เทพฯ : เมธีทปิ ส, ๒๕๔๘. เกรียงศักด เจริญวงศศักด. การจัดการเครือขาย : กลยุทธสําคัญสูความสําเร็จของการปฏิรูป การศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทซคั เซสมีเดยี จาํ กดั , ๒๕๔๓. เกษม จันทรแกว วทิ ยาศาสตรส่ิงแวดลอ ม. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, ๒๕๔๔. คณะกรรมการวิชาส่ิงแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. ส่ิงแวดลอมเทคโนโลยีและชีวิต. กรุงเทพฯ: สํานักพมิ พม หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร, ๒๕๕๗. คณะกรรมาธิการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการกองทนุ หมบู านและชุมชนเมอื ง. กรงุ เทพ : ครุ ุสภาลาดพราว, ๒๕๔๖. คณะอนุกรรมการขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ พอเพียง. “เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร”. พิมพค รั้งท่ี ๒. สาํ นักงาน คณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ, ๒๕๔๘. ๒. เอกสารและขอ มลู สําคญั -หนงั สือเก่ยี วกับสง่ิ แวดลอม และสิ่งแวดลอ มศึกษา ๓. เอกสารและขอมูลสําคัญ ธิดารัตน โพธิมามกะ และคณะ. ชีวิตกับส่ิงแวดลอม. กรุงเทพฯ : โครงการ ศูนยหนังสือ สถาบัน ราชภัฏสวนดสุ ติ , ๒๕๕๕. ธีระพล อรุณะกสิกร. พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพวิญชู น, ๒๕๕๒.

( )24 พระวเิ ทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÂÑ (๒๐) นรา สมประสงค และ เสรี ลาชโรจน. หนวยท่ี ๙ การบริหารสภาพแวดลอมสถานศกึ ษา. ในเอกสาร การสอนชุดวิชาการจัดการสถานศึกษา. นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๔๖. นรินทร ชัยพัฒนาพงศา.การมีสวนรวมหลักการพ้ืนฐานเทคนิค. เชียงใหม: คณะเกษตรศาสตร. มหาวิทยาลยั เชียงใหม, ๒๕๔๖. นฤมล นิราทร. การสรางเครือขายการทํางาน : ขอควรพิจารณาบางประการ. กรุงเทพฯ :คณะ สังคมสงเคราะหศ าสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, ๒๕๔๓. นิรันดร จงวุฒิเวศย. การจัดการความรูสูการพัฒนาท่ียั่งยืน. วารสารพัฒนาชุมชน. ๔๕ (๔), ๒๕๔๙. เนาวรัตน ลิขิตวันเศรษฐ. การเรียนรกู ับแหลง เรยี นรู กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลา ธนบรุ ,ี ๒๕๔๕. ปกรณเทพ พจี. “ปจจัยท่ีมีผลตอโครงการหนึ่งผลิตภัณฑเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน:กรณีศึกษาหมู บานเมืองบางจังหวัดหนองคาย”. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, ๒๕๔๙. ประดิษฐ มชั ฌิมา. สงั คมวทิ ยาชนบท. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม หาวทิ ยาลยั ธรรม ศาสตร, ๒๕๒๒. หมวดที่ ๗ การประเมนิ และปรับปรุงการดาํ เนนิ การของรายวิชา ๑. กลยทุ ธการประเมินประสิทธิผลของรายวชิ าโดยนสิ ติ - การสนทนากลมุ ระหวางผูส อนกับผูเรียน - การสะทอนคิด(reflective journal) ของผเู รียน - แบบประเมนิ ผสู อน และแบบประเมินรายวชิ า ๒. กลยุทธการประเมินการสอน - การสังเกตการณก ารสอนของผูร วมทมี การสอน - ผลการสอบ/การเรยี นรู - การทวนสอบผลการประเมนิ การเรยี นรู ๓. การปรับปรงุ การสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อรวมกนั หาแนวทางหรอื วางแผนการปรบั ปรุง พัฒนารายวิชา - การวิจัยในช้นั เรียน

( )Êè§Ô áÇ´ÅŒÍÁÊÒí ËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪÁØ ª¹ 25 ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนสิ ิตในรายวิชา - มคี ณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นรขู องนสิ ิต (คะแนนเกรด) กับขอ สอบ รายงาน งานส่ิงแวดลอม และการใหคะแนนพฤตกิ รรม ของนิสติ ๕. การดําเนินการทบทวน และการวางแผนปรับปรุงประสิทธผิ ลของรายวิชา - ปรับปรงุ ประมวลรายวชิ าทุกปต ามผลการสมั มนาการจัดการเรยี นการสอน

( )26 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ

( )Êè§Ô áÇ´ÅŒÍÁÊÒí ËÃѺâçàÃÕ¹áÅЪÁØ ª¹ 27 มคอ. ๓ (๒๓) แผนบรหิ ารการสอนประจําวิชา (ตาม มคอ.3) รหสั ๖๒๓ ๓๑๗ ๓ (๓-๐-๖) ส่งิ แวดลอ มสําหรบั โรงเรียนและชมุ ชน Environmental School and Community คําอธิบายรายวชิ า ศึกษาแนวคิด หลักการ ความสําคัญการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ดานบรรยากาศทาง กายภาพ อาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดลอมทางสังคม การสรางเครือขายระหวางโรงเรียนและชุมชน องคกรพัฒนาสิ่งแวดลอมในชุมชน การจัดการเรียนรูสิ่งแวดลอมในโรงเรียนและชุมชนและพัฒนา แหลง เรียนรูธรรมชาติ โดยภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ ที่ยง่ั ยืน วัตถปุ ระสงคท ่ัวไป หลังเรียนจบวิชานีแ้ ลว นสิ ติ สามารถ ๑. เขาใจหลกั การและวธิ กี ารจัดการสิ่งแวดลอ มสาํ หรับโรงเรียนและชมุ ชน ๒. บอกข้ันตอน กระบวนการจัดการและการอนรุ ักษส งิ่ แวดลอ มสําหรบั โรงเรียนและ ชุมชน ๓. เขาใจและอธิบายปญ หาส่งิ แวดลอม ๔. เขา ใจและอธบิ ายวิธกี ารแกป ญ หาส่ิงแวดลอม ๕. เขาใจและบอกวิธีการสรางเครอื ยขายระหวา งโรงเรียนและชมุ ชน ๖. เขาใจและอธบิ ายวธิ กี ารสรางเครอื ยขายในการดูแลและการอนรุ ักษส ่งิ แวดลอม ๗. อธบิ ายและบอกวิธกี ารตรวจสอบคณุ ภาพธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม ๘. เขาใจและอธบิ ายข้ันตอนขั้นพน้ื ฐานการอนรุ ักษส งิ่ แวดลอมทางธรรมชาติ ๙. เขาใจและเขยี นรายงานการอนรักษทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

( )28 พระวิเทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇÔ·ÂÒÅÂÑ (๒๔) เนอื้ หา บทท่ี ๑ แนวคิด หลักการ ความสาํ คญั การบรหิ ารจดั การส่งิ แวดลอ ม ๓ ชว่ั โมง -แนวคดิ หลักการ ความสําคญั การบริหารจัดการส่งิ แวดลอม ๓ ชวั่ โมง -แนวคดิ เก่ียวกบั การจัดการส่งิ แวดลอม -หลักการอนุรกั ษส ิ่งแวดลอม -ความสําคญั สิ่งแวดลอม -ประเภทของสง่ิ แวดลอ ม -การบริหารจดั การสิ่งแวดลอ ม สรุปประจําบท คาํ ถามประจําบท เอกสารอางองิ ประจําบท บทท่ี ๒ การบริหารจดั การบรรยากาศทางกายภาพ ๓ ช่ัวโมง -การบริหารจัดการส่ิงแวดลอ มทางกายภาพ -การจัดการสิ่งแวดลอมทางกายภาพ -การจดั การเรยี นการสอน -การบรหิ ารจดั การสง่ิ แวดลอ มในสถานศึกษา -การบรหิ ารจัดการสิ่งแวดลอ มในสถานศึกษา -การดาํ เนนิ การจัดกิจกรรมรกั ษาสงิ่ แวดลอมในสถานศึกษา สรปุ ประจาํ บท คําถามประจาํ บท เอกสารอา งองิ ประจําบท บทท่ี ๓ การสรา งเครอื ขา ยการมสี ว นรว มระหวางโรงเรยี นและชุมชน -ความหมายการสรา งเครอื ขาย -ความสําคญั ของการสรา งเครือขาย -การสรา งเครอื ขายการมีสว นรว มระหวา งโรงเรียนและชมุ ชน -การมีสว นรว มระหวางโรงเรียนและชุมชน -บทบาทและความสําคัญการสรา งเครอื ขา ยชมุ ชนตอ โรงเรียน -การปลกู ฝงจรยิ ธรรมส่ิงแวดลอ มการศึกษาสําหรับโรงเรยี นและชมุ ชน -การปลกู ฝง จริยธรรมสิง่ แวดลอ มการศึกษา

( )ÊÔè§áÇ´ÅÍŒ ÁÊíÒËÃѺâçàÃÂÕ ¹áÅЪØÁª¹ 29 -การมสี วนรวมการปลูกฝง จรยิ ธรรมของผบู รหิ าร -หลกั พื้นฐานการมสี วนรวมการปลูกฝง จรยิ ธรรมของผบู ริหาร สรุปประจําบท คําถามประจาํ บท เอกสารอางอิงประจําบท บทท่ี ๔ องคก รพัฒนาส่ิงแวดลอมในชุมชน ๓ ชวั่ โมง -องคกรทอ งถ่ินการพัฒนาส่งิ แวดลอม -บทบาทองคกรกาํ นันกบั การพัฒนาส่งิ แวดลอมแบบยั่งยนื -บทบาทองคก รสงฆกบั การพฒั นาสิง่ แวดลอม -การพัฒนาสง่ิ แวดลอมเชงิ ศลี ธรรม -การพัฒนาสิ่งแวดลอ มเชงิ จริยธรรมแนวใหม -องคกรปกครองสวนทอ งถิ่นกบั การพฒั นาสิ่งแวดลอม -ลักษณะการบงั คบั ใชก ฎหมายส่ิงแวดลอ มขององคกรปกครองสว นทองถ่ิน -การบงั คบั ใชกฎหมายพฒั นาส่ิงแวดลอ มสูความย่งั ยืน -แนวทางการพฒั นาสูความย่ังยนื -หลกั การพัฒนาสิ่งแวดลอมทีย่ ่ังยืน สรุปประจาํ บท คําถามประจาํ บท เอกสารอา งอิงประจาํ บท บทที่ ๕ การจดั การเรียนรูสงิ่ แวดลอมในโรงเรยี น ๓ ช่วั โมง -การจัดการเรียนรสู ่งิ แวดลอมในโรงเรียน -การเรียนรสู ิง่ แวดลอมในโรงเรยี น -ช้ันเรยี นนอกหอ งเรียน -หลกั การและการปฏบิ ตั ิทางสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา -การสงเสริมการอนุรักษส ิ่งแวดลอมในโรงเรยี น -แหลง การเรยี นรสู ง เสรมิ อนรุ กั ษสิ่งแวดลอ ม ๑๐๐ วธิ ี -การนาํ ทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชใหเ ปน ประโยชนต อการศกึ ษา -การจัดการส่ิงแวดลอมในชุมชน -ความหมายของชุมชน

( )30 พระวิเทศพรหมคุณ. ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ ÁËÒ¨ØÌÒŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÑ -การมสี ว นรว มในการจัดการสิ่งแวดลอมในชุมชน -รปู แบบการจดั การสง่ิ แวดลอมแบบมีสวนรวมในชุมชน -การสง เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดลอมในชมุ ชน สรปุ ประจาํ บท คําถามประจําบท เอกสารอางอิงประจําบท บทท่ี ๖ การพัฒนาแหลงการเรียนรูทางธรรมชาติ ๓ ช่วั โมง -การพัฒนาแหลงเรยี นรูท รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มธรรมชาตติ ามนโยบายภาครฐั -ความหมายแหลง การเรยี นรทู างธรรมชาติ -ความสําคัญของแหลงเรยี นรูธรรมชาติ -ประเภทของแหลงเรยี นรูธ รรมชาติ -ประโยชนข องแหลง เรยี นรูธ รรมชาติ -การพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติเปนแหลง การเรยี นรู -การพฒั นาสวนพฤกษศาสตรเ ปน แหลง การเรียนรูทางธรรมชาติ -การบูรณาแหลงการเรียนรทู างธรรมชาตติ ามพระราชบญั ญัติ -การพฒั นาแหลง เรียนรูทางธรรมชาติจากสวนพฤกษศาสตร -วิทยาการชุมชนกับการพัฒนาแหลงการเรยี นรู -ความสําคญั ของแหลงวิทยาการชุมชน -การพัฒนาแหลงการเรยี นรูจากการทัศนะศกึ ษา สรุปประจาํ บท คําถามประจาํ บท เอกสารอางองิ ประจําบท บทท่ี ๗ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพฒั นาคุณภาพส่ิงแวดลอมท่ีย่งั ยืน ๓ ช่วั โมง -ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง -การพัฒนาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง -แนวทางปฏิบตั ิตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง -ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการพัฒนาส่ิงแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติ -การพฒั นาท่ยี ่งั ยืน -ความหมายของการพฒั นาอยางยง่ั ยนื -หลกั การพฒั นาที่ย่ังยนื

( )ÊÔè§áÇ´ÅÍŒ ÁÊíÒËÃºÑ âçàÃÕ¹áÅЪØÁª¹ 31 (๒๗) สรปุ ประจําบท คําถามประจําบท เอกสารอา งองิ ประจาํ บท วธิ ีสอนและกิจกรรม ๑. ศึกษาเอกสารคําสอน วเิ คราะหล ักษณะของการดําเนินงาน ๒. สอนแบบอภิปรายเนอื้ หา / ซกั ถาม / และทาํ แบบฝก หัดในช้ันเรียน ๓. แบงกลุมทาํ กิจกรรมระดมพลังสมอง เพ่ือแสดงความคดิ เหน็ ลกั ษณะของการ จดั การเรยี นการสอน ๔. รายงานหนาชัน้ เรียนเปนลายลักษณอักษรและวาจา ๕. จดั ทาํ ปายนิเทศเกี่ยวกบั การจดั การเรยี นการสอนประจําบท ๖. รวมวิเคราะหเอกสารจากโสตทัศนปู กรณ ๗. ศึกษานอกสถานท่ี ๘. มอบหมายใหทาํ คาํ ถามทบทวนทา ยบท ๙. อาจารยสอนและสรปุ เน้ือหาเพม่ิ เติม สื่อการเรยี นการสอน ๑. เอกสารคําสอนบทที่ ๑ ๒. ใบงาน ๓. แผน ภาพ ๔. แบบฝกปฏบิ ัติ ๕. อินเทอรเ นต ๖. กิจกรรมประกอบการเรียนการสอน การวัดผลและประเมนิ ผล ๑. การวดั ผล ๑.๑ คะแนนระหวางภาครวม รอ ยละ ๕๐ ๑.๑.๑ กจิ กรรม / พฤตกิ รรม / การมีสวนรวมในชนั้ เรยี น รอ ยละ ๑๐ ๑.๑.๒ คําถามทบทวนทายบท รอ ยละ ๑๐ ๑.๑.๓ ศึกษาคน ควา รายงานประจําภาคเรียน (Term Paper) รอ ยละ ๑๐ ๑.๑.๔ ทดสอบกลางภาค (Mid - Term) รอ ยละ ๒๐ ๑.๒ คะแนนสอบปลายภาค รอยละ ๕๐ รวม รอยละ ๑๐๐

( )32 พระวิเทศพรหมคณุ . ดร. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÁËÒ¨ÌØ Òŧ¡Ã³ÃÒªÇ·Ô ÂÒÅÑ ๒. การประเมินผล การประเมินผลใชเกณฑในการใหคาระดับคะแนนดังนี้ ระดับผลการเรยี น A ไดค ะแนนระหวาง ๙๐ – ๑๐๐ ระดบั ผลการเรียน B+ ไดค ะแนนระหวาง ๘๕ – ๘๙ ระดับผลการเรยี น B ไดค ะแนนระหวาง ๘๐ – ๘๔ ระดบั ผลการเรยี น C+ ไดคะแนนระหวาง ๗๕ – ๗๙ ระดบั ผลการเรยี น C ไดค ะแนนระหวา ง ๗๐ – ๗๔ ระดับผลการเรียน D+ ไดค ะแนนระหวา ง ๖๕ – ๖๙ ระดับผลการเรียน D ไดค ะแนนระหวาง ๖๐ – ๖๔ ระดบั ผลการเรียน F ไดคะแนนระหวาง Below ๖๐




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook