Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนเผชิญเหตุอุทกภัย ปี พ.ศ. ๒๕๖๕

แผนเผชิญเหตุอุทกภัย ปี พ.ศ. ๒๕๖๕

Published by Nursaswanee Lohason, 2022-08-08 02:30:06

Description: -

Search

Read the Text Version

แผนเผชิญเหตอุ ุทกภัย จังหวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ปัตตานี ศาลากลางจงั หวดั ปตั ตานี ช้ัน 1 อาคาร 3 โทรศัพท์ 0 7333 3208-9 โทรสาร 0 7333 7145

คานา ด้วยกรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์สถานการณ์อุทกภัยในพ้ืนที่ภาคใต้ จะเร่ิมตั้งแต่ช่วงเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2565 โดยปริมาณฝนรวมของท้ังประเทศในช่วงฤดูฝนปีนี้คาดว่าจะมากกว่าปีท่ีแล้ว ซง่ึ สถานการณด์ ังกลา่ วมกั กอ่ ให้เกดิ สถานการณอ์ ทุ กภยั สง่ ผลกระทบตอ่ การดารงชีวิตของประชาชนและมีความ สูญเสยี ในด้านชวี ิตและทรพั ยส์ ิน เพือ่ ใหห้ นว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องทุกภาคสว่ น มแี นวทางในการปฏบิ ัติในการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบอุทกภัย เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ปัตตานี จึงได้ดาเนินการทบทวน และจัดทาแผนเผชิญเหตุอุทกภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 รวมท้ังการเสริมกาลังและบูรณาการปฏิบัติงาน ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนได้อย่างทันต่อ เหตุการณ์ ตลอดจนฟ้ืนฟผู ปู้ ระสบภยั ใหก้ ลับสภู่ าวะปกตโิ ดยเรว็ (นายนิพันธ์ บญุ หลวง) ผู้ว่าราชการจงั หวัดปัตตานี ผู้อานวยการจงั หวดั

อา้ งถึง : แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภยั จังหวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 ชุดท่ี ของ ชุด หน้าท่ี 1 ของ 51 หนา้ กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดปัตตานี วันท่ี 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.25๖5 1. พระราชบญั ญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 2. แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 3. แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2558 1 สถานการณ์ของจังหวัด 1.1 สถานการณท์ ่วั ไป ๑.๑.1 ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ตง้ั อยูภ่ าคใตข้ องประเทศไทย ห่างจากรุงเทพมหานคร ๑,๐๕๕ กิโลเมตร มีเน้ือที่ประมาณ ๑,๙๔๐.๓๕ ตารางกโิ ลเมตร หรือ ประมาณ ๑,๒๑๒,๗๒๓ ไร่ มีอาณาเขต ติดต่อกับจงั หวัดใกล้เคียง ดงั น้ี ทิศเหนือ ติดต่อกบั อ่าวไทย ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั เขตอาเภอเมืองยะลา อาเภอรามัน จังหวัดยะลา และ เขตอาเภอบาเจาะ จังหวดั นราธวิ าส ทิศตะวันออก ติดต่อกบั อา่ วไทย ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับเขตอาเภอเทพาและอาเภอสะบ้าย้อย จงั หวัดสงขลา 1.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของจงั หวดั ปัตตานี แบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ คอื 1) บรเิ วณทร่ี าบ เปน็ ท่ีราบเรยี บ มคี วามลาดชันน้อยกว่า 4 เปอร์เซ็นต์ และมคี วาม สงู จากระดับน้าทะเลไม่เกิน 20 เมตร มีเนื้อที่ประมาณ 874,063 ไร่ หรือร้อยละ 72.07 ของเน้ือที่ท้ัง จงั หวัด ประกอบดว้ ยที่ราบชายฝั่งทะเลและที่ราบลุ่มน้า ซึ่งที่ราบชายฝั่งทะเลได้แก่ บริเวณที่เป็นหาดทราย สนั ทราย ท่ีล่มุ ระหวา่ งสนั ทรายและทรี่ าบลุ่มน้าทะเลท่วมถึง ซ่ึงอยู่ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของ จงั หวัดเป็นแนวยาวกว้างขนานไปกับฝั่งทะเล พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสวนมะพร้าวและป่าชายเลน ส่วนบริเวณ ตอนกลางของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่มน้า ที่เกิดจากอิทธิพลของแม่น้าปัตตานี และแม่น้าสายบุรี ซึ่งอยู่ทาง ด้านทิศตะวันออกเฉยี งใต้ของจงั หวัดพื้นท่สี ว่ นใหญ่ใช้ในการทานาและสวนผลไม้ 2) บรเิ วณท่เี ปน็ ลูกคลื่นถึงเป็นเนนิ เขา ได้แก่ บรเิ วณทีอ่ ยู่ถัดจากบริเวณทร่ี าบขนึ้ ไป ถึงเนินเขามีความลาดชันอยู่ระหว่าง 2-16 เปอร์เซ็นต์ และสูงจากระดับน้าทะเลต้ังแต่ 20 เมตรขึ้นไปถึง 100 เมตร ซึง่ อยทู่ างด้านทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ของจงั หวดั และทางดา้ นทิศตะวันตกเฉียงใตใ้ นอาเภอโคกโพธิ์ แผนเผชิญเหตอุ ุทกภัยจังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หน้าท่ี 2 ของ 51 หนา้ 3) บริเวณที่เป็นภูเขา มีความสูงจากระดับน้าทะเลตั้งแต่ 100 เมตรข้ึนไป ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ยอดเขาบริเวณทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดในเขตอาเภอ โคกโพธ์ิ ได้แก่ เขากาลาคีรี (เขาใหญ่) ความสูง 780 เมตร ส่วนบริเวณตอนกลาง ของจังหวัดมีเทือกเขา ทอดตัว อยใู่ นแนวตะวันตกเฉียงใตข้ น้ึ ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประกอบด้วย เขานา้ ค้าง (ความสูง 775 เมตร) อยู่ในเขตอาเภอกะพ้อ เขาไหม้ (ความสงู 229 เมตร) เขาเปาะซเี กง (ความสูง 444 เมตร) อยู่ในเขต อาเภอมายอ เขากอื ลแี ย (ความสงู 360 เมตร) เขาหินม้า (ความสูง 409 เมตร) ในเขตอาเภอสายบุรี และ เขาพอ่ มงิ่ (ความสูง 477 เมตร) เขามะรวด (ความสงู 325 เมตร) ซ่ึงอยใู่ นเขตอาเภอปะนาเระ รูปท่ี 1 แผนทีแ่ สดงภมู ปิ ระเทศจงั หวัดปัตตานี แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภยั จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปตั ตานี

ชุดท่ี ของ ชดุ หน้าท่ี 3 ของ 51 หนา้ 1.1.3 ขอ้ มูลแม่นา้ ลา้ คลองจังหวดั ปตั ตานี แมน่ ้าปัตตานี เป็นแมน่ า้ สายหลกั ของลุ่มน้าปตั ตานี ตน้ น้าเกดิ จากเทือกเขาสันกาลาคีรี ใน บริเวณเขตตดิ ตอ่ ระหวา่ ง อาเภอเบตง จังหวดั ยะลากับประเทศมาเลเซีย แล้วไหลขึน้ ไปทางเหนือในแนวขนาน โดยประมาณกบั เส้นแวงท่ี 101-15 องศาตะวนั ออก ผา่ นพืน้ ท่รี าบระหว่างจงั หวดั ยะลาและจังหวัดปัตตานี ในเขตอาเภอยะรัง อาเภอหนองจิก แล้วไหลลงสู่อ่าวไทยที่บ้านปากน้า อาเภอเมืองปัตตานี จังหวัด ปตั ตานี ต้นน้ามีความลาดชนั สงู และคอ่ ยๆ ลดความลาดชนั ลง ทาให้บริเวณจังหวัดปัตตานีในช่วงฤดูฝนน้าจะ เอ่อท่วมพ้ืนที่สองฝั่งและในช่วงฤดูแล้งมีน้าไม่พอเพียงต่อการเพาะปลูก มีปริมาณน้าท่าเฉล่ียปีละ ประมาณ 5,600 ล้านลูกบาศกเ์ มตร แม่นา้ สายบุรี อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอาเภอเมืองนราธิวาส ครอบคลุมพื้นท่ีรับ น้าฝน 2,710.10 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และ ยะลา โดยที่ แม่น้าสายบุรี เร่ิมต้นจากพรมแดนประเทศไทยและมาเลเซีย ท่ีอาเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไหลไปทาง ทศิ เหนอื ค่อนไปทางทศิ ตะวันตก และวกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านอาเภอจะแนะ อาเภอศรีสาคร อาเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส อาเภอรามัน จังหวัดยะลา และไหลลงอ่าวไทยท่ี อาเภอสายบุรี จังหวัด ปัตตานี มีความยาวลาน้าประมาณ 195 กิโลเมตร มีลาน้าที่สาคัญได้แก่ คลองไอบือแต และคลองสายบุรี สาเหตกุ ารเกดิ น้าทว่ มในลมุ่ นา้ เนื่องจากในแม่น้าสายบุรมี ลี กั ษณะพ้นื ทีล่ ุ่มนา้ เปน็ รปู ยาวตามลานา้ 2 ฝง่ั แม่น้า สายหลักเป็นท่ีราบแคบๆ มีขอบเขตพื้นท่ีรับน้าเป็นแนวภูเขาสูง ความลาดชันของลาน้าบริเวณต้นน้ามีมาก เมื่อมีฝนตกหนักในลุ่มน้าก็จะมีน้าไหลหลากและเอ่อล้นริมตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ อาเภอสุคิริน อาเภอศรีสาคร อาเภอรือเสาะ อาเภอสายบุรี โดยท่วมเป็นระยะเวลาสนั้ ๆ ประมาณ 5-10 วัน กจ็ ะเข้าสูภ่ าวะปกติ คลองทา่ เรอื มีต้นน้าอย่ทู ่บี า้ นน้าเย็น บริเวณเขาลาแมในตาบลปุโละปุโย อาเภอหนองจิก ต่อมากรมชลประทานได้พัฒนาขุดลอกเป็นคลองขนาดใหญ่ ช่ือคลองดีหนึ่ง (D1) และเพิ่มความยาวจนถึง บ้านควนโนรี อาเภอโคกโพธิ์ ปัจจุบันคลองท่าเรือมีความยาว 42 กิโลเมตร ไหลจากทิศใต้ไปทางทิศ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ผ่านอาเภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี ลงสู่ทะเลท่บี ้านท่ายาม อาเภอหนองจิก คลองตุยงหรือคลองหนองจิก ต้นน้าแยกจากแม่น้าปัตตานี ที่ตาบลยาบี อาเภอหนองจิก ไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือผ่านตาบลลิปะสะโง ตาบลตุยง ไหลออกทะเลที่ตาบลบางตาวาในเขต อาเภอหนองจิกเรยี กวา่ คลองบางตาวา ช่วงท่ไี หลผ่านบ้านมะพร้าวต้นเดียว บา้ นตันหยงคลองตยุ ง หรอื คลอง หนองจิก ต้นนา้ แยกจากแม่น้าปตั ตานี ทตี่ าบลยาบี อาเภอหนองจิก ไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือผ่าน ตาบลลิปะสะโง ตาบลตุยง ไหลออกทะเลที่ตาบลบาตาวาในเขตอาเภอหนองจิกเรียกว่า คลองบางตาวา ชว่ งทไ่ี หลผ่านบ้านมะพร้าวต้นเดียว บา้ นตันหยงปุโละ บ้านกาเดาะ บา้ นคลองวัว เรียกว่าคลองตุยง เนื่องจาก นา้ เปลย่ี นทศิ ทางทาให้นา้ เคม็ รุกล้าเขา้ มามากกรมชลประทานต้องทาโครงการป้องกันน้าเค็มโดยสร้างประตู ระบายน้าท่ีบ้านตยุ งป้องกันไวเ้ พอ่ื ให้สามารถใชน้ ้าจืดเพือ่ การเกษตรกรรมได้ นอกจากน้จี ังหวัดปัตตานี ยังมพี นื้ ท่ีลุ่มน้าทมี่ คี วามสาคญั 2 ลุ่มน้า ประกอบด้วย 1) ลุ่มน้าปัตตานี ต้ังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย มีพื้นท่ีลุ่มน้าท้ังส้ิน 3,858 ตาราง กิโลเมตร มีพ้ืนที่ครอบคลุมจังหวัดยะลาและจังหวัดปัตตานี ลักษณะลุ่มน้าเป็นแนวยาว วางตัวอยู่ตามแนว ทิศเหนือ-ใต้ มีต้นกาเนิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรี ในเขตอาเภอเบตง จังหวัดยะลา ไหลจากทิศใต้ข้ึนไป ทางทิศเหนือแล้วไหลลงทะเลอ่าวไทยท่ีอาเภอเมอื งปตั ตานี จงั หวัดปัตตานี พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นป่าเขา มีพ้ืนท่ี ราบเลก็ น้อย ทางตอนลา่ งของล่มุ นา้ เปน็ ท่รี าบลุ่ม มีความยาวลาน้าประมาณ 210 กิโลเมตร มีแม่น้าปัตตานี เปน็ ลาน้าหลกั และมแี มน่ ้ายะหาเปน็ ลาน้าสาขา ในช่วงปลายคลองมีคลองหนองจิกแยกออกจากแมน่ ้าปตั ตานี และมคี ลองเลก็ ๆ อกี มากมาย แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปัตตานี

 ชุดท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 4 ของ 51 หน้า  รปู ที่ 2 แผนทีแ่ สดงลมุ่ น้าจงั หวดั ปัตตานี แผนเผชญิ เหตอุ ุทกภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หนา้ ท่ี 5 ของ 51 หนา้ รปู ท่ี 3 แผน่ ทแี่ สดงการไหลแม่น้าปตั ตานี รูปที่ 4 แสดงความสมั พนั ธ์ของระดับนา้ และระยะเวลาการไหลของน้าในแมน่ า้ ปัตตานี แผนเผชญิ เหตุอทุ กภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปตั ตานี

ชุดที่ ของ ชุด หน้าท่ี 6 ของ 51 หนา้ รูปท่ี 5 แผนผงั แสดงสถานสี ารวจอุทกวทิ ยาลมุ่ นา้ ปตั ตานี แผนเผชญิ เหตุอทุ กภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชุดที่ ของ ชุด หน้าท่ี 7 ของ 51 หนา้ 2) ลมุ่ นา้ สายบรุ ี มีแหลง่ กาเนดิ จากแนวชายแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย จากยอดเขาตา่ งๆของเทอื กเขาสันกาลาคีรีท่ีสาคัญ ได้แก่ เทือกเขาบาตูตาโมง เขาโต๊ะมูเด็ง เขาแคมาแรแต เขาบาเราะมาตอ เขาตีบุ เขากาลอ เขาลจิ อ เขากบู ากลู ิง เขาบาเราะมาตอ เขาน้าค้าง และเขาหินม้า สาหรับ ในเขตประเทศไทยน้ี บรเิ วณตน้ น้าอยูใ่ นเขตอาเภอศรสี าคร อาเภอรือเสาะ และอาเภอสคุ ริ ิน จังหวัดนราธิวาส ซง่ึ ลว้ นแต่ประกอบด้วยภเู ขาและป่าต้นน้า ตอนกลางของลุ่มน้าเป็นพื้นท่ีราบลุ่มอยู่ในเขตอาเภอทุ่งยางแดง อาเภอกะพอ้ จงั หวดั ปัตตานี และอาเภอรามัน จังหวดั ยะลา มอี าณาเขตติดต่อกับพ้ืนท่ีใกล้เคยี ง คือ ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับอ่าวไทย ทศิ ใต้ตดิ ต่อกับประเทศมาเลเชีย ทิศตะวันตกติดกับลุ่มน้าปัตตานีและทิศตะวันออกติดกับ ลุ่มน้าโกลก มีความยาวท้ังส้ินประมาณ 186 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ี 3,205.30 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,003,314 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นท่ีท่ีอยู่ในจังหวัดนราธิวาสร้อยละ 63.13 จังหวัดปัตตานีร้อยละ 21.11 และ จงั หวัดยะลาร้อยละ 15.76 ของพ้ืนท่ีลุ่มน้าท้ังหมด มีพื้นที่ในเขตลุ่มน้าประมาณ 2,892 ตารางกิโลเมตร มีความเร็วของกระแสน้า 2 ระดับ คือ ระดับความเร็วค่อนข้างสูง ซ่ึงพบบริเวณต้นน้าและบริเวณกลางน้า กับกระแสนา้ ท่ีมคี วามเร็วลดลงมา ซ่งึ พบบรเิ วณปลายลานา้ รปู ที่ 6 ลุ่มน้าสายบรุ ี และแมน่ ้าสาขา แผนเผชิญเหตอุ ุทกภยั จงั หวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปัตตานี

ชุดท่ี ของ ชดุ หนา้ ที่ 8 ของ 51 หนา้ รปู ท่ี 9 สถานเี ตอื นภัย (น้าท่า ในลุม่ น้าสายบรุ ี) รูปที่ 10 แสดงความสมั พนั ธ์ของระดบั นา้ และระยะเวลาการไหลของนา้ ในแม่นา้ สายบุรี แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 9 ของ 51 หนา้ รปู ท่ี 11 แผนผงั แสดงสถานสี ารวจอทุ กวิทยาลมุ่ นา้ สายบรุ ี แผนเผชญิ เหตุอทุ กภัยจงั หวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 10 ของ 51 หนา้ 1.1.4 ลกั ษณะภูมิอากาศ จังหวัดปัตตานีอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมท่ีพัดผ่านเป็นประจา คือ ลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวจะมลี มจากทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือซงึ่ เป็นลมเยน็ และแห้ง จากประเทศจีน พัดปกคลมุ ประเทศไทย ทาใหป้ ระเทศไทยตอนบนต้ังแต่ภาคกลางขนึ้ ไป มีอากาศหนาวเย็น และแหง้ แลง้ ท่ัวไป แตภ่ าคใตต้ งั้ แตจ่ งั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ลงไปกลับมีฝนตกชุก เพราะลมมรสมุ นีพ้ ัดผา่ น อ่าวไทยจึงพัดพาเอาไอ นา้ ไปตกเป็นฝนทั่วไปต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไปอากาศจึงไม่หนาวเย็นดังเช่นภาคอื่น ๆ ท่ีอยู่ทางตอนบนของ ประเทศ จงั หวัดปตั ตานีซ่ึงอยู่ทางด้านฝั่งตะวันออกได้รับอิทธิพลของลมน้ีเต็มที่จึงมี ฝนตกอยู่ในเกณฑ์ปาน กลางและมีอากาศเยน็ เป็นครั้งคราวลมมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงพัดผ่านมหาสมุทร อนิ เดยี จึงพาเอาไอน้าและความชมุ่ ช้นื มาสปู่ ระเทศไทยแตเ่ นือ่ งจากเทอื กเขาตะนาวศรี ด้านตะวันตกซึ่งปิดกั้น กระแสลมเอาไว้ จงึ ทาใหบ้ ริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกและจังหวัดปัตตานีมีฝนน้อยกว่า ภาคใต้ฝ่ังตะวันตกซ่ึง เปน็ ดา้ นรับลม อุณหภูมแิ ละความชน้ื สมั พัทธ์ จังหวัดปัตตานีอยู่ใกล้ทะเล ฤดูร้อนมีอากาศไม่ร้อน มากนกั สว่ นฤดหู นาวไมถ่ ึงกบั หนาวจัด อณุ หภูมเิ ฉลยี่ ตลอดปีประมาณ 27.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด เฉลี่ย 31.2 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย 22.6 องศาเซลเซียส เดือนที่มีอากาศร้อนที่สุดคือเดือน พฤษภาคม อุณหภมู ิสูงสุดทว่ี ัดได้ 37.5 องศาเซลเซียส อณุ หภูมติ า่ สุดทว่ี ดั ได้ 17.5 องศาเซลเซียส เน่ืองจาก ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากมรสมุ ทง้ั สอง คอื มรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมทั้งสองชนิดน้ี ก่อนทีจ่ ะพดั เข้าสูบ่ รเิ วณจังหวัดปตั ตานีได้พดั ผา่ นทะเลและ มหาสมทุ รจึงพาเอาไอน้าและความชุ่มช้ืนมาด้วย ทาให้มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ความชื้นสัมพัทธ์เฉล่ียตลอดปีประมาณ 85.9 % ความช้ืนสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย 95% ความช้นื สัมพัทธ์ตา่ สดุ เฉลยี่ 62 % และเคยตรวจความชื้นสมั พทั ธต์ า่ ทส่ี ุดได้ 28 % ในเดอื นมนี าคม ลมมรสุมและลมพายุเขตร้อน ลมมรสุมในจังหวัดปัตตานี มีลมพัดผ่านประจาตลอดท้ังปี โดยในช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงเมษายนเป็นลมทิศตะวันออก ความเร็วลมเฉล่ีย 6 – 11 กม./ชม. และเดือนพฤษภาคมถึง ตลุ าคมเปน็ ลมทิศตะวันตก ความเรว็ เฉลีย่ 6 – 9 กม./ชม. กาลงั ลมสงู สดุ ทเี่ คยตรวจไดด้ งั น้ี ฤดหู นาว กาลงั ลมสงู สดุ 56 กม./ชม. เป็นลมทิศตะวันตกในเดือนพฤศจิกายนและ ทิศตะวันออก ในเดอื นธนั วาคมและมกราคม ฤดูร้อน กาลังลมสงู สดุ 65 กม./ชม. เป็นลมทิศตะวนั ออกคอ่ นไปทางใต้เล็กน้อยใน เดอื นมนี าคม ฤดูฝน กาลังลมสูงสดุ 74 กม./ชม. เป็นลมทิศตะวันตกในเดือนมถิ ุนายน แผนเผชญิ เหตุอุทกภยั จังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปัตตานี

ชุดท่ี ของ ชุด หนา้ ท่ี 11 ของ 51 หนา้ รปู ที่ 12 แสดงลกั ษณะภูมิอากาศจังหวัดปัตตานี 1.1.5 ข้อมลู ประชากร จังหวัดปัตตานีแบ่งหน่วยการปกครองออกเป็น 12 อาเภอ 115 ตาบล 642 หมู่บา้ น โดยมีหนว่ ยการปกครองส่วนท้องถ่ิน ประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง (เทศบาลเมืองปัตตานี และเทศบาลเมืองตะลุบัน) เทศบาลตาบล 15 แห่ง และองค์การบริหารส่วน ตาบล 96 แห่ง แผนเผชิญเหตุอทุ กภัยจังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปตั ตานี

ชดุ ท่ี ของ ชดุ หน้าท่ี 12 ของ 51 หน้า ตารางที่ 1 แสดงจานวนประชากรในแตล่ ะเขตปกครองทอ้ งที่ ประชากร เพศ ชาย หญิง ที่ อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน เทศบาล ชมุ ชน คน ครัวเรอื น 65,762 70,931 33,499 35,301 1. เมอื งปัตตานี 13 66 2 20 136,693 45,564 42,719 39,568 23,458 24,127 2. โคกโพธ์ิ 12 82 3 - 68,800 22,935 47,945 48,139 45,012 45,628 3. หนองจิก 12 76 2 - 82,287 27,740 30,393 31,161 35,047 36,614 4. ปะนาเระ 10 53 2 - 47,585 11,895 12,515 12,965 9,459 9,739 5. ยะรงั 12 72 1 - 96,084 32,020 6,412 6,622 8,697 9,004 6. ยะหรงิ่ 18 81 4 - 90,640 30,213 360,918 369,799 7. มายอ 13 59 1 - 61,554 20,518 8. สายบรุ ี 11 64 2 20 71,661 23,887 9. ทงุ่ ยางแดง 4 23 - - 25,480 8,501 10. กะพอ้ 3 27 - - 19,198 6,399 11. ไมแ้ ก่น 4 17 - - 13,034 4,345 12. แม่ลาน 3 22 - - 17,701 5,901 รวมทัง้ ส้ิน 115 642 17 40 730,717 239,918 ทมี่ า : ศูนย์บรหิ ารการทะเบียน ภาค 9 สาขาจงั หวดั ปัตตานี ขอ้ มลู เดือน มถิ นุ ายน 2565 1.1.6 ชลประทาน (1) จังหวัดปัตตานีมีแหล่งน้าขนาดใหญ่ 1 แห่ง คือ โครงการเข่ือนปัตตานีของ กรมชลประทานซ่ึงเป็นเข่ือนทดน้าเพื่อส่งน้าให้กับพ้ืนที่การเกษตร มีบานระบายน้า จานวน 7 ช่อง ขนาด 7 x 6 เมตร สามารถระบายนา้ สูงสุดได้ 750 ลูกบาศกเ์ มตร/วนิ าที ทาการบรหิ ารจดั การน้ารว่ มกับเข่ือนเก็บ กักน้าบางลางของการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย ท่ีอาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ในการจัดสรรน้าใน ลุม่ น้าเพ่ือการเกษตรการอุปโภค - บริโภค และการรักษาสภาพแวดล้อม ให้กับพื้นท่ีการเกษตรของจังหวัด ปตั ตานี (2) การพฒั นาแหล่งน้าท่ีมอี ย่ใู นปัจจุบนั จงั หวดั ปตั ตานี มกี ารพัฒนาโครงการขนาด ใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเลก็ ประเภทตา่ งๆ จานวนทั้งส้นิ 217 แห่ง สามารถเก็บกักนา้ ได้ 4.53 ล้านลกู บาศก์เมตร พน้ื ที่ชลประทาน 415,467 ไร่ แผนเผชญิ เหตอุ ุทกภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปตั ตานี

ชุดที่ ของ ชดุ หนา้ ท่ี 13 ของ 51 หน้า ตารางที่ 2 แสดงขอ้ มลู โครงการชลประทานท่มี ีอย่ใู นปัจจบุ นั จังหวดั ปตั ตานี ประเภท ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเลก็ รวม 1.อ่างเก็บนา้ - จานวน 11 11 - ความจุ (ล้านลบ.ม.) 1.10 1.10 - พื้นทช่ี ลประทาน 4,700 4,700 2. แก้มลิง - จานวน 6 6 - ความจุ (ลา้ นลบ.ม.) 3.10 3.10 - พนื้ ที่ชลประทาน 800 800 3. ฝาย - จานวน 36 36 - พน้ื ทีช่ ลประทาน 500 500 4.ประตรู ะบายน้า 11 3 5 - จานวน 394,767 - พนื้ ทีช่ ลประทาน 385,622 7,445.00 1,700.00 5.สถานีสบู น้า 11 11 8,700 - จานวน 8,700 - พืน้ ทช่ี ลประทาน 35 6. ระบบสง่ น้า 35 9,944 9,944 - จานวน 9 - พื้นทช่ี ลประทาน 9 - 7. ระบบระบายนา้ - 104 - จานวน 104 0.33 - พื้นทช่ี ลประทาน 0.33 6,000 8. อื่นๆ 6,000 - จานวน - ความจุ (ลา้ นลบ.ม.) - พ้ืนทชี่ ลประทาน แผนเผชิญเหตอุ ุทกภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าท่ี 14 ของ 51 หน้า ประเภท ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเลก็ รวม รวมทุกประเภท - จานวน 1 1 215 217 - ความจุ (ลา้ นลบ.ม.) - - 4.53 4.53 - พ้ืนท่ีชลประทาน 385,622 7,445 22,400 415,467 ท่มี า : กรมชลประทาน จังหวัดปัตตานีมีการสร้างแหล่งน้าผิวดินขนาดเล็กเพื่อการเกษตรทั้งหมดรวม 117 จุด โดยสานกั งานพฒั นาท่ีดินได้ดาเนินการรวม 111 จุด ในพื้นที่ อาเภอยะรัง 30 จุด อาเภอเมืองปัตตานี 19 จดุ อาเภอโคกโพธิ์ 15 จุด อาเภอหนองจกิ 15 จดุ อาเภอยะหร่งิ 14 จดุ อาเภอแม่ลาน 8 จุด อาเภอมายอ 4 จุด อาเภอสายบรุ ี 1 จดุ อาเภอกะพอ้ 2 จุด และอาเภอทงุ่ ยางแดง 3 จดุ และโครงการชลประทานปัตตานี ได้ดาเนินการโครงการชลประทานขนาดเล็กรวม 6 จุด ไดแ้ ก่ - อ่างเกบ็ น้าปหุ รน ตาบลทรายขาว อาเภอโคกโพธ์ิ - อา่ งเก็บน้าบา้ นละฮา (ระยะท่ี 1) ตาบลเมาะมาวี อาเภอยะรงั - อ่างเก็บน้าคลองเตราะหกั ตาบลบ้านนา้ บอ่ อาเภอปะนาเระ - อ่างเก็บนา้ บ้านนาหว้า ตาบลทงุ่ คลา้ อาเภอสายบรุ ี - อ่างเกบ็ น้าบา้ นกะลาพอ ตาบลเตราะบอน อาเภอสายบรุ ี - อา่ งเกบ็ นา้ บ้านโลทู ตาบลปล่องหอย อาเภอกะพ้อ พ้ืนทีช่ ลประทานครอบคลุม 9 อาเภอ 52 ตาบล ได้แก่ อาเภอเมอื งปตั ตานี อาเภอหนองจิก อาเภอโคกโพธ์ิ อาเภอยะรัง อาเภอยะหริง่ อาเภอแมล่ าน อาเภอปะนาเระ อาเภอมายอและอาเภอสายบุรี ดังนี้ อาเภอเมืองปัตตานี ในพ้นื ท่ี 1 ตาบล ไดแ้ ก่ ปะกาฮะรัง อาเภอหนองจกิ ในพนื้ ที่ 11 ตาบล ได้แก่ บางเขา ทา่ กาชา ดอนรัก ยาบี ลปิ ะสะโง ตยุ ง บอ่ ทอง เกาะเปาะ บางตาวา ดาโต๊ะ คอลอตันหยง อาเภอโคกโพธิ์ ในพื้นที่ 5 ตาบล ไดแ้ ก่ ท่าเรอื บางโกระ มะกรดู นาเกตุ ควนโนรี อาเภอยะรงั ในพ้ืนท่ี 5 ตาบล ไดแ้ ก่ กอลา คลองใหม่ ปิตมู ดุ ี กระโด เมาะมาวี อาเภอยะหรงิ่ ในพน้ื ที่ 5 ตาบล ได้แก่ บาโลย ตอหลัง สาบัน ตนั หยงดาลอ ตนั หยงจงึ งา อาเภอแม่ลาน ในพ้นื ท่ี 2 ตาบล ไดแ้ ก่ ม่วงเตยี้ ปา่ ไร่ อาเภอปะนาเระ ในพื้นท่ี 9 ตาบล ได้แก่ พอ่ มิ่ง บ้านนา้ บอ่ บา้ นกลาง คอกกระบือ ทา่ นา้ ท่าขา้ ม บา้ นนอก ดอน ควน อาเภอมายอ ในพน้ื ที่ 13 ตาบล ได้แก่ กระเสาะ ลางา สะกา ลโุ บะยไิ ร กระหวะ ถนน สะกา อาเภอสายบุรี มายอ ปานนั สาคอใต้ เกาะจัน ตรงั กระโด ในพืน้ ท่ี 1 ตาบล ไดแ้ ก่ บางเกา่ แผนเผชิญเหตอุ ุทกภัยจงั หวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปตั ตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าท่ี 15 ของ 51 หนา้ รูปท่ี 13 แสดงท่ตี ัง้ ด้านชลประทานจงั หวดั ปัตตานี แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชุดท่ี ของ ชุด หนา้ ท่ี 16 ของ 51 หนา้ 1.2 สถานการณ์เฉพาะ 1.2.1 สถานการณอ์ ทุ กภยั ในพน้ื ท่ี สภาพการเกดิ อุทกภยั ในจังหวดั ปตั ตานีแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1) อุทกภัยท่ีเกิดในบริเวณพ้ืนที่ลุ่มน้าตอนบนและลาน้าสาขาต่าง ๆ เกิดจากการที่มีฝนตก หนกั และน้าป่าไหลหลากจากต้นน้าลงมามากจนลาน้าสายหลักไม่สามารถระบายน้าได้ทัน ประกอบกับมีสิ่ง กีดขวางจากเสน้ ทางคมนาคมขวางทางน้า และมอี าคารระบายนา้ ไมเ่ พียงพอ 2) อุทกภัยที่เกิดในพ้ืนท่ีราบลุ่ม เกิดบริเวณที่เป็นพ้ืนที่ราบลุ่มและแม่น้าสายหลักตื้นเขิน มคี วามสามารถระบายน้าไมเ่ พยี งพอ ทาให้ไมส่ ามารถระบายน้าลงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ พ้ืนที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ในพ้ืนที่จังหวัดปัตตานีแยกเป็นพื้นท่ีเสี่ยงที่ตั้งอยู่ ตามลมุ่ นา้ หลกั 2 สาย คือ ลมุ่ น้าปัตตานี และล่มุ นา้ สายบรุ ี (1) ลุ่มน้าปัตตานี โดยพื้นที่เส่ียงเกิดอุทกภัยบริเวณลุ่มน้าปัตตานี มีจานวน 5 อาเภอ 42 ตาบล ได้แก่ อาเภอยะรัง อาเภอแม่ลาน อาเภอเมืองปัตตานี อาเภอโคกโพธ์ิ และอาเภอ หนองจิก ผลกระทบเกิดจากปญั หาน้าท่วมหลากจากเทอื กเขาสันกาลาครี ีสู่แม่นา้ ปัตตานี มีพ้ืนที่เส่ียงน้าท่วม 50,700 ไร่ มีครัวเรอื นได้รบั ผลกระทบจานวน 14,000 ครวั เรอื น (2) ลุ่มน้าสายบุรี โดยพ้ืนที่เส่ียงเกิดอุทกภัยจากสาเหตุน้าหลากจากเทือกเขา สันกาลาคีรี สู่แม่น้าสายบุรี ทาให้พบปัญหาน้าท่วมหลากในพ้ืนที่อาเภอทุ่งยางแดง อาเภอมายอ อาเภอ ปะนาเระ อาเภอกะพอ้ และอาเภอสายบรุ ี มีพืน้ ที่เสยี่ งนา้ ทว่ ม 56,600 ไร่ จานวนครัวเรอื นท่ีได้รับผลกระทบ จานวน 16,500 ครัวเรือน 1.2.2 พ้ืนที่เสี่ยงที่อาจได้รับผลกระทบ แยกเป็น พ้ืนท่ีเศรษฐกิจ พ้ืนท่ีชุมชน พื้นท่ีการเกษตร (พชื ประมง ปศสุ ัตว์) ศาสนสถาน โรงเรยี น โรงพยาบาล สถานที่ราชการ นคิ มอุตสาหกรรม เป็นตน้ (1) พนื้ ทเ่ี ศรษฐกิจ เปน็ พ้ืนทเี่ สย่ี งนา้ ทว่ มลน้ ตลิ่งในเขตอาเภอเมอื งปัตตานี ได้แก่ - ชมุ ชนรมิ คลอง ชมุ ชนวงั เกา่ ชุมชนวอกะหเ์ จะหะ ชมุ ชนตะลโุ บะ ตาบลจะบังตกิ อ - ชุมชนอาเนาะรู ชุมชนอาเนาะซูงา ชุมชนหัวตลาด ชุมชนคลองช้าง ชุมชนตลาด เทศววิ ฒั น์ ตาบลอาเนาะรู - ชมุ ชนสะบารงั ชุมชนโรงอ่าง ชุมชนบือตงิ หะยีแม ชุมชนบิงติงตันหยง ตาบลสะบารงั (2) โรงพยาบาล ทมี่ ีความเสีย่ งทจี่ ะได้รบั ผลกระทบ ได้แก่ - โรงพยาบาลโคกโพธ์ิ หมู่ที่ 3 ตาบลมะกรดู - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบางโกระ หมู่ 2 ตาบลโคกโพธ์ิ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบา้ นสามยอด หมู่ 8 ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ - โรงพยาบาลหนองจกิ หมู่ที่ 2 ตาบลตุยง อาเภอหนองจกิ - โรงพยาบาลยะหร่ิง หมทู่ ่ี 2 ตาบลยามู อาเภอยะหรง่ิ (3) พ้ืนทเ่ี สีย่ งด้านการเกษตร (พืช ประมง ปศุสัตว)์ ที่อาจไดร้ ับผลกระทบ - พ้ืนทีท่ ี่มีโอกาสเกดิ น้าท่วมในพืน้ ท่ีทาการเกษตร จานวน 11 อาเภอ 105 ตาบล - พื้นท่ีที่มโี อกาสเกดิ ฝนทิง้ ช่วงในพื้นที่ทาการเกษตร จานวน 12 อาเภอ 100 ตาบล แผนเผชิญเหตอุ ุทกภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หน้าที่ 17 ของ 51 หนา้ 1.2.3 การเตอื นภยั นา้ ทว่ มเมืองปตั ตานี จังหวดั ปตั ตานี การเตือนภัยน้าท่วมเมืองปัตตานี ใช้ข้อมูลอุทกวิทยาจากสถานีวัดระดับน้า X.40B ท้าย เขือ่ นปตั ตานี อาเภอเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา ซ่ึงอยู่เหนือเมอื งปัตตานี ประมาณ 29 กิโลเมตร ตามลาน้า กับ สถานี X.10A บรเิ วณสะพานเดชานุชติ อาเภอเมอื งปัตตานี จงั หวัดปัตตานี เม่ือระดับน้าท่ีสถานีวัดระดับน้า X.40B มีระดับเกินกว่า 11.00 เมตร ในอีก 25 - 27 ชวั่ โมงถัดมา ระดบั นา้ ทส่ี ถานีวดั ระดบั น้า X.10A กจ็ ะสงู ถึงระดับ 1.15 เมตร เช่นกัน ซ่ึงเป็นระดับท่ีน้าเต็ม ตลงิ่ และเริ่มไหลเข้าทว่ มพื้นท่ฝี ัง่ ซ้ายของเมืองปตั ตานบี ริเวณในเขตเทศบาลเมอื งปตั ตานีบางส่วน เม่ือระดับน้าที่สถานีวัดระดับน้า X.40B มีระดับเกินกว่า 11.80 เมตร ในอีก 39 - 41 ชว่ั โมงถัดมา ระดบั นา้ ท่ีสถานีวดั ระดบั นา้ X.10A ก็จะสงู ถึงระดบั 1.35 เมตร เช่นกัน ซึ่งเป็นระดับท่ีน้าเต็ม ตล่ิง และเรม่ิ ไหลเขา้ ท่วมพื้นทฝ่ี ง่ั ขวาของเมอื งปัตตานี บริเวณในเขตเทศบาลเมืองปัตตานบี างส่วน ตารางที่ 3 แสดงน้าฝนเฉลี่ยรายเดือนของจงั หวดั ปตั ตานี ปี 2562 – 2564 ปรมิ าณน้าฝนรายเดือน – มลิ ลเิ มตร ปี /เดอื น ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค 2562 208.27 30.23 1.72 19.98 144.23 209.32 128.22 91.75 151.5 210.95 223.93 112.78 2563 10.06 45.93 13.2 81.63 126.05 225.6 176.25 167.7 144.6 119 400.1 521.5 2564 127.6 6.4 69.6 50.6 203.2 69.2 139.1 140.2 161.9 139.9 301.8 197.3 ทีม่ า : สถานอี ตุ ุนยิ มวิทยาปัตตานี 1.2.4 สถติ ิการเกิดอุทกภยั ในรอบ 3 ปที ผ่ี ่านมา อทุ กภัย (Flood) ทีเ่ กดิ ข้ึนในพ้ืนท่ีจงั หวัดปัตตานี เป็นสาธารณภัยทเี่ กิดจากฝนตกหนักและ เกิดฝนตกสะสมเป็นเวลานาน ส่งผลใหเ้ กิดน้าป่าไหลหลาก น้าเอ่อล้นตลิ่ง ทาความเสียหายให้แก่บ้านเรือน และทรพั ย์สนิ ของประชาชนเปน็ จานวนมาก จังหวดั ปตั ตานี มสี ถิติการเกิดอุทกภยั ระหว่างปี ๒๕62 – ๒๕๖5 มีพ้ืนท่ีได้รับความเสียหาย/ได้รับผลกระทบ มูลค่าความเสียหายในด้านต่างๆ เช่น สิ่งสาธารณูปโภค ศาสน สถาน โรงเรียน ฯลฯ ความเสยี หายด้านชีวิต ทรพั ย์สนิ ตารางที่ 4 สถิตกิ ารเกิดอุทกภยั จงั หวดั ปัตตานีทผ่ี า่ นมา ปี พ.ศ. จา้ นวนครัวเรอื น จ้านวนอา้ เภอท่ี จ้านวนผเู้ สยี ชีวิต จา้ นวนผูบ้ าดเจ็บ มลู คา่ ความเสยี หาย ทปี่ ระสบภัย ประสบภัย (คน) (คน) (บาท) 2562 14,430 5 - - 7,477,720.25 2563 21,243 8 3 1 51,616,739.34 2564 ไม่มีสถานการณอ์ ุทกภยั ในพื้นที่ 2565 1 12 2 - 38,170,338.03 ท่มี า : สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปตั ตานี **ปี 2565 เกดิ สถานการณ์อุทกภัยเมอ่ื วนั ท่ี 24 กมุ ภาพันธ์ – 21 มีนาคม 2565 แผนเผชญิ เหตุอทุ กภยั จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปตั ตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าที่ 18 ของ 51 หน้า 2. ภารกจิ กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปตั ตานี มีผวู้ ่าราชการจังหวัดปัตตานี เป็นผู้อานวยการจังหวัด ในการบัญชาการเหตุการณ์อุทกภัย เพ่ือควบคุมแก้ไขปัญหา การสั่งการ วางแผน ระดมสรรพกาลัง โดยการจัดต้ังศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดแบ่งตามโซนพื้นท่ี และมอบหมาย รองผู้ว่าราชการจงั หวัด 3 ท่าน และกาหนดมาตรการแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ให้มีความกระชับ และชัดเจน และบูรณาการความช่วยเหลือจากหน่วยงานข้างเคียง เม่ือประเมินว่าไม่สามารถควบคุม สถานการณ์ ดังนี้ 2.๑ การปกป้องพื้นท่ีเศรษฐกิจ พ้ืนท่ีอุตสาหกรรม พื้นท่ีการเกษตร พ้ืนที่ส้าคัญของ จังหวดั รวมทงั้ การปกปอ้ งดแู ลชีวิตและทรพั ยส์ นิ ที่ การดาเนินงาน ภารกิจ หนว่ ยงานรับผิดชอบ 1 การปกปอ้ งพนื้ ท่ี สารวจและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการ - องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดปตั ตานี เศรษฐกจิ ปกป้องพื้นท่ีเศรษฐกิจ เช่น เช่น ขุดลอก -สานักงานโยธาธิการและผังเมือง ท่อระบายน้า ดูดเลน ทาความสะอาดร่อง จังหวดั ปตั ตานี น้า เพื่อกาจัดส่ิงกีดขวางออกจากทาง - โครงการชลประทานปตั ตานี ระบายน้า และสามารถรองรับน้าฝนท่ีตก - โครงการส่งน้าและบารุงรักษา ลงมาได้ พร้อมทั้งพิจารณาติดตั้งเครื่อง ปัตตานี สูบนา้ การทาแนวปอ้ งกนั การระบายนา้ เข้าท่งุ - แขวงทางหลวงปัตตานี ในกรณจี าเป็นการสบู นา้ การวางกระสอบทราย - แขวงทางหลวงชนบทปัตตานี การอพยพ การขนย้ายสิ่งของ ฯลฯ และจัด - มณฑลทหารบกที่ 46 เจ้าหนา้ ทปี่ ระจาจุดเส่ียงเพ่ือเฝา้ ระวัง และ - กรมทหารราบท่ี 15 แก้ไขปญั หาตลอดฤดฝู น - สานักงานป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั ปัตตานี - อาเภอ - องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในพื้นท่ี - อปพร. จติ อาสา 2 การปกปอ้ งพ้นื ที่ สารวจและเตรยี มความพร้อมด้านการ - สานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัด อตุ สาหกรรม ปกป้องพืน้ ท่อี ุตสาหกรรม เช่น ขุดลอกท่อ ปัตตานี ระบายน้า ดูดเลน ทาความสะอาดร่องน้า - โครงการชลประทานปัตตานี เพ่ือกาจัดสงิ่ กีดขวางออกจากทางระบายน้า - โครงการส่งน้าและบารุงรักษา และสามารถรองรับน้าฝนท่ีตกลงมาได้ ปัตตานี พร้อมท้ังพิจารณาติดต้ังเคร่ืองสูบน้า - สานกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง การทาแนวป้องกนั การระบายน้าเขา้ ทุ่งในกรณี จงั หวัดปตั ตานี จาเป็น การสูบน้า การวางกระสอบทราย - สานักงานป้องกนั และบรรเทา การอพยพ การขนย้ายสิ่งของ ฯลฯ และจัด สาธารณภัยจงั หวัดปัตตานี เจา้ หนา้ ที่ประจาจดุ เส่ียงเพือ่ เฝา้ ระวัง และ - องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ปัตตานี แก้ไขปัญหาตลอดฤดูฝน - มณฑลทหารบกท่ี 46 - กรมทหารราบท่ี 1 แผนเผชิญเหตุอทุ กภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปัตตานี

ชุดที่ ของ ชุด หนา้ ท่ี 19 ของ 51 หน้า ที่ การดาเนินงาน ภารกิจ หน่วยงานรบั ผิดชอบ - อาเภอ - องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในพ้นื ที่ 3 การปกปอ้ ง สารวจและเตรียมความพร้อมดา้ นการ - สานกั งานเกษตรและสหกรณ์ พืน้ ที่การเกษตร ปกป้องพ้นื ที่การเกษตร เชน่ จดุ ติดต้งั เครื่อง จงั หวัดปัตตานี สบู ระบายนา้ การเปิดทางน้า ลอก คู คลอง - สานักงานเกษตรจงั หวัดปัตตานี การทาแนวป้องกัน การระบายน้าเข้าทุ่งในกรณี - สานกั งานประมงจงั หวัดปัตตานี จาเป็น การสูบน้า การวางกระสอบทราย การ - สานกั งานปศสุ ตั ว์จังหวดั ปัตตานี อพยพสัตว์เล้ียง ขนย้ายสิ่งของ อุปกรณ์ - โครงการชลประทานปตั ตานี เครือ่ งมือการเกษตร ฯลฯ - โครงการส่งน้าและบารุงรักษา ปตั ตานี - องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ปัตตานี - สานักงานโยธาธิการและผังเมือง จงั หวัดปัตตานี - สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมจงั หวัดปัตตานี - แขวงทางหลวงปัตตานี - แขวงทางหลวงชนบทปัตตานี - มณฑลทหารบกที่ 46 - กรมทหารราบที่ 15 - อาเภอ - องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในพื้นท่ี - อปพร. จติ อาสา 2.2 การปกป้องดแู ล ชีวิต และทรพั ยส์ ิน (หนว่ ยงานดา้ นความมัน่ คง) - เพ่ิมประสทิ ธิภาพการระบายน้าในพน้ื ที่เขตชมุ ชน เสน้ ทางคมนาคมสายหลักทม่ี กั เกดิ ปัญหา น้าท่วมขงั เม่ือฝนตกหนัก โดยขดุ ลอกทอ่ ระบายนา้ ดูดเลน ทาความสะอาดร่องน้า เพื่อกาจัดสิ่งกีดขวางออก จากทางระบายน้า และสามารถรองรับน้าฝนทตี่ กลงมาได้ พรอ้ มทง้ั พจิ ารณาตดิ ตง้ั เครอื่ งสบู นา้ และเจ้าหน้าที่ ประจาจุดเส่ียงเพอื่ เฝา้ ระวงั และแกไ้ ขปัญหาตลอดฤดูฝน - เพ่มิ พื้นที่รองรับน้า โดยการเร่งกาจัดวัชพืช ขยะ ตลอดจนสิ่งกีดขวางทางน้าอื่น ๆ ในคู คลอง แหลง่ น้าตา่ ง ๆ โดยเฉพาะท่ีเป็นเส้นทางระบายนา้ ลงสแู่ มน่ า้ สายต่าง ๆ เพอื่ ใหค้ ู คลอง แหล่งนา้ ตา่ ง ๆ สามารถรบั น้าฝน และน้าจากท่อระบายนา้ ได้อย่างเตม็ ประสิทธภิ าพ และให้พิจารณากาหนดจุดติดตั้งเครื่องผลักดันน้า เพ่ือช่วยพรอ่ งน้า หรอื เรง่ ระบายน้าตามความเหมาะสมกบั สภาพพนื้ ท่ี - มอบหมายองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และหน่วยงานที่เป็นเจ้าของอ่างเก็บน้าขนาดเล็ก ตรวจสอบความมนั่ คงแข็งแรง พร้อมทั้งประสานหน่วยงานของกรมชลประทาน หรือหน่วยงานทางวิชาการ ที่มีความเช่ียวชาญรว่ มตรวจสอบ และหากพบความผดิ ปกติ ใหเ้ ร่งปรบั ปรุงแก้ไขโดยทันที แผนเผชิญเหตุอุทกภยั จังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชุดท่ี ของ ชดุ หนา้ ท่ี 20 ของ 51 หนา้ - ประชาสัมพันธเ์ ชิงรุกเพ่ือสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน โดยสร้างความตระหนัก ในการเตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์อุทกภัยในช่วงฤดูฝน พร้อมทั้งรณรงค์ให้ประชาชนที่อาศัย รมิ คู คลอง แมน่ ้า มีส่วนรว่ มรักษาสภาพแวดล้อมบริเวณท่อี ยู่อาศัยโดยการไม่ทิ้งขยะลงแหล่งนา้ 3 หลักการปฏิบัติ แนวทางในการปฏิบัติ 3.1 เจตนารมณ/์ แนวทาง/กลยทุ ธข์ องจังหวัด เพ่ือให้หน่วยงานระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นาไปปฏบิ ตั ิเพ่อื ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธใิ์ นการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาอุทกภยั (1) ยดึ หลักการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัย โดยดาเนินการต้ังแต่ช่วงก่อนเกิดภัย ในการป้องกนั และลดผลกระทบจากอุทกภัย ทง้ั ท่เี ป็นโครงสรา้ งและไม่ใช้โครงสรา้ ง พรอ้ มท้งั ดาเนินการเตรยี ม ความพร้อมของบคุ ลากร เครอื่ งมอื วสั ดอุ ปุ กรณ์ และทรพั ยากรทกุ ด้านทจี่ ะรับมือกับอทุ กภยั ท่ีอาจจะเกิดขนึ้ (2) ยึดหลักการจัดการฉุกเฉิน ตามกฎหมายและแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ตลอดจนระเบียบ กฎหมายอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยนาระบบการบัญชาการเหตุการณ์มาใช้ในการ ปฏิบัติการเผชิญเหตุอุทกภัย เพื่อให้การเผชิญเหตุอุทกภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็ว และทันต่อ เหตุการณ์ (3) ยึดหลักความเป็นเอกภาพ ให้มีองค์กรปฏิบัติรับผิดชอบการจัดการในภาวะ ฉกุ เฉินในแต่ละระดับอย่างชดั เจน ตัง้ แต่ระดับท้องถนิ่ จนถงึ ระดับจังหวัด (4) ให้ถือว่าการรักษาชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นเรื่องสาคัญเร่งด่วน อันดบั แรกที่ต้องเข้าระงบั และให้ความช่วยเหลอื โดยเรว็ 3.2 ขอบเขตสาธารณภัย “สาธารณภยั ” ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 หมายถงึ อคั คภี ัย วาตภัย อุทกภัย ภยั แลง้ โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ การระบาดของ ศตั รพู ืช ตลอดจนภัยอนื่ ๆ อันมผี ลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาใหเ้ กิด อุบัตเิ หตุหรือ เหตุอ่นื ใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายแกช่ ีวิต รา่ งกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรอื ของรฐั และให้หมายความรวมถงึ ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย “อุทกภัย” หมายถึง เหตุการณ์ท่ีมีน้าท่วมพื้นดินสูงกว่าระดับปกติ ซ่ึงมีสาเหตุมา จากมปี รมิ าณน้าฝนมากจนทาใหม้ ีปรมิ าณนา้ ส่วนเกินมาเตมิ ปรมิ าณน้าผิวดินท่มี ีอย่ตู ามสภาพปกติ จนเกินขีด ความสามารถการระบายนา้ ของแมน่ ้า ลาคลอง และยังมีสาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์ โดยการปิดก้ัน การไหลของน้าตามธรรมชาติ ทั้งเจตนาและไม่เจตนา จนเป็นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชนและ สงิ่ แวดล้อม เมือ่ เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภยั ขึน้ กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแต่ละ ระดับจะจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการภาวะฉุกเฉินเพ่ือรับผิดชอบในการจัดการสาธารณภัยในพ้ืนท่ี วางแผนและบรู ณาการหนว่ ยงานต่าง ๆ ในพน้ื ท่ี ให้มสี ่วนร่วมในการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกันและรบั มือกับเหตุสาธารณภัย ทเี่ กิดขึ้น แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภัยจังหวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชุดที่ ของ ชดุ หน้าที่ 21 ของ 51 หน้า 4 การปฏบิ ัติ 4.1 ในภาวะปกติ ด้าเนินการลดความเส่ียงจากอทุ กภัย ดังนี้ 4.1.1 แนวทางปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกันและลดผลกระทบ (1) ให้แขวงทางหลวงปตั ตานี แขวงทางหลวงชนบทปัตตานี โครงการชลประทาน ปัตตานี โครงการส่งน้าและบารุงรักษาปัตตานี อาเภอทุกอาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่ง ตรวจสอบพนื้ ทีเ่ สยี่ งตอ่ การเกดิ อุทกภยั และวางแนวทางการแก้ไขปญั หาอยา่ งเป็นระบบ โดยเฉพาะในพน้ื ทเี่ ขต ชุมชน เส้นทางคมนาคมสายหลัก ที่มกั เกิดปญั หาน้าท่วมขงั เมอ่ื เกดิ ฝนตกหนัก เช่น การขุดลอกท่อระบายน้า การทาความสะอาดรอ่ งน้า เปน็ ต้น เพ่ือกาจดั สง่ิ กดี ขวางออกจากทางระบายน้า และสามารถรองรบั น้าฝนที่ตก ลงมาได้ (2) ใหโ้ ครงการชลประทานปัตตานี โครงการสง่ น้าและบารุงรกั ษาปัตตานี สานักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดปัตตานี สานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาปัตตานี อาเภอทุกอาเภอ และองค์กร ปกครองสวนทอ้ งถ่นิ ทกุ แหง่ ตรวจสอบพืน้ ทีเ่ ฝ้าระวงั หรอื พืน้ ท่ีเสยี่ งต่ออุทกภัยในช่วงฤดูฝน เตรียมมาตรการ ความพร้อมของระบบการระบายนา้ เพิม่ ประสิทธิภาพ คู คลอง แหล่งนา้ ต่างๆ ในการใช้เป็นพ้ืนที่รองรับน้า และการช่วยระบายนา้ โดยการกาจัดวชั พชื ขยะ ตลอดจนสง่ิ กดี ขวางทางน้าอ่ืน เพ่ือให้สามารถรองรับน้าฝน และน้าจากทอ่ ระบายน้าไดอ้ ยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ (3) ให้โครงการชลประทานปัตตานี โครงการส่งน้าและบารุงรักษาปัตตานี สานกั งานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาปัตตานี อาเภอทุกอาเภอ และองค์กรปกครองสวนท้องถ่ินทุกแห่ง ตรวจสอบ ความม่ันคงแข็งแรงของประตูระบายน้า โดยให้ประสานหน่วยงานทางวิชาการที่มีความเช่ียวชาญร่วม ตรวจสอบ หากพบความผดิ ปกติ ใหเ้ รง่ แก้ไขโดยทนั ที 4.1.2 แนวทางปฏบิ ตั ิในการเตรียมความพรอ้ มทรัพยากร ให้ทุกหนว่ ยงานเตรยี มความพร้อมของบุคลากร เคร่ืองจักรกลสาธารณภัย ให้มีความ พรอ้ มในการเผชิญเหตตุ ลอด 24 ชว่ั โมง และใหพ้ จิ ารณาตดิ ต้งั เครอ่ื งสูบน้า เจ้าหน้าที่ประจาจุดเสี่ยงเพ่ือเฝ้า ระวงั และแกไ้ ขปัญหาตลอดฤดูฝน 4.1.3 แนวทางปฏบิ ัตติ ามกระบวนการแจง้ เตอื น ระดับการแจ้งเตือนภัย ไดแ้ ก่ (1) ระดบั การแจ้งเตอื นภัย มคี วามหมายของสีในการเตอื นภยั ดังนี้ สแี ดง หมายถงึ สถานการณ์อยใู่ นภาวะอันตรายสูงสุด ให้อาศัยอยู่แต่ในสถานท่ี ปลอดภัย และปฏิบัตติ ามข้อส่ังการ สีสม้ หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายสูง เจ้าหน้าท่ีกาลังควบคุม สถานการณ์ใหอ้ พยพไปยงั สถานทปี่ ลอดภัย และปฏิบตั ิตามแนวทางท่ีกาหนด สีเหลอื ง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย มีแนวโน้มที่สถานการณ์จะ รุนแรงมากข้ึน ให้จัดเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์และปฏิบัติตาม คาแนะนา สนี า้ เงิน หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเฝ้าระวัง ให้ติดตามข้อมูลข่าวสารอย่าง ใกล้ชดิ ทุก ๆ 24 ชว่ั โมง สเี ขียว หมายถงึ สถานการณ์อยูใ่ นภาวะปกติ ใหต้ ิดตามขอ้ มูลขา่ วสารเป็นประจา แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หน้าท่ี 22 ของ 51 หน้า (2) การแจง้ เตือนภัยระดบั จังหวัด แจง้ เตอื นภยั ผ่านระบบเครือข่าย ระบบสื่อสาร และ สื่อประชาสัมพันธ์ของทางราชการและเอกชน เช่น สถานีวิทยุกระจายเสียง วิทยุสื่อสาร โทรศัพท์ โทรสาร เวปไซต์ของสว่ นราชการตา่ งๆ เป็นตน้ (3) การแจ้งเตือนระดับอาเภอ แจ้งเตือนผ่านระบบเครือข่าย ระบบส่ือสารและ ส่อื ประชาสมั พันธข์ องทางราชการและเอกชน เชน่ สถานวี ิทยุชมุ ชน วิทยุสอ่ื สาร โทรศัพท์ โทรสาร เป็นตน้ (4) การแจ้งเตือนภัยระดับตาบล/หมู่บ้าน แจ้งเตือนโดยอาสาสมัคร และเครือข่าย เฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยระดับชุมชน โดยใช้ระบบส่ือสารหรือเคร่ืองมือแจ้งเตือนภัยของชุมชน เช่น เสียงตามสาย วิทยุ หอกระจายข่าว ไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน โทรโข่ง นกหวีด หรือสัญญาณเสียงที่ กาหนดให้เป็นสัญญาณเตอื นภยั ประจาหมูบ่ ้านหรือตาบล กระบวนการแจ้งเตอื นภยั ประกอบด้วย (1) การเฝ้าระวัง ให้ส่วนอานวยการของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี ดาเนนิ การตดิ ตามสถานการณ์ ตดิ ตามขอ้ มลู ความเคล่อื นไหวของเหตุการณท์ อี่ าจสง่ ผลใหเ้ กิดอุทกภัย โดยให้มี การเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ตลอด 24 ชั่วโมง ให้ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วมของศูนย์บัญชาการ เหตกุ ารณ์จังหวดั ปัตตานี ให้ขอ้ มูลและข่าวสารท่ีถูกต้องและเหมาะสมตลอดจนให้ข้อแนะนาการปฏิบัติตนที่ ปลอดภัยแก่ประชาชน โดยให้มีการประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดเตรียม จัดหาอุปกรณ์ และ เครือ่ งมอื ส่อื สารสาหรบั เชื่อมกบั ระบบสอ่ื สารใหเ้ พียงพอและสามารถใชง้ านได้ตลอดเวลา (2) การแจ้งเตือนล่วงหน้า เมื่อมีข้อมูลบ่งชี้ว่ามีแนวโน้มที่จะเกิดอุทกภัยข้ึนในพ้ืนที่ เสย่ี งภัยให้ส่วนอานวยการของศูนย์บัญชาการเหตกุ ารณ์จงั หวัดปัตตานี แจ้งไปยังส่วนราชการ หน่วยงานต่างๆ อาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้ติดตามสถานการณ์ ข้อมูลข่าวสาร และความเคล่ือนไหวต่อเนื่อง และให้หนว่ ยงานท่ไี ดร้ ับแจง้ ดาเนินการรายงานติดตามข้อมูลข่าวสารให้กองอานวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจงั หวัดปัตตานีทราบโดยเรว็ ท้งั นี้ ใหม้ ีการแจง้ เตอื นลว่ งหน้ากอ่ นเกิดอุทกภัย เว้นแต่มีเหตุจาเป็น ให้แจ้งเตือนล่วงหน้าโดยเร็วที่สุดเท่าที่สามารถจะทาได้ และให้ศูนย์ประชาสัมพันธ์ร่วมกับศูนย์บัญชาการ เหตุการณจ์ ังหวดั ปตั ตานี จัดวางแนวทาง มาตรการ และข้ันตอนปฏิบัติร่วมกับส่วนอานวยการซ่ึงมีหน้าท่ีใน การเฝ้าระวังตดิ ตามสถานการณ์ ทาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แจกจ่ายข้อมูลข่างสาร เพ่ือให้การแจ้งเตือน ล่วงหนา้ ลงไปสู่การรับรูข้ องประชาชนได้อย่างถูกตอ้ ง รวดเร็วและท่ัวถงึ (3) การแจ้งเตือนภัย เม่ือได้รับข้อมูลอันเป็นการยืนยันว่ามีโอกาสเกิดอุทกภัยมากกว่า ร้อยละ 60 ให้ส่วนอานวยการของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี แจ้งเตือนไปยังส่วนราชการ หน่วยงานต่างๆ อาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และประชาชนในพ้ืนที่เส่ียงภัยให้เตรียมความพร้อม รับมือกับอุทกภยั ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ เว้นแต่มีเหตจุ าเป็นให้แจง้ เตอื นภยั โดยเรว็ ท่ีสดุ เทา่ ท่ีจาทาได้ โดยให้หน่วยงานที่ ไดร้ ับการแจ้งเตือนภยั รายงานผลการปฏบิ ตั ใิ ห้กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี ทราบ แผนเผชิญเหตุอทุ กภยั จังหวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าท่ี 23 ของ 51 หน้า แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าท่ี 24 ของ 51 หน้า แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปัตตานี

ชุดท่ี ของ ชุด หน้าที่ 24 ของ 51 หน้า 4.1.4 แนวทางปฏิบตั ิร่วมกับหนว่ ยทหารในพนื้ ที่ จังหวัดปัตตานี มีหน่วยทหารที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่ตามแผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม ประกอบดว้ ย มณฑลทหารบกท่ี 46 ปัตตานี กรมทหารราบที่ 15 และหน่วยพัฒนาการ เคลือ่ นที่ ๔๔ ซงึ่ แบง่ พื้นที่ในการรับผดิ ชอบ ดงั น้ี ตารางที่ 3 การแบ่งพ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานทหารในพนื้ ที่ ลาดบั หนว่ ย พ้นื ทรี่ ับผิดชอบ ๑ มณฑลทหารบกท่ี ๔๖ (ทบ.) อ.ปะนาเระ อ.มายอ ๒ กองพลทหารราบที่ ๑๕ (ทบ.) ๒.๑ - กองพันทหารราบที่ ๑ อ.ท่งุ ยางแดง กรมทหารราบท่ี ๑๕๓ อ.กะพอ้ ๒.๒ - กองพันทหารราบที่ ๒ อ.สายบุรี กรมทหารราบท่ี ๑๕๓ อ.ไม้แก่น ๒.๓ - กองพนั ทหารราบที่ ๓ อ.เมืองปตั ตานี กรมทหารราบท่ี ๑๕๓ อ.ยะหรง่ิ ๒.๔ - กองพนั ทหารส่ือสารที่ ๑๕ อ.ยะรัง กองพลทหารราบท่ี ๑๕ อ.แม่ลาน 3 กอ.รมน.ปน. รับผิดชอบใน ภาพรวม 4 หนว่ ยพัฒนาการเคลื่อนท่ี ๔๔ อ.ทุง่ ยางแดง (บก.ทท.) แผนเผชญิ เหตุอทุ กภยั จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปตั ตานี

ชดุ ท่ี ของ ชดุ หนา้ ท่ี 26 ของ 51 หน้า 4.1.5 แนวทางปฏบิ ตั ริ ่วมกบั ภาคประชาสังคม องค์การสาธารณกุศล ประชาชนจิตอาสา ในพ้ืนท่ี มอบหมายให้ท่ีทาการปกครองจังหวัดปัตตานี สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ปตั ตานี สานกั งานสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ จงั หวัดปตั ตานี องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทาขั้นตอนการ ปฏบิ ัติงาน การแบง่ พ้นื ท่ีรับผดิ ชอบใหก้ บั มลู นิธ/ิ องคก์ รการกศุ ลในพนื้ ที่จังหวดั ปตั ตานี ตารางท่ี 4 บัญชรี ายชอ่ื มูลนธิ ิ องค์การสาธารณกุศลในพ้ืนท่ีจังหวดั ปตั ตานี ชอื่ องค์การ สถานท่ตี ้งั หมายเลขโทรศพั ท์ โทรศัพทม์ อื ถอื สาธารณกุศล 0 7333 2218 08 9879 3868 เหล่ากาชาดจังหวัด อาคารสานกั งานเหล่ากาชาดจงั หวัด 0 7331 1860 08 1897 9749 0 7334 9635 08 1599 1389 ปัตตานี ปตั ตานี ถนนเดชา ตาบลสะบารัง 0 7345 0700 08 1897 0404 0 7333 4867 08 0541 1789 อาเภอเมือง ฯ จงั หวัดปตั ตานี 0 7333 4867 08 0541 1789 0 7371 0329 09 0239 8235 94000 0 7333 4001 09 3785 9641 0 7331 3321 09 1507 9999 มูลนธิ ิเทพปูชนียสถาน ถนนอาเนาะรู ตาบลอาเนาะรู 0 7371 0167 09 4804 7959 0 7371 0960 08 4968 9665 (ศาลเจ้าเล่งจเู กยี ง) อาเภอเมืองปตั ตานี 06 1159 2745 - มลู นิธิร่วมบาเพญ็ กศุ ล ถนนอาเนาะรู ตาบลอาเนาะรู ท่งเตก็ เซ่ยี งตงึ้ อาเภอเมืองปตั ตานี มูลนิธิชเู กยี รติ ถนนเพชรเกษม ตาบลรูสะมิแล ปิติเจริญกิจ อาเภอเมอื งปตั ตานี มูลนธิ ิจา้ วเองสอื ปตั ตานี ถนนฤาดี ตาบลอาเนาะรู อาเภอเมอื งปัตตานี สโมสรโรตารจี ังหวัด สมาคมพาณิชย์ปัตตานี ปัตตานี มลู นิธิธรรมรัศมมี ณีรตั น์ 4/1-2 หมทู่ ่4ี ถนนหนองจกิ สาขาปัตตานี ตาบลรสู ะมแิ ล อาเภอเมอื งปตั ตานี มลู นิธิศษิ ยจ์ ้ีกงปัตตานี 143 ถนนสามัคคีสาย ข “เต็กกา่ ” จลี มิ้ เกาะ ตาบลรสู ะมแิ ล อาเภอเมอื งปัตตานี มลู นิธฮิ ิลาสอะห์มรั 300/122 หมทู่ ่ี 4 ตาบลรสู ะมิแล อาเภอเมืองปัตตานี สมาคมกู้ชพี กภู้ ยั สันติ 286/70 หมู่ท่ี 11 ถนนนาเกลือ ปตั ตานี ตาบลบานา อาเภอเมอื งปตั ตานี สมาคมกู้ภยั ตฮ่ี ูอ่ อ่ งเอ่ยี 2/6 ถนนเทอดธรรม ตาบลตะลุบัน อาเภอสายบุรี หน่วยกู้ภัย กะพอ้ รว่ มใจ 7/4 หมทู่ ี่ 7 ตาบลกะรบุ ี อาเภอกะพอ้ แผนเผชญิ เหตอุ ุทกภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หนา้ ที่ 27 ของ 51 หน้า 4.1.6 แนวทางการก้าหนดพ้ืนที/่ ศนู ย์พักพงิ ชวั่ คราว และการอพยพ ศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว : ใหท้ กุ อาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ทุกแห่ง จดั เตรยี มศูนย์พัก พิงช่ัวคราวในพืน้ ที่ และใหส้ ว่ นอานวยการของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี ประสานอาเภอ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและจังหวัดใกล้เคียง เพื่อจัดหาศูนย์พักพิงช่ัวคราวรองรับองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นหรืออาเภอ ทไี่ ม่สามารถจัดหาศูนย์พักพิงช่ัวคราวในพ้ืนที่ได้ เมื่อเกิดสถานการณ์รุนแรงให้ ผอู้ านวยการแต่ละระดบั ตามพระราชบญั ญัตปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 สัง่ อพยพผูป้ ระสบภยั ไป ยังศูนย์พักพิงชวั่ คราว โดยมอบหมายใหส้ านักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ปตั ตานี ประสาน อาเภอ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการบรหิ ารจดั การศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว และให้หนว่ ยงานต่างๆ ดาเนนิ การดงั นี้ (1) ใหอ้ าเภอและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ทุกแหง่ กาหนดจุดอพยพ จดุ ปลอดภยั ที่ พกั พิงชั่วคราว พรอ้ มระบุจดุ ท่ีตงั้ จานวนทส่ี ามารถรองรับได้ พร้อมช่อื และชอ่ งทางการติดต่อ เพือ่ ใหผ้ ูอ้ านวยการ แตล่ ะระดับใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการพิจารณาสั่งการดา้ นการอพยพ และให้อาเภอรายงานใหผ้ ้อู านวยการจงั หวดั ทราบ (2) ให้ตารวจภูธรจังหวัดปัตตานี ประสานสานักงานขนส่งจังหวัดปัตตานี แขวงทาง หลวงปตั ตานี แขวงทางหลวงชนบทปัตตานี และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ตลอดจนหน่วยงานที่เก่ียวข้อง จัดทา เส้นทางอพยพ และยานพาหนะทใี่ ช้ในการอพยพ และให้รายงานข้อมูลขา้ งต้นให้ผูอ้ านวยการจังหวัดทราบ (3) ให้สานักงานปศุสัตว์จังหวัดปัตตานี ประสานอาเภอ และองค์กรปกครองส่วน ท้องถน่ิ ท่เี ก่ียวข้อง กาหนดจุดกักปศสุ ัตว์ สถานท่ีตัง้ จานวนที่รองรบั ได้ และขอ้ มูลสาคญั อนื่ ๆ เพ่ือให้ผ้อู านวยการ แต่ละระดบั ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการพจิ ารณาสง่ั การด้านการอพยพ และให้รายงานข้อมลู ขา้ งต้นให้ผ้อู านวยการจังหวัด ทราบ การรับมอื และการอพยพ เมอื่ เกดิ หรอื คาดว่าจะเกดิ ภัยในพนื้ ทีใ่ ด และในพนื้ ทีน่ ั้นมีผู้อยู่อาศยั ซ่ึง อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต หรือกีดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อานวยการจังหวัด ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการท้องถิ่น และเจ้าพนักงานที่ได้รับมอบหมาย มีอานาจ ส่ังอพยพผู้ประสบภยั โดยใหอ้ าเภอ/ท้องถิน่ เปน็ หนว่ ยงานหลักในการอพยพประชาชนออกจากพื้นที่เส่ียงภัย ใหห้ น่วยทหารในพืน้ ที่ และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง เป็นหนว่ ยสนับสนนุ การอพยพภายใตก้ ารสงั่ การของผู้อานวยการจังหวัด ผู้อานวยการอาเภอ ผ้อู านวยการท้องถิน่ และเจา้ พนักงานที่ไดร้ ับมอบหมายตามลาดบั แล้วแต่กรณี ดงั นี้ ล้าดบั ขน้ั ตอนการปฏิบัติ หน่วยรับผิดชอบ 1 สารวจ/แจ้งเตือนประชาชนท่ีอพยพให้เตรียม กานัน/ ผู้ใหญ่บ้าน/ สมาชิก อบต./อสม./อปพร. สิง่ ของทจ่ี าเป็นและยารักษาโรคใหพ้ รอ้ มอพยพ คณะกรรมการชมุ ชน/ จิตอาสา 2 รวบรวมประชาชนที่จะอพยพไว้ ณ จุดรวมพล กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน/สมาชิก อบต./อสม./อปพร. ท่ีกาหนดไวใ้ นแผนตาบล / แผนอาเภอ คณะกรรมการชุมชน / จติ อาสา 3 แจง้ อาเภอ / จงั หวัด พรอ้ มรับการอพยพ นายก อบต. / กานัน ผ้ใู หญบ่ า้ น (หัวหน้าจิตอาสา) ๔ ประสาน /สง่ั การ หนว่ ยทหาร /หน่วยงาน ผู้อานวยการจังหวัด / ผบ.หน่วยทหาร / ผบก. ที่เกีย่ วข้องจัดยานพาหนะพรอ้ มกาลังพล ตารวจ ดาเนนิ การอพยพประชาชน ณ จดุ ที่กาหนด ๕ ดาเนนิ การอพยพประชาชน ผูอ้ านวยการทอ้ งถิ่น/ ผ้อู านวยการอาเภอ/ ทหาร แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หนา้ ที่ 28 ของ 51 หน้า ล้าดับ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ หนว่ ยรับผดิ ชอบ 6 เดนิ ทางถึงหนว่ ยรองรบั การอพยพ 6.1 สารวจจานวนผอู้ พยพ /ลงทะเบียน ผอู้ านวยการทอ้ งถ่นิ / ผู้อานวยการอาเภอ 6.2 จดั ผ้อู พยพเขา้ ทพ่ี กั ผู้อานวยการท้องถ่ิน/ ผู้อานวยการอาเภอ / หนว่ ยงานที่รับผิดชอบศูนยพ์ ักพิง และจติ อาสา 7 รายงานผ้อู านวยการจังหวัด 8 ภัยยุติ ผู้อานวยการท้องถ่ิน/ ผู้อานวยการอาเภอ / 9 อพยพประชาชนกลบั หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบศนู ยพ์ กั พงิ ผูอ้ านวยการท้องถิ่น/ผู้อานวยการอาเภอ/ปภ.จังหวดั ผอู้ านวยการทอ้ งถนิ่ / ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการทอ้ งถนิ่ / ผู้อานวยการอาเภอ / ทหาร จังหวัดปัตตานีมีศูนย์พักพิงสาหรับผู้ประสบภัยในจังหวัดท่ีมีพ้ืนท่ีติดทะเล ซึ่งได้รับ พระราชทานจานวน 1 แห่ง ตั้งอยู่ ณ บ้านควนคูหา หมู่ที่ 1 ตาบลบ่อทอง อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รวมจานวนเป้าหมาย ๑ แหง่ บนทีด่ ินจานวน 5 ไร่ ริมถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 บริเวณเขตติดต่อ กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลทุ่งนเรนทร์ ขนาดกว้าง 80 x 100 เมตร พิกัดละติจูดที่ 6.808510 ลองจจิ ดู ที่ 101.115120 สามารถรองรบั ผอู้ พยพไดจ้ านวน 300 คน 4.2 การจดั การในภาวะฉุกเฉิน 4.2.1 องคก์ รปฏบิ ัตใิ นภาวะฉุกเฉนิ ศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ผบู้ ัญชาการเหตกุ ารณ์ (ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ปัตตานี) รองผู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์ (รอง ผวจ.ปน.1 รองผวจ.ปน 2 รองผวจ.ปน.3 และนายก อบจ.ปน.) ท่ปี รึกษา/ผู้เชยี่ วชาญ ศูนย์ประสานการปฏบิ ตั ิ ศนู ย์ข้อมลู ประชาสัมพันธ์ร่วม ส่วนปฏิบัติการ ส่วนอานวยการ สว่ นสนับสนนุ รอง ผวจ.ปน.3 รอง ผวจ.ปน.1 รอง ผวจ.ปน.2 แผนเผชญิ เหตุอุทกภยั จังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 29 ของ 51 หน้า เมือ่ เกิดหรือคาดว่าจะเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นท่ี กองอานวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดปัตตานี จัดตงั้ ศูนย์บญั ชาการเหตกุ ารณจ์ ังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ในฐานะ ผอู้ านวยการจงั หวัด เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ รับผิดชอบในการอานวยการ ควบคุม กากับดูแล สั่งการใน เหตกุ ารณส์ าธารณภยั ทเี่ กดิ ขึน้ ตามแผนผังโครงสร้างในศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี/ศูนย์บัญชา การณส์ ่วนหน้าจังหวดั ปัตตานี ประกอบดว้ ย 1. ทปี่ รึกษาและผเู้ ชีย่ วชาญ มหี นา้ ท่ใี ห้ข้อเสนอแนะ คาแนะนา ข้อมูลทางวิชาการ การสงั เคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ และเทคนคิ การปฏบิ ตั ิทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับเหตุการณ์สาธารณภัยท่เี กิดขึน้ 2. ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม มีหน้าท่ีประสานข้อมูลเหตุการณ์กับส่วนต่างๆ เพือ่ สื่อสารและประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนและสื่อสารมวลชน ท้ังปฏิบัติการทางจิตวิทยา มวลชน โดยให้สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดปัตตานี เป็นหน่วยงานหลักในการกาหนดขอบเขต แผนงาน และภารกิจ 3. ศนู ย์ประสานการปฏบิ ัติ มีหน้าท่ปี ระสานงานจิตอาสา หนว่ ยงานภาคเอกชนและ ภาคประชาสงั คม 4. ส่วนปฏิบัติการ มีรองผ้วู ่าราชการจังหวัดปัตตานี (ด้านสังคม) เป็นผู้อานวยการ สว่ น มีหน้าท่คี น้ หาชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย จดั ชดุ กชู้ ีพ/ก้ภู ยั ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ได้รับบาดเจ็บในการปฐม พยาบาลเบื้องต้นก่อนและส่งให้แพทย์ดาเนินการรักษา บริการการแพทย์และสาธารณสุข คมนาคม รักษา ความสงบเรยี บร้อย ประสานทรพั ยากร โดยใหห้ นว่ ยท่มี หี น้าทดี่ งั กลา่ วร่วมกนั จดั ทา ขอบเขต แผนงาน ภารกจิ และโครงสร้างภายในของสว่ นฯ เพ่ือใหก้ ารปฏบิ ตั ิการสามารถลดอันตรายท่เี กดิ ขึน้ ในสถานทเ่ี กดิ เหตุ พร้อมท้งั รกั ษาชีวติ และทรพั ยส์ นิ และควบคุมสถานการณก์ ลับคืนส่สู ภาวะปกตโิ ดยเรว็ 5. ส่วนอานวยการ มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี (ด้านความม่ันคง) เป็น ผูอ้ านวยการสว่ น มหี นา้ ท่ีตดิ ตามสถานการณ์ วเิ คราะห์แนวโน้มสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย รวบรวม ประสาน ข้อมลู และประเมนิ ความต้องการและความจาเป็นในการสนับสนนุ ทรพั ยากรในภาวะฉุกเฉิน รวมถึงจัดเตรียม เอกสารและวางแผนเผชิญเหตโุ ดยใชข้ ้อมูลที่ได้รบั จากสว่ นปฏบิ ัตกิ ารเป็นฐานดาเนินการ 6. ส่วนสนับสนุน มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี (ด้านเศรษฐกิจ) เป็น ผู้อานวยการส่วน มีหน้าที่ตอบสนองการร้องขอสนับสนุนในทุกๆ ด้านที่จาเป็น เพ่ือให้การจัดการในภาวะ ฉุกเฉินดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ได้แก่ ด้านการส่ือสารโทรคมนาคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การพลังงาน การเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม การสาธารณูปโภค การโยธาธิการและซ่อมบารุง การฟ้ืนฟูเศรษฐกิจ สังคมและชุมชน การร้องขอรับการสนับสนุนใน ดา้ นงบประมาณ การเงนิ การคลังและการรบั บริจาค 4.2.2 แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการบญั ชาการเหตุการณ์ ก. การบัญชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command) แนวทางการปฏิบตั ขิ องศนู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์ ให้สอดคลอ้ งตามแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 (1) กรณเี กิดสาธารณภยั จากอทุ กภยั สาธารณภยั ขนาดเลก็ (ความรนุ แรง ระดับ 1) อาเภอ (ผูอ้ านวยการอาเภอ/นายอาเภอ) องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ อบต./ เทศบาล(ผอู้ านวยการท้องถ่ิน ได้แก่ นายก อบต./นายกเทศมนตรี) ในพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี สามารถควบคุม สถานการณ์ ระงับภัยได้โดยลาพังตามขีดความสามารถ ไม่ต้องการกาลังสนับสนุนจากภายนอก แผนเผชญิ เหตอุ ุทกภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชุดท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 30 ของ 51 หน้า (1.1) ให้กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อาเภอจัดต้ังศูนย์บญั ชาการ อาเภอ หรือกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตาบลจัดตั้ง ศูนยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉินระดับท้องถ่ินในเขตพ้ืนท่ี เพ่ือทาหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการสาธารณภัยที่ เกิดขนึ้ จนกวา่ สถานการณจ์ ะกลบั เขา้ สภู่ าวะปกติ รวมทง้ั เป็นศนู ย์กลางในการระดม สรรพกาลงั และทรพั ยากร ในการบริหารจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น อานวยการ ประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งฝ่าย พลเรือนและฝ่ายทหาร ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรสาธารณกุศลในการควบคุม สถานการณ์ในพ้นื ท่เี กิดเหตุ (1.2) จัดระบบการแจ้งเตอื น การรายงานขอ้ มูลข่าวพยากรณ์อากาศโดยการจัดเวร ยามในการติดตามสถานการณท์ ง้ั การพยากรณอ์ ากาศ และพยากรณ์ระดับน้า และการจัดการข่ายการส่ือสาร เช่ือมโยงอาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หมู่บ้านหรือชุมชนท่ีอาจจะเกิดภัย เพื่อให้การรับส่งข้อมูล ขา่ วสารเกีย่ วกับสถานการณ์ให้เป็นไปอย่างถูกตอ้ งและรวดเร็ว (1.3) ให้ทุกหน่วยงานในศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินระดับท้องถิ่นในเขตพ้ืนท่ี เตรยี มพร้อมและกาชบั ใหเ้ จ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งให้อยู่เวรยามปฏิบัติหน้าที่โดยเคร่งครัด และจัดเจ้าหน้าที่ เฝ้าระวงั ติดตามสถานการณ์ข้อมูล การพยากรณ์อากาศจากหน่วยงานต่างๆ และมีการประชุมทุกวันโดยนา ข้อมลู น้ามาวิเคราะห์เพ่อื เปน็ การแจง้ เตอื นใหป้ ระชาชนรับทราบสถานการณ์ที่ถูกต้อง และระมัดระวงั อันตราย รวมถึงการเตรยี มพน้ื ที่เส้นทางอพยพ วางแผนเตรียมการในการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธรณภัย เช่น แผนและขน้ั ตอนในการจดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ ยานพาหนะ เครื่องหมายสัญญาณหรือสิ่ง อืน่ ใดในการแจง้ เตอื น รวมถึงแผนการประสานงานกบั องค์กรสาธารณกุศล (1.4) เม่ือเกิดเหตุการณ์สาธารณภัยขึ้น ให้ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินระดับท้องถ่ินใน เขตพ้ืนที่ บูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการตามแผนเผชิญเหตุแล ะแผนปฏิบัติการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในการป้องกัน แก้ไขและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเขตพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ ขา้ งเคียง เมอื่ ได้รับการร้องขอหรอื พ้ืนท่สี นับสนนุ การปฏิบัติซึ่งกันและกัน โดยให้มีการประชุมทุกวัน เพ่ือนา ข้อมูลน้ามาวิเคราะห์ในการป้องกันและแจ้งเตือนประชาชน เพื่อลดความสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนและของรฐั ให้นอ้ ยที่สุด และให้ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (1.5) รายงานผลการดาเนินการใหจ้ งั หวัดปตั ตานที ราบอย่างต่อเน่ือง เพื่อรายงาน กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กรมป้องกันและบ รรเทาสาธารณภัยจนกว่า สถานการณจ์ ะยตุ ิ (1.6) หากเกินขดี ความสามารถ ให้ร้องขอความช่วยเหลือจากผู้อานวยการจังหวัด เพ่อื เขา้ ควบคุมสถานการณ์ (2) กรณเี กิดสาธารณภัยจากอทุ กภัย สาธารณภัยขนาดกลาง (ความรุนแรง ระดบั 2) เกนิ ขดี ความสามารถของอาเภอ (ผ้อู านวยการอาเภอ/นายอาเภอ) องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ อบต./เทศบาล(ผู้อานวยการท้องถ่ิน ได้แก่ นายก อบต./นายกเทศมนตรี) ในพื้นท่ีจังหวัด ปัตตานี ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และบริหารจัดการระงับภัยไดโ้ ดยลาพัง แผนเผชิญเหตุอทุ กภยั จงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชุดท่ี ของ ชดุ หนา้ ที่ 31 ของ 51 หน้า (2.1) ให้กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี จัดต้ัง ศูนย์บญั ชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี เพื่อทาหน้าท่ีรับผิดชอบในการบริหารจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น จนกว่าสถานการณจ์ ะกลับเขา้ สภู่ าวะปกติ รวมทั้งเปน็ ศนู ย์กลางในการระดมสรรพกาลงั และทรัพยากรในการ บริหารจัดการสาธารณภยั ที่เกิดข้ึน อานวยการประสานการปฏิบตั ริ ะหว่างหน่วยงานตา่ งๆ ท้งั ฝา่ ยพลเรือนและ ฝ่ายทหาร ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรสาธารณกุศลโดยมีผู้อานวยการจังหวัด (ผู้วา่ ราชการจังหวดั ปัตตานี) เขา้ ควบคมุ สถานการณ์ (2.2) จดั ระบบการแจ้งเตอื น การรายงานข้อมูลขา่ วพยากรณอ์ ากาศ โดยการจัดเวร ยามในการติดตามสถานการณท์ ั้งการพยากรณอ์ ากาศ การพยากรณ์ระดับน้า และการจัดข่ายการสื่อสารจาก อาเภอ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น หมู่บ้านหรือชุมชนท่ีอาจจะเกิดอุทกภัย เพ่ือให้การรับส่งข้อมูล ข่าวสาร เกยี่ วกับสถานการณอ์ ุทกภยั ใหเ้ ป็นไปอยา่ งถูกต้องและรวดเรว็ (2.3) เตรยี มพรอ้ มและกาชบั เจ้าหนา้ ที่ที่ได้รับการแต่งตั้งให้อยู่เวรยามปฏิบัติหน้า โดยเคร่งครดั และจดั เจ้าหนา้ ที่เฝ้าระวงั ติดตามสถานการณ์ข้อมูลการพยาการณ์อากาศจากหน่วยงานต่างๆ เพอื่ เป็นการแจง้ เตอื นประชาชนรับทราบสถานการณ์ที่ถูกต้อง และให้ระมัดระวังอันตราย รวมถึงการเตรียม พนื้ ที่ เสน้ ทางอพยพ วางแผนเตรยี มการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย เช่น แผนและข้ันตอนในการ พัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือเคร่ืองใช้ ยานพาหนะ เคร่ืองหมายสญั ญาณ หรอื สิง่ อนื่ ใดในการแจ้งเตือน รวมถึงการ ประสานงานกบั องคก์ รสาธารณกุศล (2.4) เมือ่ เกดิ เหตกุ ารณ์สาธารณภยั ขนึ้ ให้ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี บูรณาการร่วมกับหนว่ ยงานต่างๆ ปฏิบัติการตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2564 ในการ ป้องกัน แก้ไขและชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในพืน้ ที่รว่ มกับพ้ืนที่ขา้ งเคยี งเมอื่ ได้รับการร้องขอหรือพ้ืนท่ีสนับสนุน การปฏบิ ัตซิ ึง่ กนั และกนั โดยใหม้ ีการประชุมทุกวัน เพื่อนาข้อมูลน้ามาวิเคราะห์ในการป้องกันและแจ้งเตือน ประชาชน เพอ่ื ลดความสูญเสยี ทงั้ ชวี ิตและทรัพยส์ นิ ท้งั ของประชาชนและของรฐั ใหน้ ้อยท่สี ุด และให้เป็นไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (2.5) ให้รายงานสถานการณ์และผลการดาเนินการให้ผู้บัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย)และนายกรัฐมนตรตี ามแบบรายงานเหตดุ ่วน สาธารณภัยของกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยทราบ จนกวา่ สถานการณ์จะยตุ ิ (3) กรณเี กิดสาธารณภยั จากอทุ กภัยสาธารณภยั ขนาดใหญ่ (ความรุนแรง ระดับ 3) เกิดผลกระทบรุนแรง กว้างขวาง มีพ้ืนที่เสียหายเป็นบริเวณกว้างเกินขีด ความสามารถของจังหวัด (ผู้อานวยการจังหวัด/ผู้ว่าราชการจังหวัด) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ/อุปกรณ์พิเศษ/กาลังสนับสนุน ระดมสรรพกาลังทุกภาคส่วนเพ่ือตอบโต้เหตุฉุกเฉิน/ บรรเทาภัย (4) กรณีเกิดสาธารณภยั จากอทุ กภัย สาธารณภัยขนาดรา้ ยแรงอยา่ งยิ่ง (ความรุนแรง ระดับ 4) เกิดผลกระทบรา้ ยแรงอย่างยง่ิ ระดับวกิ ฤตการณ์ มีผลกระทบต่อชวี ติ และทรัพย์สิน ความเป็นอยู่และขวัญกาลังใจของประชาชนเป็นจานวนมากอย่างร้ายแรง ผู้อานวยการกลาง (อธิบดีกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ) หรือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ/์ แก้ไขปัญหา/ระงบั ภัยได้ แผนเผชิญเหตุอทุ กภยั จงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 32 ของ 51 หน้า ดา้ เนินการดังน้ี กรณีการเกิดสาธารณภัยจากอุทกภัย ความรุนแรงระดับ 3 – 4 ให้จังหวัด (1) ใหศ้ นู ยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี ปรับโครงสร้างเป็นศูนย์บัญชาการ เหตุการณส์ ่วนหนา้ จงั หวดั ปตั ตานที นั ที เมื่อมีการยกระดับความรุนแรงของภัยเป็นระดับ 3 -4 เพ่ือเป็นส่วน หน้าระดับจังหวัดท่ีมีหน้าที่ปฏิบัติงานตามการบัญชาการเหตุการณ์จากกองบัญชาการป้องกันและบรร เทา สาธารณภยั แหง่ ชาติ (บก.ปภ.ช.) เพ่ือจดั ทาขอ้ มูล บัญชีทรัพยากร เหตุการณ์พ้ืนที่ความเสียหาย และผลการ ปฏบิ ตั ทิ ผี่ า่ นมา รายงานและประสานขอรบั การสนบั สนุน และความชว่ ยเหลือจากกองบัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) (2) ให้ผู้อานวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี) ขึ้นกับกองบัญชาการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) โดยมีผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย) ในฐานะผู้บัญชาการเหตุการณอ์ ทุ กภัยความรุนแรงระดบั 3 เข้า สัง่ การและบัญชาการเหตุการณ์ โดยให้ผูอ้ านวยการกลาง (อธบิ ดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ) ควบคุม กากบั การปฏิบัติหนา้ ท่ตี ามการส่ังการของผู้บัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ กรณีเหตกุ ารณ์อุทกภยั ความรุนแรงระดบั 4 นายกรฐั มนตรหี รือรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้อานาจตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ในฐานะผู้บัญชาการเหตุการณ์เข้าควบคุมสถานการณ์ มีอานาจส่ังการและบัญชาการให้ ดาเนนิ การอย่างใดอยา่ งหนึง่ เพ่ือป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั รวมตลอดถึงใหค้ วามช่วยเหลือแก่ประชาชน ในพ้ืนท่ีในพื้นทท่ี ก่ี าหนดไดท้ ่วั ราชอาณาจกั ร (3) ให้ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณส์ ่วนหนา้ จงั หวัดปัตตานี รับผิดชอบการดาเนินการ ป้องกัน แก้ไขและช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยในพื้นท่ีจังหวดั โดยข้ึนการบังคับบัญชาและสนับสนุนการปฏิบัติการ เผชญิ เหตุของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) และรายงานสถานการณ์ และผลการดาเนินงานตามแบบรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบ จนกวา่ สถานการณจ์ ะยตุ ิ 4.2.3 การเผชญิ เหตุอทุ กภยั เม่อื เกดิ สถานการณ์อุทกภยั ในพ้นื ที่ ใหผ้ ู้อานวยการทอ้ งถน่ิ และผ้อู านวยการอาเภอ มอบหมายเจ้าหน้าท่ี ตลอดจนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดชุดปฏิบัติการเข้าให้ความช่วยเหลือประชาชน เพอื่ บรรเทาความเดือดรอ้ น พรอ้ มท้งั เรง่ ประเมนิ ความเสียหายและความต้องการความช่วยเหลือภายในพื้นท่ี ประสบภัย วิเคราะห์ความสามารถของผู้ประสบภัยในการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินด้วยตนเองและความ ต้องการชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานภายนอก เช่นความช่วยเหลือด้านอาหาร นา้ ดมื่ การรักษาพยาบาล สขุ อนามัย และการกาจดั สิ่งปฏกิ ูล ความช่วยเหลอื ดา้ นสขุ ภาวะ ที่พกั พงิ อปุ กรณย์ งั ชพี เป็นต้น พร้อมทงั้ รายงานต่อศูนย์ บญั ชาการเหตกุ ารณจ์ ังหวัดโดยด่วน หากสถานการณส์ ่งผลกระทบเปน็ วงกว้าง ให้ผู้อานวยการจงั หวัดมอบหมายให้ส่วน ปฏบิ ัติการของศนู ยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณจ์ งั หวัดปตั ตานี กาหนดตัวบุคคลหรอื หน่วยงานท่ีเหมาะสม รับผิดชอบ ภารกจิ ในแตล่ ะเขตพน้ื ทีท่ ่ีประสบภยั พร้อมท้ังกาหนดสายการบังคับบัญชาท่ีชัดเจน เพ่ือช่วยควบคุม กากับ การปฏิบัตใิ นภารกจิ ทส่ี าคญั พร้อมทงั้ ประสานการสนับสนุนกาลังพล อุปกรณ์ยานพาหนะจากหน่วยทหารใน พื้นที่ เพ่ือเรง่ ใหค้ วามช่วยเหลอื ประชาชน แผนเผชญิ เหตุอุทกภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปตั ตานี

ชุดที่ ของ ชุด หนา้ ที่ 33 ของ 51 หน้า หากเกิดสถานการณ์ท่ีมีผลกระทบรุนแรง และสถานการณ์อาจจะส่งผลกระทบ ยาวนานต่อเนื่องให้ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วมของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดปัตตานี จัดตั้งชุด ประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉินในการให้ข้อมูลข่าวสาร ช้ีแจงประชาชนให้ทราบถึงความคืบหน้าของ สถานการณ์ และข้อปฏิบัติต่างๆ เพื่อลดความต่ืนตระหนกจากการรับรู้ข่าวสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ตลอดจนสือ่ สงั คมออนไลน์ ให้ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จงั หวดั ปตั ตานี รายงานสถานการณ์อุทกภัย ที่เกดิ ข้ึนตอ่ กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) โดยทันทีทาง หมายเลขโทรศัพท์ 0 2241 7457 – 61 หรือสายดว่ นนิรภยั 1784 พรอ้ มทัง้ รายงานตามแบบรายงานเหตุ ดว่ นสาธารณภยั แล้วรายงานสรุปความเสียหาย และรายงานสรุปการให้ความช่วยเหลือราษฎรจากอุทกภัย ทางหมายเลขโทรศัพท์0 2241 7450-6 หรอื ทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ : [email protected] โดย ให้รายงานต่อเนอ่ื งเปน็ ระยะๆ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการประเมินสถานการณแ์ ละการให้การสนับสนุน ตลอดจน ให้เสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรี เพื่อตัดสินใจ ยกระดบั เปน็ การจดั การสาธารณภัยขนาดใหญ่ หรอื การจดั การสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งย่ิงต่อไป (1) การบริหารจัดการน้า เมอ่ื เกิดฝนตกหนักในพน้ื ท่ี ให้ส่วนปฏิบัติการของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด ปัตตานี จัดใหอ้ าเภอ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ทุกแหง่ และหน่วยงานทมี่ อี าสาสมคั รภาคประชาสังคมและ หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งมอบหมายฝ่ายปกครอง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตลอดจนอาสาสมัคร เฝ้าระวัง และร่วมกัน กาจัดส่งิ กีดขวางทางน้าที่ไหลมาติดตามคอสะพาน ฝาย เปน็ ตน้ พรอ้ มท้ังสง่ั ใช้เครอ่ื งจกั รกลของหน่วยงานฝา่ ย พลเรอื น ทหาร องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือเรง่ ระบายนา้ และเปิดทางน้าในพื้นท่ีที่มีน้าท่วมขัง หรือพ้ืนท่ี ลมุ่ ต่า เพอ่ื ลดผลกระทบที่อาจจะเกิดข้นึ กบั ประชาชน (2) การอา้ นวยความสะดวกด้านการคมนาคมและการจราจร ในกรณีเสน้ ทางคมนาคมได้รับความเสียหายให้ส่วนปฏิบัติการของศูนย์บัญชาการ เหตุการณ์จังหวัดปัตตานี มอบหมายให้ตารวจภูธรจังหวัดปัตตานี จัดเจ้าหน้าที่อานวยความสะ ดวก ด้านการจราจร และใหแ้ ขวงทางหลวงปตั ตานี แขวงทางหลวงชนบทปตั ตานี และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เร่งซ่อมแซมเสน้ ทางทช่ี ารุด/ถูกตดั ขาด เพอื่ ใหป้ ระชาชนได้สัญจรได้โดยเร็ว พร้อมท้ังจัดยานพาหนะสาหรับ บรกิ ารประชาชนในพ้ืนท่ี (3) ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เป็นหน่วยงานหลักทาหน้าท่ีประสานกับ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ดาเนนิ การดังนี้ -จัดเตรียม จัดหาทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสุข รวมท้ังประสานการ ระดมสรรพกาลงั ด้านการแพทย์และสาธารณสุข -จดั ทาระบบฐานข้อมลู ผ้เู ชยี วชาญทางการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งเครื่องมือ ทางการแพทยใ์ นดา้ นต่างๆ ของรัฐและเอกชน เพื่อให้พรอ้ มต่อการปฏบิ ัติเม่ือเกิดภยั แผนเผชิญเหตุอทุ กภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปตั ตานี

ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 34 ของ 51 หน้า -การปฏิบัติงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Service :EMS) หน่วยปฏบิ ัติการกูช้ พี และทีมตอบสนองดา้ นการแพทย์ ไดแ้ ก่ ทีมปฏบิ ัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ในภาวะภัย พิบัตริ ะดบั อาเภอ (Mini MERT) ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ระดับทุติยภูมิในภาวะภัยพิบัติ (MERT: Medical Emergency Response team) ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT : Surveillance Rapid Response Team) ทีมปฏิบัติการด้านจิตเวช (MCATT : Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team) พร้อมออกปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ังจัดระบบ เครือข่ายสาธารณสุขให้บริการและสนับสนุนการปฏิบัติงาน โดยร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพื่อ เตรียมพร้อมใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์ไดท้ ันทเี ม่ือเกดิ สาธารณภัย -ใหค้ วามรปู้ ระชาชน และชุมชนในด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น การสุขาภิบาล และอนามัยส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือใหส้ ามารถช่วยเหลอื ตนเองและผูอ้ ื่นไดเ้ มือ่ ประสบภัย -เฝา้ ระวัง ควบคุม ตดิ ตามโรคตดิ ตอ่ พร้อมท้ังจดั ให้มีการรักษาพยาบาล การอนามัย การสขุ าภิบาล การปอ้ งกันโรคแกผ่ ้ปู ระสบภัย -ฟ้นื ฟสู ภาพจิตใจของผ้ปู ระสบภัยใหก้ ลับมาดารงชวี ติ ไดต้ ามปกติ (4) การดูแลรักษาความปลอดภยั ให้ตารวจภูธรจังหวัดปัตตานี ประสานหน่วยงานความมั่นคงอ่ืน จัดให้มีเจ้าหน้าที่ พนักงานปกครองหรือตารวจ สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน ชุดรักษาความปลอดภายในหมู่บ้าน และ กองกาลังอื่น จัดแบง่ พืน้ ที่ในการรกั ษาความปลอดภยั เพ่อื รกั ษาความสงบเรยี บร้อย ป้องกันอาชญากรรมและ ป้องกนั ภยั ความมั่นคง (5) การดูแลรักษาสถานท่ีส้าคัญ แผนการดูแลรักษาสถานที่สาคัญทีต่ ัง้ อยู่ในพืน้ ทเี่ ส่ยี งอุทกภัย : ใหต้ ารวจภธู รจังหวดั ปตั ตานี ประสานหน่วยงานดา้ นความมัน่ คงอ่ืน ทาการจัดใหม้ ีแผนรักษาสถานที่สาคัญ ได้แก่ โรงพยาบาล สิ่ง สาธารณูปโภค (ประปา-ไฟฟ้า) สถานท่ีราชการ และสถานท่ีสาคัญอ่ืน แล้วรายงานให้ผู้อานวยการจังหวัด ทราบ (6) การประชาสมั พนั ธใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ ให้ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วมประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้อง จัดให้มีแผนการ ประชาสัมพนั ธ์ในภาวะฉกุ เฉนิ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนรับทราบนโยบายและการดาเนินการของ ภาครฐั การดาเนินการของจังหวัดอย่างต่อเน่ือง พร้อมท้ังจัดให้มีแผนการปฏิบัติการข่าวสาร (Information Operation) เพ่ือป้องกันการเผยแพร่ข่าวสารในทางลบ ประชาสัมพันธ์ช่องทางการขอรับการช่วยเหลือ บรรเทาทกุ ขจ์ ากภาครฐั และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น และให้ออกแบบเพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์ใน ส่อื สงั คมออนไลน์แลว้ รายงานแผนให้ผอู้ านวยการจังหวดั ทราบ 4.2.4 การบรรเทาทกุ ข์ ให้ผู้อานวยการในเขตพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบสารวจ ประเมินความเสียหายและ ความต้องการเบื้องต้น โดยจัดทาบัญชีรายช่ือผู้ประสบภัย และทรัพย์สินท่ีเสียหายไว้เป็นหลักฐาน พร้อมท้ัง ออกหนงั สือรับรองให้ผปู้ ระสบภยั ไว้เปน็ หลกั ฐานในการรบั การสงเคราะห์และฟนื้ ฟู การประกาศพ้ืนท่ีประสบ สาธารณภัยตามพระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 เพ่ือรับรองการเกิด สาธารณภัยไว้เป็นหลักฐานในการรับการสงเคราะห์และฟ้ืนฟูและแผนการป้องกันแ ละบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2558 (หน้า 70) เพื่อให้ส่วนราชการหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน สามารถให้ความช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยไดต้ ามระเบียบและกฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง แผนเผชิญเหตุอทุ กภัยจงั หวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หน้าที่ 35 ของ 51 หน้า ก.กรณบี ้านเรือนประชาชนไดร้ ับความเสยี หาย ให้ฝ่ายปฏบิ ตั ิการของศนู ย์บัญชาการ เหตกุ ารณ์จังหวัดปัตตานี จดั ให้อาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บูรณาการทุกหน่วยงานจัดทีมช่างใน พื้นที่เปน็ ทีมประชารัฐ ทัง้ หน่วยทหาร ตารวจ วิทยาลยั อาชีวศึกษา และประชาชนจิตอาสา เพ่ือเร่งซ่อมแซม บ้านเรอื นของประชาชนโดยปฏบิ ตั ิตามระเบยี บและกฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง ข.การแจกจ่ายถงุ ยังชพี ให้จังหวัด/อาเภอ เป็นศูนย์กลางในการให้ความช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภัย และแจกจา่ ยถงุ ยงั ชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั พ้ืนท่ี จานวนผู้ประสบภัย เพ่ือให้การแจกจ่ายเป็นไปอย่าง ท่วั ถึงและเป็นธรรม ไม่ซา้ ซอ้ น ค.ในกรณที ี่อยู่อาศัยของประชาชนได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติ นอกจากจะให้ ความช่วยเหลือ โดยจ่ายเงินตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือช่วยเหลือประชาชน ตาม อานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงิน ทดรองราชการเพ่ือ ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2562 มลู นธิ ิราชประชานเุ คราะหฯ์ หรือ ระเบียบ กฎหมายอืน่ ท่ี เกี่ยวข้องแลว้ เพ่ือเป็นคา่ วสั ดกุ ่อสรา้ งหรอื ซ่อมแซมท่ีอยูอ่ าศัยแก่ผ้ปู ระสบภยั พบิ ัตใิ ห้จัดหาทพ่ี ักอาศัยชั่วคราว ใหค้ วามชว่ ยเหลือแกผ่ ูป้ ระสบภยั ด้านสขุ ภาพอนามัยและจติ ใจ ฟนื้ ฟคู ณุ ภาพชีวิต ฟน้ื ฟอู าชีพของผู้ประสบภัย เพื่อให้สามารถดารงชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างปกติ ตลอดจนสนับสนุนในเร่ืองการประกอบเล้ียงใน ศูนย์พักพิงชั่วคราวท่ีกาหนด เพ่ือให้ผู้ประสบภัยพ้นจากความทุกข์ยากและสามารถดารงชีวิตได้ตามปกติ โดยเรว็ 4.2.5 การประกาศกรณีพน้ื ทป่ี ระสบอทุ กภยั 1) การประกาศเขตพ้นื ท่ีประสบสาธารณภัย เพื่อประโยชน์ในการจัดการสาธารณภัยในพ้ืนท่ี เป็นดุลยพินิจของผู้ว่าราชการ จังหวัด/ผูอ้ านวยการจังหวดั ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ในการประกาศ เขตพืน้ ทปี่ ระสบสาธารณภัย เพื่อให้ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน สามารถให้ความ ช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั ได้ตามระเบยี บกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง 2) การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน จงั หวดั ปัตตานี ระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ย เงินทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั พบิ ัติ กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562 ข้อ 20 และขอ้ 21 เมื่อเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินข้ึนในท้องที่ใด ให้เป็นอานาจของ ผู้ว่าราชการจังหวดั ร่วมกบั คณะกรรมการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ัติจงั หวดั (ก.ช.ภ.จ.) ประกาศเขต การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และเม่ือได้มีการประกาศฯ แล้ว ให้ส่วนราชการหรือ หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งดาเนินการช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยพบิ ัติตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ีกาหนด 3) ขั้ นต อนก า ร ใ ห้ ควา ม ช่ วย เ หลื อผู้ ปร ะ ส บภั ย พิ บั ติ ต า ม ร ะ เ บี ย บ กระทรวงการคลัง วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยพิบตั กิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2562 แผนเผชญิ เหตุอทุ กภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปตั ตานี

ชุดท่ี ของ ชดุ หนา้ ที่ 36 ของ 51 หน้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ นายอาเภอ/ผ้อู านวยการอาเภอ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด/ ผู้อานวยการท้องถิ่น ผู้อานวยการจงั หวัด 1.สารวจความเสียหาย 1.สารวจความเสยี หาย 1.ประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินฯ 2.ออกหนังสอื รบั รองผู้ประสบภัย 2.รายงานผู้วา่ ราชการจังหวัด โดย สนง.ปภ.จ.เป็นผ้ดู าเนนิ การ 3.ใหค้ วามช่วยเหลือตามหน้าท่ี /ผอู้ านวยการจังหวัด 2.พิจารณาให้ความช่วยเหลือของ 4รายงานนายอาเภอ/ผ้อู านวยการ 3.พิจารณาให้ความช่วยเหลือของ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือ อาเภอ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยพิบตั กิ รณฉี ุกเฉนิ ระดับ ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณีฉุกเฉนิ ระดบั จงั หวัด (ก.ช.ภ.จ.) กรณเี กินอานาจ อาเภอ(ก.ช.ภ.อ.) กรณีอยู่ใน ตามวงเงินท่ีได้รับการจัดสรรฯ อานาจอนมุ ัตติ ามวงเงนิ ท่ีไดร้ บั การ หรือนอกเหนือหลักเกณฑ์ ท่ีได้รับ จดั สรร มอบหมายของนายอาเภอ 3.ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติและ อาจจะมอบหมายส่วนราชการ ต่าง ๆใ ห้ความ ช่วยเห ลือ ตา ม หลกั เกณฑ์ แนวทางการใชเ้ งินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรอง ราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉนิ พ.ศ.2562 เมื่อคาดหมายว่าจะเกดิ ภัยพิบัติกรณีฉุกข้ึนใน เวลาอันใกล้ และจาเป็นต้องรีบดาเนินการโดยฉับพลัน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอานาจอนุมัติใช้เงิน ทดรองราชการในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินน้ันได้ โดยไม่ต้องประกาศเขตการให้ความ ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉินภายในวงเงนิ 10,000,000 บาท เม่ือประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และต้อง ช่วยเหลือผู้ประสบภัยกรณีฉุกเฉิน และดาเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ให้ใช้วงเงินทดรอง ราชการตามระเบียบที่กาหนด ให้สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดแห่งละ 20,000,000 บาท 4) การมอบหมายหนว่ ยงานด้าเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามระเบียบ และ กฎหมาย พระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 15 (4) และ (5) ใหผ้ วู้ ่าราชการจังหวดั เปน็ ผ้อู านวยการจงั หวัด มอี านาจหนา้ ท่ีดาเนินการให้หน่วยงานของรัฐและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสงเคราะห์เบื้องต้นแก่ผู้ประสบภัย หรือผู้ที่ได้รับภยันตราย หรือเสียหายจาก สาธารณภยั ตลอดจนการรกั ษาความสงบเรยี บร้อยและการปฏิบัติการใดๆ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สนบั สนนุ และให้ความช่วยเหลือแก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดังน้ัน เพ่ือประโยชนใ์ นการปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี าม (4) และ (5) ใหผ้ วู้ ่าราชการจงั หวดั มอี านาจสงั่ การหนว่ ยงานของรัฐและ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ดาเนินการในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยตามแผนการปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวดั และมีอานาจสัง่ การ ควบคมุ และกากับดแู ลการปฏบิ ตั ิน้าท่ีของพนกั งานและอาสาสมัครให้ เปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภัยจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี

ชุดที่ ของ ชุด หน้าท่ี 37 ของ 51 หน้า 5.การสนับสนุน 5.1 ด้านงบประมาณ 5.1.1 งบประมาณรายจ่ายประจาปี ได้แก่ (1) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ตง้ั งบประมาณในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขต ท้องถน่ิ ของตนตามกรอบแนวทาง กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (1.1) ตง้ั งบประมาณรายจ่ายประจาปใี นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต พ้ืนท่ีของตนเพ่ือใช้ดาเนินการต้ังแต่ระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัยและหลังเกิดภัย โดยเฉพาะงบประมาณ เพ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนท่เี กิดข้นึ เฉพาะหนา้ และระยะยาว เชน่ การอพยพ การจัดตั้ง ศูนย์พักพิงชั่วคราว การสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบภัย การสาธารณสุข การส่ือสาร การรักษาความสงบ เรียบรอ้ ย และการสาธารณปู โภค เป็นต้น (1.2) สนับสนนุ งบประมาณเพ่ือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนท่ีของตน ใหเ้ ป็นไปตามแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี ที่กาหนดให้มีแผนขั้นตอนขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในการจดั หาวัสดุอุปกรณ์ เคร่อื งมือเครื่องใชแ้ ละยานพาหนะ พรอ้ มทง้ั จดั ใหม้ ีเคร่อื งหมาย สญั ญาณหรอื สง่ิ อืน่ ใดในการแจง้ เตือนใหป้ ระชาชนไดท้ ราบถงึ การเกดิ หรือคาดวาจะเกดิ สาธารณภัย (2) จังหวัดและกลุ่มจังหวัด จงั หวัดตั้งงบประมาณสาหรบั การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จากสานักงบประมาณตาม พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการพ.ศ. 2551 โดยการบรรจุ แผนงาน/โครงการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจัง หวัด แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีของจงั หวัด แผนปฏิบัติราชการประจาปีของกลุ่มจังหวัด และคาของบประมาณ ของจังหวดั และกลุ่มจังหวดั เพอ่ื ใหจ้ งั หวัดและกล่มุ จังหวัดไดม้ ีสว่ นร่วมรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขตพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบ (3) ส่วนราชการ หน่วยงานระดับจงั หวดั ระดับอาเภอ และระดับท้องถน่ิ ตง้ั งบประมาณรายจา่ ยประจาปี เพอ่ื ดาเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามภารกิจหน้าท่ีของหน่วยงานท่ีดาเนินการรองรับยุทธศาสตร์ ตามทกี่ าหนดไว้ในแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ปัตตานี 5.1.2 งบอื่นๆ ไดแ้ ก่ (1) งบกลาง (1.1) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ 1) ก่อนเกิดภัย : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบกลาง ประเภทเงิน สารองจ่ายใหเ้ พียงพอต่อการเผชิญเหตุสาธารณภยั ท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ 2) ขณะเกดิ ภยั : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นาเงินงบประมาณท่ีเตรียมไว้ ไปใช้จ่ายเพ่ือบรรเทา/ช่วยเหลือความเดือดร้อนของประชาชนท่ีประสบสาธารณภัยเป็นลาดับแรก ซึ่งหาก งบประมาณไม่เพียงพอ ให้โอนเงินงบประมาณเหลือจ่ายหรืองบประมาณในแผนงาน/โครงการอื่นท่ียังไม่มี ความจาเป็นเร่งดว่ นท่ตี ้องใชจ้ ่ายไปตั้งเปน็ งบประมาณสาหรับจ่ายเพิม่ เตมิ ได้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวธิ กี ารงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2551 และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หน้าที่ 38 ของ 51 หน้า (1.2) รฐั บาล กรณีส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจใดมีความจาเป็นต้องใช้จ่ายงบประมาณ นอกเหนือจากที่ได้รับการจัดสรร หรือได้รับการจัดสรรแล้วไม่เพียงพอท่ีจะดาเนินการและมีความจาเป็น เร่งดว่ น ใหส้ ่วนราชการฯขอใชเ้ งินงบกลาง รายการเงินสารองจ่าย เพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นโดยพิจารณา เฉพาะกรณที มี่ ีความจาเปน็ และเร่งดว่ นทีจ่ ะต้องรีบดาเนินการ เพอ่ื มิใหเ้ กิดความเสียหายแกท่ างราชการ ทั้งน้ี ตอ้ งนาเสนอคณะรฐั มนตรเี พือ่ พิจารณาอนุมัติ 5.1.3 งบประมาณจากเงินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลัง เมือ่ เกดิ ภยั พิบัติกรณฉี ุกเฉินข้ึนในพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี เป็นอานาจของผู้วาราชการ จังหวดั ร่วมกับคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยพิบตั จิ งั หวดั (ก.ช.ภ.จ.) ดาเนนิ การประกาศเขตการ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉนิ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพ่ือ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ัตกิ รณีฉุกเฉิน และหลักเกณฑ์วิธีการท่ีเก่ียวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือดาเนินการ ช่วยเหลือโดยเร่งด่วนตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยมุ่งหมายท่ีจะบรรเทาความเสียหายท่ีได้รับจาก ภยั พบิ ตั ิ โดยมแี นวทางการใชจ้ ่ายเงินทดรองราชการ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ย เงินทดรองราชการ เพ่ือช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัยพิบัติกรณีฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ (1) เมื่อคาดหมายว่าจะเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินข้ึนในเวลาอันใกล้ และจาเป็นต้อง รบี ดาเนินการโดยฉับพลัน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีเป็นผู้มีอานาจอนุมัติใช้จ่ายเงินทดรองราชการใน เชิงปอ้ งกนั หรือยับย้ังภยั พบิ ัติกรณีฉุกเฉนิ นั้นได้ โดยไม่ต้องประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั พบิ ตั ิ กรณฉี ุกเฉนิ ภายในวงเงนิ ไม่เกิน 10 ลา้ นบาท เมื่อประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และต้อง ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ัตกิ รณฉี ุกเฉนิ และดาเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลือหรือสนบั สนุนการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ให้ใช้วงเงินทดรองราชการฯ 20 ล้านบาท ตามที่ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่ กาหนด (2) การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตาม ระเบียบนี้ ตอ้ งเป็นค่าใชจ้ ่ายทจ่ี าเป็นในด้านการดารงชีพและความเป็นอยขู่ องประชาชน หรือเป็นการซอ่ มแซม ใหค้ นื สสู่ ภาพเดมิ อันเป็นการบรรเทาความเดอื ดร้อนเฉพาะหน้า โดยไม่สามารถใช้จา่ ยเงนิ ทดรองราชการเพ่ือ สร้างส่ิงก่อสรา้ งหรือสาธารณูปโภคทถ่ี าวรหรอื ก่อสรา้ งใหม่ได้ 5.2 การสนับสนุนส่ิงของ เงินบริจาค มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ สภากาชาด ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน การสนับสนุนส่ิงของ เงินบริจาค มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ สภากาชาด ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน ให้สว่ นสนบั สนุนของศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณจ์ งั หวดั ปตั ตานี ดาเนินการรับบริจาคเงิน ส่ิงของ เพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ประสานงานให้มีการควบคุมและตรวจสอบยอดเงิน ธุรกรรมทางการเงิน ของเงินบริจาคในบัญชีธนาคาร ทีห่ น่วยงานองค์กร หรือบุคคลเปิดบัญชีไว้ ตลอดจนแจ้งช่องทางท่ีประชาชน จะบริจาคทรพั ยห์ รอื สงิ่ ของได้ และให้มรี ะบบควบคุมการรบั และใชจ้ า่ ยเงนิ บรจิ าค เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบที่ เก่ยี วข้อง ดังนี้ (1) ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการรับบริจาคและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ สาธารณภยั แผนเผชิญเหตุอุทกภัยจงั หวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปตั ตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หนา้ ที่ 39 ของ 51 หน้า (2) ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วย การเร่ียไรของหนว่ ยงานรัฐ พ.ศ. 2544 (3) ระเบียบกระทรวงการคลังว่า ด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ พ.ศ. 2526 (4) ระเบียบกรมพฒั นาสังคมและสวสั ดกิ ารวา่ ดว้ ย การรบั บรจิ าคสิง่ ของเหลือใช้ของศูนย์รับ บรจิ าคเพื่อการสงเคราะห์ผเู้ ดอื ดรอ้ น พ.ศ. 2547 กรณีบคุ คล หนว่ ยงาน หรอื องคก์ รใด จัดต้งั ศูนยร์ ับบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยท่ี บุคคล หน่วยงานหรือองค์กรนั้นไม่ได้รับมอบหมายภารกิจใดๆ จากกองอานวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั ปตั ตานี อาเภอและท้องถน่ิ ใหร้ ับผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายในการขนย้ายและส่งมอบส่ิงของบริจาค ดว้ ยตนเอง 5.3 การสอ่ื สาร โทรคมนาคมและการติดต่อประสานงาน - ระบบสอ่ื สารหลกั สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี โทรศัพท์/โทรสาร 0 7333 3208-9 และ 0 7333 7145 สานกั งานประชาสมั พนั ธ์จังหวดั ปตั ตานี โทรศัพท์ 0 7334 8435 บริษัท ทโี อที จากดั (มหาชน) จังหวดั ปัตตานี โทรศัพท์ 0 7333 4445 - การส่อื สารรองขา่ ยวิทยุสื่อสาร ระบบ HF ความถ่ีหลกั 161.200 MHz นามเรียกขาน “ปภ.ปัตตานี” ความถีร่ อง 166.475 MHz ของสานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี ความถีร่ อง 166.975 MHz นามเรยี กขาน “พญา” ของท่ที าการปกครองจังหวัดปตั ตานี ความถส่ี ารอง 152.875 MHz นามเรียกขาน “ปัตตานี” ของตารวจภูธรจังหวัดปตั ตานี ความถีส่ ารอง 153.450 MHz นามเรยี กขาน “ศนู ยห์ า้ ” ของสถานตี ารวจภูธรเมอื งปตั ตานี ความถส่ี ารอง 145.000 MHz นามเรียกขาน “HS9AI” ของสมาคมวิทยุสมคั รเลน่ จังหวดั ปัตตานี - การส่อื สารสารอง โทรศัพท์เคลื่อนที่แจ้งเหตุ หัวหนา้ สานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดปัตตานี หมายเลข 08 9969 6746 - ระบบ CALL CENTER แจ้งเหตุด่วน แจ้งเหตุแพทย์ฉกุ เฉนิ โทร. 1669 แจ้งเหตไุ ฟไหม้ โทร 199 แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภัยจังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี

ชดุ ท่ี ของ ชุด หนา้ ท่ี 40 ของ 51 หน้า แจ้งเหตุด่วนเหตรุ ้าย โทร. 191 แจ้งเหตุสาธารณภยั โทร.1784 แจง้ เหตุกระแสฟา้ ขัดขอ้ ง โทร. 1129 แจ้งการประปา นา้ ไม่ไหลโทร. 1662 แจง้ ศูนยค์ ้มุ ครองผโู้ ดยสารรถสาธารณะ โทร.1584 - สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทยจังหวัดปัตตานี คลื่น FM 101 MHz คล่นื AM 1296 KM โทรศัพท์ 0 7346 0064 - การดูแลระบบโทรคมนาคมใหส้ ามารถใชก้ ารได้ตลอด 24 ชัว่ โมง จัดตั้งศูนย์ส่ือสาร โดยให้มีระบบสื่อสารท่ีจาเป็นให้ใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง สามารถเช่อื มโยงระบบสอื่ สารกับหนว่ ยงานอ่ืนได้ปกติโดยเร็วท่วั ถึงทุกพนื้ ท่ี แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชดุ หนา้ ท่ี 41 ของ 51 หน้า กองอา้ นวยการป้องกนั และบรรเทา กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนยป์ อ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยจงั หวัดยะลา สาธารณภยั เขต 12 โทรศพั ท์ 0-7320-3563  โทรศัพท์ 02-6373-000 โทรศัพท์ 0-7425-1160-3 โทรสาร 0-7320-3562 โทรสาร 0-7425-1160-3 ความถว่ี ทิ ยุ 161.200 MHz  โทรสาร 02-6373-000 สายด่วน 1784 ความถี่วิทยุ 150.150 MHz  สป.มท. 5505 สายดว่ น 1784 สถานตี า้ รวจภธู ร  ความถ่ีวทิ ยุ 161.200 MHz จังหวดั ปตั ตานี โทรศัพท์ 0-7341-4688 166.745 MHz โทรสาร 0-7341-4650 ความถ่ีวิทยุ 152.875 MHz กองอ้านวยการปอ้ งกันและ กองอา้ นวยการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด บรรเทาสาธารณภยั กองอา้ นวยการปอ้ งกันและ จงั หวดั ปัตตานี บรรเทาสาธารณภัยอ้าเภอ นราธวิ าส โทรศัพท์ 0-7353-2210 โทรศัพท์ 0-7333-3208-9 (จ้านวน 12 แหง่ ) โทรสาร 0-7353-2132 โทรสาร 0-7333-7145 ความถ่ีวทิ ยุ 166.975 MHz ความถ่วี ิทยุ 161.200 MHz ความถ่ีวทิ ยุ 161.200 MHz มทบ.46 โทรศพั ท์ 0-7334-0141-4 โทรสาร 0-7334-0140 กองอ้านวยการปอ้ งกันและ กองอา้ นวยการป้องกันและ ส้านกั งานสาธารณสุขจังหวัดปตั ตานี บรรเทาสาธารณภัยเทศบาล บรรเทาสาธารณภยั องค์กร โทรศพั ท์ 0 7346 0234 โทรสาร 0-7346-0235 (จา้ นวน 14 แห่ง) ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จ้านวน 113 แห่ง ความถี่วทิ ยุ 155.675 MHz กองพลทหารบกท่ี 15 โทรศัพท์ 0-7342-4020 ความถศ่ี ูนยน์ เรนทร โทรสาร 0-7342-4114 สายด่วน 1669 มูลนิธ/ิ กภู้ ัย/กชู้ ีพ/องคก์ รเอกชน/ โทรศพั ท์ 0-7333-2885 จิตอาสา โทรสาร 0-7333-1021 ความถี่วิทยุ 154.925 MHz ผังสื่อสารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ปัตตานี แผนเผชิญเหตอุ ทุ กภยั จังหวดั ปัตตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ปัตตานี

ชดุ ที่ ของ ชุด หนา้ ที่ 42 ของ 51 หน้า 6 แผนการแจกจ่ายแผนเผชญิ เหตุอทุ กภัยจังหวัดปัตตานี กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี แจกจ่ายแผนเผชิญเหตุ อทุ กภยั จังหวัดปตั ตานี พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และมลู นธิ ิ ตามคาสง่ั กองอานวยการ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดปัตตานี เรอื่ ง จดั ต้งั ศนู ย์บญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์อุทกภัย จงั หวดั ปัตตานี 7 ภาคผนวก ก. ขอ้ มลู ทรพั ยากรเครอื่ งมอื เครอ่ื งจักรกลสาธารณภัย ข. พื้นทที่ เ่ี สยี่ งอทุ กภัย ปี พ.ศ. 2565 ค. พน้ื ที่ดา้ นการเกษตรที่เสีย่ งตอ่ การเกดิ อทุ กภยั ง. พื้นที่ดา้ นการประมงทเ่ี ส่ยี งต่อการเกดิ อทุ กภยั จ. หน่วยตดิ ตอ่ สื่อสารในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับอาเภอ ฉ. จุดตดิ ต้งั อปุ กรณเ์ ตอื นภัยจังหวดั ปัตตานี ช. ศูนยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว (กรณีอทุ กภัย) จังหวดั ปตั ตานี ซ. หมายเลขโทรศพั ท์ฉุกเฉนิ ลงนาม ผูเ้ สนอแผน (นายกาส เส็นโต๊ะเยบ็ ) หวั หนา้ สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด กรรมการและเลขานุการกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี ลงนาม ผู้ให้ความเห็นชอบ (นายสมนึก พรหมเขยี ว) รองผวู้ า่ ราชการจงั หวัด รองผอู้ านวยการกองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดปตั ตานี ลงนาม ผอู้ นมุ ตั ิแผน (นายนิพนั ธ์ บุญหลวง) ผู้ว่าราชการจังหวดั ผอู้ านวยการกองอานวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตั ตานี แผนเผชญิ เหตอุ ทุ กภัยจงั หวดั ปตั ตานี พ.ศ. 2565 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดปัตตานี












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook