Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการตลาดแบบดั้งเดิม

รายงานการตลาดแบบดั้งเดิม

Published by Kanokwanpnw, 2022-07-14 05:20:30

Description: รายงานการตลาดแบบดั้งเดิม

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื ง การตลาดแบบดั้งเดิม (Traditional marketing) โดย นางสาวนฤมล ศรีรอด เลขท่ี 4 นางสาวกนกวรรณ อมรพรพงศ์ เลขที่ 8 นางสาวสุนษิ า ครองราช เลขท่ี 9 นักศึกษาระดบั ปริญญาตรปี ีที่ 2 สาขาวชิ าการบญั ชี เสนอ อาจารย์นพิ ร จทุ ยั รัตน์ รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของวชิ าการบริหารเศรษฐศาสตร์อุสาหกรรม (23-4001-2007) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก

รายงาน เรอ่ื ง การตลาดแบบดัง้ เดิม (Traditional marketing) โดย นางสาวนฤมล ศรีรอด เลขท่ี 4 นางสาวกนกวรรณ อมรพรพงศ์ เลขที่ 8 นางสาวสุนษิ า ครองราช เลขท่ี 9 นักศึกษาระดบั ปริญญาตรปี ีที่ 2 สาขาวชิ าการบญั ชี เสนอ อาจารย์นพิ ร จทุ ยั รัตน์ รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของวชิ าการบริหารเศรษฐศาสตร์อุสาหกรรม (23-4001-2007) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก

คำนำ รายงานเรื่องการตลาดแบบด้ังเดิม (Traditional marketing) รายงานนี้เป็นส่วนหนึง่ ของวิชาการ บริหารเศรษฐศาสตร์อุสาหกรรม ระดับปริญญาตรีปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาการ วางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดแบบดัง้ เดิม และการเปลี่ยนไปของการตลาดแบบดัง้ เดิมเข้าสู่การตลาดแบบ ใหม่ตามยุคสมัยที่พัฒนาขึ้น คณะผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลจากสื่ออินเตอร์เน็ตนำมาเรียบเรียง เพื่อให้ง่าย ตอ่ การศกึ ษาและเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ ่สี นใจศกึ ษาและใชป้ ระโยชนจ์ ากการตลาดแบบดั้งเดิม คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเรื่องการตลาดแบบดั้งเดิม (Traditional marketing) นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ทสี่ นใจจะศึกษา หากรายงานเล่มน้ีมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำต้องขออภัย มา ณ ท่นี ี้ดว้ ย คณะผ้จู ดั ทำ

สารบัญ เร่ือง หน้า คำนำ...................................................................................................................................................ก สารบญั ................................................................................................................................................ข สารบญั ภาพ.........................................................................................................................................ค การตลาดแบบต้ังเดมิ ...........................................................................................................................1 ตัวอยา่ งการสื่อสารการตลาดแบบดง้ั เดมิ .............................................................................................2 การออกบูธแสดงสนิ คา้ ..........................................................................................................2 การโฆษณาผ่านป้าย..............................................................................................................4 แนวความคิดตลาดแบบดัง่ เดิม............................................................................................................6 รูปแบบหรอื ลักษณะ/สว่ นประสมทางการตลาด 4P...........................................................................6 การแบง่ ส่วนตลาด..............................................................................................................................7 ระดบั ของการแบง่ สว่ นการตลาด........................................................................................................8 การเปลี่ยนแปลงตลาดดงั้ เดิมส่ตู ลาดดจิ ิตอล......................................................................................9 ขอ้ ดีของการตลาดแบบดง้ั เดมิ ..........................................................................................................11 ความตา่ งระหวา่ งการตลาดแบบด้ังเดิมและการตลาดดจิ ิทัล............................................................12 สรุป.......................................................................................................................... .........................14 บรรณานกุ รม.....................................................................................................................................15

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพท่ี 1 ตวั อยา่ งการสื่อสารการตลาดแบบด้ังเดิม.....................................................................1 ภาพท่ี 2 ตวั อยา่ งการสอื่ สารการตลาดแบบด้ังเดิม.....................................................................4 ภาพที่ 3 ตวั อย่างการสอื่ สารการตลาดแบบดั้งเดิม.....................................................................5 ภาพท่ี 4 ตัวอยา่ งการสือ่ สารการตลาดแบบด้ังเดมิ .....................................................................5 ภาพท่ี 5 ตวั อยา่ งการสอ่ื สารการตลาดแบบดั้งเดมิ .....................................................................6 ภาพที่ 6 ตัวอยา่ งการสอ่ื สารการตลาดแบบดั้งเดิม.....................................................................7 ภาพท่ี 7 การเปรยี บเทยี บระหว่างตลาดแบบดัง้ เดิมและตลาดแบบใหม่....................................11

ตลาดแบบดั้งเดมิ หมายถงึ การตลาดแบบด้ังเดิม (Traditional Marketing) หมายถึง การตลาดแบบดั้งเดิมโดยการตลาด แบบนี้คือการทำการตลาดโดยที่ไม่มีอินเทอร์เน็ตเขา้ มาชว่ ยในการประชาสมั พันธ์ หรือเผยแพร่ขอ้ มูลตา่ งๆ และเป็นการใช้ช่องทางออฟไลน์ต่างๆ ที่มีอยู่ในขณะนั้นเป็นการสื่อสารไปยังผู้บริโภคและกลุ่มเป้าหมายที่ ต้องการอกี ทั้งการตลาดแบบดง้ั เดิมยงั เป็นการสอื่ สารเพียงด้านเดยี วอีกดว้ ย ซึ่งทำใหก้ ารได้รับฟดี แบกต่างๆ หรือผลลัพธ์ก็จะค่อยข้างช้า และการทำการตลาดแบบดั้งเดิมนี้มีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงและมีการใช้ระยะ เวลานานในการทำการตลาดแบบนี้กว่าจะเข้าถึงกลุ่มลกู ค้าไดน้ ั่นเอง การสอื่ สารแบบทางเดียวในการตลาด แบบดั้งเดิมน้ี เช่น การโฆษณาผ่าโทรทัศน์ วิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ รวมไปถึงการแจกโบรชวั ร์ การติดป้ายโฆษณา ตามทตี่ า่ งๆซึง่ ลกู คา้ น้นั จะไม่สามารถแลกเปลย่ี น หรอื แสดงความคิดเห็นอ่ืนใดได้ เพราะวา่ น่ีเป็นการสื่อสาร ทางเดยี ว และได้รับสารอยู่ฝา่ ยเดยี ว เมื่อเปน็ เช่นนผี้ ลลัพธท์ ่ีได้จงึ ไม่แม่นยำ และใช้เวลาค่อนข้างนาน แต่จะ สามารถความน่าเชือ่ ถือได้มากกว่าการทำการตลาดแบบอนไลน์ เนื่องจากลูกค้าสามารถรบั รไู้ ด้ว่าธุรกิจของ เราน้นั มีตัวตน ภาพท่ี 1 ตัวอยา่ งการสอ่ื สารการตลาดแบบดั้งเดิม

2 ตัวอยา่ งการส่อื สารการตลาดแบบด้ังเดิม 1. การออกบธู แสดงสนิ คา้ การออกบูธแสดงสินค้าถือเป็นเรื่องธรรมดาที่ผปู้ระกอบการธุรกิจหลายทา่ นอาจเคยผ่าน และมีประสบการณ์บ้างไม่มากก็น้อยเพราะในปัจจุบันกระแสตอบรับการออกบูธแสดงสินค้าได้รับความ สนใจจากกลุ่มลูกคา้ ผู้บรโิ ภคมากอยา่ งย่ิง และเพราะการออกบูธแสดงสินค้ายังใหผ้ ลตอบรับและตอบแทน อย่างดี มาตลอด ผปู้ระกอบการหลายรายจึงไวว้างใจเลือกใช้การออกบูธแสดงสินค้าหรอื ทำกิจกรรมต่างๆ เป็น เครื่องมือทางการตลาดอีกชนิดหน่ึงแต่ก็เป็นที่น่าสังเกตวา่ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่โดยเฉพาะกลุ่ม ตลาดและทุนใหม่กลับให้ความสนใจไปออกบูธแสดงสินคา้และบริการเพียงแค่เล็กน้อยเท่าน้ัน ท้ังที่ความ เป็นจรงิ แล้วการไปออกบธู แสดงสินคา้และบริการสามารถสร้างประโยชน์ต่างๆ ได้มากมายดังต่อไปนี้ 1.1. การออกบธู แสดงสินค้าเพ่ือประชาสมั พันธ์สนิ คา้ หรือบริการ การออกบูธแสดงสินค้าหรือบริการถือเป็นการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า และ บริการได้ดี มากที่สุดวิธีหนึ่ง เพราะองค์ประกอบที่จะทำให้การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ได้ผลคือ สาระสำคัญของสาร ต้องถูกส่งผ่านไปยังผู้รับสารเป็นจำนวนมาก ซึ่งการไปออกบูธแสดงสินค้าหรือบริการ ตามนิทรรศการหรือ งานเทศกาลต่างๆ สามารถตอบโจทย์ข้อนี้ได้เป็นอย่างดีเพราะสามารถเขา้ถึงกลุ่มลูก คา้ที่มาเดินภายในงาน ได้เป็นจำนวนมากและรวดเร็ว ซึ่งส่วนใหญ่ลูกคา้ที่มาเดินตามงานต่างๆ ท่ี ผู้ประกอบการไปออกบูธแสดง สินค้าก็มักสนใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานที่จัดแสดงอยู่แล้วทำให้สามารถ สื่อสารได้ตรงกลุ่มเป้าหมายมาก ที่สุด ซ่ึงประโยชน์ข้อนี้คือจุดเด่นที่สุดของการไปออกบูธแสดงสินค้าและ บริการ 1.2. ออกบธู แสดงสินค้าเพื่อเพิ่มชอ่ งทางและโอกาสในการขาย การออกบูธแสดงสินคา้และบริการจัดเป็นอีกหน่ึงช่องทางการคา้ขายสินค้าหรือ บริการที่ น่าสนใจเพราะแม้ว่าช่วงระยะเวลาในการจดังานจะน้อยและไม่ใช่ช่องทางการขายสินคา้หรือ บรกิ ารทม่ี น่ั คงถาวรแตน่ ิทรรศการและงานที่จัดข้ึนก็มักเป็นแหล่งชุมนุมของบรรดาลูกค้าชน้ั ดีท่ีต่างแห่แหน มาร่วมงานกันจึงทำให้เวลาที่มีอยู่น้อยนิดไม่ใช่เป็นอุปสรรคแต่อย่างใด หากเจ้าของกิจการสามารถใช้การ ออกบูธแสดง สินคาแ้ ละบรกิ ารครั้งน้ันใหเ้ ป็นประโยชน์ด้วยการสร้างยอดจำหน่ายต่อชั่วโมงให้ได้จำนวนสูง มาก อย่างเชน่ สำนักพิมพ์ตา่ งๆ ทีม่ กั ไปออกบธู แสดงสนิ คาใ้ นมหกรรมหนังสือเป็นต้น

3 1.3 ออกบูธแสดงสินค้าและบริการเพ่ือโชว์ศกั ยภาพอย่างเต็มที่ การออกบูธแสดงสินค้าและบริการถือเปน็ โอกาสทองในการแสดงศักยภาพสินค้า บริการ หรือการ ดำเนินงานของบริษัทน้ัน ๆ อกี ด้วยเพราะสามารถเขา้ถึงและสื่อสารกับผู้คนได้เป็นจำนวน มาก นอกจากนี้เจ้าของกิจการทั้งหลายยังสามารถใช้การออกบูธแสดงสินคาเ้ ปน็ ช่องทางเพื่อเกทับคู่ต่อส้ทู ี่ ท้ังไม่ได้มาและ มาออกบูธงานเดียวกันได้อีกด้วยการแสดงศักยภาพน้ีผูป้ ระกอบการสามารถนา สินค้าหรือ บริการต้นแบบท่ี แสดงถึงนวัตกรรมเทคโนโลยีแห่งอนาคตมาโชว์ได้โดยไม่จำเป็นสินค้าต้นแบบหรือเป็น เพียงคอนเซปต์ไอเดียไม่จำเป็นต้องเป็นสินค้าพร้อมจำหน่ายเสมอไปดังเช่นงานออกบูธแสดงสินค้าด้าน เทคโนโลยตี ่างๆ 1.4. ออกบธู แสดงสนิ คา้ และบริการเพ่ือหาคู่คา้ ทางธุรกจิ การออกบูธแสดงสินค้าและบริการนอกจากจะได้พบลูกค้ารายย่อยแล้วยังมี โอกาสพบคู่ค้าทางธุรกิจอีกด้วยเพราะในปัจจุบันงานมหกรรมแสดงสินคา้และบริการต่างๆ ได้แบ่ง กำหนดการใหหมีวันและช่วงเวลาสำหรับนักธุรกจิ โดยเฉพาะเพื่อเปดิ โอกาสให้พบปะพดูคยุ และหาคู่ค้าทาง ธุรกจิ ซึ่งส่วนมากแล้วมักเป็นวันแรกๆ ของงาน จงึ กลายเป็นโอกาสสำคญั ให้ผู้ประกอบการได้พบปะพูดคุย และทำสัญญาธุรกิจ กับคู่ค้าได้โดยตรง ซึ่งโอกาสดังกล่าวช่วยให้ผู้ประกอบการและนักธุรกิจท้ังหลาย สามารถลดต้นทุนของตนเองลงได้อันเน่ืองมาจากได้พบเจอกับเจ้าของปจั จัยการผลิตรายอ่ืนๆ ซึ่งเสนอขาย ราคาวัตถุดิบและปัจจัยการผลิตสินค้าให้เราเพื่อเป็นตัวเลือกเพื่อเทียบกับคู่ค้าเดิมอีกด้วยถือเป็นประโยชน์ ด้านงบประมาณเลยทีเดียว 1.5. ออกบูธแสดงสินคา้ และบรกิ ารเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลกับลกู ค้าและกลุ่มธรุ กิจ การออกบูธสินค้าและบริการมีข้อดีอีกหน่ึงอย่างคือเป็นการสื่อสารสองทางที่ ผู้ประกอบการ สามารถรับฟังความคิดเห็นจากลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจและสามารถแนะนำสินค้าและ บริการกลับคืนสู่ทั้ง 14 ลูกค้าและคู่ค้าอีกด้วยสิ่งนี้จะช่วยให้ผู้ประกอบการได้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ซึ่ง สามารถนา กลบั มาใช้พัฒนาธุรกจิ ไดใ้ นอนาคต 1.6. ออกบธู สินคา้ และบริการเพ่ือสำรวจคู่แขง่ และตลาด การออกบูธสินค้าและบริการนอกจากจะทำให้ผู้ประกอบการได้พบกบั ลูกค้าและ คู่ค้าทางธุรกิจแล้วยังถือเป็นโอกาสดีที่จะทำให้ผู้ประกอบการได้พบกับคู่แข่งด้วยจึงเป็นช่วงสำคัญและมี ประโยชน์อย่างมาก เพราะผู้ประกอบการสามารถสำรวจตรวจสอบความก้าวหน้าของคู่แข่งและสามารถ สำรวจตลาดไปในตวั ไดอ้ กี ดว้ ย

4 1.7. ออกบธู สนิ คา้ และบรกิ ารเพื่อสรา้ งฐานขอ้ มูลลูกคา้ แม้ผู้ประกอบการจะไม่มีสินคา้หรือบริการไปออกบูธแสดงสินค้าแม้แต่ชิ้นเดียว แต่ผู้ประกอบการก็ควรต้องไปออกบูธที่งานเพื่อเป็นการสร้างฐานข้อมูลของลูกค้าผู้บริโภคไม่มีโอกาสไหน แล้วที่ผบู้ รโิ ภคจะรวมตวั กันมากขนาดนี้ดังนนั้ ผู้ประกอบการจึงควรฉวยโอกาสน้ีไปออกบธู แสดงสินค้าและ บริการด้วยประการท้ังปวงแม้ไม่ไดต้ ัวเงินกลับมา อย่างน้อยก็ข้อให้ได้ฐานข้อมลู ลูกค้าก็ยังดีเพราะบางครั้ง ข้อมลู เหล่านี้อาจมคี ่าและประโยชน์มากกว่าเงนิ เสยี อีก ภาพท่ี 2 ตัวอยา่ งการส่ือสารการตลาดแบบดั้งเดมิ 2. การโฆษณาผ่านปา้ ย ในการทำการตลาด “ป้ายโฆษณา” เป็นวิธีการโปรโมตหนึ่งที่มีผลต่อผู้บริโภคอย่างมาก เนื่องจากป้ายโฆษณาเป็นสื่อที่กว้างขวาง เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้หลากหลายและชัดเจน ตัวอย่างที่เห็นได้ ง่ายทีส่ ุดก็คอื ปา้ ยโฆษณาตามทางด่วนหรือบนตึกสูง ทม่ี ปี า้ ยขนาดใหญ่ ตัวอักษรโดดเด่นดึงดูดสายตาผู้คน และแน่นอนว่ามนั ตอ้ งผา่ นสายตาของคนเป็นหม่นื ๆ คนทกุ วัน นอกจากน้ีอกี ตัวอยา่ งหนึง่ ท่ีเห็นได้บ่อยนั่นก็ คือ ป้ายหาเสียงของนักการเมือง สรุปแล้วก็คือ ป้ายโฆษณา เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่สามารถให้ข้อมูล เกี่ยวกับตัวสินค้า หรือ การแนะนำให้คนอื่นรู้จักสินค้า ผ่านรูปภาพ ถ้อยคำที่ส้ัน กระชับ โดดเด่น ไว้ สำหรับเผยแพร่ในที่สาธารณะ สามารถเข้าถึงกลุ่มคนได้มาก และนับได้ว่าเป็นสื่อโฆษณาที่ใช้กันอย่าง แพรห่ ลายในทุกวงการในปัจจุบันอกี ดว้ ย 2.1. ดงึ ดดู ความสนใจได้ดี ถ้าให้คุณเลือกอ่านข้อความจากสื่อสองสื่อนี้ คุณจะเลือกอ่านข้อความจากอะไร ก่อน ระหว่าง ป้ายโฆษณาขนาด 1.5 เมตร กับ โบรชัวร์โฆษณาที่วางอยู่บนโต๊ะ แน่นอนว่าถ้าคุณยืนอยู่ใน ระยะ 5 เมตร คุณจะต้องเห็นข้อความบนป้ายโฆษณาก่อนและสามารถอ่านข้อความทั้งหมดจบได้ในคร้ัง แรกที่เห็น ซึ่งต่างจากโบรชัวร์ที่วางไว้ที่โต๊ะ กว่าจะรับข้อมูลได้คุณจะต้องเดินไปเพื่อหยิบมันขึ้นมาอ่าน ดังนั้นจากข้อนี้สรุปได้อย่างดีว่าป้ายโฆษณาดึงดูดความสนใจได้ดีกว่าสื่ออีกหลายประเภท เนื่องจากป้าย โฆษณามขี นาดใหญ่ ตัวอกั ษรขนาดใหญ่นัน่ เอง

5 2.2 เขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมายไดม้ าก หากจัดประเภทป้ายโฆษณา ก็คงจัดให้อยู่ในหมวดของสื่อโฆษณากลางแจ้ง ท้ัง ในรูปแบบโปสเตอร์ ไวนิล บิลบอร์ดและอื่นๆ ป้ายโฆษณานอกจากจะดึงดูดความสนใจได้ดีแล้ว ยังเป็น อิสระในการหาพื้นที่จัดวางเพื่อให้เหมาะสมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นก่อนการติดตั้งป้ายโฆษณาจึง จำเป็นตอ้ งวิเคราะหก์ ลมุ่ เป้าหมายเสยี ก่อน เช่น โฆษณารถยนต์ หากต้องการประชาสมั พันธใ์ หล้ ูกค้าได้รู้ถึง รถยนต์รุ่นใหม่ล่าสุด พื้นฐานอาจจะต้องเป็นคนมีฐานะ มีรถขับอยู่แล้ว ดังนั้นป้ายโฆษณาชิน้ น้ีอาจตดิ เปน็ ปา้ ยโฆษณาขนาดใหญต่ ามทางด่วน เพือ่ ให้เห็นอยา่ งทว่ั ถงึ ครบทุกด้าน 2.3 ตน้ ทนุ ต่ำ หลายคนสงสัยวา่ การทำป้ายโฆษณาใช้ตน้ ทนุ ต่ำจริงหรือ ขออธบิ ายเพิ่มเติมว่าใน การลงทุนทำป้ายโฆษณาต่อหนึ่งชิ้นอาจแพงกว่าสื่ออื่นๆ แต่หากเทียบคุณภาพกับจำนวนที่ต้องผลิต สามารถลดต้นทุนในการผลิตได้ โดยให้ผลประโยชน์เท่ากัน เช่น ต้องการทำสื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย 500,000 คน ผู้ผลิตอาจเลือกทำป้ายขนาดใหญ่ติดบนตึกที่มีรถผ่านสม่ำเสมอ ลงทุน 200,000 บาท/ช้ิน แต่ทำเพียง 2 ชิ้น (ใช้งบ 400,000 บาท) หรือทำสื่อโบรชัวร์เฉลี่ยใบละ 2 บาท จำนวน 500,000 แผ่น (ใช้ งบ 1,000,000 บาท) จะเห็นได้วา่ ในปรมิ าณเปา้ หมายทีเ่ ท่ากนั การทำปา้ ยโฆษณาช่วยลดต้นทนุ ได้มากกว่า และถา้ ป้ายทำจากวัสดทุ ่ีมีคุณภาพกย็ งิ่ อยู่ไดน้ าน คุ้มมากข้นึ ภาพท่ี 3 ตวั อย่างการสอื่ สารการตลาดแบบดง้ั เดิม ภาพที่ 4 ตัวอยา่ งการสอื่ สารการตลาดแบบด้งั เดิม

6 แนวความคิดตลาดแบบด้ังเดิม เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงแรก ๆ ผู้ผลิตจะมุ่งเน้นการผลิตเพื่อขายเพียงอย่างเดียว และ พยายามลดต้นทุนให้ต่ำลง เพื่อผลกำไรที่มากขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความต้องการของลูกค้า เป็นยุคที่ผู้ผลิต และผู้ขายมีอำนาจในการตอ่ รองเหนอื ลกู คา้ หรอื เป็นยุคท่ีตลาดเป็นของผู้ผลิตหรอื ผขู้ าย ธรุ กจิ ค้าปลกี แบบดงั้ เดมิ มกั จะเป็นการบริหารงานธุรกจิ ด้วยสมาชิกในครอบครัว ต้งั อยใู่ กล้ชุมชน รูปแบบของร้านไม่ได้ถูกออกแบบมาให้มีความสวยงาม หรือมีการตกแต่งมากนัก ซึ่งแม้ในปัจจุบัน ก็ยังมี ธรุ กจิ คา้ ปลกี แบบดั้งเดิมนใี้ หเ้ หน็ กันอยทู่ ่วั โลก ภาพท่ี 5 ตัวอย่างการส่ือสารการตลาดแบบดัง้ เดิม รูปแบบหรือลกั ษณะ/ส่วนประสมทางการตลาด 4P การตลาดแบบดง้ั เดมิ จะมีกลมุ่ เปา้ หมายทีห่ ลากหลาย จะไมเ่ นน้ ทำกับบุคคลใดบุคคลหน่ึง แต่จะ เน้นไปทางส่วนประสมทางการตลาด 4P คอื 1.) Product ประกอบด้วย ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ คุณภาพ การออกแบบรูปทรง ตรา ยหี่ ้อ บรรจุภัณฑ์ เปน็ ต้น

7 2.) Price ประกอบด้วย ราคาสินค้า ส่วนลด การรับรู้ราคาสินค้าของผู้บริโภคระยะเวลาการ จ่ายเงนิ เปน็ ตน้ 3.) Place ประกอบด้วย ช่องทางการจำหน่าย สถานที่จำหน่ายสินค้า สินค้าคงคลัง การขนส่ง เป็นต้น 4.) Promotion ประกอบด้วย กานส่งเสริมการขาย การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การขาย ตรง การส่งเสริมการขายโดยผ่านตวั แทนจำหน่าย เปน็ ต้น และมักจะใช้วิธี การแบ่งส่วนตลาด (Marketing Segmentation) โดยใช้เกณฑ์สภาพ ประชากรศาสตร์ หรือสภาพภูมิศาสตร์ และสามารถครอบคลุมได้บางพื้นที่เท่านั้น ซึ่งมีวิธีการสื่อสาร แบบ ( ONE TO MANY ) เป็นการสื่อสารแบบไมส่ ามารถโตต้ อบได้ทนั ทตี อ้ งใชร้ ะยะเวลาในการตอบรบั ภาพที่ 6 ตัวอย่างการสอื่ สารการตลาดแบบดัง้ เดิม การแบง่ ส่วนตลาด (Market Segmentation) การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) หมายถึงกระบวนการการแบ่งหรือแยกลูกค้า ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ เพือ่ ให้ลกู ค้าทมี่ ลี ักษณะท่ีมคี วาม ต้องการคลา้ ยคลงึ กันมาอยู่ในกลมุ่ เดียวกนั ทำใหเ้ พ่ิม ประสทิ ธภิ าพในการทำงานทางการตลาดเข้าถึง ลกู คา้ เป้าหมายแต่ละกลุม่ ซึ่งมคี วามต้องการแตกต่างกนั

8 ระดบั ของการแบ่งสว่ นการตลาด (Levels of market segmentation) การตลาดมวลชน (Mass marketing) เป็นการตลาดทีม่ ุ่งความสำคัญที่มกี ารผลิตสนิ ค้าในรปู แบบ เดียวกันเป็นจำนวนมาก (Mass production) โดยนำออกวางตลาดให้ทั่วถึง (Mass distribution) และ สง่ เสริมการตลาดอย่างมาก (Mass promotion) โดยมองตลาดว่ามีความตอ้ งการคล้ายคลึงกัน เป็นแนวคิด ทม่ี ุ่งความสำคัญที่การผลิต (Production-oriented) โดยมุง่ ท่จี ะผลติ ภณั ฑส์ ินคา้ ในรูปแบบเดียวกันจำนวน มาก เพ่ือลดตน้ ทนุ ในการผลิต การตลาดโดยมุ่งที่ส่วนของตลาด (Segment marketing) เป็นการใช้เครื่องมือการตลาดโดยมุ่งที่ ส่วนของตลาด (Market segment) แนวคิดนี้อาจมองว่าตลาดมีความต้องการที่แตกต่างกัน บริษัทต้องจัด ผลิตภัณฑ์และส่วนประสมทางการตลาดใหแ้ ตกตา่ งกนั สำหรับแต่ละตลาดเป้าหมาย ในกรณีนี้จะก่อให้เกดิ ข้อได้เปรียบกับธุรกิจ เพราะผลิตภัณฑ์และส่วนประสมทางการตลาดจะสามารถสนองความต้องการของ ลูกคา้ ได้ดีขึ้น การตลาดโดยมุ่งที่ตลาดกลุ่มเล็ก (Niche marketing) เป็นการใช้เครื่องมือการตลาดโดยมุ่งที่ ตลาดกลุ่มเล็ก (Niche market) ซึ่งมีความต้องการที่เฉพาะเจาะจงเป็นกลุ่มที่แคบกว่าส่วนของตลาด (Market segment) เนื่องจากส่วนของตลาดมีขนาดใหญ่จึงมีคู่แข่งขันมาก แต่ตลาดกลุ่มเล็กนี้ (Niche market) จะมีคู่แข่งขันเพียงหนึ่งรายหรือไม่กี่รายเท่านั้น ตลาดกลุ่มเล็กจึงเป็นที่น่าสนใจสำหรับบริษัทเลก็ แต่อยา่ งไรกต็ ามบรษิ ัทใหญ่ก็สามารถใช้กลยทุ ธ์นี้ไดเ้ ชน่ กนั ตลาดกลุ่มเล็กส่วนใหญจ่ ะเป็นกลุ่มที่มีรายได้สูง พรอ้ มทีจ่ ะจ่ายเงินซ้ือสินค้าราคาแพง มคี วามต้องการทเ่ี ฉพาะเจาะจง เช่น มคี ุณภาพดีเด่นเป็นพเิ ศษ การตลาดท้องถิ่น (Local marketing) เป็นการใช้กลยุทธ์การตลาดเพื่อตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าในท้องถิ่น เช่น ห้างสรรพสินค้าแต่ละสาขาจะจดั หาสนิ ค้า และใช้กลยุทธ์การตลาดแตกต่าง กัน ธนาคารแต่ละสาขาจะเน้นกลยุทธ์การให้บริการลูกค้าที่แตกต่างกัน การตลาดท้องถิ่นนี้จะยึดถือ ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ (Demographics) ค่านิยมและรูปแบบการดำรงชีวิต (Value and lifestyles) ของแตล่ ะชมุ ชนหรือทอ้ งถนิ่ เปน็ หลัก การตลาดมุ่งเฉพาะบุคคล (Individual marketing) เป็นการใช้เครื่องมือการตลาดโดยมุ่งที่ลูกค้า รายใดรายหนึ่ง ตัวอย่างของธุรกิจที่ใช้กลยุทธ์นี้คือ บริษัทคอมพิวเตอร์มุ่งขายให้กับธนาคารหรือ สถาบันการศึกษาหรือบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ร้านตัดเสื้อซึ่งตัดเสื้อผ้าสำเร็จรูปส่งให้ร้านค้าปลีกร้านใดร้าน หนึ่ง บริษัททัวร์จัดท่องเที่ยวให้กับครอบครัวหรือนักศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง กลยุทธ์นี้อาจจะเรียกว่า การตลาดมุ่งเฉพาะกลุ่มลูกค้า (Customized marketing) หรือ การตลาดมุ่งเฉพาะบุคคล (One-to-one marketing) หรอื การตลาดหนงึ่ ส่วนตลาด (Segments of one)

9 การตลาดที่ลูกคา้ ต้องรับผดิ ชอบตัวเอง (Self-marketing) เป็นการตลาดที่ลูกค้าช่วยตัวเองในการ ซ้อื สนิ ค้า ซ่งึ ผู้บรโิ ภคแต่ละรายต้องใช้ความรับผิดชอบมากขึ้นในการพิจารณาผลติ ภัณฑ์และตราสินค้า เช่น การซอ้ื ผ่านอินเตอร์เน็ต การสั่งซ้อื สินคา้ ทางโทรศัพท์ การสงั่ ซอ้ื ทาง Fax หรอื E-mail การส่ังซ้ือสินค้าทาง จดหมาย ฯลฯ การเปลย่ี นแปลงตลาดดง้ั เดิมสู่ตลาดดจิ ิตอล การตลาดมีการวิวัฒนาการข้ึนมาอยู่ตลอดเกือบทุกยุคทุกสมยั ท้ังน้ีขึน้ อยู่กบั ปัจจัยต่างๆ ที่ต่างกัน ออกไป และแน่นอนว่าปัจจัยเหล่านี้จะต้องเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อ-ขาย อย่างเช่น ความต้องการของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอด สภาพสังคมและสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมือนเดิม รวมไปถึงสภาพเศรษฐกิจ ต่างๆ ที่ทำให้การตลาดต้องปรับตัวตามไปเพื่อรองรับความต้องการของผู้คนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จนกระทั่งมาถึงในยุคนี้ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมาก จนทำให้ พฤติกรรมของผูค้ นเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม จากแผนการตลาดท่เี คยใชไ้ ดก้ บั ผู้บรโิ ภคกลมุ่ นี้กอ็ าจใช้ไม่ได้อีก ตอ่ ไปแลว้ ดงั นั้นผปู้ ระกอบการจึงควรทำความเข้าใจกบั พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคสมัยใหม่วา่ มีการเปลยี่ นแปลงไป อยา่ งไรบ้าง พร้อมทัง้ หาวธิ รี ับมือกับความเปลี่ยนแปลงว่าควรจดั การสิ่งเหล่านี้อย่างเปน็ ระบบได้อยา่ งไร 1. จากโฆษณา ไปสคู่ วามเหน็ ของผใู้ ช้จริง ที่ผ่านมานั้นผู้ประกอบการส่วนมากใช้โฆษณาเป็นเครื่องมือในการส่งสารต่างๆ ให้ลูกค้า ได้รับรถู้ ึงการมตี วั ตนของแบรนด์ รวมไปถึงบ่งบอกคุณลักษณะของสินคา้ ท่เี ราต้องการจะนำเสนอ แต่ในทุก วันนี้ลูกค้าแทบไม่ค่อยจะเชื่อถือโฆษณาที่มาจากทางองค์กรโดยตรงอีกต่อไปแล้ว และหันไปรับฟัง ประสบการณ์ของผู้ที่เคยใช้ผลิตภัณฑ์ของแบรนด์ต่างๆ จากคนรอบตัวแทน ส่งผลให้ผู้คนในปัจจุบัน ส่วนมากนั้นรับรู้ถึงการมีอยู่ของแบรนด์ผ่านการบอกปากต่อปากหรือผ่านกระแสใน Social Network ได้ รวดเร็วกว่าการโฆษณาในแบบเดิมๆ เสียอีกทำให้สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องปรับตัวตามก็คือการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในการสร้างความสัมพันธ์ลูกค้า ทำให้ลูกค้ารู้สึกผูกพันกับแบรนด์และผู้ใช้รายอื่นๆ เพื่อ ก่อให้เกิดสงั คมของกลุ่มผู้ใชท้ ี่พร้อมจะชว่ ยสร้างกระแสและบอกต่อถึงสินค้าและบริการของแบรนด์ออกไป ในทางทดี่ ี โดย Social Media ถือเปน็ ชอ่ งทางอีกอยา่ งหนึ่งท่ีจะชว่ ยให้เราเข้าถึงบรรดาลูกคา้ ของเราได้ง่าย ขึ้น เป็นอีกช่องทางที่ใช้เปิดรับความคิดเห็นขอ้ เสนอแนะของลูกค้าช้ันดีถ้าหากมีการใช้อย่างถกู วธิ ี ซึ่งทั้งน้ี ต้องคำนึงถึงคอนเทนทแ์ ละเนือ้ หาท่ีจะนำเสนอด้วยว่ามคี วามเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายหรือไม่ เพื่อไม่ให้ เกดิ ข้อผดิ พลาดและชอ่ื เสยี งทางดา้ นลบตามมา

10 2. จากเหตุผล ไปสู่ความหลงใหล ลกู คา้ อาจเคยเลือกซ้ือสินค้าโดยตัดสนิ จากเหตุผลและความจำเป็นของผลิตภัณฑ์เหล่าน้ัน แต่หนา้ ทีข่ องผู้ประกอบการในยุคใหม่น้ันคือเปลีย่ นจาก ”ความจำเปน็ ” ใหก้ ลายเป็น “ความต้องการ” ให้ ได้ สังเกตได้ว่าทุกวันนี้สินค้าแบรนด์หลายอย่างนั้นไม่ได้มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตของลูกค้าสักเท่าไร แต่ แบรนด์เหล่านี้กลับเป็นที่ต้องการของลูกค้าเป็นจำนวนมาก ยกตัวอย่างเช่น บรรดากระเป๋าแบรนด์ เนมต่างๆ ที่มีราคาสูงถึงหลักหม่ืน หลักแสน แต่ผู้คนก็ยงั สนใจและอยากซื้อจากความหลงใหลแทนที่จะ ซื้อโดยใช้เหตุผลและหลักความจำเป็นเหมือนเมื่อก่อน แล้วอะไรล่ะที่จะเปลี่ยนให้ผู้คนเริ่มสนใจในสินค้า ด้วยความหลงใหลได้คำตอบแรกที่ก่อให้เกิดความหลงใหลก็คือประสบการณ์ที่ลูกค้าจะได้รับจากแบรนด์ นั่นเอง เพราะทุกวนั น้ลี ูกคา้ เลือกซื้อสินค้าโดยมองท่ีประสบการณ์ทจ่ี ะไดร้ ับมากกวา่ คุณภาพของสินค้าเสีย อีก อย่างเช่น กระเป๋าแบรนด์เนมนั้น ลูกค้ายอมจ่ายราคาสูงเพือ่ แลกกับประสบการณ์ของความความรู้สกึ ว่าตัวเองดูดีตอบแทนกลับมา และเกดิ ม่ันใจทุกครั้งเม่ือไดใ้ ช้ นอกจากเรื่องของประสบการณ์แล้วการทำให้ ลูกค้าเป็นส่วนหนึ่งของแบรนด์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ทำให้ลูกค้าผู้จงรักภักดีหลงใหลในสินค้ าและการบริการ ของแบรนด์เราได้มากขึน้ เช่นกัน อย่างบรรดาสาวก Apple ที่เกือบทุกคนรู้สึกที่เป็นส่วนหนึง่ ของแบรนด์ก็ จะคอยติดตามทุกผลิตภัณฑท์ ี่ออกมาวางขายของแบรนดน์ ี้ พร้อมทั้งชว่ ยกันโปรโมท แจ้งขา่ วสารตา่ งๆ เมื่อ มีสินค้าใหม่ๆ ออกมาอีกด้วย เพียงเท่านี้ก็จะทำให้ลูกค้านั้นเลือกซื้อสินค้าด้วยความหลงใหลมากกว่า เหตผุ ลและความจำเปน็ แลว้ 3. จากเน้นการวางแผน ไปสู่เนน้ การปรับตวั ไม่ใช่ว่าการวางแผนจะเป็นสิ่งที่ไม่ดี แต่ว่าการวางแผนธุรกิจเพียงอย่างเดียวอาจไม่ เพียงพออีกต่อไปแล้ว เพราะโลกธุรกิจทุกวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา กระแสบางอย่างมาเร็วไป เร็วจนแทบตามไม่ทัน ทำให้แผนที่วางไว้อยู่แต่เดิมอาจใช้ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว ดังนั้นแทนที่จะมุ่งเน้นไปกับ การวางแผนอย่างละเอียดเพียงแผนเดียวก็ควรที่จะมีแผนสำรอง และเตรียมรับมือสำหรับความเปลี่ยน ต่างๆ ที่เข้ามาอยู่เสมอ แผนธุรกิจที่ดีคือแผนที่สามารถปรับยืดหยุ่นได้ตามสภาพและความเหมาะสม ซ่ึง หัวใจสำคัญของการปรับตัวนัน้ ก็คือการหมั่นติดตามข่าวสารให้ทันอยู่ตลอดเวลาว่าทุกวันนี้ผู้คนสนใจอะไร กันอยู่ ผู้บริโภคยังมปี ัญหาอะไรท่ีสินค้าและการบริการของเราจะช่วยตอบสนองความต้องการของพวกเขา ได้หรือไม่ มีหลากหลายตัวอย่างของแบรนด์ดังๆ ในประเทศที่แสดงให้เห็นว่าพวกเขาพร้อมปรับตัวให้เข้า กับกระแสอย่างรวดเร็ว และคว้าโอกาสในการทำกำไรนำหน้าคู่แข่งได้จากกระแสเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น ธนาคารกสิกรไทยที่รีบคว้าเอาลิขสิทธิ์ของตัวการ์ตูนใน Application Line ที่เป็น Application สำหรับ การ Chat ที่หลายๆ คนรู้จัก เพื่อมาออกเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ของทางธนาคารอย่างบัตรเครดิต เดบิตท่ี สกรีนด้วยลาย หมี Brown และกระต่าย Cony รวมไปถงึ แคมเปญของสมนาคุณอ่นื ๆ ทีม่ ีตัวละครใน Line ก็ช่วยเพม่ิ มลู ค่าให้กบั ส่งิ ของเหลา่ น้เี ปน็ อย่างมาก

11 4. เน้นจากการ คาดคะเน ไปสู่ การทดลอง หากเป็นเมื่อก่อนนั้นการทำธุรกิจโดยใช้สัญชาตญาณและการคาดคะเนโดยอาศัยข้อมูล อาจยังใช้ได้ผลดีโดยที่ไม่มีปัญหา แต่สำหรับปัจจุบนั ทีธ่ ุรกิจเริ่มมปี ัจจัยต่างๆ มากมายเข้ามาเกี่ยวข้องมาก ข้ึนแล้ว การคาดคะเนก็คงไม่เพยี งพออีกต่อไป ปจั จัยบางอยา่ งกม็ เี ร่ืองของเทคโนโลยเี ข้ามาเกยี่ วขอ้ ง อย่าง เม่ือกอ่ นทีก่ ว่าผ้คู นจะรู้ถึงคุณภาพของสนิ ค้าหรือการบริการก็ต้องลองเร่ิมทดลองใชด้ ้วยตวั เองหรือไม่ก็จาก คนรอบข้างเท่าน้นั ในขณะท่ที ุกวันน้ีผู้คนนัน้ หันมาหาข้อมูล หาความคิดเห็นของผู้อ่ืนที่เคยทดลองใช้สินค้า มาแล้ว เพื่อประกอบการตัดสินใจก่อนการซื้อโดยที่ไม่ต้องไปทดลองเลือกใช้เองก่อนด้วยซ้ำ ทำให้หลายๆ ธุรกิจที่คาดคะเนว่ายอดขายจะออกมาดี แต่กลับโดนกระแสช่วงแรกๆ ของการจำหน่ายสนิ คา้ ออกมาว่าไม่ ดีแล้วก็มโี อกาสคว่ำได้งา่ ยๆ ทางเลือกอยา่ งหนึ่งทจ่ี ะชว่ ยลดความเสยี่ งไดก้ ็คือการวิเคราะห์ข้อมูลจากลูกค้า อยา่ งละเอยี ดและรอบคอบ หากใชแ้ บบสอบถามกต็ ้องมีคำถามท่ตี รงตามจดุ ประสงค์และนำไปใช้ประโยชน์ ได้จริง รวมไปการออกสินค้าตัวอยา่ งออกมาทดลองกอ่ นว่ามีผลตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างไรและมีอะไรท่ี ยังตอ้ งปรับปรุงอยูบ่ ้างก่อนท่ีจะตัดสินใจนำสนิ คา้ เหลา่ นั้นออกมาขายจริง ภาพท่ี 7 การเปรยี บเทยี บระหว่างตลาดแบบดง้ั เดมิ และตลาดแบบใหม่ ขอ้ ดขี องการตลาดแบบดั้งเดิม COVID-19 ได้ผลักดันให้ประชาชนยอมรับโลกดิจิทัลมากขึ้นกว่าเดิม แม้ว่าจะใช่การตลาดดิจิทัล เป็นเทรนด์ในปัจจุบัน แต่การตลาดแบบดั้งเดิมยังคงได้รับการพิสูจน์แล้วว่าให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ การตลาดแบบด้งั เดิมยังคงมชี ีวิตอย่เู ปน็ อย่างมากและทำงานไดด้ ีทีส่ ุดสำหรับการสือ่ สารแบบ Business to Business ตลอดจนการสื่อสารระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภค ในบทความนี้เราจะเน้นถึงความหมายของ การตลาดแบบดั้งเดิมวิธีการใช้และขอ้ ดขี องการตลาดในยุคดิจิทลั

12 1. การตลาดแบบดั้งเดิมได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีอัตราความสำเร็จสูงกว่าการตลาดดิจิทัล เหตุผล หลักคือความสามารถในการเข้าถึงสถานที่ที่ไม่มีอินเทอร์เน็ต ไม่ปฏิเสธว่าโบรชัวร์ที่พิมพ์ออกมาและป้าย โฆษณาขนาดใหญ่นั้นดึงดูดผู้บริโภคและดึงดูดความสนใจได้มากเมื่อเทียบกับวิธีการทางดิจิทัลโฆษณาทาง โทรทัศน์ไดพ้ ิสจู นแ์ ล้วว่าวธิ ีการทางการตลาดหลักในการกำหนดเป้าหมายผู้บรโิ ภคจำนวนมาก เป็นกลยุทธ์ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพสงู สุดในปจั จบุ ัน การตลาดทม่ี ีอิทธิพลจำนวนมากทำผ่านโทรทัศนเ์ ชน่ กัน 2. กลยทุ ธ์การตลาดแบบด้ังเดิมหากวางแผนด้วยแผนการที่ดที ี่สุดจะสร้างผลลัพธท์ ีม่ ปี ระสิทธิผล สูงสดุ และสร้างยอดขายได้มากข้ึน 3. การตลาดแบบด้ังเดิมมผี ู้ชมออฟไลนจ์ ำนวนมากและอาจเปน็ ประโยชน์สำหรบั แคมเปญ การตลาดของคุณทีจ่ ะไม่เพิกเฉยต่อผู้ชมกลุ่มน้ี ความต่างระหว่างการตลาดแบบด้งั เดมิ และการตลาดดจิ ทิ ลั การตลาดในยุคนี้ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ การตลาดแบบดั้งเดิม หรือ Classic/Traditional Marketing และการตลาดแบบดิจิทัล Digital Marketing ซึ่งปัจจุบันต้องบอกว่าท้ัง 2 อย่างช่วยให้มีผลกับธุรกิจเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างหลังที่มีบทบาทอย่างมากกับธุรกิจ เพราะด้วย ความนิยมจากกลุ่มคนที่หันมาใช้จนกลายเป็นสิ่งหนึ่งในชีวิตไปแล้วแต่กับหลายๆ คนนั้น การตลาดแบบ ดจิ ิทลั ยงั คงเปน็ เรอื่ งใหม่ ซึง่ ถ้าถามว่ามนั ช้าไปไหมท่ีจะเรยี นรู้ ก็ต้องตอบว่าไมช่ ้าเกนิ ไป แต่อาจจะต้องตาม คนอื่นแบบเร่งๆ หน่อย สำหรับ infographic ที่ผมหาเจอนี้เรียกได้ว่าถูกทำขึ้นมาเพื่อเปรียบเทียบให้คน รู้จักถึงความตา่ งระหวา่ งการตลาด 2 แบบแบบชก้ี ันชัดๆ ไปเลยว่าเปน็ อย่างไรบา้ ง 1. รูปแบบ – แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ด้วยความชัดเจนในการสื่อสารที่ต้องทำให้เห็นบน การตลาดแบบด้งั เดมิ กับการที่ทำให้แพร่กระจายแบบมากทสี่ ดุ โดยไมส่ นใจโครงสร้าง 2. วธิ ีการส่อื สาร – ชัดเจนว่าเปน็ แบบ 1-to-many ท่ีคนรับฟงั ฟังอย่างเดียว และ many- to-many สามารถรับสง่ กันได้ 3. ระยะเวลา – แบบดั้งเดิมจะใช้กันระยะยาว ส่วนดิจิทัล เป็นการวางแผนแบบคร่าวๆ และใช้การโต้ตอบอย่างรวดเร็ว 4. ลักษณะการพูดกับกลุ่มผู้บริโภค – รูปแบบจะเป็นการปกปิดเสียเป็นส่วนใหญ่และใช้ การสอื่ สารผ่านเมล, โทรศพั ท์ สว่ นดจิ ิทัลกเ็ น้นความรวดเร็วแบบโตต้ อบกนั ทนั ทีอย่างเปิดเผย 5. ช่วงระยะเวลา – แบบเดิมก็จะเน้นเป็น working hour จบที่ตอนเลิกงาน ส่วนดิจิทัล มองวา่ ได้ตลอด 24/7 6. ขอบเขต – มกี ลุ่มเฉพาะเจาะจง แตส่ ามารถทำให้เปน็ Mass ได้หากเปน็ ดิจิทลั ซ่ึงการ เปน็ Mass ก็เพ่ือที่จะเขา้ หาโอกาสกลมุ่ เปา้ หมายใหม่ได้ด้วย (แตส่ ุดทา้ ยกต็ ้องเจาะกลุม่ ท่ีเราสนใจอยูด่ ี) 7. คุณค่าของประสบการณ์ที่ได้รับ – ดิจิทัลดีกว่าและชัดเจนกว่าอยู่แล้วในด้านนี้ เนื่องจากสามารถโตต้ อบกันกับผู้ใช้งานได้ แตแ่ บบดงั้ เดมิ เป็นอนาลอก

13 8. ภาษาที่ใช้ – การใช้แบบดั้งเดิมจะต้องมาในแนวเป็นทางการ แต่ดิจิทัลค่อนข้างอิสระ ในการใช้ ท้งั น้ีกเ็ พราะเพอื่ ให้เขา้ ถึงกลมุ่ คนไดง้ า่ ยนั่นเอง 9. หน่วยงานที่ดูแล – ทุกวันนี้ต้องบอกว่าคนที่ทำการตลาดแบบเดิมก็ถูกย้ายให้มาทำ ดิจิทัล ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่สามารถทดแทนกันได้จากพฤติกรรมของคนไมเ่ หมือนกนั เสียทีเดียว ดังนั้นเลยมี แผนกที่ถูกตั้งขึ้นมาโดยเฉพาะ นั่นคือแผนก New Media หรืออาจจะมีการตั้งเป็นบริษัทใหม่ที่ดูแลด้าน ดิจิทลั เลยกเ็ ป็นได้ ซง่ึ เราจะเหน็ รปู แบบน้ีเยอะในประเทศไทย

14 สรุป การตลาดแบบดั้งเดิม คือ การทำการตลาดโดยผ่านส่ือการโฆษณาต่างๆ แบบออฟไลน์ เป็นการ ส่อื สารเพียงด้านเดียว ทำใหไ้ ม่สามารถรบั รู้ได้ว่าลูกค้าสามารถเข้าถึงได้มากแค่ไหน โดยการทำการตลาด แบบดั้งเดิมนั้นใช้หลักการวางแผนการตลาดแบบ 4P (Product, Price, Place และ Promotion) และ แนวความคิดตลาดแบบดั้งเดิมอีกด้วย เพื่อจะมุ่งเน้นการผลิตเพื่อขายเพียงอย่างเดียว และพยายามลด ต้นทุนให้ต่ำลง เพื่อผลกำไรที่มากขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงความตอ้ งการของลูกค้า เป็นยุคที่ผู้ผลิตและผู้ขายมี อำนาจในการต่อรองเหนือลูกค้าหรือเป็นยุคที่ตลาดเป็นของผู้ผลิตหรือผู้ขาย และมีการแบ่งส่วนตลาด ออกเป็น 6 ระดับ คือ การตลาดมวลชน (Mass marketing) การตลาดโดยมุ่งที่ส่วนของตลาด (Segment marketing) การตลาดโดยมุ่งที่ตลาดกลุ่มเล็ก (Niche marketing) การตลาดท้องถิ่น (Local marketing) การตลาดมุ่งเฉพาะบุคคล (Individual marketing) และ การตลาดที่ลูกค้าต้องรับผิดชอบ ตัวเอง (Self-marketing) การเปลี่ยนแปลงตลาดดั้งเดิมสู่ตลาดดิจิตอล จะมีการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ สงั คมและสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมอื นเดมิ รวมไปถึงสภาพเศรษฐกิจต่างๆ ท่ีทำให้การตลาดต้องปรับตัวตาม ไปเพื่อรองรับความต้องการของผู้คนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จนกระทั่งมาถึงในยุคนี้ที่เทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทในการดำเนินชีวติ ของผูค้ นเปน็ อย่างมาก จนทำให้พฤติกรรมของผู้คนเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม จาก แผนการตลาดท่ีเคยใชไ้ ดก้ ับผู้บรโิ ภคกล่มุ น้ีก็อาจใช้ไมไ่ ด้อกี ตอ่ ไปแล้ว

15 บรรณานกุ รม “การตลาดแบบด้งั เดิม.” (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://avedoofficial.com/2018/06/การตลาดแบบ ดง้ั เดมิ -การ สบื ค้นวนั ที่ 03/07/2565 “การตลาดแบบดั้งเดิม.” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://moneyforaids.org/การตลาดแบบดั้งเดิม/ สืบคน้ วนั ที่ 03/07/2565 “การตลาดแบบดัง้ เดิมและการตลาดแบบดิจทิ ลั .” (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก: https://www.dreamrev.info/blog/2017/04/25/traditional-vs-digitalmarketing/ สืบค้นวนั ท่ี 03/07/2565 “การออกบูธแสดงสนิ ค้า.” (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก: http://www.prosoft.co.th/Article/Detail/108042 สืบค้นวันที่ 03/07/2565 “ความแตกต่างระหว่างการตลาดแบบดั้งเดมิ และการตลาดดจิ ทิ ัล.” (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก: http://www.thumbsup.in.th/10-differences-classic-marketing-digital-marketing สบื ค้นวนั ท่ี 03/07/2565 “TRADITIONAL MARKETING VS DIGITAL MARKETING.” (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก: Traditional marketing vs Digital marketing (wynnsoft-solution.com) สบื คน้ วนั ที่ 03/07/2565

PowerPoint นำเสนอ

จดั ทำ นางสาวนฤมล ศรี นางสาวกนกวรรณ อม นางสาวสุนิษา ครอ นักศึกษาระดบั ปริญญาต เส อาจารย์นิพ

ำโดย รรอด เลขท่ี 4 มรพรพงศ์ เลขท่ี 8 องราช เลขที่ 9 ตรีปี ท่ี 2 สาขาวชิ าการบัญชี สนอ พร จุทยั รัตน์

การตลาดแ (Traditional

แบบดง้ั เดิม l marketing)

การตลาดแบบดง้ั เดิม (Tr โดยการตลาดแบบนีค้ ือการทาการตลาดโดยท่ีไมม่ ีอินเท เผยแพรข่ อ้ มลู ต่างๆ และเป็นการใชช้ ่องทางออฟไลนต์ า่ และกลมุ่ เปา้ หมายท่ีตอ้ งการ อีกทงั้ การตลาดแบบดงั้ เดิม การไดร้ บั ฟี ดแบกตา่ งๆ หรอื ผลลพั ธก์ จ็ ะคอ่ ยขา้ งชา้ และ คอ่ นขา้ งสงู และมีการใชร้ ะยะเวลานานในการทาการตล

raditional Marketing) ทอรเ์ น็ตเขา้ มาช่วยในการประชาสมั พนั ธ์ หรอื างๆ ท่ีมีอยใู่ นขณะนนั้ เป็นการส่ือสารไปยงั ผบู้ รโิ ภค มยงั เป็นการส่อื สารเพียงดา้ นเดียวอีกดว้ ย ซง่ึ ทาให้ ะการทาการตลาดแบบดงั้ เดมิ นีม้ ีคา่ ใชจ้ า่ ยท่ี ลาดแบบนีก้ วา่ จะเขา้ ถงึ กลมุ่ ลกู คา้ ไดน้ ่นั เอง

การส่อื สารแบบทางเดียวในการตลาดแบบ ดงั้ เดิมนี้ เชน่ การโฆษณาผา่ โทรทศั น์ วิทยุ ส่อื ส่งิ พิมพ์ รวมไปถงึ การแจกโบรชวั ร์ การตดิ ปา้ ย โฆษณาตามท่ีตา่ งๆ ซง่ึ ลกู คา้ นนั้ จะไม่สามารถ แลกเปล่ยี น หรอื แสดงความคดิ เห็นอ่ืนใดได้ เพราะวา่ น่ีเป็นการส่อื สารทางเดียว และไดร้ บั สารอยฝู่ ่ายเดียว เม่ือเป็นเช่นนีผ้ ลลพั ธท์ ่ีไดจ้ งึ ไมแ่ มน่ ยา และใชเ้ วลาคอ่ นขา้ งนาน แตจ่ ะ สามารถความน่าเช่ือถือไดม้ ากกวา่ การทา การตลาดแบบอนไลน์ เน่ืองจากลกู คา้ สามารถ รบั รูไ้ ดว้ า่ ธรุ กิจของเรานนั้ มีตวั ตน



ตวั อยา่ งการสอ่ื สารกา การออก อาจเคยผ ตอบรบั ก อย่างย่ิง อยา่ งดี ม แสดงสนิ ก็เป็นท่ีน ใหมก่ ลบั เท่านนั้ ท สรา้ งประ ประชาส โอกาสใน เตม็ ท่ี กา

ารตลาดแบบดงั้ เดมิ 1. การออกบูธแสดงสนิ ค้า กบธู แสดงสินคา้ ถือเป็นเรอ่ื งธรรมดาท่ีผปู้ ระกอบการธุรกิจหลายท่าน ผา่ นและมีประสบการณบ์ า้ งไม่มากก็นอ้ ยเพราะในปัจจบุ นั กระแส การออกบธู แสดงสินคา้ ไดร้ บั ความสนใจ จากกลมุ่ ลกู คา้ ผบู้ รโิ ภคมาก และเพราะการออกบธู แสดงสินคา้ ยงั ใหผ้ ลตอบรบั และตอบแทน มาตลอด ผปรู้ ะกอบการหลายรายจงึ ไววา้ งใจเลือกใชก้ ารออกบธู นคา้ หรอื ทากิจกรรมตา่ งๆ เป็น เครอ่ื งมือทางการตลาดอีกชนิดหน่งึ แต่ นา่ สงั เกตวา่ ผปู้ ระกอบการสว่ นใหญ่โดยเฉพาะกลมุ่ ตลาด และทนุ บใหค้ วามสนใจไปออกบธู แสดงสนิ คา้ และบรกิ ารเพียงแค่เลก็ นอ้ ย ทงั้ ท่ีความเป็นจรงิ แลว้ การไปออกบธู แสดงสนิ คา้ และบรกิ ารสามารถ ะโยชนต์ ่างๆ ไดม้ ากมาย เช่น การออกบธู แสดงสินคา้ เพ่ือ สมั พนั ธส์ นิ คา้ หรอื บรกิ าร การออกบธู แสดงสินคา้ เพ่ือเพ่ิมช่องทางและ นการขาย การออกบธู แสดงสินคา้ และบรกิ ารเพ่ือโชวศ์ กั ยภาพอย่าง ารออกบธู แสดงสนิ คา้ และบรกิ ารเพ่ือหาคคู่ า้ ทางธรุ กิจ เป็นตน้

ตวั อยา่ งการสอ่ื สารกา ในการทา อย่างมา หลากหล ดว่ นหรอื แนน่ อนว ตวั อย่าง ปา้ ยโฆษ การแนะ สาหรบั เผ เป็นส่อื โฆ

ารตลาดแบบดงั้ เดมิ 2. การโฆษณาผ่านป้าย าการตลาด “ปา้ ยโฆษณา” เป็นวธิ ีการโปรโมตหน่งึ ท่ีมีผลตอ่ ผบู้ รโิ ภค าก เน่ืองจากปา้ ยโฆษณาเป็นส่ือท่ีกวา้ งขวาง เขา้ ถึงกล่มุ เปา้ หมายได้ ลายและชดั เจน ตวั อยา่ งท่ีเห็นไดง้ า่ ยท่ีสดุ ก็คือ ปา้ ยโฆษณาตามทาง อบนตกึ สงู ท่ีมีปา้ ยขนาดใหญ่ ตวั อกั ษรโดดเดน่ ดงึ ดดู สายตาผคู้ น และ ว่ามนั ตอ้ งผา่ นสายตาของคนเป็นหม่ืนๆ คนทกุ วนั นอกจากนีอ้ ีก งหน่งึ ท่ีเหน็ ไดบ้ อ่ ยน่นั ก็คือ ปา้ ยหาเสยี งของนกั การเมือง สรุปแลว้ ก็คือ ษณา เป็นส่ือประเภทหน่งึ ท่ีสามารถใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ตวั สนิ คา้ หรอื ะนาใหค้ นอ่ืนรูจ้ กั สนิ คา้ ผ่านรูปภาพ ถอ้ ยคาท่ีสนั้ กระชบั โดดเดน่ ไว้ ผยแพรใ่ นท่ีสาธารณะ สามารถเขา้ ถึงกลมุ่ คนไดม้ าก และนบั ไดว้ ่า ฆษณาท่ีใชก้ นั อย่างแพรห่ ลายในทกุ วงการในปัจจบุ นั อีกดว้ ย

แนวความคิดการ (Traditiona

รตลาดแบบดง้ั เดิม al Marketing)



เม่ือมีการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในช่วงแรก ๆ ผผู้ ลติ จะมงุ่ เนน้ การผลติ เพ่ือขายเพียงอยา่ งเดียว และพยายามลดตน้ ทนุ ใหต้ ่าลง เพ่ือผลกาไรท่ีมาก ขนึ้ โดยไมไ่ ดค้ านงึ ถงึ ความตอ้ งการของลกู คา้ เป็น ยคุ ท่ีผผู้ ลติ และผขู้ ายมีอานาจในการต่อรองเหนือ ลกู คา้ หรอื เป็นยคุ ท่ีตลาดเป็นของผผู้ ลิตหรอื ผขู้ าย ธรุ กิจคา้ ปลีกแบบดงั้ เดิม มกั จะเป็นการ บรหิ ารงานธุรกิจดว้ ยสมาชิกในครอบครวั ตงั้ อยู่ ใกลช้ มุ ชน รูปแบบของรา้ นไมไ่ ดถ้ กู ออกแบบมาให้ มีความสวยงาม หรอื มีการตกแต่งมากนกั ซง่ึ แมใ้ น ปัจจบุ นั กย็ งั มีธรุ กิจคา้ ปลีกแบบดงั้ เดิมนีใ้ หเ้ หน็ กนั อยทู่ ่วั โลก

S

W

รปู แบบหรอื ประสมทางก

อลกั ษณะ/สว่ น การตลาด 4P

การตลาดแบบดัง้ เดมิ จะมีกลมุ่ เปา้ หมายท่ีหลากหลา แตจ่ ะเนน้ ไปทางสว่ นประสมทางการตลาด 4P คือ 1 ) Product ประกอบดว้ ย ความหลากหลายของผ บรรจภุ ณั ฑ์ เป็นตน้ 2 ) Price ประกอบดว้ ย ราคาสนิ คา้ สว่ นลด การรบั 3 ) Place ประกอบดว้ ย ช่องทางการจาหน่าย สถา 4 ) Promotion ประกอบดว้ ย กานสง่ เสรมิ การข สง่ เสรมิ การขายโดยผา่ นตวั แทนจาหนา่ ย เป็นตน้ และมกั จะใชว้ ิธี การแบง่ สว่ นตลาด ( สภาพภมู ิศาสตร์ และสามารถครอบคลมุ ไดบ้ างพืน้ ท่ีเท เป็นการส่อื สารแบบไมส่ ามารถโตต้ อบไดท้ นั

าย จะไมเ่ นน้ ทากบั บคุ คลใดบคุ คลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ คณุ ภาพ การออกแบบรูปทรง ตราย่ีหอ้ บรูร้ าคาสนิ คา้ ของผบู้ รโิ ภคระยะเวลาการจ่ายเงิน เป็นตน้ านท่ีจาหนา่ ยสนิ คา้ สนิ คา้ คงคลงั การขนสง่ เป็นตน้ ขาย การโฆษณา การประชาสมั พนั ธ์ การขายตรง การ โดยใชเ้ กณฑส์ ภาพประชากรศาสตร์ หรอื ทา่ นนั้ ซง่ึ มีวธิ ีการส่อื สาร แบบ ( นทีตอ้ งใชร้ ะยะเวลาในการตอบรบั

การแบง่ สว่ นตลาด ( หมายถึง กระบวนการการแบ่งหรอื แยกลกู คา้ ออกเป็นกลมุ่ ย กนั มาอย่ใู นกลมุ่ เดยี วกนั ทาใหเ้ พ่ิมประสทิ ธิภาพในการทาง ความตอ้ งการแตกตา่ งกนั ระดับของการแบง่ ส่วนการตลาด การตลาดมวลชน ( เป็นการตลาดท่ีมงุ่ จานวนมาก ( โดยนาออกวางตลาดใหท้ ( โดยมองตลาดวา่ มีความตอ้ งการคลา้ ย ( โดยม่งุ ท่ีจะผลิตภณั ฑส์ นิ คา้ ในรูปแ การตลาดโดยมุ่งทส่ี ่วนของตลาด ( ( แนวคิดนีอ้ าจมองวา่ ตลาดมีความตอ้ งก ทางการตลาดใหแ้ ตกตา่ งกนั สาหรบั แตล่ ะตลาดเปา้ หมาย ใน และสว่ นประสมทางการตลาดจะสามารถสนองความตอ้ งกา

ยอ่ ยๆ เพ่ือใหล้ กู คา้ ท่ีมีลกั ษณะท่ีมีความ ตอ้ งการคลา้ ยคลงึ งานทางการตลาดเขา้ ถึง ลกู คา้ เปา้ หมายแตล่ ะกลมุ่ ซง่ึ มี ( งความสาคญั ท่ีมีการผลิตสินคา้ ในรูปแบบเดียวกนั เป็น ท่วั ถงึ ( และสง่ เสรมิ การตลาดอยา่ งมาก ยคลงึ กนั เป็นแนวคิดท่ีม่งุ ความสาคญั ท่ีการผลิต แบบเดียวกนั จานวนมาก เพ่ือลดตน้ ทนุ ในการผลิต เป็นการใชเ้ ครอ่ื งมือการตลาดโดยม่งุ ท่ีสว่ นของตลาด การท่ีแตกตา่ งกนั บรษิ ัทตอ้ งจดั ผลิตภณั ฑแ์ ละสว่ นประสม นกรณีนีจ้ ะก่อใหเ้ กิดขอ้ ไดเ้ ปรยี บกบั ธรุ กิจ เพราะผลิตภณั ฑ์ ารของลกู คา้ ไดด้ ีขนึ้

การตลาดโดยมุ่งทตี่ ลาดกลุ่มเล็ก ( ( ซง่ึ มคี วามตอ้ งการท่ีเฉพาะเจาะจงเป็นกล สว่ นของตลาดมีขนาดใหญ่จึงมีคแู่ ขง่ ขนั มาก แต่ตลาดกลมุ่ รายเทา่ นนั้ ตลาดกลมุ่ เลก็ จึงเป็นท่ีนา่ สนใจสาหรบั บรษิ ัทเล เช่นกนั ตลาดกลมุ่ เลก็ สว่ นใหญ่จะเป็นกลมุ่ ท่ีมีรายไดส้ งู พร เฉพาะเจาะจง เช่น มีคณุ ภาพดีเดน่ เป็นพิเศษ การตลาดทอ้ งถนิ่ ( เป็นการใชก้ ลยทุ ธ ทอ้ งถ่ิน เช่น หา้ งสรรพสนิ คา้ แตล่ ะสาขาจะจดั หาสนิ คา้ และ กลยทุ ธก์ ารใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ท่ีแตกตา่ งกนั การตลาดทอ้ งถ่ินน ค่านิยมและรูปแบบการดารงชีวิต ( ข

เป็นการใชเ้ ครอ่ื งมือการตลาดโดยม่งุ ท่ีตลาดกลมุ่ เลก็ ลมุ่ ท่ีแคบกวา่ สว่ นของตลาด ( เน่ืองจาก มเลก็ นี้ ( จะมีคแู่ ขง่ ขนั เพยี งหน่งึ รายหรอื ไมก่ ่ี ลก็ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามบรษิ ัทใหญ่ก็สามารถใชก้ ลยทุ ธน์ ีไ้ ด้ รอ้ มท่ีจะจา่ ยเงนิ ซอื้ สนิ คา้ ราคาแพง มีความตอ้ งการท่ี ธก์ ารตลาดเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ ลกู คา้ ใน ะใชก้ ลยทุ ธก์ ารตลาดแตกต่างกนั ธนาคารแต่ละสาขาจะเนน้ นีจ้ ะยดึ ถือลกั ษณะดา้ นประชากรศาสตร์ ( ของแต่ละชมุ ชนหรอื ทอ้ งถ่ิน เป็นหลกั

การตลาดมุง่ เฉพาะบคุ คล ( เป ตวั อยา่ งของธรุ กิจท่ีใชก้ ลยทุ ธน์ ีค้ ือ บรษิ ัทคอมพิวเตอรม์ ่งุ ขา หนง่ึ รา้ นตดั เสอื้ ซง่ึ ตดั เสอื้ ผา้ สาเรจ็ รูปสง่ ใหร้ า้ นคา้ ปลีกรา้ นใ นกั ศกึ ษากลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ กลยทุ ธน์ ีอ้ าจจะเรยี กว่า การตลา การตลาดม่งุ เฉพาะบคุ คล ( หรอื การตลาดทลี่ ูกค้าตอ้ งรับผิดชอบตวั เอง ( ผบู้ รโิ ภคแตล่ ะรายตอ้ งใชค้ วามรบั ผิดชอบมากขนึ้ ในการพิจ การส่งั ซอื้ สนิ คา้ ทางโทรศพั ท์ การส่งั ซอื้ ทาง หรอื

ป็นการใชเ้ ครอ่ื งมือการตลาดโดยมงุ่ ท่ีลกู คา้ รายใดรายหนง่ึ ายใหก้ บั ธนาคารหรอื สถาบนั การศึกษาหรอื บรษิ ัทใดบรษิ ัท ใดรา้ นหนง่ึ บรษิ ัททวั รจ์ ัดทอ่ งเท่ียวใหก้ บั ครอบครวั หรอื าดม่งุ เฉพาะกลมุ่ ลกู คา้ ( หรอื อ การตลาดหน่งึ สว่ นตลาด ( เป็นการตลาดท่ีลกู คา้ ชว่ ยตวั เองในการซือ้ สนิ คา้ ซง่ึ จารณาผลิตภณั ฑแ์ ละตราสินคา้ เชน่ การซือ้ ผา่ นอินเตอรเ์ น็ต การส่งั ซอื้ สินคา้ ทางจดหมาย ฯลฯ

ข้อดขี องการต ไดผ้ ลกั ดนั ใหป้ ระชาชนยอมรบั โลกดจิ ิทลั การตลาดแบบดงั้ เดิมยงั คงไดร้ บั การพิสจู นแ์ ลว้ วา่ ใหผ้ ลลพั ธท์ ่ีมีป ทางานไดด้ ีท่ีสดุ สาหรบั การส่อื สารแบบ เนน้ ถงึ ความหมายของการตลาดแบบดงั้ เดิมวธิ ีการใชแ้ ละขอ้ ดีข 1. การตลาดแบบดงั้ เดิมไดร้ บั การพสิ จู นแ์ ลว้ วา่ มีอตั ราความสาเ สถานท่ีท่ีไมม่ ีอินเทอรเ์ นต็ ไมป่ ฏิเสธวา่ โบรชวั รท์ ่ีพิมพอ์ อกมาแล มากเม่ือเทียบกบั วิธีการทางดจิ ิทลั โฆษณาทางโทรทศั นไ์ ดพ้ ิสจู น จานวนมาก เป็นกลยทุ ธท์ ่ีมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในปัจจบุ นั การต 2. กลยทุ ธก์ ารตลาดแบบดงั้ เดิมหากวางแผนดว้ ยแผนการท่ีดที ่ีส 3. การตลาดแบบดงั้ เดมิ มีผชู้ มออฟไลนจ์ านวนมากและอาจเป็น กลมุ่ นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook