Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 05 บ้านทุ่งนา_แบบจัดทำนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี

05 บ้านทุ่งนา_แบบจัดทำนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี

Published by จิรกาญจน์ แผนกุล, 2022-08-29 03:36:25

Description: 05 บ้านทุ่งนา_แบบจัดทำนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคัดเลือกนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.”

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสรมิ และคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” คำนำ โรงเรียนบ้านทุ่งนา ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดกับ ผเู้ รยี นผา่ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยบรู ณาการในทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรซู้ งึ่ ปรากฏอยใู่ นมาตรฐาน การเรยี นรขู้ องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพ.ศ. 2551 อีกทงั้ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐาน ไดก้ าหนดนโยบายโรงเรียนคุณธรรม โดยใช้แนวการดาเนินงานของโรเรียนบ้านทุ่งนา ถอื เป็นภารกจิ ท่ี ต้อง ดาเนินงานตามนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ให้เป็นรูปธรรมย่ิงข้ึน จึงได้ประชุมวางแผน คณะครูบุคลากรทาง การศึกษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ที่เก่ียวข้อง กาหนดวิธีการปฏิบัติงานให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและ คดั เลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เลม่ น้ี เกิดจากผลการดาเนินงาน ตามรูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรมไปสู่การ ปฏิบัติ ผู้จัดทาได้ รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ท่ีเป็นผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินงานโรงเรียนตั้งแต่การศึกษา สภาพบริบทของโรงเรียน ความสาคัญของนวัตกรรม จุดประสงค์และเป้าหมายของนวัตกรรม กระบวนการพัฒนานวัตกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ปัจจัยความสาเร็จ บทเรียนท่ีได้รับ (Lesson Learned) การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ เง่ือนไขความสาเร็จ ท่ีสะท้อนผลการดาเนินงานได้อย่างแท้จริง ขอขอบคุณคณะครูบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียนแกนนา ผู้ท่ีใหค้ วามร่วมมอื เป็นอยา่ งดี นายย่ิงยศ พละเลิศ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านทุ่งนา

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” สำรบญั หนำ้ เรื่อง ก ข คานา 1 สารบัญ 1 1. ความสาคัญของนวตั กรรม 2 5 1.1 เหตุผลทีเ่ กดิ จากแรงบนั ดาลใจ 5 1.2 แนวคดิ หลักการสาคัญทเี่ ก่ียวขอ้ งกับผลงาน 5 2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมายของนวัตกรรม 5 2.1 จดุ ประสงค์ 5 2.2 เป้าหมาย 6 10 - เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ 18 - เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ 19 3. กระบวนการพัฒนานวัตกรรมหรือขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 20 4. ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั 21 5. ปจั จยั ความสาเรจ็ 6. บทเรียนท่ไี ด้รับ (Lesson Learned) 7. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรับ/รางวลั ที่ไดร้ ับ 8. เง่ือนไขความสาเร็จ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคัดเลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” เอกสำรประกอบกำรพจิ ำรณำสง่ เสรมิ และคัดเลอื กนวัตกรรมสร้ำงสรรคค์ นดี “โครงกำรโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 ชื่อผลงำน รปู แบบการบรหิ ารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรคู้ ูค่ ณุ ธรรม สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะ  ความพอเพยี ง  ความกตญั ญู  ความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ  ความรับผดิ ชอบ  อดุ มการณค์ ุณธรรม  คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ (โปรดระบ)ุ ......ความมีวนิ ยั ..... ชอ่ื ผู้พัฒนำนวัตกรรม นายยิ่งยศ พละเลิศ โรงเรียน/หน่วยงำน บา้ นทุ่งนา สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 E-mail [email protected] โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ 086 - 1617816 รำยละเอียดกำรนำเสนอนวตั กรรม 1. ควำมสำคญั ของนวตั กรรม 1.1 เหตุผลท่ีเกดิ จำกแรงบันดำลใจ ควำมจำเป็น ปัญหำหรือควำมตอ้ งกำรท่จี ดั ทำผลงำนนวัตกรรม จากการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ในช่วงเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน พ.ศ. 2563 พบว่า ความพอใจโดยรวมของการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ส่วน ใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 47.97 โดยมีผลการประเมินรายด้าน เป็นดังน้ี ความคิดเห็นส่วนใหญ่ใน ระดับความพงึ พอใจมาก ไดแ้ ก่ การดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีความหลากหลาย ร้อยละ 43.24 ความ ถูกต้องของใบงานนักเรียน ร้อยละ 37.84 และความคิดเห็นส่วนใหญ่ในระดับความพึงพอใจปานกลาง ได้แก่ สาระการเรียนรูส้ อดคล้องกับหลักสูตรสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 33.78 นักเรียนสามารถศึกษา ผ่านระบบ DLTV ได้ ด้วยตนเอง รอ้ ยละ 41.89 นักเรียนมคี วามพร้อมด้านอุปกรณ์ในการเรียน ร้อยละ 59.46 ปริมาณงานทนี่ กั เรียน ได้รับมีความเหมาะสม รอ้ ยละ 75.68 นักเรียนสง่ งานกลับมายังครูผู้สอนครบถ้วน ร้อยละ 48.65 รูปแบบของ วิธีการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 40.54 นักเรียนและครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ร้อยละ 55.41 นักเรียนและครู ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ร้อยละ 58.11 ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นจาการเรียนรู้ของนักเรียน คือ ครู ไดใ้ บกจิ กรรมกลบั มาไม่ครบถว้ น โทรทศั น์ไมส่ ามารถรบั สัญญาณได้ ใบกิจกรรมมีจานวนมากเกินไป หากพัฒนา เพียงการจัดการเรียนรู้เพียงอย่างเดียวอาจไม่ประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านทุ่งนา จาเป็นต้องจัดการศึกษาเน้นความสาคัญท้ังความรู้คู่คุณธรรม จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผสมผสานความรู้ด้าน ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยโรงเรียนได้จัดทาหลักสูตร สถานศึกษาสาหรับจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามความต้องการของสังคม เพ่ือให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมาโดยตลอด แต่ในสภาพปัจจุบัน

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ทางโรงเรียนยังมปี ัญหาเก่ียวกับด้านพฤติกรรมและคุณลักษณะของนักเรียน ท่ีสง่ ผลกระทบต่อการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนค่อนข้างมาก ในการศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคลและการคัดกรองพฤติกรรมของนักเรียนได้ กาหนดพฤติกรรมการมีวินัยของนักเรียนด้านความรับผิดชอบ คือ หนึ่งความรับผิดชอบต่อตนเองได้แก่ ด้าน การแต่งกาย ดา้ นการตรงตอ่ เวลา และดา้ นการทางานตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย สองความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมหรอื สว่ นรวม ได้แก่ ด้านการรักษาความสะอาดหอ้ งเรยี นและบริเวณโรงเรียนในเขตรบั ผดิ ชอบ สภาพปญั หาดงั กล่าว ส่งผลต่อคุณภาพโดยรวมของโรงเรียน สมควรได้รับการแก้ไขและพัฒนาให้มีประสิทธภิ าพโดยเรว็ โรงเรยี นบา้ น ทงุ่ นา จงึ พัฒนารปู แบบการบรหิ ารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรม เนน้ การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี กดิ จากการปรับเปลีย่ นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Change Learning) เพื่อใหส้ ามารถดาเนนิ การจดั การเรียนรู้ ได้ อย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 เป็นการบริหาร จัดการที่สอดคลอ้ งกับความผดิ ปกติใหม่ (New normal) ทจี่ ะสามารถพฒั นาตนเองและสังคมมจี ิตสานกึ ในการ ปฏิบัติหน้าท่ีด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อส่วนรวม ใช้ศักยภาพของตนแก้ปัญหา พัฒนาสังคมและ ประเทศชาติสืบไป 1.2 แนวคิดหลักกำรสำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับผลงำนหรือนวัตกรรมสำมำรถอ้ำงถึงแนวคิดหลักกำร ทฤษฎี รูปแบบ วิธกี ำร ฯลฯ ทน่ี ำมำใชใ้ นกำรออกแบบผลงำนหรอื นวตั กรรมได้ 1.2.1 พระบรมรำโชวำทในพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวรัชกำลที่ 9 ท่ีน้อมนามาเป็น แนวคิดในการพัฒนานักเรียนและโรงเรียน พระราชทานไว้เม่ือวันเด็กปี 2530 “เด็กๆ นอกจากจะต้องเรียน ความรู้แล้ว ยังจะต้องหัดทางานและทาความดีด้วยเพราะ การทางานจะช่วยให้มีความสามารถ ความขยัน อดทน พ่ึงตนเองได้ และการทาความดนี น้ั จะช่วยให้มี ความสุข ความเจรญิ ทง้ั ปอ้ งกันตัวเองไวไ้ มใ่ ห้ตกตา่ ” 1.2.2 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประกำร คณุ ภาพของผเู้ รยี นด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม ท่ีกาหนดขึ้น โดยพิจารณาจากสภาพของสังคม และการเปล่ียนแปลงของโลกยุคปัจจุบันซึ่งทาให้มี ความจาเป็นต้องเน้นและ ปลูกฝังลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนทุกคนเพ่ือช่วยให้ผู้เรียน เกิดการ พัฒนา ในองค์รวมท้ังดา้ นสตปิ ัญญาและคณุ ธรรม อนั จะนาไปสู่ความเจริญกา้ วหน้าและ ความม่ันคง สงบสุขใน สังคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ดังน้ี 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ได้แก่ เป็นพลเมืองดขี องชาติ พฤติกรรมบง่ ชี้ เช่น ยืนตรง เคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาตแิ ละอธบิ าย ความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้องธารงไวซ้ ่ึงความเป็นไทย พฤติกรรม บ่งช้ี เช่น เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมท่ีสร้างความสามัคคี ปรองดองที่เป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียน ชุมชนและสงั คม ศรทั ธา ยดึ มั่น ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนา พฤติกรรมบ่งช้ี เชน่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนา ที่ ตนเองนับถือ (ศาสนาพุทธ) และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ เคารพเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ พฤติกรรมบง่ ช้ี เชน่ มีส่วนรว่ มหรือจัดกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์สุจริต ได้แก่ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทายกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ให้ข้อมูลท่ีถูกต้อง และเป็นจริงปราศจากความลาเอียง ละอายและเกรงกลัวต่อการ กระทาผิด ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อ่ืนท้ังทายกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ไม่ถือเอาส่ิงของ หรือผลงานของผอู้ ืน่ มาเปน็ ของตนเอง ปฏิบตั ิตนตอ่ ผอู้ ่นื ด้วยความซื่อตรงและไมห่ าประโยชน์ในทางท่ีไม่ชอบ 3) มีวินัย ได้แก่ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไมล่ ะเมิดสิทธิของผู้อน่ื และตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวันและ รบั ผดิ ชอบในการทางาน 4) ใฝ่เรียนรู้ ประกอบด้วยตัวชวี้ ัด 3 ข้อ ได้แก่ ต้ังใจเพียรพยายามในการเรียน และ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ต้ังใจเรียน เอาใจใส่และ มีความเพียรพยายามในการเรียนรู้

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆท้ังภายในและภายนอก โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่อื อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์สรุปเป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ ส่ือ เทคโนโลยี ตา่ งๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากส่ิงท่ีเรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ และแลกเปล่ียน ความรู้ด้วยวิธีการต่างๆเพ่ือนาไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน 5) อยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มี คุณธรรม พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี 6) มงุ่ มน่ั ในการทางาน ประกอบดว้ ยตวั ชี้วดั 2 ข้อ ได้แก่ ตง้ั ใจและรับผิดชอบในการ ปฏิบัตหิ น้าทก่ี ารงาน พฤติกรรมบง่ ชี้ เช่น เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รบั มอบหมาย ต้ังใจและรับผิดชอบ ในการทางานให้สาเร็จ และปรับปรุงและพัฒนาการทางานด้วยตนเอง ทางานด้วยความเพียรพยายามและ อดทนเพ่ือให้งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย พฤตกิ รรมบ่งช้ี เช่น ทมุ่ เททางาน อดทน ไมย่ ่อทอ้ ต่อปัญหาและอุปสรรค ในการทางาน พยายามแก้ปัญหาและ อปุ สรรคในการทางานใหส้ าเร็จ และชน่ื ชมผลงาน ด้วยความภาคภมู ใิ จ 7) รกั ความเป็นไทย ประกอบดว้ ยตัวชี้วัด 3 ข้อ ได้แก่ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น แต่งกายและมีมารยาทงดงาม แบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ใช้ภาษาไทย และ เลขไทยในการ สื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและชักชวน แนะนาให้ผู้อ่ืนเห็นคุณค่า ของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง อนุรักษ์ และสบื ทอดภูมิปัญญาไทย พฤติกรรมบ่งช้ี พฤติกรรมบ่งช้ี เชน่ นาภมู ิปัญญาไทย มาใช้ใหเ้ หมาะสม ในวิถีชีวิต รว่ มกิจกรรมที่เก่ยี วข้องกบั ภูมิปญั ญาไทยและแนะนา มีสว่ นรว่ มในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย 8) มจี ิตสาธารณะ ประกอบด้วยตัวชี้วัด 2 ข้อ ได้แก่ ช่วยเหลอื ผู้อ่ืนด้วยความเต็มใจ และพึงพอใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทางานด้วยความเต็มใจ อาสาทางานให้ผู้อื่นด้วยกาลังกายกาลังใจ และกาลังสติปัญญาโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤติกรรมท่ีบ่งช้ี เช่น ดูแลรักษาสาธารณสมบตั ิ และส่ิงแวดล้อมด้วยความเตม็ ใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม และเข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างส่ิงที่ดีงามของส่วนรวมตามสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ดว้ ยความกระตอื รอื รน้ 1.2.3 โรงเรียนบ้ำนทุ่งนำ แบ่งการบริหารงานของโรงเรียน ออกเป็น 4 กลุ่มงาน คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารท่ัวไป การพัฒนา คุณภาพการศึกษาโรงเรียน ยึดหลักการบริหารแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ คิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการ บริหารงานดา้ นวิชาการของโรงเรียน โดยใช้ SMART MODEL มาใช้ในการบริหารงานวิชาการ เพ่อื ให้นักเรียน ท่ีเป็นผลผลิต เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เป็นคนดีมีความสามารถ มีความสุข และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน รูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนใช้กระบวนการวงจรคุณภาพ P-D-C-A ในการดาเนินงาน และใช้การ สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ครูและบคุ ลากรทางศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง ทาให้การดาเนินการบริหารจัด การศึกษาบรรลุตามเป้าหมายและมีคุณภาพ มีรายละเอียดของการพัฒนานวัตกรรมการบริหารงานด้าน วิชาการ ดังนี้

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ภาพ รูปแบบการบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ โดยใช้ SMART MODEL ขั้นตอนท่ี 1 สารวจและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการเก่ียวกับการจัดการ เรียนรู้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนและพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน โดยใช้กระบวนการ PLC จากครูผูจ้ ดั การเรียนรู้ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละระดับช้นั เพ่อื จัดลาดับความสาคัญและกาหนด กรอบในการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ข้ันตอนที่ 2 ขั้นการวางแผน (Plan) เป็นการออกแบบนวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ SMART MODEL ที่สอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียนบ้านทุ่งนา จากผลการวิเคราะหด์ ว้ ยกระบวนการ PLC ใน ขนั้ ตอนท่ี 1 ครูผูจ้ ัดการเรียนร้จู ะต้องมกี ารกาหนดเปา้ หมายและแนวทางการดาเนินงานในอนาคตท่ชี ัดเจน จึง ตอ้ งมีการกาหนดเป้าร้อยละของคะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันปฏิบัติตามแผน (Do) เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจกับบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อนานวัตกรรมรูปแบบการจดั กาเรียนรู้ของโรงเรียน โดยใช้ SMART MODEL ไปใช้ในการดาเนินงาน มีการ กาหนดแนววิธีดาเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในอนาคต ส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียน เน้นการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรให้สามารถพัฒนานวัตกรรม มีการทางานเป็นทีม เพ่ือสร้างคุณค่าให้กับโรงเรียนผ่าน กระบวนการการจัดการความรู้ในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ในประเด็นจะต้องทาหรอื เปล่ียนแปลงอะไรบ้างเพื่อ ไปถึงจุดน้ัน ระบุขั้นตอนการดาเนินงานแบบ P-D-C-A อย่างต่อเนื่อง และใช้การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) มาบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สอดคล้องกับรูปแบบของนวัตกรรม การจัดการเรยี นรทู้ กี่ าหนดไว้ โดยมกี ลยุทธใ์ นการดาเนนิ งานเพือ่ บรรลวุ ตั ถุประสงค์ ดงั น้ี S: Skill (ทักษะ) เป็นทักษะท่ีจะพฒั นาตน ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี น ในยุคศตวรรษท่ี 21 ทต่ี ้องมีคุณลกั ษณะโดดเด่นเหมาะสม มีความรู้เชงิ ทฤษฎี ทักษะ บทบาทหน้าท่ี คุณธรรม และประสบการณ์การจัดการศึกษายุคใหม่ เพื่อนาพาสถานศึกษาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ทันสมยั เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงของโลก เช่น นักสร้างสรรค์ นักการสื่อสาร นักคิดวิเคราะห์ เป็นต้น นอกจากนี้ส่งเสริม กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีสง่ เสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 แก่นักเรยี น M: Management (การจัดการ) งานวิชาการโรงเรียนบ้านทุ่งนา แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มงาน ได้แก่ งานพัฒนาหลักสูตรและการสอน งานวัดและประเมินผลการศึกษา งานประกันคุณภาพ การศึกษา และงานทะเบียน ในแต่ละกลุ่มงานมีครูผู้รับผิดชอบเป็นหัวหน้าในการดาเนินงานตามความ เหมาะสม A: Assessment (การวัดและประเมินผล) ส่งเสริมการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามสภาพจริง ใช้เครื่องมือท่ีหลากหลาย วิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิเคราะห์คุณภาพนกั เรียน พัฒนา

เอกสารประกอบการพิจารณาสง่ เสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” เคร่อื งมือวดั และประเมินผลใหไ้ ด้มาตรฐาน ดาเนนิ การรายงานผลการเรียน และพฒั นานกั เรียนรายบคุ คล โดย การวิเคราะหค์ วามรบั ผดิ ชอบของนักเรยี นเป็นหลัก มีเครื่องมอื ในการบันทึกความรับผิดชอบของนกั เรยี น R: Research (งานวิจัยทางการศึกษา) ส่งเสริมการทาวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ครูทกุ คนจดั ทาแผนการจัดการเรียนรขู้ องตนเอง มกี ารทาการวจิ ัยและการพฒั นานวัตกรรมในการเรยี นรทู้ ัง้ เตม็ รปู แบบและวิจัยหน้าเดียว ส่วนการส่งเสรมิ โรงเรียนมีการกาหนดเป้าหมายการปฏบิ ัติงานวิจยั ในชัน้ เรียนราย ปีและให้ครูมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านความรู้และประสบการณ์ในการทาวิจัยในชั้นเรียน จัดหา อุปกรณ์ ส่งิ อานวยความสะดวกต่างๆ เพื่อสง่ เสรมิ การทาวิจัยในช้นั เรยี น T: Technology (เทคโนโลยี) ส่งเสริมการผลิต และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ส่งเสริมการใช้สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา สร้างโอกาสในการเข้าถึง การศกึ ษาอยา่ งท่วั ถงึ ขนั้ ตอนท่ี 4 ขน้ั ตรวจสอบ (Check) เปน็ การประเมนิ ผลและตรวจสอบการพัฒนารปู แบบการ จัดการเรียนรู้ จากการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้ SMART MODEL โดยยึดวัตถุประสงค์และ เป้าหมายผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี น ข้ันตอนท่ี 5 ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) จากการใช้นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ SMART MODEL ประชาสัมพันธ์ เพ่ือเผยแพร่และขยายผลการดาเนินงานสู่โรงเรียนและหน่วยงานอื่น ๆ เพ่ือพัฒนาสู่ความมีคุณภาพท่ียั่งยืน ต่อไป 2. จดุ ประสงค์และเปำ้ หมำยของนวัตกรรม 2.1 จดุ ประสงค์ 2.1.1 เพอื่ ขบั เคล่อื นการพฒั นาคณุ ธรรมในโรงเรียนสกู่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งเปน็ รูปธรรม 2.1.2 เพื่อเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรียน 2.1.3 เพื่อเสรมิ สรา้ งวนิ ัยนักเรยี น ด้านความรบั ผิดชอบสาหรบั นกั เรยี น 2.1.4 เพ่ือพัฒนานักเรียน ให้มีร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้และคะแนนรวมเฉล่ียสงู กวา่ ร้อยละ 70 2.2 เป้าหมายระบุจานวนผลงานนวตั กรรมและ/หรอื กลุ่มเป้าหมายท่ีใชน้ วตั กรรมอยา่ งชดั เจน 2.2.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ - ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้เรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 - ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งนา ขับเคล่ือนการ พฒั นาคณุ ธรรมในโรงเรยี นสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งเป็นรปู ธรรม 2.2.2 เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ - ร้อยละ 65 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบการ บรหิ ารงาน SMART MODEL สง่ เสรมิ ความรูค้ ู่คุณธรรม อยู่ในระดบั มากขึน้ ไป - รอ้ ยละ 70 นักเรียน มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนกั เรียน อย่ใู นระดับดขี ้นึ ไป - ร้อยละ 70 นักเรียนมีคะแนนด้านความรับผิดชอบสาหรับนักเรียนสูงกว่า ร้อยละ 80 ขึน้ ไป - ร้อยละ 70 นักเรียน มีร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกล่มุ สาระการ เรียนรู้และคะแนนรวมเฉลย่ี สงู กว่าร้อยละ 70

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลอื กนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” 3. กระบวนกำรพัฒนำนวัตกรรมหรอื ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน 3.1 กำรออกแบบผลงำน จากแนวคิดการพัฒนารูปแบบการบริหารงานด้านวิชาการของโรงเรียน โดยใช้ SMART MODEL มา ใช้ในการบริหารงานครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้นาแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในการออกแบบรูปแบบการ บริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้ค่คู ุณธรรม การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี 1) สารวจความพร้อมการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สารวจพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ สาหรับผู้ปกครอง นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนา ปีการศึกษา 2564 สารวจโดยครูประจาชั้น มีหัวข้อในการสารวจ คือ ครอบครัว ของท่านมีอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ใดท่ีสามารถใช้ในการเรยี นการสอนได้ ครอบครัวของท่านมีระบบรับสัญญาณ โทรทัศน์ชนิดใด สัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการเรียนทางไกลเป็นแบบใด โรงเรียนสามารถติดต่อสื่อสาร ผู้ปกครองผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์คใด ผู้ปกครองสามารถดูแลนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดาวเทียมได้อย่างไร อาชีพของผู้ปกครอง ช่วงเวลาท่ีผู้ปกครองทางาน ช่วงเวลาที่ผู้ปกครองกลับจากการทางาน ชว่ งเวลากลางวันนักเรยี นอาศยั อยกู่ ับใคร นักเรียนมพี ฤติกรรมใดท่คี วรได้รับพฒั นา 2) จดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารตามโครงการพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ในยุค New normal สู่การเป็นห้องเรียนคุณภาพ โดยวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การสร้างห้องเรียนออนไลน์ ด้วย แพลตฟอร์มทางการศึกษา Google Classroom การตัดต่อคลิปวิดีโอด้วยระบบ OBS และ Wondershare Filmora 9 3) ประชุมวางแผน และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีหัวข้อในการออกแบบกิจกรรม การเรยี นรู้ ดงั นี้ - ออกแบบเปา้ หมายของการเรยี น เป็นการระบผุ ลการพฒั นานกั เรียนในระหว่างการ จัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ เช่น ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาผ่านบทเรียนออนไลน์ ร่วมกับการฝึก ปฏิบัติทักษะร่วมกับผู้สอนในชั้นเรียน รวมทั้งผู้สอนสามารถให้คาแนะนากับนักเรียนเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข ชน้ิ งานและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทาใหน้ ักเรียนสามารถที่จะพัฒนาการปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองให้มี ประสิทธิภาพเพม่ิ ข้นึ - ออกแบบวิธีการจดั การเรียนรู้ พจิ ารณารูปแบบการเรียนการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับ ลักษณะรายวิชา คานึงถึงความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพื่อให้จัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับนักเรียน โดยผู้สอนควรวิเคราะห์เน้ือหาวิชาให้เหมาะสมสาหรับการเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะวิชาท่ี จาเป็นต้องใช้ทักษะปฏิบัติ ควรเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เพื่อให้นักเรียนสามารถฝึกทักษะ ปฏิบัติรว่ มกับผ้สู อนและแก้ไขปัญหาหรือข้อสงสยั กับผสู้ อนได้ทันที โดยกอ่ นการจัดการเรียนรู้ ควรทดสอบการ ใช้ระบบท่ีใช้ในการจดั การเรียนรู้ พร้อมท้ังชี้แจงให้นักเรียนได้เข้าใจระบบการเรียนผา่ นกลุ่มสื่อสังคมออนไลน์ (Line) และผูส้ อนได้คานงึ ถึงการบรหิ ารเวลาท่ีเหมาะสม มคี วามยดื หยุ่น - ออกแบบส่ือประกอบการจัดการเรียนรู้ วางแผน ออกแบบ ขนาดตัวอักษรและ สีของข้อความที่ชัดเจน จานวนข้อความในสื่อไม่มากเกินไป ตรวจสอบ โดยนาส่ือไปทดลองใช้ก่อนแล้วนามา ปรับปรุงแก้ไข เพ่ือให้สื่อการสอนมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับหัวข้อการเรียนรู้ สื่อการสอนท่ีดี ควรมีความ หลากหลาย ร่วมกับวิธีการสอื่ สารของผู้สอนทด่ี ีถงึ นักเรียนให้เกดิ ความเข้าใจในการใชส้ ือ่ สง่ เสรมิ ให้การเรยี นรู้ มีประสิทธภิ าพและนกั เรยี นมีความตระหนกั ในการเรียนรู้ด้วยตนเองเพม่ิ ขึ้น

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลอื กนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” 3.2 กำรดำเนนิ งำนตำมกิจกรรม ระยะที่ 1 กำรพัฒนำรูปแบบกำรบริหำรงำน SMART MODEL ส่งเสริมควำมรู้ คู่คณุ ธรรม การพัฒนารูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรมเป็น รปู แบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการในยุค New normal สู่การเป็นห้องเรียนออนไลน์คณุ ภาพ มีแนวทาง ในการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. กลุ่มตวั อยา่ ง คือ นักเรียนโรงเรียนบา้ นทุ่งนา จานวน 153 คน 2. เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบรายงานผลการจัดการ เรียนรู้ แบบนเิ ทศ ติดตามการจดั การเรยี นรู้ 3. ข้ันตอนการดาเนินการพัฒนารูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริม ความรคู้ ่คู ณุ ธรรม ขนั้ ตอนที่ 1 สารวจและวเิ คราะห์สภาพปัจจบุ นั ปัญหา ความต้องการ พบว่า รอ้ ยละ 89.02 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนา มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เคร่ืองมือในการส่ือสารท่ีจะใช้ในการเรียน ร้อยละ 87.66 ของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนาประกอบอาชีพเกษตรกรรม และจากการสะท้อนผล การจัดการเรียนรู้ทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ในช่วงเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน พ.ศ. 2563 พบว่า ความพอใจโดยรวมของการ จดั การเรยี นรู้ผ่านระบบการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ส่วนใหญ่อย่ใู นระดับปานกลาง ร้อยละ 47.97 โดยมี ผลการประเมินรายด้าน เป็นดังน้ี ความคิดเห็นส่วนใหญ่ในระดับความพึงพอใจมาก ได้แก่ การดาเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ มีความหลากหลาย ร้อยละ 43.24 ความถูกต้องของใบงานนักเรียน ร้อยละ 37.84 และ ความคิดเห็นส่วนใหญ่ในระดับความพึงพอใจปานกลาง ได้แก่ สาระการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา ร้อยละ 33.78 นักเรียนสามารถศึกษา ผ่านระบบ DLTV ได้ด้วยตนเอง รอ้ ยละ 41.89 นกั เรียนมี ความพร้อมด้านอุปกรณ์ในการเรียน ร้อยละ 59.46 ปริมาณงานที่นักเรียนได้รับมีความเหมาะสม ร้อยละ 65.68 นักเรียนส่งงานกลับมายังครูผู้สอนครบถ้วน ร้อยละ 48.65 รูปแบบของวิธีการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 40.54 นักเรียนและครมู ปี ฏิสัมพันธ์ที่ดี ร้อยละ 55.41 นกั เรยี นและครู ได้แลกเปลยี่ นเรียนรู้ซงึ่ กันและกัน ร้อย ละ 58.11 ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึน จากการเรียนรู้ของนักเรียน คือ ครูได้ใบกิจกรรมกลับมาไม่ครบถ้วน โทรทัศน์ไม่สามารถรับสัญญาณได้ ใบกิจกรรมมีจานวนมากเกินไป มีพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ คือ นักเรียน ร้อยละ 78.11 ไมสง่ งานสะท้อนให้เห็นพฤตกิ รรมทค่ี วรพัฒนา ดา้ นความรับผิดชอบต่อตนเอง ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นการวางแผน (Plan) โรงเรียนบ้านทุ่งนา เลือกรูปแบบการจัดการ เรียนรู้ใช้รูปแบบที่ 5 On-hand เรยี นทบี่ ้านด้วยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝึกหดั ใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน และใช้รูปแบบที่ 4 On-line เรียนผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตร่วมด้วย เชน่ การใช้แพลตฟอร์มตา่ ง ๆ มาใช้ในการจดั การ เรียนรู้ ได้แก่ Google Meet, Google Form เป็นต้น ใช้การติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองผ่านช่องทางออนไลน์ คอื กล่มุ LINE และ Facebook มตี ารางที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ในแตล่ ะชนั้ เรยี น ขั้นตอนที่ 3 ข้ันปฏิบัติตามแผน (Do) โดยใช้ SMART MODEL ระบุข้ันตอนการดาเนินงาน แบบ P-D-C-A อย่างต่อเน่ือง และสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning สอดคลอ้ งกบั รูปแบบของนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ทกี่ าหนดไว้ โดยมกี ลยุทธ์ในการ ดาเนนิ งานเพื่อบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี - จดั การศึกษาเริ่มจากครูผ้สู อนแต่ละรายวชิ าทากาหนดการเรียนรูใ้ นแตล่ ะเดือน

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” - ครูผู้สอนส่งคาชี้แจงงาน ในทุกวันศุกร์ ผู้อานวยการโรงเรียนและฝ่ายวิชาการ ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู และในสปั ดาหต์ อ่ มาครผู ู้สอนแจง้ คาชแ้ี จงงาน ตามตารางการจดั การเรยี นรู้ - ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามตารางทโ่ี รงเรยี นกาหนด - ครูผูส้ อนติดตามการส่งงานของนักเรยี นตามชอ่ งทางต่าง ๆ เชน่ LINE, Facebook เปน็ ตน้ และรายงานความกา้ วหน้าของนักเรยี นผา่ น ระบบ Google Sheet - รายงานผลการจัดการเรียนรู้ประจาสัปดาห์ ทุกวันพุธในแต่ละสัปดาห์ บันทึกการ สง่ งานของนักเรยี น เพื่อประเมินความรับผดิ ชอบของนักเรียน ข้ันตอนที่ 4 ขั้นตรวจสอบ (Check) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนาและครูฝ่ายวิชาการ ดาเนนิ การนิเทศติดตามการจัดการเรยี นรู้ ข้ันตอนท่ี 5 ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) จากการการพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงาน SMART MODEL สง่ เสรมิ ความร้คู คู่ ณุ ธรรม ระยะท่ี 2 กำรสรำ้ งหนว่ ยกำรจดั กำรเรียนร้แู บบบรู ณำกำร เพือ่ ใชใ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้ แบบบรู ณำกำรในยุค New normal ส่กู ำรเปน็ หอ้ งเรียนออนไลน์คณุ ภำพ จากรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในยุค New normal สู่การเป็น ห้องเรียนออนไลนค์ ุณภาพ ที่พัฒนาข้ึนสามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้และทาให้การทางานเป็นระบบ และมีขั้นตอนท่ีชัดเจน จึงได้สร้างหน่วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ บรู ณาการ มีแนวทางในการดาเนินการ ดงั นี้ 1. กล่มุ ตวั อย่าง คอื นักเรยี นโรงเรียนบ้านท่งุ นา จานวน 153 คน 2. เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียน แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้ แบบประเมินความพงึ พอใจในการจัดการเรยี นรู้ 3. ขั้นตอนการสร้างหน่วยการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ เพ่อื ใช้ในการจัดการ เรยี นรูแ้ บบบรู ณาการในยคุ New normal สู่การเปน็ ห้องเรยี นออนไลนค์ ุณภาพ ขน้ั ตอนที่ 1 สารวจและวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความตอ้ งการ พบว่า การดาเนินการ จัดการเรียนรู้รูปแบบท่ี 5 On-hand เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝึกหัดใบงาน การเรียนรู้ของ นักเรียน เกิดจากการศึกษาความรู้ด้วยตนเองและผู้ปกครองช่วยสอน ทาให้นักเรียนเกิดความไม่เข้าใจเนื้อหา สาระการเรียนรู้บางเรื่อง จึงได้วางแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้รูปแบบท่ี 3 On-demand เรียนผ่าน แอปพลิเคชนั ต่าง ๆ ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันการวางแผน (Plan) ประชมุ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านทงุ่ นา เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดยการจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ในช่วงเดือนมิถุนายน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กาหนดหัวข้อในการจดั การเรียนรู้และคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันปฏิบัติตามแผน (Do) สร้างหน่วยการเรียนรูแบบบูรณาการกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ ดงั นี้ - จดั ทาแผนผังการบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ - จัดทาแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ในแตล่ ะระดบั ชนั้ - จัดทาแผนภาพกระบวนการจดั การเรยี นรู้

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคัดเลอื กนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” - จัดทาแบบประเมินชิ้นงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กาหนดเกณฑ์การให้ คะแนน และการให้คะแนนคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใน รูปแบบ On-demand เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่าง ๆ โดยครูผู้สอนได้อัดคลิปวิดีโอการสอน ด้วยระบบ OBS และตัดต่อด้วยโปรแกรม Wondershare Filmora 9 และนาวิดีโอท่ีได้ไปลงยังช่องยูทูป และแจ้งให้นักเรียน เข้าไปศึกษา 4. On-line เรียนผ่านอินเตอร์เน็ต ครูจัดการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์มทางการศึกษา เช่น LINE Meeting และ Google Classroomและ 5. On-hand เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร คุณครูแจกใบงาน ใบบันทึก ผลการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะบา้ น - รายงานผลการดาเนินการจัดกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 และรายงาน ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ต่ละระยะ ข้ันตอนท่ี 4 ขั้นตรวจสอบ (Check) ผู้อานวยการโรงเรียนและครูฝ่ายวิชาการ ดาเนินการ นเิ ทศ ติดตามการจัดการเรยี นรู้ ข้ันตอนที่ 5 ข้ันปรับปรุงแก้ไข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) จากการการสร้างหน่วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพ่ือใช้ในการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณา การในยุค New normal สู่การเป็นห้องเรียนออนไลน์คุณภาพ ประชาสัมพันธ์เพ่ือเผยแพร่และขยายผลการ ดาเนนิ งานสโู่ รงเรียนและหน่วยงานอ่ืนๆ เพือ่ พฒั นาสูค่ วามมคี ุณภาพทย่ี ั่งยนื ต่อไป 3.3 ประสิทธิภำพของกำรดำเนนิ งำน สารวจและวิเคราะห์สภาพปัจจบุ นั ปญั หา ความตอ้ งการ ประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน สร้างหนว่ ยการเรยี นรแู บบบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้และสง่ เสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปรบั ปรุง / แกไ้ ข / รายงานผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้และสง่ เสริมคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั นา นเิ ทศ ติดตามการจดั กิจกรรมการเรียนรู้หนว่ ยบรู ณาการ สะทอ้ นผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้หนว่ ยบรู ณาการ เผยแพร่การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้หนว่ ยบูรณาการ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคดั เลอื กนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” จากแผนภาพ สะท้อนให้เห็นผลการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน ทาให้การจัดการเรียนรู้ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ดาเนินการต่อไปได้ ส่งเสริมการเรียนรู้ของ นักเรยี น ทง้ั ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรยี น 3.4 กำรใช้ทรัพยำกร ใชท้ รัพยากรบุคคล ในการสะทอ้ นพฤตกิ รรมที่ไมพ่ งึ ประสงคข์ องนกั เรยี น และ ใชว้ สั ดุอุปกรณป์ ระกอบการเรยี นรทู้ ่ีหาได้ในบ้านของนักเรยี น 4. ผลกำรดำเนินกำร/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท์ ี่ได้รับ 4.1 ผลกำรดำเนินกำรทเ่ี กิดขึ้นตำมจดุ ประสงค์ 4.1.1 ผลการพัฒนา ผู้บริหารและครูให้มีความรู้ เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรูค้ ู่คุณธรรม โรงเรียนบ้านทุ่งนา จัดทาโครงการพัฒนารูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริม ความรู้คู่คุณธรรม เพื่อให้สามารถดาเนินการเรียนจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโค โรนา่ 2019 ไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง แสดงให้เห็นถึงการบริหารรปู แบบการจัดการเรียนรู้ และการบรหิ ารจัดการศึกษา ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน ทั้งนี้สะท้อนให้เหน็ ว่าการจัดการเรียนร้นู ้ันต้องการการปรบั เปลีย่ นรูปแบบ การเรียนรู้ (Change Learning) เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 ท่ี เกิดข้ึนและพัฒนานักเรียนให้เป็นนักเรียนท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยคณะครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งนา ได้เข้ารับการอบรมร้อยละ 100 และมีระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมอบรมเชิง ปฏิบัตกิ าร แสดงดงั ตาราง ตาราง 1 สรปุ ความพึงพอใจโครงการพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนรใู้ นยคุ New normal สกู่ ารเปน็ ห้องเรียน คณุ ภาพ ระดับควำมคดิ เห็น ที่ หวั ขอ้ กำรประเมนิ มำกที่สุด มำก ปำน นอ้ ย น้อย ท่สี ุด กลำง 6.25 ด้ำนควำมรู้ ควำมเข้ำใจและกำรนำไปใช้ 0.00 1 ก่อนกำรอบรม : ท่านมีความรเู้ รื่องความเขา้ ใจเก่ยี วกับ การ 0.00 37.50 43.75 12.50 0.00 สร้าง Google classroom โปรแกรม OBS โปรแกรม 0.00 0.00 Wondershare Filmora 9 0.00 2 หลังกำรอบรม : ทา่ นมคี วามร้เู ร่ืองความเข้าใจเก่ยี วกับ การ 43.75 50.00 6.25 0.00 0.00 สร้าง Google classroom โปรแกรม OBS โปรแกรม Wondershare Filmora 9 3 ทา่ นสามารถนาความรสู้ ู่การปฏิบัตโิ ดยมุ่งเน้นการพัฒนาและ 25.00 75.00 0.00 0.00 สร้างนวัตกรรมทสี่ ่งผลต่อคุณภาพของนกั เรยี น 4 ท่านมีความพรอ้ มและมีทักษะในการจัดการเรยี นร้สู าหรบั 12.50 81.25 6.25 0.00 นักเรียนในศตวรรษที่ 21 5 ทา่ นมคี วามพรอ้ มทจี่ ะพัฒนาตนเองให้สอดคลอ้ งกบั การจัด 25.00 75.00 0.00 0.00 การศึกษาในศตวรรษที่ 21 และสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของเช้อื ไวรัสโคโรน่า 2019 ด้ำนวิทยำกร 1 ความสามารถในการลาดบั ข้ันตอนและถ่ายทอดความรขู้ อง 12.50 87.50 0.00 0.00 วิทยากร 2 วทิ ยากรบรรยายเน้อื หาสาระตรงตามวัตถุประสงคก์ ารอบรม 37.50 62.50 0.00 0.00

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคดั เลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ระดบั ควำมคดิ เห็น ที่ หัวขอ้ กำรประเมนิ มำกทสี่ ดุ มำก ปำน น้อย น้อย กลำง ท่สี ดุ 3 ความเหมาะสมของสอ่ื อปุ กรณ์และเอกสารประกอบการ 2500 7500 0.00 0.00 0.00 อบรมของวทิ ยากร 4 วทิ ยากรมเี ทคนคิ วธิ กี ารสื่อสาร เขา้ ใจง่ายและสรา้ ง 43.75 56.25 0.00 0.00 0.00 บรรยากาศการอบรมได้ดี ด้ำนสถำนที่ / ระยะเวลำ / อำหำร 1 ความเหมาะสมของระยะในการจัดอบรม 56.25 43.75 0.00 0.00 0.00 2 ความเหมาะสมของสถานท่จี ดั อบรม 68.75 31.25 0.00 0.00 0.00 3 อาหาร เครือ่ งดม่ื มีความเหมาะสม 75.00 25.00 0.00 0.00 0.00 4 โดยภาพรวมทา่ นมีความพึงพอใจในการอบรมครงั้ นี้ 75.00 25.00 0.00 0.00 0.00 ควำมพึงพอใจโดยรวมจำกกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมครั้งน้ี 36.16 57.59 5.36 0.89 0.00 จากตารางสามารถสรุปได้ว่า ความพึงพอใจโดยรวมท่ีต่อโครงการพัฒนารูปแบบการ บริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความร้คู ู่คณุ ธรรม อยู่ในระดับมากข้ึนไป ร้อยละ 93.75 และการอบรมเชิง ปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้ในยุค New normal สู่การเป็นห้องเรียนคุณภาพ ทาให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับ การสร้าง Google classroom การใช้โปรแกรม OBS การใช้โปรแกรม Wondershare Filmora 9 เพิ่มข้ึน ร้อยละ 100 4.1.2 คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรยี น โรงเรียนบ้านทุ่งนา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โดยคะแนนคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรียน แสดงดังตาราง ตาราง 2 สรปุ ผลการการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียน ปีการศกึ ษา 2564 ร้อยละของจำนวนนกั เรยี น ท่ี ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทไ่ี ดร้ ับระดับผลกำรประเมนิ (คน) ดีเย่ยี ม ดี ผำ่ น ไมผ่ ำ่ น 1 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 14 92.86 7.14 0 0 2 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 12 83.33 16.67 0 0 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 11 54.55 36.36 0 0 4 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 14 64.29 35.71 0 0 5 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 16 81.25 18.75 0 0 6 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 10 60.00 40.00 0 0 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 13 84.62 15.38 0 0 8 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 21 100 0 0 0 9 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 28 50.00 50.00 0 0 จากตาราง 2 สรุปผลการการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ปีการศึกษา 2564 พบว่า นกั เรียนโรงเรยี นบา้ นท่งุ นา มีคะแนนคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ อยู่ในระดบั ดีข้ึนไป รอ้ ยละ 100

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ภาพ ตัวอยา่ งผลการสรปุ คะแนนคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4.1.3 คะแนนดา้ นความรบั ผดิ ชอบของนักเรียน ตาราง 3 สรุปผลการการประเมนิ ความรบั ผดิ ชอบของนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 จำนวนนักเรยี น รอ้ ยละของจำนวนนักเรียน (คน) ท่ี ระดับช้นั ที่ไดร้ ับระดับผลกำรประเมิน ดเี ย่ียม ดี ผำ่ น ไมผ่ ำ่ น 1 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 13 83.33 16.67 0 0 2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 12 100 0 0 0 3 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 10 80 20 0 0 4 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 14 57.14 42.86 0 0 5 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 15 100 0 0 0 6 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 10 100 0 0 0 7 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 12 100 0 0 0 8 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 22 72.73 22.73 0 0 9 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 28 57.14 42.86 0 0 จากตาราง 3 สรปุ ผลการการประเมนิ ความรบั ผดิ ชอบของนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ นกั เรียน โรงเรียนบ้านทงุ่ นา มีคะแนนความรับผิดชอบของนักเรียน อยใู่ นระดับดีขน้ึ ไป ร้อยละ 100 4.1.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและผลงานนกั เรียน จากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละระดับช้ันมีการ มอบหมายงานใหน้ ักเรยี นได้ลงมือปฏิบตั ิ เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ ระดบั ชั้นอนุบาล 2 – 3 มอบหมาย

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสรมิ และคดั เลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” ให้นักเรยี น วาดรูปสัตว์ เขยี น 0 - 10 ตัวเลขแปลงร่าง และคลิปวิดีโอ ระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 มอบหมายให้ นักเรียน แบบจาลองธงชาติไทย วิดีโอร้องเพลงธงไตรรงค์ และแบบทดสอบ ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 มอบหมายให้นักเรียน ใบงาน ช้นิ งาน (การเพาะถ่ัวงอก) คลิปวิดีโอ และแบบทดสอบ ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 มอบหมายใหน้ ักเรยี น ชิ้นงาน (ตัดตอ่ คลิปวดิ โี อ) และแบบทดสอบครูผสู้ อนประเมนิ ให้คะแนนผลงานนกั เรยี น ตาราง 4 ร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จาก การจดั กจิ กรรมการเรียนร้รู ปู แบบบรู ณาการกลุม่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำร ประถมศึกษำปีท่ี ประถมศกึ ษำปีท่ี มธั ยมศกึ ษำปีท่ี รวม รอ้ ยละ เรียนรู้ 1-3 4-6 1-3 ภำษำไทย 94.05 79.06 82.46 255.56 85.19 คณิตศำสตร์ 76.39 74.36 82.46 233.20 77.73 วทิ ยำศำสตร์ 94.44 79.06 85.96 259.47 86.49 สงั คมฯ 95.83 76.07 94.15 266.05 88.68 สขุ ศึกษำฯ 94.44 85.47 82.46 262.37 87.46 ศิลปะ 71.39 80.34 94.74 246.47 82.16 กำรงำน 86.81 79.49 91.23 257.52 85.84 ภำษำองั กฤษ 94.44 81.20 71.93 247.57 82.52 รวม 707.80 635.04 685.38 84.51 รอ้ ยละ 88.47 79.38 85.67 จากตาราง 4 ร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า ร้อยละ 100 ของนักเรียน โรงเรียนบา้ นท่งุ นา มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนกั เรยี นเฉลีย่ รอ้ ยละ 84.51 ซึ่ง สูงกว่าร้อยละ 70 เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ และนาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมารวมกับผลงาน นกั เรียน แสดงดังตาราง ตาราง 5 ร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลงานนักเรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ บูรณาการกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ช้ัน งำนท่ีไดร้ ับมอบหมำย ร้อยละของคะแนน ร้อยละของคะแนนรวม อนุบำล 2 – 3 วาดรปู สัตว์ 100 92.71 เขยี น 0 - 10 97.92 86.04 ตัวเลขแปลงร่าง 97.92 81.69 คลิปวิดีโอ 75.00 88.89 ประถมศึกษำปีท่ี แบบจาลองธงชาตไิ ทย 79.63 1 – 3 วิดโี อรอ้ งเพลงธงไตรรงค์ 91.39 แบบทดสอบ 75.38 85.04 ประถมศกึ ษำปีท่ี ใบงาน 85.47 4 – 6 ช้ินงาน (การเพาะถว่ั งอก) 80.85 คลปิ วดิ โี อ แบบทดสอบ

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ระดบั ชน้ั งำนทไ่ี ด้รับมอบหมำย ร้อยละของคะแนน ร้อยละของคะแนนรวม มธั ยมศึกษำปที ่ี ชนิ้ งาน (ตัดต่อคลปิ วดิ โี อ) 87.20 83.06 1 – 3 แบบทดสอบ 76.77 คะแนนเฉล่ียรวม 85.88 จากตางราง 5 บันทกึ การส่งงานและคะแนนของนกั เรียนทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลุ่มสาระการ เรียนรู้ เร่ืองสัตว์โลกน่ารัก ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 – 3 พบว่า มีนักเรียนส่งงาน ร้อยละ 100 ไม่ส่งงาน รอ้ ยละ 0 คะแนน ใบงาน เฉล่ียร้อยละ 98.61 คะแนนชน้ิ งานคลิปวดิ ีโอ เฉล่ยี ร้อยละ 75.00 และรวมเฉลี่ย ร้อยละ 92.71 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 พบว่า มีนักเรียนส่งงาน ร้อยละ 100 ไม่ส่งงาน ร้อยละ 0 คะแนน แบบจาลองธงชาติ เฉล่ียร้อยละ 88.89 คะแนนวิดีโอร้องเพลงธงไทยไตรรงค์ เฉล่ียร้อยละ 79.63 คะแนน แบบทดสอบ เฉล่ียร้อยละ 91.39 และรวมเฉลี่ย ร้อยละ 86.04 ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 พบว่า มี นักเรียนส่งงาน ร้อยละ 100 ไมส่ ง่ งาน รอ้ ยละ 0 คะแนนใบงาน เฉล่ยี ร้อยละ 75.38 คะแนนชิน้ งาน เฉลีย่ รอ้ ย ละ 85.04 คะแนนคลิปวิดีโอ เฉล่ียร้อยละ 85.47 คะแนนแบบทดสอบ เฉล่ียร้อยละ 80.85 และรวมเฉล่ีย ร้อยละ 81.69 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 พบว่า มีนักเรียนส่งงาน ร้อยละ 100 ไม่ส่งงานร้อยละ 0 คะแนนช้ินงาน เฉล่ียร้อยละ 87.20 คะแนนแบบทดสอบ เฉล่ียร้อยละ 76.77 และรวมเฉลี่ยร้อยละ 83.06 รูปแบบของการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว นักเรียนส่งงานท่ีได้รับมอบหมาย ร้อยละ 100 คะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน รวมเฉล่ียร้อยละ 85.88 ซ่ึงมีร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลงานนักเรียนรวม เฉลยี่ สงู กว่า รอ้ ยละ 70 ซึ่งมากกว่าเป้าหมายท่ีต้งั ไว้ สามารถสรปุ ได้วา่ นักเรียนสง่ งาน ร้อยละ 100 ไม่ส่งงาน ร้อย ละ 0 เน่ืองจาก รูปแบบของการจัดการเรียนรู้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ไปพร้อมกับครูผู้สอน นักเรียนมี ความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้มากข้ึน เพราะกิจกรรมการเรียนรู้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ผู้ปกครองมีส่วน รว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้ เชน่ ช่วยนักเรยี นเตรยี มวัสดอุ ุปกรณใ์ นการเพาะถวั่ งอก การสอนนกั เรยี นทาบัวลอย ช่วย นักเรียนปนั้ ลูกบวั ลอย 4.2 ผลสมั ฤทธิข์ องงำน จากการนารูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรม โดยการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มาใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เป็นห้องเรียนออนไลน์คุณภาพ เริ่มจากการประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดยการจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระ การเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ในช่วงเดือนมิถุนายน กรกฎาคม และกาหนดหัวข้อในการจัดการเรียนรู้ สร้างหน่วยการเรียนรูแบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี จัดทา แผนผังการ บูรณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ จดั ทาแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในแต่ละระดับชั้น จัดทาแผนภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้ จัดทาแบบประเมินช้ินงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกจิ กรรมหนว่ ยบูรณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายงานผลการดาเนินการ จดั กิจกรรมหนว่ ยบรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นร้ใู นช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนาและครูฝ่ายวิชาการ ดาเนินการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้ การสะท้อนผลการดาเนินงานตามสภาพจริง (Reflection) จากการการสร้างหน่วย การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ พบว่า สามารถนารูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ไป

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคดั เลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” ใช้ในการแก้ปัญหาของการเข้าถึงการศึกษาได้ กิจกรรมุ่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ครบร้อยละ 100 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียนอยู่ในระดับดีข้ึนไป ร้อยละ 100 ผลการนิเทศการจัดกิจกรรมหน่วยบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ จากการ นิเทศการจดั กิจกรรมหน่วยบรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรผู้ ่านระบบออนไลน์ พบว่า คะแนนรวมดา้ นครผู ้สู อน ได้คะแนนร้อยละ 97.50 คะแนนรวมด้านนักเรียน ได้คะแนนร้อยละ 93.06 คะแนนรวมด้านกิจกรรมการ จัดการเรียนรู้ ได้คะแนนร้อยละ 97.92 สามารถสรุปได้ว่า ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ เก่ียวกับ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้ สามารถสรุปได้ว่า ครูและบุคลากรทางศึกษา ใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละ 100 ครูใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายด้วย Google Meet, Youtube, Google Classroom, LINE Meeting และความพึงพอใจที่อยู่ในระดับมากที่สุด ของผู้ปกครองและนักเรียนต่อรูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรม ระดับชั้น อนบุ าล 2 –ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 แสดงดังตาราง ตำรำง 6 สรุปควำมพึงพอใจท่ีอยู่ในระดับมำกที่สุดของผู้ปกครองต่อรูปแบบกำรบริหำรงำน SMART MODEL ส่งเสรมิ ควำมรู้คู่คุณธรรม ระดบั ชน้ั อนบุ ำล 2 –ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 ท่ี รำยกำรประเมินควำมพงึ พอใจ รอ้ ยละของควำมพึงพอใจในระดับมำกที่สดุ ในแตล่ ะระดบั ชัน้ รวมเฉลย่ี ร้อยละ อนุบำล ประถมศึกษำ ประถมศกึ ษำ มัธยมศึกษำ 2 – 3 ปที ่ี 1 – 3 ปที ี่ 4 – 6 ปที ่ี 1 – 3 1 ครูผสู้ อนส่งเสรมิ คุณลักษณะอัน 62.50 88.33 90.00 76.19 79.26 พึงประสงคข์ องนักเรยี น 2 ครูผู้สอนจดั กิจกรรมุ่งเสรมิ ให้ 68.75 88.33 95.00 90.47 85.64 นักเรียนมีสว่ นร่วมในการจดั การ เรียนรู้ 3 การจดั บรรยากาศห้องเรียน 56.25 79.17 75.00 66.66 69.27 ออนไลน์ เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ 4 ชิน้ งานมีความเหมาะสมกับเวลา 68.75 83.33 90.00 76.19 79.57 ที่กาหนด 5 เนอ้ื หาทีค่ รจู ัดการเรยี นรมู้ ีความ 75.00 91.67 85.00 80.95 83.16 ทันสมยั และสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันได้ 6 นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม 68.75 87.50 95.00 85.71 84.24 การเรียนรู้ 7 กจิ กรรมการเรียนร้สู นกุ และ 62.50 91.67 70.00 85.71 77.47 น่าสนใจ 8 กิจกรรมการเรียนรูม้ คี วาม 50.00 75 65.00 80.95 67.74 ยดื หยุ่นตามความเหมาะสม 9 กิจกรรมเปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ 62.50 87.50 80.00 90.47 80.12 แสดงความคดิ เห็น

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ท่ี รำยกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ ร้อยละของควำมพึงพอใจในระดับมำกทส่ี ุดในแต่ละระดบั ช้นั รวมเฉลย่ี ร้อยละ อนุบำล ประถมศกึ ษำ ประถมศกึ ษำ มธั ยมศกึ ษำ 2 – 3 ปีท่ี 1 – 3 ปีท่ี 4 – 6 ปที ี่ 1 – 3 10 ผ้บู ริหารมกี ารนิเทศติดตามอยา่ ง 75.00 66.67 80.00 80.95 75.66 เปน็ ระบบ 11 ความพึงพอใจโดยรวมจากการ 68.75 79.17 80.00 85.71 78.41 เข้าร่วมกจิ กรรมคร้ังน้ี รวมเฉลี่ยรอ้ ยละ 65.34 83.49 82.27 81.81 78.23 จากตาราง 6 สรุปความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อรูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริม ความรู้คู่คุณธรรม มีระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 78.23 ซ่ึงมากมากกว่าร้อยละ 65 สูง กว่าเปา้ หมายที่ตงั้ ไว้ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. ระดับช้ันอนุบาลปีที่ 2 – 3 เร่ือง สัตว์โลกน่ารัก พบว่า ร้อยละ 75.00 ของผู้ปกครอง มี ความพึงพอใจมากต่อเนื้อหาท่ีครูจัดการเรียนรู้มีความทนั สมัย และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ และนักเรียนคิดว่า ควรมีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการอีก ร้อยละ 50.00ของผู้ปกครอง มีความพึง พอใจน้อยตอ่ กิจกรรมการเรียนร้มู ีความยืดหยุ่นตามความเหมาะสม และร้อยละ68.75 ของผปู้ กครอง มีความ พึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด 2. ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 เร่ือง ธงชาติไทย พบวา่ ร้อยละ91.67 ของผู้ปกครอง มี ความพึงพอใจต่อ เน้ือหาที่ครูจัดการเรียนรู้มีความทันสมัย และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และกจิ กรรมการเรยี นรู้สนุกและนา่ สนใจ ร้อยละ 66.67 ของผ้ปู กครอง มคี วามพงึ พอใจต่อ นกั เรยี นคดิ ว่า ควร มกี ิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการอีกและร้อยละ 83.49 ของผู้ปกครอง มคี วามพึงพอใจโดยรวมอย่ใู นระดับ มากท่ีสดุ 3. ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เรื่อง เพาะถั่วงอก พบว่า ร้อยละ 95 ของผู้ปกครอง มี ความพึงพอใจมาก ต่อครูผู้สอนจัดกิจกรรมมุ่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ และ นักเรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ร้อยละ 65 ของผู้ปกครอง มีความพึงพอใจน้อยต่อกิจกรรมการเรียนรู้มีความ ยืดหยุน่ ตามความเหมาะสม และร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง มคี วามพึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สดุ 4. ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 เรื่อง ตามรอยอาหารในวรรณคดีไทย พบว่า ร้อยละ 90.47 ของผู้ปกครอง มคี วามพึงพอใจมาก ต่อครูผ้สู อนในการจดั กิจกรรมมุ่งเสริมให้นักเรียน มสี ่วนร่วมในการจัดการ เรยี นรู้ และกิจกรรมเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ร้อยละ 66.66 ของผู้ปกครอง มีความพงึ พอใจ น้อยต่อ การจดั บรรยากาศหอ้ งเรียนออนไลน์ เพ่ือเอ้ือต่อการเรียนรู้ และรอ้ ยละ 85.71 ของผู้ปกครอง มคี วาม พึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคัดเลือกนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.” ตำรำง 7 สรุปควำมพึงพอใจที่อยู่ในระดับมำกที่สุดของนักเรียนต่อรูปแบบกำรบริหำรงำน SMART MODEL สง่ เสรมิ ควำมรคู้ ู่คุณธรรม ระดับชั้นประถมศึกษำปที ่ี 1 – ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ 3 ท่ี ร้อยละของควำมพึงพอใจในระดับมำกทสี่ ุด รวมเฉลย่ี รอ้ ยละ รำยกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ ช้ันประถมศึกษำ ชนั้ ประถมศึกษำ ชั้นมัธยมศกึ ษำ ปีที่ 1 – 3 ปที ่ี 4 – 6 ปีที่ 1 – 3 1 ครผู ู้สอนส่งเสริมคุณลกั ษณะอนั พึง 83.33 74.36 86.79 81.49 ประสงค์ของนักเรยี น 2 ครูผสู้ อนจดั กจิ กรรมุ่งเสรมิ ให้นักเรียน 75.00 69.23 77.36 73.86 มีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้ 3 การจดั บรรยากาศห้องเรียนออนไลน์ 41.67 69.23 67.92 59.61 เอือ้ ต่อการเรียนรู้ 4 ช้ินงานมคี วามเหมาะสมกบั เวลาท่ี 83.33 71.79 54.71 69.94 กาหนด 5 เนื้อหาท่คี รูจดั การเรยี นรมู้ คี วาม 75.00 76.92 64.15 72.02 ทันสมยั และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ประจาวนั ได้ 6 นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการ 75.00 71.79 83.01 76.60 เรยี นรู้ 7 กิจกรรมการเรียนรสู้ นกุ และนา่ สนใจ 91.67 61.54 75.47 76.23 8 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามยดื หยนุ่ ตาม 58.33 58.97 66.03 61.11 ความเหมาะสม 58.33 61.54 69.81 63.23 58.33 64.10 52.83 58.42 9 กจิ กรรมเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดง 66.67 69.23 71.69 69.20 ความคดิ เห็น 69.70 68.06 69.98 69.25 10 ผูบ้ ริหารมีการนิเทศติดตามอย่างเป็น ระบบ 11 ความพึงพอใจโดยรวมจากการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมครงั้ น้ี รวมเฉล่ยี รอ้ ยละ จากตาราง 7 สรุปความพึงพอใจของนักเรียนต่อรูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริม ความรู้คู่คุณธรรม มีระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 69.25 ซึ่งมากมากกว่าร้อยละ 65 สูง กวา่ เป้าหมายที่ตง้ั ไว้ ได้ดงั นี้ 1. ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 เร่ือง ธงชาติไทย พบว่า ร้อยละ 91.67 ของนักเรียน มี ความพึงพอใจต่อ กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ ร้อยละ 41.67 ของนักเรียน มีความพึงพอใจต่อ การ จัดบรรยากาศห้องเรียนออนไลน์ เอื้อต่อการเรียนรู้ และ ร้อยละ 68.70 ของนักเรียน มีความพึงพอใจโดย รวมอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” 2. ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เรื่อง เพาะถัว่ งอก พบว่า รอ้ ยละ 76.92 ของนักเรยี น มี ความพึงพอใจมากต่อเน้ือหาที่ครูจัดการเรียนรู้มีความทันสมัย และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน ได้ ร้อยละ 58.97 ของนักเรียน มคี วามพึงพอใจนอ้ ยต่อกจิ กรรมการเรียนร้มู คี วามยืดหยุ่นตามความเหมาะสม และรอ้ ยละ 69.23 ของนกั เรยี น มีความพงึ พอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ 3. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3เรื่องตามรอยอาหารในวรรณคดีไทย พบว่า ร้อยละ 86.79 ของนักเรียน มีความพึงพอใจมากครูผู้สอนส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ร้อยละ 52.83 นักเรียนคิดว่า ผู้บริหารมีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ และร้อยละ 71.69 ของนักเรียน มีความพึงพอใจ โดยรวมอยู่ในระดบั มากที่สดุ 4.3 ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั รูปแบบการบรหิ ารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรคู้ ู่คุณธรรม เปน็ รปู แบบการบริหารท่ี ช่วยให้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นระบบ โดยเร่ิมจากการประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือ วิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครูผู้สอน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ โรงเรียนบ้านทุ่งนา ร่วมกันจัดทาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ที่ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สะทอ้ นผลการจัดการเรยี นรู้ ดาเนินการนิเทศ ติดตามการจดั การ เรียนรู้ รปู แบบของการจัดการเรยี นร้ดู งั กล่าว นักเรียนสง่ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย รอ้ ยละ 100 คะแนนผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน รวมเฉลี่ยร้อยละ 85.88 ซ่ึงมีร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลงานนักเรียนรวม เฉลี่ยสูงกว่า ร้อยละ 70 มีผลความพึงพอใจของผู้ปกครองโดยรวมจากการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งน้ี อยู่ในระดับ มาก ร้อยละ 78.41 มีผลความพึงพอใจของนักเรียนโดยรวมจากการเข้าร่วมกิจกรรมคร้ังน้ี อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 69.20 ซ่ึงมากกว่าร้อยละ 65 สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ จึงสามารถนารูปแบบการบริหารนี้ไปใช้ในการ บริหารและการจดั การสถานศกึ ษาในชว่ งสถานการณ์ทีม่ ีความพลิกผันและเปลี่ยนแปลงได้ 5. ปจั จยั แหง่ ควำมสำเรจ็ รูปแบบการบริหารงาน SMART MODEL ส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรม เป็นการบริหารสถานศึกษา ท่ีผสมผสานองค์ความรู้ร่วมกับนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีรูปแบบทีส่งเสริมผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนักเรียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จะประสบความสาเร็จได้ มีปจั จยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง สรปุ ได้ ดังนี้ 51 1. ผู้สอน เป็นผู้ถ่ายทอดเนื้อหา องค์ความรู้ต่าง ๆ ให้กับนักเรียนให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหา ประสบการณ์ ถ้าครูผู้สอนมีความเช่ียวชาญในการจัดการเรียนรู้ มีส่วนทาให้การจัดการเรียนรู้ออนไลน์บรรลุ เปา้ หมาย และการพัฒนาตนเองด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จะสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรียนรู้ได้อยา่ ง มีประสิทธิภาพ ช่วยให้มีความพร้อมในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าขณะท่ีจัดการเรียนรู้ ดึงดูดความสนใจของ นักเรียน และครูผู้สอนควรมีการตดิ ตามการเข้าเรียนของนักเรยี นอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อให้นกั เรียนได้รับประโยชน์ จากการเรยี นรู้แบบออนไลนเ์ พิ่มข้ึน 5.1.2 นักเรยี น เป็นผู้รับเน้อื หาและองค์ความรู้จากผู้สอน ซึ่งนักเรียนจาเปน็ ตอ้ งมีความพรอ้ ม ในด้าน การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ การรู้เท่าทันส่ือ (Digital Literacy) สามารถสืบค้น วเิ คราะห์ข้อมูล ประเมิน เนื้อหาอย่างเป็นระบบ โดยใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเก่ียวกับข้อมูลได้อย่างเหมาะสม มีการเตรียมความ พร้อมในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนรู้ มีส่วน ร่วมในการเรียน การสง่ งานตามกาหนด มีการทบทวนความรูอ้ ย่างสม่าเสมอ 5.1.3 เนื้อหา เป็นส่วนสาคัญท่ีทาให้การจัดการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์เน้ือหาควรมีการ ออกแบบโครงสร้างตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของรายวิชา มีการวางแผนผังรายวิชาเพื่อเป็นการ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคัดเลอื กนวตั กรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” เชื่อมโยงไปสู่เนื้อหาต่าง ๆ เพ่ือให้นักเรยี น ทาความเข้าใจได้ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม และเนือ้ หาในบทเรียน สามารถท่ีจะส่งเสริมใหน้ ักเรียน ศกึ ษาค้นคว้าเพิ่มเติมไดภ้ ายหลงั จากการเรยี นออนไลน์ 5.1.4 ส่ือการเรียน โดยส่ือการเรียนท่ีดีจะเป็นส่วนช่วยให้นักเรียนสามารถทาความเข้าใจในเน้ือหา ขณะท่เี รียนได้ สื่อท่ีใช้ในการสอนควรทีม่ ีความแปลกใหม่ ดึงดูดความสนใจของนักเรียนและกระตุ้นการเรียนรู้ เชน่ วดิ ีโอ ภาพนง่ิ ภาพเคลือ่ นไหว สถานการณจ์ าลอง เปน็ ตน้ 5.1.5 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการออกแบบการเรียนรู้ให้กับนักเรียนตามหัวข้อ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหา สื่อการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัดประเมินผล โดยอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศ มาออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ภายใต้กระบวนการวิเคราะห์ วางแผนออกแบบ นาไปใช้ พัฒนา ประเมินผล หลักสูตรการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ควรส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนไดส้ ามารถนาเน้อื หาไปประยกุ ตส์ ูก่ ารเรียนรู้ตามสภาพจริง 5.1.6. ระบบการติดต่อสื่อสาร มีส่วนสาคัญทาให้การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ประสบความสาเร็จได้ ซ่ึงการติดต่อสื่อสารท่ีโรงเรียนบ้านทุ่งนา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1) การส่ือสารทางเดียว ถา่ ยทอดเน้อื หาผา่ นสือ่ การสอน เช่น วดิ ีโอ โดยไม่มีปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งผสู้ อนกับ นักเรียน 2) การสื่อสารสองทาง ถ่ายทอดเน้ือหาผ่านส่ือการสอน เช่น การเรียนโดยผ่านแอปพลิเคชั่นการ ประชุมทางวิดีโอ เช่น Google Meet, LINE Meeting ซ่ึงผู้สอนและนักเรียนสามารถพูดคยุ ซักถามร่วมกันได้ ในขณะท่ีสอนและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนได้ การเลือกระบบการติดต่อส่ือสารชนิดสองทางผ่าน โปรแกรมต่าง ๆ สามารถส่งเสริมให้ผู้สอนและนักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันเพ่ิมข้ึน ทาให้นักเรียนกล้าท่ีจะ พดู คุยหรือซกั ถามกบั ผู้สอนไดส้ ะดวกมากข้นึ 5.1.7 ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นช่องทางในการอานวยความสะดวกให้การจัดการ เรียนรู้มีความราบรื่นได้ รวมถึงความเร็วของสัญญาณอนิ เตอร์เน็ตอาจทาให้การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ไม่ ราบรืน่ ได้ 5.1.8 การวัดและการประเมินผล จาเปน็ ต้องมกี ารวัดและประเมนิ ผล โดยมกี ารวัดและประเมนิ ผลท้ัง ระหว่างเรียน เช่น การต้ังคาถาม การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน สะท้อนคิด เป็นต้น และภายหลังจัดการเรียน เชน่ การทดสอบดว้ ยแบบทดสอบต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น ประสทิ ธผิ ลของการเรียน เพ่ือ สะท้อน ความสามารถการเรียนรู้ของนักเรียน ซ่ึงควรมีความหลากหลาย เพื่อวัดประเมินผลนักเรียนให้ สอดคล้องตามสภาพจริงอย่างไรก็ตามผู้สอนจาเป็นต้องออกแบบเคร่ืองมือวิธีการวัดและประเมินผลให้มี ประสิทธภิ าพ 6. บทเรยี นทีไ่ ดร้ บั (Lesson Learned) จากการพัฒนารูปแบบการบริหารงานให้ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการไปใช้ในการ จัดการเรียนรู้และพฒั นาความรับผิดชอบของนักเรยี นได้ ทาใหไ้ ด้บทเรียนจากการปฏบิ ตั ิ สรปุ ได้ดังน้ี - การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษา เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อน สภาพบริบทของการจัดการเรียนรู้ ทาให้ได้ข้อมูลพ้ืนฐานในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมการจัดการ เรยี นรู้ ให้เหมาะสมกบั นักเรียน - การออกแบบการจดั การเรียนรู้ อย่างเป็นขั้นตอน ทาใหก้ ารดาเนินการจัดการเรียนรเู้ ป็นไป ตามลาดับขั้นตอนและบรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ตี่ ้ังไว้ - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 และสถานการณ์ปัจจุบัน ทาให้การดาเนินการจัดการเรียนรู้ ลงสู่นักเรียนได้และนักเรียน เกิดการเรยี นรู้

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคัดเลอื กนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” - การพัฒนาคุณธรรมของนกั เรียนควรพิจารณาความเหมาะสมของนักเรียนแต่ละช่วงวัย และ ความสามารถในกาใชภ้ าษาในการสอ่ื สาร เพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ ามไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 7. กำรเผยแพร/่ กำรไดร้ บั กำรยอมรับ/รำงวลั ทไี่ ด้รับ 7.1 กำรเผยแพร่ - เปน็ วิทยากร บรรยายรปู แบบการบริหารสถานศกึ ษา ให้กบั สถานศกึ ษาทเ่ี ขา้ ศึกษาดงู าน 7.2 กำรไดร้ บั กำรยอมรบั - นาเสนอผลการดาเนนิ งาน การพัฒนาคณุ ภาพหอ้ งเรยี น (Q – Classroom) ระดับภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ตก จดั โดยสานักพัฒนาคณุ ภาพครู นกั ศกึ ษาครู และสถานศกึ ษา กองทุนเพื่อความ เสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ภาพ เกยี รติบตั รนาเสนอผลการดาเนินงาน การพฒั นาคุณภาพห้องเรียน (Q – Classroom) ระดับภาคกลาง - นาเสนอผลงานเพอ่ื รบั การประเมินโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดบั 3 ดาว ของสานกั งานเขต พื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 - เปน็ วิทยากรอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารสรา้ งสอื่ และแหล่งเรียนรูอ้ อนไลน์ ตามโครงการสง่ เสริม เครือขา่ ยนวตั กรรมคุณภาพสถานศึกษา

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสริมและคดั เลือกนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.” ภาพ เกียรติบัตรวทิ ยากรอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารสรา้ งสื่อและแหล่งเรยี นรอู้ อนไลน์ 7.3 รำงวลั ที่ได้รบั ท่ี รำงวัลท่ีไดร้ ับ กจิ กรรมกำรแขง่ ขนั /ประกวด หน่วยงำนท่ีจัด 1 รองชนะเลิศ เหรียญทองระดับชาติ รางวัลทรงคุณคา่ สพฐ.(OBEC AWARDS) สพฐ. เหรยี ญทอง ผูอ้ านวยการสถานศึกษายอดเยย่ี ม โรงเรียนขยายโอกาสทาง ระดบั ชาติ การศกึ ษา ดา้ นวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2561 2 เหรยี ญทอง เหรียญทองระดับชาติ รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ.(OBEC AWARDS) สพฐ. ระดับชาติ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษายอดเยี่ยม โรงเรียนขยายโอกาสทาง การศกึ ษา ดา้ นวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2562 3 รางวลั เหรยี ญ หนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม ประจาปี 2565 ระดับภมู ภิ าค ครุ ุสภา เงนิ รปู แบบการจัดการเรียนรใู้ นยุค New Normal สู่การเป็นห้องเรียน ออนไลนค์ ุณภาพ ปกี ารศึกษา 2564 4 ดเี ยีย่ ม มีผลงานคลิปวดี ิทศั นก์ ารจัดการเรียนการสอนทางไกล อย่ใู นระดับ สานักงานเขตพืน้ ท่ี “ดเี ย่ยี ม” ตามโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรทู้ ง้ั ระบบสกู่ าร การศกึ ษาประถมศกึ ษา ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการ กาญจนบรุ ี เขต 1 เรยี นและการเตรียมผเู้ รยี นให้สอดคลอ้ งกบั ทศวรรษที่ 21 5 ยอดเย่ียม เป็นโรงเรยี นท่ีมีผลการประเมินการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นา สานกั งานเขตพื้นท่ี คุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพยอด การศกึ ษาประถมศกึ ษา เย่ยี ม ปีการศกึ ษา 2563 กาญจนบรุ ี เขต 1 8. เงื่อนไขควำมสำเร็จ - ข้อเสนอแนะในการนารูปแบบการบริหารที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่ม สาระการเรียนรู้ไปใช้ คือ สามารถนาแนวคิดนไ้ี ปเป็นแนวทางในการพฒั นารูปแบบการจดั การเรยี นรูท้ ่เี หมาะสม สอดคล้องกับสภาพสังคมของนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ โดยอาจพิจารณาปรับเปล่ียนตัวอย่างสถานการณ์ท่ีใช้ในการ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคัดเลอื กนวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” จัดการเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมให้ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้องมีการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งทาให้รูปแบบของการจัดการเรียนรู้มีความสมบูรณ์มากขึ้น ในขณะดาเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ครูควรสร้างบรรยากาศ แห่งความเป็น กลั ยาณมิตร ใหค้ าปรกึ ษา ให้ความสาคัญกบั ความคดิ เห็นของนกั เรยี นทุกคน จัดบรรยากาศการเรียนรทู้ ี่ส่งเสริม การคิด โดยใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ - กาหนดยุทธศาสตร์ในการดาเนินงาน โรงเรียนบ้านทุ่งนา ได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการ ดาเนินงาน มีการวางแผนกาหนดโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา มีการประชุมวาง แผนการดาเนินงาน กาหนดนโยบายในการพัฒนาคณุ ธรรมของโรงเรียน ช้ีแจงครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสู่ การทางานและกลุ่มงานท่ีเกี่ยวข้อง และร่วมกันจัดทาแผนปฏิบัติการโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียน จัดทาโครงการและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม บูรณาการในแผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน มีการแต่งต้ังคณะกรรมการ ดาเนินงานมอบหมายหน้าท่ีและภาระงานอย่างชัดเจน เพื่อการพัฒนาศักยภาพครูแกนนา นักเรียนแกนนาใน การดาเนินงานตามโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน โครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เพื่อขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม เพ่ือให้นักเรียนทุกคนมีความตระหนักรู้เข้าใจ และ คิดอย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าแห่งคุณธรรมความดี สร้างความรู้สึกผิดชอบช่ัวดี ภูมิใจในการทาความดี และ ร่วมกันสร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรม โดยใช้กระบวนการการบริหารจัดการเรียนรู้เพ่ือสร้าง ภูมิคุ้มกันและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงบวก เกี่ยวกับระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ ความพอเพียงและจิตอาสาและการปฏิบัติตนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนต่อเนื่องช่วยให้พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในโรงเรียน “ลดลง” และส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ “เพ่ิมข้ึน” ซึ่งนับเป็นการพัฒนาเยาวชน ผู้ปกครอง และ ชมุ ชน ไดอ้ ย่างยง่ั ยนื - เสริมสร้างภาวะผู้นาการบริหารการเปลยี่ นแปลง ผู้บริหารสถานศึกษาเปน็ ส่วนสาคัญในการ พัฒนาส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา เป็นผู้นาในการขับเคล่ือนการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น นักเรียน ครู ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ฯลฯ ส่งเสริมคุณธรรมในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา สร้างขวัญและกาลังใจ ให้คาปรึกษากับ คณะครูและนักเรียนในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ มีความรับผิดชอบปฏิบัติหน้าที่ตรง เวลาและเต็มเวลา กากับ ติดตาม นิเทศการเรียนการสอนตามกาหนด ประเมินแบบกัลยาณมิตร ใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า พูดจาสุภาพ เป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับทุกคน ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาและปรับเปล่ียนเป็น พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสรมิ และคัดเลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ภาพ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาพ การประชุมผ้ปู กครอง ภาพ ชุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาคุณธรรมของนักเรียน

เอกสารประกอบการพจิ ารณาสง่ เสริมและคดั เลือกนวตั กรรมสรา้ งสรรค์คนดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ภาพ การประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน ภาพ นักเรยี นแกนนาทาการสารวจพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ภาพ การประชมุ เพื่อหาข้อสรุปการดาเนินงาน และนเิ ทศ ตดิ ตามการออกแบบกิจกรรม

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสรมิ และคดั เลือกนวัตกรรมสร้างสรรคค์ นดี “โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.” ภาพ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาคณุ ธรรม

เอกสารประกอบการพจิ ารณาส่งเสรมิ และคดั เลอื กนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ภาพ ผ้อู านวยการโรงเรยี นและครู สะท้อนผลการพัฒนาคณุ ธรรมให้นกั เรยี นทราบ ภาพ การแลกเปลย่ี นเรียนรผู้ ลการพัฒนาคุณธรรมของนักเรยี นให้ชุมชนทราบ ภาพ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นนเิ ทศ ติดตามการพัฒนาคุณธรรมในห้องเรยี น และมอบรางวลั นักเรยี นทีม่ คี วามประพฤติดี