Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงาน

การเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงาน

Published by nthanyawut, 2021-05-14 07:20:29

Description: การเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรมและจัดการพลังงานสำหรับเครื่องระบบทำความเย็นในโรงงานอุตสาหกรรม

Keywords: IET350

Search

Read the Text Version

ก การเพิม่ ประสิทธิภาพการอนุรักษพ์ ลงั งานในอตุ สาหกรรมและจัดการพลงั งานสำหรับเครือ่ งระบบ ทำความเยน็ ในโรงงานอุตสาหกรรม เสนอ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กุณฑล ทองศรี จดั ทำโดย นายพรี น์ ิธิ หลายรุ่งเรืองชัย รหสั 630407302745 นายธันยวุฒ คงมน่ั รหัส 630407302749 นายเจษฏากรณ์ สังขว์ ัง รหสั 630407302771 นายเอกศษิ ฐ์ กิตตธิ นาสวัสดิ์ รหัส 630407302772 นายพรรณกร ทองย้อย รหัส 630407302894 นางสาวลลติ า ชานนท์ รหสั 630407302895 นายรุ่งเรือง สุดแสง รหสั 630407302989 นายภาสกร พระโกฏิ รหสั 630407302991 นายธนดล กระปี รหสั 630407304015 นายไกรวฒุ ิ มาลัย รหัส 630407304041 นายวีรชติ ชื่นชม รหัส 630407304042 รายงานฉบบั นี้เปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ า ทอ. 350 เทคโนโลยีการซ่อมบำรงุ และการอนุรักษพ์ ลงั งานในอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคโนโลยวี ิศวกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปกี ารศกึ ษา 2564 ไฟล์ Word ไฟล์ E-REPORT https://drive.google.com/file/d/1bP_XlpVdHvnlFlFlKodgNAQwqJPmT7i8/view?usp=sharing https://drive.google.com/file/d/1-C8kgZvciGpld596Zx49hCATIQoSA-Md/view?usp=sharing

ข คำนำ รายงานฉบับนี้จดั ทำขน้ึ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า ทอ.350 เทคโนโลยีการซ่อมบำรงุ และการอนุรักษ์ พลงั งานในอุตสาหกรรม เพื่อใหไ้ ด้ศกึ ษาหาความรู้ในเร่อื งการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบำรุงรักษาเครื่องจักรใน อุตสาหกรรม กรณีศึกษา บริษทั ไทยเทพรส จำกัด และการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการอนุรักษพ์ ลังงานในอตุ สาหกรรม เรอื่ ง ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ และการจดั การพลังงานสำหรับโรงงานอตุ สาหกรรมและได้ศึกษาอย่าง เขา้ ใจเพ่ือประโยชนก์ ับการเรียน คณะผู้จดั ทำหวงั ว่า รายงานฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์กับผู้อ่าน หรอื นกั เรยี น นักศึกษา ทก่ี ำลังหาข้อมูลเรอ่ื ง นี้อยู่ หากมีขอ้ แนะนำหรือ ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทำขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มา ณ ท่นี ้ีด้วย คณะผู้จดั ทำ

ค สารบัญ หน้า เรอื่ ง ข ค-จ คำนำ สารบญั 1 ตอนที่ 1 การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของการซ่อมบำรงุ ในอตุ สาหกรรม 1 บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 ความสำคัญของปัญหา 1 1.2 วตั ถุประสงค์ 2 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 2 1.4 วิธดี ำเนินการ 2 1.5 ระยะเวลาการดำเนนิ งาน 1.6 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 3 บทที่ 2 ทฤษฏที ี่เก่ยี วข้อง 3 4 2.1 ทฤษฏีการบำรุงรักษา 9 2.2 การบำรงุ รกั ษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม 10 2.3 การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเคร่ืองจกั ร 2.4 การประเมินผลงานความสามารถในการบำรงุ รักษา 11 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การ 12 13 3.1 ข้อมูลเบื้องต้น 15 3.2 ศึกษาขอ้ มลู การหยดุ ของเคร่อื งจักร 15 3.3 ศกึ ษาสาเหตุท่เี คร่ืองจักรหยุดทำงาน 3.4 การนำ TPM มาปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งจักร 17 บทที่ 4 ผลการเพ่มิ ประสิทธิภาพ 17 18 4.1 การวัดผลหลังปรบั ปรุง 4.2 การวิเคราะหผ์ ลหลงั การปรับปรุง

สารบัญ (ตอ่ ) ง เร่ือง หน้า บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 20 5.1 สรุปผลการดำเนินงาน 20 5.2 ข้อเสนอแนะ 20 ตอนท่ี 2 การเพิม่ ประสิทธภิ าพการอนุรักษ์พลังงานในอตุ สาหกรรม 21 บทท่ี 1 บทนำ 21 1.1 ความสำคัญของปัญหา 21 1.2 วตั ถุประสงค์ 21 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 21 1.4 วธิ ดี ำเนินการ 21 บทที่ 2 ทฤษฏที ี่เกยี่ วขอ้ ง 22 2.1 หลักการทำความเยน็ และปรับอากาศ 22 2.2 วงจรทำความเย็น 23 2.3 อปุ กรณห์ ลกั ภายในวงจรการทำงานของสารทำความเยน็ 24 บทที่ 3 วธิ กี ารศกึ ษาและคน้ ควา้ 35 3.1 เครื่องมือการวจิ ยั 35 3.2 วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มลู 36 3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล 36 บทที่ 4 ผลการเพมิ่ ประสิทธภิ าพ 37 4.1 การอนุรกั ษ์พลังงาน ( เคร่อื งทำความเยน็ ) 4.2 ผลหลงั การเพิ่มประสทิ ธิภาพการอนรุ ักษ์พลงั งาน 37 39 บทที่5 ข้อสรุปและเสนอแนะ 41 5.1 สรปุ ผลการทำงาน 41

จ สารบญั (ต่อ) เรื่อง หน้า ตอนที่3:การจัดการพลงั งานสำหรบั โรงงานควบคุม 42 บทนําการจดั การพลงั งาน 50 5.1. วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั การพลงั งาน 50 5.2. ขน้ั ตอนการจดั การพลงั งาน 50 คาํ นยิ าม 51 ข้ันตอนท่ี 1 คณะทำงานดา้ นการจัดการพลังงาน 52 ขั้นตอนที่ 2 การประเมนิ สถานภาพการจัดการพลงั งานเบอ้ื งตน้ 56 ขัน้ ตอนที่ 3 นโยบายอนุรกั ษ์พลงั งาน 59 ขน้ั ตอนท่ี 4 การประเมนิ ศักยภาพการอนรุ ักษ์พลังงาน 63 ขนั้ ตอนที่ 5 การกําหนดเป้าหมายและแผนอนุรกั ษพ์ ลังงานและแผนการฝึกอบรมและกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษ์ พลงั งาน 66 ข้นั ตอนที่ 6 การดาํ เนนิ การตามแผนอนรุ ักษ์พลงั งาน การตรวจสอบและวิเคราะหก์ ารปฏิบตั ิตามเป้าหมายและแผน อนุรกั ษ์พลังงาน 71 ขน้ั ตอนที่ 7 การตรวจตดิ ตามและประเมนิ การจัดการพลังงาน 74 ขน้ั ตอนท่ี 8 การทบทวน วเิ คราะห์ และ แกไ้ ขข้ อบกพรอ่ งของการ 76 บทสรปุ 78 บรรณานุกรม 79

1 ตอนท่ี 1 การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการซอ่ มบำรุงในโรงงานอุตสาหกรรม กรณศี ึกษา จากบรษิ ทั ไชยโสโร จำกดั บทที่ 1 บทนำ 1.1ความสำคญั ของปญั หา ปัจจุบันเครื่องมือ-เคร่ืองจักรกล ในงานอุตสาหกรรม เข้ามามบี ทบาทในกระบวนการผลิต และการให้บริการ อย่างแพร่หลาย ดังนั้นจะเห็นได้ว่า โรงงานอุตสาหกรรมจะมีการนำเครื่องมือเครื่องจักรที่มีระบบเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยเข้ามาช่วยในการผลิต เพื่อจะทำใหกระบวนการผลิต เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพช่วยลดเวลาในการผลิต และเพ่มิ ปรมิ าณการผลิต แต่เม่ือมีการใชง้ านเคร่ืองมือ-เครอื่ งจกั รกลไปในระยะหน่ึงก็จะเกิดการชำรดุ เสยี หายจนไม่ สามารถใช้งานได้ และส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตจนต้องมีการหยุดซ่อมเครื่องจักร ทำให้ต้นทุนในการผลิต สูงขึ้น และเกิดความลา่ ชา้ จนไม่สามารถส่งมอบผลติ ภณั ฑ์ให้กบั ลูกคา้ ได้ทันกำหนด นอกจากน้ันยงั ทำให้เกดิ ของเสีย จากกระบวนการผลติ เพม่ิ สงู ขึน้ ตลอดจนการสญู เสยี โอกาสในการแข่งขนั ส่งผลต่อการดำเนนิ ธุรกิจ ของบรษิ ทั ฯ การบำรุงรักษาเครื่องจักรพื้นฐานเป็นวิธีหนึ่ง ที่จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ ทำงานโดยการลดเวลาสูญเสียในกระบวนการทำงานและป้องกันไม่ให้เกิดการขัดคล่องของเครื่องจักรและยัง สามารถเพิ่มความน่าเชื่อถือให้เครื่องจักรและอุปกรณ์นั้นๆ ให้คงความสามารถในระบบการทำงานไว้และมีความ ปลอดภัยสูงสุด รวมทัง้ การรักษาให้กระบวนการผลติ นั้นสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเน่ืองอีกด้วย งานศึกษาค้นคว้านี้ได้เลือกกรณีศึกษา บริษัท ไทยเทพรส จำกัด โดยเลือกพิจารณาปรับปรุงใน ส่วนของเครื่องบรรจุ Filler ซึ่งเกิดการขัดข้องของเครื่องจักรสูง จึงเป็นปัจจัย สำคัญที่ต้องมีการบำรุงรักษา เครื่องจักรให้อยู่สภาพพร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คือ การหยุดเครื่องจักรกะทันหันจะทำให้ ประสิทธิภาพเครื่องจักรลดลง เสียเวลาการผลติ และคา่ ใช้จ่ายบำรงุ รักษา 1.2วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งจักร โดยที่มีค่าประสทิ ธิภาพโดยรวมของเคร่อื งจักรเพ่มิ ขน้ึ 1.2.2 ยืดอายกุ ารใชง้ าน เครอื่ งจกั ร ไมใ่ ห้เกดิ ชำรุดเสยี หายกอ่ นระยะเวลาอนั ควร โดยการบำรุงรกั ษาอยา่ ง ตอ่ เนื่อง 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 1.3.1 การศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ใชข้ ้อมูลจาก บริษทั ไทยเทพรส จำกดั เป็นกรณีศกึ ษา 1.3.2 นำแผนการบำรุงรักษาไปดำเนนิ การวิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อหาคา่ MTBF MTTR และ % Machine Availability เพ่ือเปรียบเทียบคา่ ทไ่ี ดก้ ่อนการดำเนนิ การบำรุงรักษา

2 1.4 วิธกี ารดำเนินงาน 1.4.1 ศกึ ษาขอ้ มูลของเคร่อื งจักรในกระบวนการผลติ 1.4.2 รวบรวมขอ้ มูลความเสยี หายของเครอ่ื งจักรในกระบวนการผลิต 1.4.3 ศึกษาทฤษฏกี ารซ่อมบำรงุ และงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 1.4.4 วิเคราะหส์ าเหตกุ ารเสยี หายของเคร่อื งจักร 1.4.5 ดำเนินกิจกรรมการปรบั ปรุงประสิทธิภาพเคร่อื งจกั ร 1.4.6 นำขอ้ มลู มาคำนวณหาประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจักรก่อนและหลังปรบั ปรุง 1.4.7 สรปุ ผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ 1.5 ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ตารางท่ี 1.1 1.6 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ 1.6.1 สามารถยืดอายกุ ารใชง้ านของเครือ่ งจักร 1.6.2 สามารถลดการหยดุ เคร่อื งจักรในขณะเดินเคร่อื ง 1.6.3 ลดคา่ ใช้จ่ายในการซอ่ มบำรุงเคร่ืองจักร

3 บทท่ี 2 ทฤษฏที เ่ี ก่ียวข้อง การใชง้ านเคร่อื งจกั รในกระบวนการผลติ ในโรงงานอุตสาหกรรมนัน้ มกั จะใชง้ านเคร่อื งจักรจนเกิดการชำรุด เสียหาย ถึงจะมีการซ่อมแซม ซึ่งทำให้เกดิ การเสยี หายในรูปแบบต่างๆตามมา ดังนั้น จึงได้มีการนำ ระบบการซ่อม บำรุงมาใช้ เพ่ือยดื อายุของเครื่องจักรและป้องกนั ไม่ให้เคร่ืองจักรเสียกะทันหัน ทส่ี ่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่มประสิทธิภาพในการผลิตเพื่อลดความสูญเสีย(Downtime) ซึ่งเกิดจาก การขัดขอ้ และเสียหาย (Break Down) ซง่ึ จะนำหลักการบำรงุ รกั ษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance : PM) มาใช้เปน็ การวางแผน เพอ่ื รกั ษาสภาพการทำงานของเครื่องจักรให้เหมาะสม กอ่ นที่จะมกี ารหยดุ ชะงัก 2.1 ทฤษฏีการบำรงุ รักษา 2.1.1 ความหมายของการบำรุงรักษา หมายถึง งานที่ต้องปฏิบัติเพื่อรักษาสภาพหรือยกสภาพของ เครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ให้ได้มาตรฐานที่กําหนดหรืออีกนัยหนึ่ง เป้าหมายของการบํารุงรักษา คือ การดูแล เครื่องจักรอุปกรณ์ และโรงงานให้มีประสิทธิภาพในการทํางาน และสามารถใช้งาน ได้ตามที่ฝ่ายผลิตต้องการ ซ่ึง หมายถงึ ความต้องการตา่ ง ๆ เหล่าน้ี คอื 1. เครอ่ื งจกั รสามารถเดนิ เครือ่ งได้ เม่ือต้องการทําการผลิต 2. เคร่ืองจักรตอ้ งไมช่ าํ รดุ ขณะทาํ การผลติ อยู่ 3. เครอ่ื งจกั รตอ้ งสามารถทาํ การผลติ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ในระดบั การผลติ ระดบั หนง่ึ ทต่ี อ้ งการ 4. การหยุดเครื่องจักรเพอ่ื ซ่อมแซมต้องไมข่ ดั กบั แผนการผลติ 5. เวลาหยุดเคร่อื งจกั ร (down time) ตอ้ งให้น้อยทีส่ ุดเทา่ ท่จี ะทําได้ จากความหมายดงั กล่าวสรปุ ได้ว่าการบาํ รุงรกั ษาเป็นการกระทาํ ตา่ ง ๆ ที่มุง่ หมายจะรกั ษาพัสดุอุปกรณให้อยใู่ น สภาพดีสามารถใช้งานได้เลยหรอื พรอ้ มท่ีจะใชง้ านไดต้ ลอดเวลา 2.1.2 วตั ถุประสงคข์ องการบำรงุ รกั ษา 1. เพิ่มคุณภาพของเครื่องจักรกล หรือเป็นการป้องกันไม่ให้คุณภาพต่ำลง ซึ่งมีผลต่อความเชื่อมั่นในเครื่องจักรกล โดยการบำรุงรักษาจะชว่ ยให้เคร่ืองจักรมีความเทย่ี งตรงและแม่นยำ 2. ควบคมุ ตน้ ทุนของเครื่องจกั รกล ไม่ใหเ้ พ่มิ ข้นึ หรอื หาหนทางในการลดต้นทุนลง ซงึ่ การทำงานของเคร่ืองจักรกล ยอ่ มมีการลงทนุ คา่ ดำเนินการ รวมถงึ คา่ ซ่อมแซมต่างๆ 3. ควบคมุ กำหนดการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักรกล เพ่ือใหแ้ ล้วเสรจ็ ได้ตรงเวลามากที่สดุ เพอ่ื ใหห้ น่วยงาน มีความ เชอ่ิ ม่ันในการทำงานของเคร่อื งจักร ถา้ มกี ารซ่อมบำรงุ รักษาช้า กย็ อ่ มหมายถึงตน้ ทุนต้องเพ่ิมข้ึน และประสิทธิภาพ สมรรถนะเคร่อื งจักรลดลงอีกด้วย

4 4. ป้องกันความสูญเสียอันเนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น การขัดข้องจนทำให้เดินเครื่องจักรไม่ได้เต็มกำลัง หรือ จำเป็นตอ้ งหยุดการทำงาน หรอื เคร่ืองจักรชำรงุ เสยี หาย เปน็ ต้น 5. ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ อันเนื่องมาจากเครื่องจักรทำงานผดิ พลาด หรือชำรุดเสียหาย ซึ่งหาก เกิดอบุ ตั ิเหตุขนึ้ และทำใหผ้ ้ปู ฏบิ ัติงานบาดเจบ็ ก็จะเสียคา่ ใช้จา่ ยต่างๆ 6. ประหยัดพลังงาน เครื่องจักรจะทำงานได้ต้องอาศัยพลังงาน เช่น ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ถ้าหากเครื่องจักรได้รบั การดูแลให้อยู่ในสภาพที่ดี เครื่องเดินราบเรียบไม่สะดุด ไม่มีการรั่วไหลของน้ำมัน ก็จะทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน นอ้ ยลง สง่ ผลให้ประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้ 2.2 การบำรงุ รกั ษาทวีผลแบบทกุ คนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance : TPM) 2.2.1 ความเป็นมา TPM เป็นวัตกรรมเชิงระบบ คิดค้นและพัฒนาโดยผู้นำทางอุตสาหกรรมคือประเทศ ญี่ปุ่น จุดเริ่มต้นของระบบนี้ มาจากการนำแนวคิด Preventive Maintenance : PM จากอเมริกาเข้ามาในญี่ปุ่น ในปี 1951 PM เป็นแนวคิดที่คนงานเป็นผู้ใช้เครื่องมือในการผลิตงาน และมีทีมบำรุงรักษาเครื่องมือเป็นผู้ดูแล เครื่องมือ แต่ในช่วงต่อมาเทคโนโลยีมีความเจริญเติบโตรวดเร็วอย่างมาก เครื่องมือต่างๆ เครื่องอัตโนมัติมากขึ้น รวมทั้งมีการใช้เครื่องมือแทนคนมากขึ้น การใช้ทีมงานบำรุงรักษา ไม่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ จึงเกิด แนวคิดว่าผใู้ ชเ้ ครอื่ ง(Operators) ควรจะมสี ่วนในการบำรุงรกั ษาเครอ่ื งมือ และเปน็ การทำในการทำงานประจำวนั 2.2.2 การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม TPM หมายถึง ระบบของการดำรงรักษาและการ ปรับปรุงความสมบูรณ์ของระบบการผลิตและระบบคุณภาพโดยผ่านเตรื่องจักร อุปกรณ์กระบวนการต่างๆ และ พนกั งาน ซึง่ จะช่วยเพ่มิ คุณค่าทางธุรกิจให้กบั องค์กร การบำรงุ รักษาทวีผลโดยทุกคนมสี ่วนรว่ มมุ่งเน้นเพื่อคงรักษา อุปกรณท์ ง้ั หมดให้อยูใ่ นสภาพท่ดี ีท่ีสดุ เพอื่ หลกี เหลย่ี งการหยุดเครื่องและความล่าชา้ ในกระบวนการผลติ 2.2.3 จุดประสงค์หลักของ TPM คือ การลดความสูญเปล่าที่เกดิ ข้ึนจากการรอซ่ึงเปน็ ผลท่ีตามมาจากการ ที่ต้องหยุดผลิต และความสูญเปล่าที่เกิดจากการผลิตของเสีย (Defect) ซึ่งทั้งสองเป็นผลมาจากความผิดปกติของ เครือ่ งจักรทข่ี าดการดแู ลและปรับปรุง 2.2.4 องค์ประกอบหลักของ TPM โดยหากพูดถึงองค์ประกอบของระบบ TPM แล้ว จะมีองค์ประกอบ หลักๆ โดยจะมี หลังคาที่เปรียบเสมือนเป้าหมายขององค์กร และเสาหลักทั้ง 8 เสาที่ทำหน้าที่รับภาระจาก เป้าหมายมาอกี ที และในสว่ นสดุ ทา้ ยคือรากฐานท่ีเปรียบเสมอื นความม่ันคง

5 2.2.5 แปดเสาหลักของ TPM 1. การปรบั ปรงุ เฉพาะเรื่อง (Individual Improvement) ผรู้ ับผดิ ชอบ เป้าหมาย บทบาทและหน้าที่ ผู้จัดการและหวั หนา้ งานในสายการผลติ - ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการผลติ ให้อย่รู ะดบั -กำจดั ความสญู เสยี สงู สดุ อยเู่ สมอ - คำนวณคา่ OEE ของแต่ละสายการผลิต - เครื่องจกั รเสยี เป็นศนู ยแ์ ละของเสียเปน็ หรอื ของแต่ละผลติ ภณั ฑพ์ ร้อมทั้งทำการ ศนู ย์ ตง้ั เป้าหมาย - วิเคราะหป์ จั จยั ตา่ งๆ ทที่ ำให้ OEE ต่ำ - ทำการวเิ คราะห์ด้วยหลกั P-M เพอื่ กำจดั ความเสยี หายแบบเรือ้ รัง - เฝา้ ตดิ ตามวา่ แตล่ ะชว่ งเวลาเครอ่ื งจกั ร ควรจะไดร้ ับการ ปรบั ปรงุ อยา่ งไร 2. การบำรงุ รกั ษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance) ผู้รบั ผดิ ชอบ เป้าหมาย บทบาทและหน้าที่ ผใู้ ชเ้ ครอื่ งและ หัวหนา้ งานใน - ผูใ้ ช้เครือ่ งมคี วามรู้และความเข้าใจในกลไก ปฏิบัตติ าม 7 ข้นั ตอนของการบำรงุ รักษา สายการผลิต ของเครือ่ ง ดว้ ย - ผู้ใช้เคร่ืองสามารถบำรุงรักษาเครื่องจกั รได้ ตนเอง ดว้ ยตนเอง 1. การทำความสะอาดแบบตรวจสอบ 2. กำจดั จุดยากลำบากและแหลง่ กำเนดิ ปญั หา 3. การเตรยี มมาตรฐานการบำรงุ รกั ษาด้วย ตนเอง 4. การตรวจสอบโดยรวม 5. การตรวจสอบด้วยตนเอง 6. การจดั ทำเป็นมาตรฐาน 7. การปรับปรงุ อย่างต่อเน่ือง

6 3. การบำรงุ รกั ษาตามแผน (Planned Maintenance ผรู้ บั ผิดชอบ เป้าหมาย บทบาทและหน้าที่ ผู้จดั การและหวั หน้า - เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของงานซ่อมบำรงุ เพือ่ - จดั ทำแผนการบำรุงรกั ษาประจำวนั งานในฝา่ ยซอ่ ม ไมใ่ หเ้ กิดความสญู เสียในกระบวนการผลติ - จัดทำแผนการบำรงุ รักษาตามระยะเวลา บำรุง - จดั ทำแผนการบำรงุ รกั ษาเชิงป้องกัน - ยืดอายุการใชง้ านของเครอื่ งจกั ร - ควบคมุ การเปลี่ยนชน้ิ สว่ นตามคาบเวลาท่ี กำหนด - วเิ คราะห์ความเสยี หายทเ่ี กดิ ข้นึ และ หาทางป้องกัน - ควบคมุ การหล่อล่ืน 4. การศึกษาและฝกึ อบรมเพ่ือเพ่ิมทกั ษะการทำงานและการบำรงุ รักษา (Operation and Maintenance Development) ผู้รบั ผิดชอบ เป้าหมาย บทบาทและหนา้ ที่ ผ้ใู ชเ้ คร่อื งและ - ยกระดับความสามารถในทางเทคนิคของ ฝึกอบรมในหวั ข้อต่อไปน้ี พนักงานซอ่ มบำรงุ ท้งั ผ้ใู ช้เครอื่ งและชา่ งซอ่ มบำรงุ - การบำรงุ รกั ษาเบอ้ื งตน้ - การขันแนน่ และการปรบั แตง่ - การใชง้ านของเครอื่ ง - การบำรงุ รักษาแบริง่ - การบำรุงรกั ษาระบบส่งกำลงั - การบำรุงรักษาระบบไฮดรอลิกสแ์ ละระบบ นิวเมติกซ์ - การบำรงุ รกั ษาระบบควบคมุ ดว้ ยไฟฟา้

7 5. การคำนงึ ถงึ การบำรงุ รกั ษาตั้งแต่ข้ันการออกแบบ (Initial Phase Management) ผูร้ ับผดิ ชอบ เป้าหมาย บทบาทและหน้าที่ - ผ้จู ดั การฝ่ายวิจยั - พัฒนาผลิตภณั ฑใ์ หม่ให้ดขี น้ึ - ต้ังเปา้ หมายของการออกแบบและพฒั นา และพัฒนา - ออกแบบอปุ กรณเ์ คร่ืองไม้เครือ่ งมือให้ใช้ - ออกแบบโดยการคำนึงถงึ เครื่องจักรท่ตี ้อง - วิศวกรการผลติ งานไดเ้ รว็ ขน้ึ ทำการผลติ ไดง้ า่ ย คณุ ภาพคงท่ี - วิศวกรซ่อมบำรงุ - ผลติ ภณั ฑ์ใหมแ่ ละเคร่อื งจักรใหมต่ อ้ ง ใช้งา่ ย บำรุงรกั ษาไดง้ ่าย บำรงุ รกั ษาไดง้ า่ ย มีความนา่ เช่ือถอื - ศึกษาคา่ ใชจ้ ่ายตลอดอายุการใช้งานของ เคร่ือง - ทบทวนแบบของผลติ ภัณฑ์และเครอ่ื งจกั ร อยู่เสมอ 6. ระบบการบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance) ผ้รู ับผิดชอบ เปา้ หมาย บทบาทและหนา้ ท่ี - ผู้จดั การฝ่าย - เครือ่ งจกั รตอ้ งไม่ใชส่ าเหตทุ ี่ทำใหเ้ กิดของ - ทบทวนมาตรฐานคุณภาพและขอ้ กำหนด ประกนั คณุ ภาพ เสีย หรือ \"การผลติ ของเสยี เปน็ ศนู ย์\" ทางเทคนคิ ทีท่ ำไว้กบั ลกู ค้า - วศิ วกรการผลติ - ประกันคณุ ภาพทกุ ข้นั ตอนไม่ว่าจะเป็น - หัวหน้า กระบวนการ วัตถดุ บิ พลงั งาน อปุ กรณ์ สายการผลิต หรือวิธกี าร - หาสาเหตุทท่ี ำใหค้ ณุ ภาพเกิดความผดิ ปกติ - จดั ทำมาตรฐานการตรวจสอบในจดุ ต่างๆ ของเครอ่ื งทม่ี ผี ลต่อคุณภาพ

8 7. ระบบการทำงานของฝ่ายบริหารท่ีตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลติ หรือเรียกวา่ TPM ในสำนักงาน (TPM in Office) ผู้รบั ผิดชอบ เป้าหมาย บทบาทและหนา้ ท่ี - ผจู้ ดั การและ - กำจดั ความสญู เสยี ทเี่ กิดจากการ การบำรงุ รักษาด้วยตนเองในสำนกั งาน พนกั งานในฝ่ายขาย ประสานงานระหว่างฝา่ ย 1. ทำความสะอาดอุปกรณเ์ ครอ่ื งใช้ และฝา่ ยบรหิ าร - จัดทำงานบริการดา้ นธรุ การใหม้ ี สำนกั งาน ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ 2. พฒั นากระบวนการทำงานใหม้ ี - สนบั สนุนและอำนวยความสะดวกให้กบั ประสิทธภิ าพ ฝา่ ยผลิต 3. จัดทำเป็นมาตรฐาน 4. ปรบั ทศั นคติวา่ \"ตอ้ งทำทุกอยา่ งทฝ่ี ่าย ผลติ ตอ้ งการ\" การปรบั ปรงุ เฉพาะเรือ่ ง 1. ลดเวลางานดา้ นบัญชี 2. ปรบั ปรุงระบบการจดั สง่ 3. ปรบั ปรุงระบบจัดซอื้ และจดั จา้ ง 8. ระบบชวี อนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ มภายในโรงงาน (Safety, Hygiene and Working Environment) ผู้รบั ผดิ ชอบ เปา้ หมาย บทบาทและหนา้ ที่ - คณะกรรมการ - อุบตั ิเหตเุ ปน็ ศนู ย์ - เกบ็ ขอ้ มูลและจดั ทำสถิติการเกิด มาตรฐานแรงงาน - พัฒนาคุณภาพชวี ติ ในการทำงาน อบุ ัตเิ หตุ ของโรงงาน และความปลอดภัยในโรงงาน - วเิ คราะหก์ ารปฏิบตั ิงานเพื่อหา - เจา้ หน้าทีค่ วาม ขัน้ ตอนที่อาจเกิดอนั ตราย ปลอดภยั - ขจัดมลภาวะในสถานที่ทำงาน - วดั อตั ราการอนุรักษ์พลังงาน - สง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานมสี ขุ ภาพท่ีดีดว้ ย กจิ กรรมต่างๆ - สรา้ งบรรยากาศทนี่ า่ ทำงาน

9 2.3 การวดั ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจกั ร (Overall Equipment Effectiveness: OEE) เป็นวิธีการที่ดีวิธีหนึ่งที่นอกจากทำให้รู้ประสิทธิผลของเครื่องจักรแล้วยังรู้ถึงสาเหตุของความสูญเสียท่ี เกิดขึ้นทั้งในภาพใหญ่ คือ สามารถแยกประเภทการสูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนั้น ทำให้สามารถที่จะ ปรับปรุง ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ OEE ย่อมาจาก Overall Equipment Effectiveness หรือเรียกภาษาไทยว่า \"ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรอุปกรณ์\" ซึ่งในปัจจุบันวิธีในการวัด ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ นั้นมีเพียงวิธีนี้วิธีเดียวซึ่งเป็นที่นิยมมาก จนกระทั่งประเทศญี่ปุ่นได้นำไปใช้เป็นเกณฑ์ในการให้รางวัล Productive Maintenance หรือเป็นรางวัลที่ให้แก่ โรงงานที่เป็นที่ยอมรบั ในการบำรงุ รกั ษาแบบทวีผล เนื่องจากหลักการและวิธีคดิ พื้นฐานไม่ซับซ้อนและเห็นภาพได้ อย่างชัดเจนในแง่ของความเป็นจริง ทั้งยังสามารถพิสูจน์ได้ และสะท้อนถึงปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ กระบวนการผลิตได้อย่างชัดเจน (สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2542) โดยมีหลักการที่สามารถเข้าใจได้ง่ายตั้งแต่ ผบู้ ริหารระดับสูงจนถงึ ระดบั พนกั งานคมุ เครือ่ งจกั ร เครื่องจักรที่ดีไม่ใช่เป็นเพียงแค่เครื่องจักรที่ไม่เสีย เปิดสวิตช์เมื่อใดทำงานได้เมื่อนั้น หากแต่ต้องเป็น เครือ่ งจกั รท่เี ปิดข้นึ มาแลว้ ทำงานไดอ้ ย่างเต็มประสิทธภิ าพคือ เดนิ เครอ่ื งได้เตม็ กำลงั ความสามารถ แตถ่ ้าเคร่ืองจักร ใชง้ านได้ตลอดเวลาและเดนิ เครื่องได้เต็มกำลัง แตช่ นิ้ งานท่ีผลิตออกมาไม่มีคุณภาพ ก็คงไมม่ ปี ระโยชน์อะไร ดังน้ัน เรอ่ื งคุณภาพของงานที่ออกมาจึงเปน็ อีกปจั จัยหน่งึ ท่จี ะใช้ในการพิจารณาเครื่องจักร และที่สำคญั เครื่องจักรที่ดีต้อง ใชง้ านได้อยา่ งปลอดภัย 2.3.1 อตั ราการเดินเครอ่ื ง (Availability) คือความพร้อมของเครื่องจักรในการทำงานของเครื่องจักรโดยเป็นการเปรียบเทียบระหว่างเวลาเดินเครื่องจักร (Operating Time) กับเวลาทเ่ี คร่ืองจกั รต้องรบั ภาระงาน (Loading Time) โดยสามารถเขยี นในรปู สมการไดด้ งั น้ี

10 2.3.2 ประสิทธิภาพในการเดินเคร่อื ง (Performance Efficiency: P) คือค่าที่แสดงถึงประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักรในด้านความเร็วในการผลิต โดยเปรียบเทียบระหว่างเวลา เดินเครื่องสุทธิ (Net Operating Time) กับเวลาการเดินเครื่องจริง (Operating Time)โดยสามารถเขียนเป็น สมการไดด้ ังนี้ 2.3.3 อัตราคุณภาพ (Quality Rate: Q) ค่าที่แสดงถึงความสามารถของเครือ่ งจักรในการผลติ สนิ ค้าที่มีคุณลักษณะตรงตามข้อกำหนดของลูกคา้ ต่อจำนวน ผลติ ภณั ฑ์ทผ่ี ลติ ไดท้ ้งั หมดโดยสามารถเขียนแทนไดด้ ว้ ยสมการดงั นี้ 2.4 การประเมนิ ผลงานความสามารถในการบำรงุ รักษา (Maintainability 2.4.1 เวลาเฉล่ยี ระหวา่ งการขัดข้อง (Mean Time Between Failure : MTBF) 2.4.2 เวลาเฉลี่ยในการซ่อมแซม (Mean Time To Repair : MTTR)

11 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การ ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย โดยศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ เครื่องจักรให้ที่ให้เกิดความสญู เสีย โดยมีการศกึ ษาข้อมูลและปัญหาต่าง ๆ ของเครื่องจักรก่อนที่มีการวางแผนการ บำรุงรักษาได้อย่างถูกวิธี การดำเนินงานจะใช้หลักการการบำรุงรักษา TPM เพื่อมาแก้ไขปรับปรุงประสิทธิภาพ เคร่อื งจกั ร โดยสามารถสรปุ เป็นแผนผังลำดบั ขั้นตอนโดยรวมดงั แสดงในภาพที่ 3.1 ศึกษาข้อมูลการหยุดของเครื่องจกั ร ศึกษาสาเหตทุ เี่ ครอ่ื งจกั รหยุดทำงาน กำหนดโครงสรา้ งการนำ TPM มาปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพเครอื่ งจักร ดำเนนิ การแก้ไขปรบั ปรุง สรุปผลการดำเนินงาน ภาพท่ี 3.1 ข้นั ตอนวธิ ีการดำเนนิ การ

12 3.1 ข้อมูลเบอื้ งตน้ 3.1.1 ข้อมูลเบ้ืองตน้ โรงงานตวั อย่าง บรษิ ทั ไทยเทพรส จำกดั (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลัก ในการผลิตและจำหนา่ ย ผลิตภัณฑเ์ คร่ืองปรุงรส อาหารภายใต้เครื่องหมายการคา้ \"ภเู ขาทอง\" ซึ่งประกอบด้วย ซอสปรุงรส ซอสพรกิ น้ำส้มสายชกู ล่นั ซอสมะเขอื เทศ ซอสหอยนางรม ซีอวิ๊ ขาว ซอสชนดิ ผง ซีอิว๊ ชนิดผง รวมถงึ ซอสพริกตรา \"ศรรี าชาพาณชิ \" และซีอิว๊ ญ่ปี ุ่น ตรา \"คนิ ชัน\" นอกจากนี้ยังผลิตตามเครื่องหมายการค้าของลูกค้าอีกดว้ ย สถานที่ตัง้ โรงงาน 208 หมู่ 6 ถ. ท้ายบ้าน ตำบลทา้ ยบา้ น อำเภอเมือง จังหวดั สมุทรปราการ 3.1.2 กระบวนการผลติ การบรรจุซอสปรงุ รส SGC 3 L การทำงาน (Activity) 1. การเตรียมวตั ถุดบิ (Material Preparation) 1.1 รับเเละจดั เตรียมวตั ถดุ บิ 1.2 สรุป/บนั ทกึ /เบิก 2. ขบวนการบรรจุ(Filling Process) 2.2 ตรวจเชค็ แกลอน/เทแกลอน 2.3 เป่าลมทำความสะอาดแกลอน RINSER 2.4 บรรจุและปิดฝา Filler and Capper 2.5 ปดิ ฉลากและยิงวันท่ี หมดอายุ 2.6 แพค็ เกอรบ์ รรจใุ สก่ ล่อง 2.7 โรบอทเรียงกลอ่ งขึน้ พาเลท 3. สง่ เข้าคลังเพอื่ จดั จำหน่าย

13 3.1.3 เคร่อื งจกั รในกระบวนการบรรจซุ อสปรงุ รส SGC 3 L ภาพท่ี 3.3 เครื่องจักรในกระบวนการบรรจซุ อสปรงุ รส SGC 3 L 3.2 ศึกษาขอ้ มูลการหยดุ ของเคร่อื งจักร จากการสังเกตการหยุดของ เครื่องบรรจุ Filler ในชว่ ง มีนาคม - กรกฏาคม 2563 พบว่ามกี ารสญู เสีย เวลาจากเครอ่ื งจักรเสีย โดยจะนำข้อมลู จากช่วง มีนาคม - กรกฏาคม 2563 มาปรับปรุงเพม่ิ ประสิทธืภาพในชว่ ง คร่ึงปีหลงั โดยสงั เกตจุ ากแนวโน้วเวลาของเครื่องจกั รที่เสีย ชั่วโฒง18 เวลาเคร่ืองจักรท่ีเสีย 8.3 16 15.5 14 12.5 12 10 7.9 7.1 8 6 เมษายน พฤษภาคม มถิ นุ ายน กรกฏาคม 4 2 0 มนี าคม ภาพที่ 3..4 เวลาเครอ่ื งจักรทเี่ สีย ในชว่ งเดือน มถิ ุนายน - กรกฏาคม 2563

14 คณะผู้ศกึ ษาได้ทำการรวบรวมข้อมลู ระยะเวลาการทำงานของเครือ่ งจักร (Mean Time Between Failure : MTBF) ระยะเวลาการซ่อมเคร่ืองจักรเฉลีย่ (Mean Time To Repair : MTTR) และอตั ราการเดินเคร่ือง (Machine Availability : A) มาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา เพือ่ ดำเนินการแก้ไขและหาแนวทางการป้องกัน ไม่ให้เกิดเหตซุ ำ้ ตารางท่ี 3.1 สถานการณ์ทำงานของเครื่องบรรจุ Filler ขอ้ มูลจากตารางท่ี 3.1 เป็นการรวบรวมระยะเวลาเดนิ เคร่ืองจกั ร เวลาใช้งานเคร่ืองจักร เวลาเครื่องจกั ร เสยี และจำนวนครง้ั ทเ่ี ครื่องจักรหยุด จากข้อมลู เบื้องต้นเป็นข้อมูลกอ่ นการบำรงุ รักษาโดยใชห้ ลักการการ บำรงุ รักษาทวีผลแบบทกุ คนมีส่วนร่วม(TPM) ตารางที่ 3.2 ค่า MTBF,MTTR และ % Machine Availability ของแต่ละเดือน จากตารางที่ 3.2 พบว่า เวลาเฉลย่ี ระหวา่ งการขดั ข้องของเครอื่ งจักร (Mean Time Between Failures : MTBF) เดือน มีนาคม – พฤษภาคม มีค่าเท่ากบั 48.4 ชัว่ โมง/ครง้ั จากตารางที่ 3.2 พบว่า เวลาเฉลี่ยการซ่อมแซงของเครื่องจักร (Mean Time to Repair : MTTR) เดอื น มีนาคม – พฤษภาคม มคี า่ เทา่ กับ 1.6 ช่ัวโมง/ครัง้ จากตารางท่ี 3.2 พบว่า อตั ราความพร้อมใช้งานเคร่อื งจกั ร (% Machine Availability) เดอื น มีนาคม – พฤษภาคม มคี า่ เท่ากบั 96.52%

15 3.3 ศกึ ษาสาเหตุทเ่ี ครือ่ งจักรหยดุ ทำงาน สาเหตขุ องปัญหาที่ทำใหเ้ ครื่องจักรหยุดกะทนั หนั นนั้ มีหลายสาเหตุ ซ่งึ เป็นปัจจยั สำคญั ท่ีสง่ ผลกระทบต่อ การผลติ 25 สาเหตุท่ีเคร่ืองจักรหยุด 16.3 ชั่วโมง 20 20.3 15 9.1 4.6 10 5 1 0 ภาพท่ี 3.5 สาเหตทุ ่ีเครื่องจักรหยดุ ทำงาน ในชว่ งเดือน มิถุนายน - กรกฏาคม 2563 3.4 การนำ TPM มาปรับปรงุ ประสิทธิภาพของเครื่องจักร จากข้อมูลการสญู เสยี ของการทำงานของเครื่องจักร จึงได้กำหนดใหน้ ำ TPM มาใช้กบั บริษัท เพื่อแกไ้ ข ปญั หาเพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพของเคร่ืองจกั ร โดยมรี ายละเอียดดังนนี้ 3.4.1 การบำรงุ รักษาดว้ ยตนเอง (Autonomous Maintenance or Self Maintenance) เป็นการบำรุงรักษาเครื่องจักรที่กระทำโดยผู้ใช้เครื่อง โดยไม่ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของฝ่ายซ่อมบำรุงเพียง ฝ่ายเดียว ทังนี้เพื่อให้สามารถปกป้องและดูแลเครื่องจักรด้วยตนเอง และเป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเครื่องจักรของ ตนเอง ซึ่งช่วยให้พนักงานผู้ใช้เครื่องจักร สามารถทำความสะอาด ตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรตาม มาตรฐาน วเิ คราะห์ปญั หาและสามารถแกไ้ ขเบ้ืองต้น ทำใหส้ ามารถใชเ้ ครือ่ งจักรได้อยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ 3.4.1.1 ข้ันตอนที่ 1 การทำความสะอาดแบบ เพอ่ื ทำความสะอาดคอื การตรวจสอบเพ่ือหาสิ่งผิดปกติ จุดที่ ตรวจสอบได้ยาก ที่มาของความสกปรก และทำการแก้ไขในสว่ นท่ชี ำรดุ ใหก้ ับสูส่ ภาพเดมิ 3.4.1.2 ขั้นตอนที่ 2 การกำจดั จุดยากลำบากและแหล่งกำเนิดปัญหา เพื่อแกไ้ ขแหลง่ กำเนิดปัญหาและจุด ยากลำบาก โดยอาศัยเครื่องมือต่างๆทางไคเซ็น (karakuri kaizen, Autonomous Kaizen) , Visual Control, การป้องกันความผิดพลาดในการทำงาน Poka-yoke หรือ Mistake Proofing เป็นการปรับการแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้ไมเ่ กิดซ้ำ การทำงานงา่ ยข้นึ ลดการฟงุ้ กระจาย ลดการสะสม

16 3.4.1.3 ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมมาตรฐานการบำรุงรักษาด้วยตนเอง มีวัตถุประสงค์ ต้องไม่ทำให้ความ ผิดปกติต่างๆทั้งที่เคยเกิด ต้องไม่เกิดซ้ำและความผิดปกติใหม่จะต้องไม่เกิดซ้ำ (Prevent Determinant) เป็นการ รักษา Basic Condition รักษามาตรฐาน (รักษาความสะอาดและป้องกันจุดปกพร่อง) ด้วยวิธีพื้นฐานในการ ตรวจสอบดว้ ยสมั ผัสทง้ั 5 3.4.1.4 ขั้นตอนท่ี 4 การตรวจสอบโดยรวม การเตรยี มฝึกอบรม ศึกษาหาความร้เู ก่ยี วกับระบบและกลไก ต่างๆ ของเครอ่ื ง ซง่ึ อาจจะรวมถึงหลักสตู รพน้ื ฐาน 6 Module โดยจะอยู่ในรปู แบบการสอนเปน็ ทางการ การสอน หนา้ งาน OJT ฯลฯ เพอื่ ใหพ้ นักงานปฏิบัติ 3.4.1.5 ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบดว้ ยตนเอง ทบทวนมาตรฐานต่างๆ 3.4.1.6 ขั้นตอนที่ 6 การจัดทำเป็นมาตรฐาน ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ในมาตรฐานการบำรุงรักษาด้วยตนเอง เบื้องต้น ได้ถูกจัดทำขึ้นใน ขั้นตอนที่ 3 แล้วแต่ใน Step นี้ต้องมั่นใจได้ว่าเครื่องจักร จะได้รับการดูแลที่ครบถ้วน และสมบูรณ์มากที่สุด เป้าหมายต้องการให้เครื่องจักรผลิตได้อย่างต่อเนื่องและไม่มีของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการ ผลิต 3.4.1.7 ขั้นตอนที่ 7 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง นอกจากรักษาเครื่องจักรด้วยการบำรุงรักษาด้วยตนเอง แลว้ เครื่องจกั รต่างต้องต้องไดร้ ับการพัฒนาเพ่ือรักษาสภาพและเพ่ิมประสิทธภิ าพ เนือ่ งจากเครื่องจักรท่ีมีอายุการ ใช้งานมากขึ้น หากไม่ได้รับการพัฒนา การดูแลรักษาสภาพเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ที่จะทำให้ประสิทธิภาพ เคร่อื งจกั รเท่าเดิมหรอื เพม่ิ ข้ึนได้ ดงั นั้นจงึ ต้องมกี ารวางแผน ลงมือทำ ตรวจสอบ แก้ไขทำใหเ้ ป็นมาตรฐาน

17 บทท่ี 4 ผลการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ 4.1 การวัดผลหลังปรับปรุง จากการนำ TPM มาปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร ได้ทำการวัดผลข้อมูล ทั้งก่อนและหลัง การปรับปรุง นำมาเปรียบเทียบผลที่ได้จากการนำ TPM มาใช้ โดยจะใช้หลักการบำรุงรักษา TPM ตั้งแต่เดือน มถิ นุ ายน 2563 ถึง ตลุ าคม 2563 ตามตารางที่ 4.1 ส่วนคา่ ระยะเวลาการทำงานของเครื่องจักรท่ีเสยี (Mean Time between Failure :MTBF), ระยะเวลาการซ่อมของเครื่องจักเฉลี่ย (Mean Time To Repair :MTTR)และอัตรา การเดนิ เครือ่ ง(Machine Availability :A) ก่อนและหลงั ปรบั รงุ จะอยู่ใน ตารางที่ 4.2 ตารางท่ี 4.1 สถานะการทำงานของเครอ่ื งจกั ร ข้อมูลจากตารางที่ 4.1 เป็นรวบรวมระยะเวลาเดินเครื่องจักร เวลาการทำงานของเครื่องจักร เวลาที่ เครื่องจักรหยุดใช้งาน และจำนวนครั้งที่เครื่องจักรหยุด ข้อมูลจากตารางเดือน สิงหาคม – ธันวาคม เป็นการนำ หลกั การบำรงุ รักษาทวผี ลแบบทุกคนมีสว่ นรว่ ม TPM เขา้ มาบำรุงเคร่ืองจักร ตารางที่ 4.2 คา่ MTBF,MTTR และ % Machine Availability ของแตล่ ะเดอื น จากตารางท่ี 4.2 พบว่า เวลาเฉลยี่ ระหวา่ งการขดั ข้องของเครอื่ งจักร (Mean Time Between Failures : MTBF) หลังดำเนนิ การเดอื น สงิ หาคม – ธันวาคม เฉลยี่ มคี า่ เท่ากบั 205 ชั่วโมง/ครั้ง จากตารางที่ 4.2 พบว่า เวลาเฉลยี่ การซ่อมแซมของเครื่องจกั ร (Mean Time to Repair : MTTR) หลงั ดำเนินการเดือน สงิ หาคม – ธันวาคม เฉลีย่ มคี า่ เทา่ กบั 0.7 ช่วั โมง/คร้งั จากตารางที่ 4.2 พบว่า อัตราความพร้อมการใช้งานของเครื่องจักร (% Machine Availability) หลังดำเนินการเดือน สิงหาคม – ธันวาคม เฉลยี่ มคี ่าเท่ากับ 99.6%

18 4.2 การวเิ คราะห์ผลหลงั การปรับปรุง หลังจากการปรับปรุงโดยวิธีการนำ TPM มาดำเนินการโดยทำการวัดผลตั้งแต่เดือน สิงหาคม – ธันวาคม ทำให้สามารถยึดอายุการใช้งานของเครอื่ งจักรไดย้ าวนานขึ้น สงั เกตไุ ดจ้ ากข้อมูลดังต่อไปน้ี 4.2.1 เวลาเฉลี่ยระหว่างการเสยี หาย (MTBF) สามารถทำให้ เวลาเดินเครื่องจักรเพิ่มขึ้นจากเดิมเฉลี่ย 48.4 ชว่ั โมงต่อครั้ง เพมิ่ ข้นึ เป็น 205 ช่วั โมงต่อคร้งั MTBF 400 351.1 350 MTBF (ชั่วโมง/คร้ัง) 300 250 216.5 182.1 200 153 150 121.8 100 31.2 65.2 46.9 38.5 60 50 0 ภาพท่ี 4.1 ค่า MTBF ของแต่ละเดอื น 4.2.2 เวลาเฉลยี่ ระหว่างการเสียหาย (MTTR) สามารถทำให้ เวลาเฉลยี่ ในการซอ่ มแซมเครือ่ งจกั รแตล่ ะคร้งั ลดลง จากเดิมเฉลย่ี 1.6 ช่ัวโมงต่อคร้ัง ลดลงเหลือเพยี ง 0.7 ชว่ั โมงตอ่ คร้ัง MTTR 2.5 1.98 MTTR (ชั่วโมง/คร้ัง) 2 1.55 1.42 1.56 1.38 1.5 1 1 0.93 0.85 0.5 0.5 0.3 0 ภาพที่ 4.2 ค่า MTTR ของแต่ละเดอื น 4.2.3 อตั ราการเดินเครอ่ื ง สามารถทำให้ อตั ราการเดินเคร่ืองสงู ข้ึน จากเดมิ เฉลย่ี 96.52 % เพมิ่ ขน้ึ เปน็ เพียง 99.59 %

19 % MACHINE AVAILABILITY % Machine Availability 101 100 99.23 99.53 99.86 99.80 99.54 99 98 97.69 96.97 96.97 97 95.95 96 95.03 95 94 93 92 ภาพที่ 4.3 ค่า % Machine Availability ของแตล่ ะเดือน

20 บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดำเนนิ งาน จากการศึกษาและนำหลักการการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) มาดำเนินการกิจกรรม และหาแนวทางการแก้ปัญหาของเครื่องบรรจุ Filler ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยจะเก็บรวบรวมข้อมูลก่อน การนำหลักการ TPM มาใช้ เดือน มนี าคม - กรกฏาคม และหลงั นำหลกั การ TPM มาใช้ เดือน สิงหาคม - ธันวาคม โดยสามารถสรปุ ได้ดงั งน้ี 5.1.1 ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการเสียหายของเครื่องจักร (Mean Time between Failure : MTBF) ทั้งหมด จากเดิมเฉลี่ย 48.4 ชั่วโมงต่อครั้ง เพิ่มขึ้นเป็น 205 ชั่วโมงต่อเครั้ง ซึ่งมีผลทำให้ ระยะเวลาการทำงานของ เคร่อื งจกั รเพมิ่ มากขน้ึ สามารถทำงานได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง 5.1.2 เวลาเฉลี่ยระหว่างการเสียหาย (MTTR) สามารถทำให้ เวลาเฉลี่ยในการซ่อมแซมเครื่องจักรแต่ละ ครั้งลดลง จากเดิมเฉลยี่ 1.6 ชัว่ โมงตอ่ ครัง้ ลดลงเหลอื เพยี ง 0.7 ชว่ั โมงต่อคร้ัง 5.1.3 อัตราการความพร้อมการใช้งานของเครื่องจักร มีค่าเพิ่มมากข้ึนจากเดิมเฉลี่ย 1.6 % เพิ่มขึ้นเป็น เพยี ง 0.7 % ซ่ึงแสดงให้เห็นถงึ แล้วพร้อมการใช้งานของเครือ่ งจักร ส่งผลใหก้ ำลังในการผลติ เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้ 5.2 ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาพบว่า ในการปฏิบัติตามแผนการซ่อมบำรุงรักษายังขาดความร่วมมือ ระหว่างแผนกผลิตและ แผนกซ่อมบำรุง ทำให้การดำเนินงานซ่อมบำรุงไม่ได้รับการตอบสนองเท่าที่ควร จนส่งผลให้เครื่องจักรนั้นด้อย ประสิทธภิ าพ จึงมีขอ้ เสนอแนะดงั นี้ 5.2.1 ทำการฝึกอบรมผู้ใช้งานเครื่องจักรและช่างซ่อมบำรุง ให้เข้าใจถึงประโยชน์ของการซ่อมบำรุงและ ผลกระทบของการไมซ่ ่อมบำรุงรกั ษา 5.2.2 จัดทำคู่มือการซ่อมบำรุงรกั ษาของเครื่องจกั รแตล่ ะเครื่อง เพอ่ื ลดเวลาการซอ่ มบำรงุ ของเครือ่ งจักร

21 ตอนที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรกั ษพ์ ลงั งานในโรงงานอตุ สหากรรม กรณีศกึ ษา จากบริษทั ไชยโสโร จำกัด บทท่ี 1 บทนำ 1.1ความสำคัญของปญั หา ในปัจจุบัน ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตประจำวันไม่ว่าจะที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร ตวั อย่างเชน่ เคร่ืองปรับอากาศ แอร์ ตเู้ ย็น ตู้แช่ เพื่อแช่แขง็ หรอื ลดอณุ หภูมิของสินค้า หรือปรับอุณหภูมิในห้อง เพื่อให้เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ทราบดีว่า ระบบทำความเย็นและปรบั อากาศ มกี ารใช้พลังงานและค่าใช้จ่ายด้านพลังงานทีส่ ูง หากสามารถควบคุมการทำงาน ของระบบทำความเย็นและปรับอากาศให้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพได้แล้ว การใช้พลังงานก็จะเป็นไปอย่างคุ้มคา่ และชว่ ยประหยดั คา่ ใช้จา่ ยดา้ นพลงั งานใหก้ บั สถานประกอบการลงได้เปน็ อยา่ งมาก 1.2วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพือ่ ลดปริมาณการใชพ้ ลงั งาน ลดปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม 1.2.2 เพอื่ ใชพ้ ลงั งานไดเ้ ต็มประสิทธภิ าพมากทสี่ ดุ 1.2.3 เพ่ือการหมนุ เวียนกลับมาใชใ้ หม่ โดยการนำวสั ดทุ ช่ี ำรุดนำมาซอ่ มใช้ใหม่ การลดการทิง้ ขยะทไี่ ม่ จำเป็นหรือการ หมนุ เวยี นกลบั มาผลิตใหม่ 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 1.3.1 การศกึ ษาขอ้ มูลคน้ คว้าจากเว็บไซด์ www.thailandindustry.com เปน็ กรณขี ้อมลู ศึกษา 1.4 วิธกี ารดำเนนิ งาน 1.4.1 การตรวจสอบวิเคราะห์การใช้พลังงานเบื้องต้น (Preliminarly Audit) เปน็ การตรวจสอบรวบรวม ข้อมลู ดา้ นการผลิตระบบการใช้พลงั งานในปีกอ่ นๆ 1.4.2 การตรวจวเิ คราะห์การใชพ้ ลังงานโดยการสำรวจแผนผงั โรงงานเพื่อทราบลักษณะทัว่ ไปของโรงงาน กระบวนการผลิตและเครอ่ื งจักรอปุ กรณ์ตา่ งๆ พจิ ารณาบริเวณท่มี กี ารใช้พลังงานสูง 1.4.3 การตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลงั งานอยา่ งละเอยี ด (Detailed Audit) ผลการตรวจสอบและ วิเคราะหก์ ารใชพ้ ลังงานเบอื้ งตน้ นำขอ้ มลู มาสรา้ งรปู แบบการใช้พลงั งานว่าจะตอ้ งมีการปรบั ปรุงแก้ไขสว่ นใด บา้ ง 1.4.4 สรุปและทำวิจัย

22 บทที่ 2 ทฤษฏที ี่เกยี่ วขอ้ ง ทฤษฎีและหลักการท่ีเกย่ี วข้องในบทน้ีจะมกี ารกล่าวถึงเน้ือหาทเี่ กย่ี วข้องกบั โครงงานฉบับน้เี พือ่ ให้ ตรงตามจุดประสงคท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั ในส่วนของบทนจ้ี ะกล่าวถงึ 2.1 หลกั การทำความเย็นและปรับอากาศ 2.2 วงจรทำความเย็น 2.3 อปุ กรณห์ ลักภายในวงจรการทำงานของสารทำความเย็น 2.4 ชนดิ ของเคร่ืองปรบั อากาศ 2.5 เครื่องทำน้ำเย็น 2.1 หลกั การทำความเยน็ และปรับอากาศ การทำความเยน็ หมาขถึง กระบวนการในการดึงความร้อนออกจากสงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ มผี ลให้อุณหภมู ลิ ดลงโดย ปกตจิ ะหมายถงึ ขบวนการเก็บรักษาอาหารการขจัดความร้อนจากวัตถุในอตุ สาหกรรม ทางเคมปี ีโตรเลยี ม ปิโตร เคมแี ละการทำความเยน็ และการทำความเยน็ ในรปู แบบอน่ื ๆในวงการอุตสาหกรรม เช่นการแช่แข็ง เปน็ ดั้น [1] การปรบั อากาศ หมายถงึ การปรับสภาวะอากาศใหไ้ ด้ตามเงื่อนไขที่ต้องการ โคยปกติจะมคี วามหมายกนิ ความมากกวา่ การทำให้อากาศเยน็ แต่จะหมายรวมถงึ การควบคมุ อุณหภมู แิ ละความช้นื การควบคุมคณุ ภาพและ ความสะอาดของอากาศ การควบคุมการไหลเวียนของอากาศระดบั เสียง ในพ้นื ที่ปรบั อากาศ ท้งั นเี้ พื่อจดุ ประสงค์ เฉพาะอยา่ ง ได้แก่ 1. เพ่ือความสุขสบายตอ่ ผู้อาศัยหรอื ปฏบิ ัติงาน ในบริเวณนั้นๆ โดยความสุขสบายท่ีกลา่ วถงึ นจี้ ะหมาขถึง ความสขุ สบายของคนส่วนใหญ่ทงั้ นี้เพราะแต่ละคนจะรสู้ กึ สบายในสภาวะอากาศ แตกต่างกัน 2. เพือ่ ประโยชนท์ างอตุ สาหกรรม ผลิตภัณฑบ์ างชนดิ ตอ้ งการความเท่ียงตรงสูงจะมีการนำระบบปรบั อากาศมาช่วย เช่น อตุ สาหกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ อตุ สาหกรรมคอมพิวเตอร์ อตุ สาหกรรมสิ่งทอ อดุ สาหกรรมผลิตลูกกวาด เป็นตน้ 3. เพื่อวตั ถปุ ระสงค์พเิ ศษ เชน่ การผลิตและเกบ็ รักษายา, การปรบั อากาศในห้องผา่ ตัดและ ICบ ที่ต้องการ ความสะอาดสงู การปรับอากาศ ในหอ้ งคมยาสลบทีต่ ้องการการหมุนเวยี นอากาศที่ดี

23 2.2 วงจรทำความเยน็ หลักการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศนั้นก็คือ การนำเอาความร้อนจากที่ที่ต้องการทำ ความเย็น (โดยทั่วไปคือภายในอาคาร) ถ่ายเทไปสู่ที่ที่ไม่ต้องการทำความเย็น (นอกอาคาร) โดยผ่านตัวกลางคือสารทำความ เยน็ หรือที่เรียกกันว่านำ้ ยา [5] เริ่มดันจากคอมเพรสเซอร์ จะทำหน้าที่ดูดน้ำยาที่เป็นไอ (Vapor) จากเครื่องระเหย (Evaporator) หรือ คอยล์เย็น (Cooling Coil) ไอสารทำความเย็นที่ดูดเข้ามาจะมีความดัน ต่ำและมีอุณหภูมิต่ำด้วย ไอน้ำยาจะถูกดูด เขา้ คอมเพรสเซอร์ทางท่อดูด (Suction Line) และตวั คอมเพรสเซอร์จะอัดน้ำขาทเ่ี ป็นไอน้ใี ห้มีความดันสูงข้ึน และ ขณะที่ไอมีความดัน สูงขึ้นก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น การที่ไอน้ำยามีความคันสูงขึ้นนี้จะมีผลให้จุดเดือดสูงขึ้นด้ วย จากนั้นไอน้ำขาจะถกู ดนั ออกทางท่อทางสง่ (Discharge Line)และส่งผา่ น ไปยังคอนเคนเซอร์ (Condenser) ตวั คอนเดนเซอร์มีหน้าที่รับเอาไอน้ำขาไว้และระบาย ความร้อนออกจากไอน้ำยาผ่านตัวกลางซึ่งปกติคือ อากาศไอน้ำยาจะมีอุณหภูมติ ่ำลงจนควบแน่นเป็นของเหลวแต่ยังคงมีความดันสูงและอุณหภูมิสงู สารทำความเย็น เหลวจะถกู ส่งไปอุปกรณ์ลคความดนั (Expansion Valve) ซ่งึ มีหน้าที่ลดความดนั น้ำยาก่อนเขา้ เครื่องระเหยมีผลให้ สารทำความ เย็นมคี วามดันต่ำและมีอุณหภูมติ ่ำ เม่อื ไหลเข้าเคร่ืองระเหยก็จะรับความร้อนผ่านตวั กลาง ซ่ึงปกติคือ อากาศมผี ลใหส้ ารทำความเย็นเดือดกลายเป็น ไอ ไอสารทำความเย็นที่ออกจาก เครือ่ งระเหยจะมีความดันต่ำ และ มีอุณหภูมิต่ำและไหลกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการ เพิ่มความดันต่อไป ระบบการทำความเย็นของ เครื่องปรับอากาศจะทำงานวนเวียนเป็น วัฏจักรตลอดเวลาที่คอมเพรสเซอร์ ยังคงทำงานอยู่และน้ำ ยาที่มีอยู่ใน ระบบจะไม่มีการสูญเสียไปไหนเลย นอกเสีย จากว่าเกิดการรั่วซึม (Leak) ที่ใดที่หนึ่งเท่านั้น เนื่องจากในระบบทำ ความเย็นเบื้องดันนี้ มีทั้งน้ำยาที่อยู่ในสภาพความคันสูงและอุณหภูมิสูงกับแรงดันต่ำอุณหภูมิต่ำ [2] จึงมีการแบ่ง ภาคออกเป็น 2 ภาค

24 1. ทางด้านสงู (High side) ซึ่งจะเรม่ิ จากทางอดั ของคอมเพรสเซอร์ ผ่านก่อนเดนเซอร์ถึง ทางเข้า ของอปุ กรณ์ลคความดัน ส่วนนสี้ ารทำความเยน็ จะมีทั้งความดนั และอุณหภูมสิ งู จึงเรียกว่าทาง High Side 2. ทางดา้ นตำ่ (Low Side) ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ทางออกของอุปกรณล์ ดความดนั ผ่านเครือ่ งระเหยจนไป ถงึ ทางเข้าของคอมเพรสเซอร์ สว่ นนี้จะมที ง้ั ความดนั และ อณุ หภูมิตำ่ จึงเรียกว่าทาง Low Side ระบบปรบั อากาลทใ่ี ช้กนั อยู่โดยท่วั ๆไป จะทำงานเปน็ วัฏจกั รโดยมักจะมีส่ิงทป่ี ระกอบกันข้ึนมาเป็นระบบปรบั อากาศ อยหู่ ลายสงิ่ หลายอย่างดว้ ยกนั 2.3 อปุ กรณ์หลกั ภายในวงจรการทำงานของสารทำความเย็น 2.3.1 คอมเพรสเซอร์ (Compressors) เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญที่สุดของระบบการทำความเย็น ทำหน้ที่เพ่ิม ความดนั ของสารทำความเย็นที่อยู่ในสถานะท่เี ป็นก๊าซ โดยคอมเพรสเซอร์จะดคู สารทาความเย็นทเี่ ปน็ ชความดันต่ำ และอุณหภูมิต่างจากเครื่องระเหยที่ผ่านเข้ามาทางท่อดูดเข้าขังทางดูคของคอมเพรสเซอร์และ อัดก๊าซนี้ให้มีความ ดันและอุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งเข้าไปยังคอนเดนเซอร์ (Condenser) โดยผ่านเข้าทางท่อบรรจุ!เพื่อส่งไปกลั่นตัวเป็น ของเหลวในคอนเดนเซอร์ด้วยการระบายความร้อนออกจากสารความเยน็ อีกที่หนึ่งจะเห็นไดว้ ่าคอมเพรสเซอรเ์ ป็น อุปกรณ์ที่แบ่งความดันระบบระหว่างด้านความดันสูงและ ความดันต่ำสารทำความเย็นจะถูกคูดเข้ามาใน คอมเพรสเซอร์จะมี [3] สถานะเป็นก๊าซความดันต่ำและสารความเย็นที่อัดออกส่งออกจากคอมเพรสเซอร์จะมี สถานะเป็นก๊าซทีม่ ีความดันสูงคอมเพรสเซอรจ์ ำแนกตามวิธกี ารอัด ได้ 3 ป ระเภท การจำแนกคอมเพรสเซอร์ตาม วิธีการอัดนี้แบ่งออกได้เป็นการอัดเชิงปริมาตร เช่น แบบลูกสูบ แบบก้นหอย แบบเกลียวแบบการอัดแบบใช้แรง เหว่ียงหนศี นู ย์กลาง แบบอดั คร้งั เดียวและแบบอัดหลายครง้ั คงั มีรายละเอียคดังน้ี

25 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating Type) อาศัยการทำงานของเพลาข้อเหวี่ยง (Crankshaft) ขับ ลูกสูบให้เกิดการดดู อัด มีใช้กับเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กต่ำกว่า 1 HP จนถึงมีขนาดใหญ่มากกว่า 100 HP เป็น แบบท่ีนิชมใชม้ ากทส่ี ดุ ในปัจจุบัน คอมเพรสเซอรแ์ บบสกรู (Screw Type) ทำงานโดยอาศยั สกรู 2 ตัว คอื สกรูตัวเมยี (Female Rotor) และสกรูตัวผู้ (Male Rotor) โดยสกรูตัวเมียจะอาศัยชอ่ งเกลียวเป็นช่องเก็บน้ำยา ส่วนสกรูตวั ผู้จะใช้สันเกลียวรีดน้ำยาออกตาม แกนของสกรูทั้งสอง และเนื่องจากต้องใช้น้ำมันหล่อลื่นทำหน้าที่ป้องกันการรั่วระหว่างช่องว่างของเกลียวทั้งสอง ขณะทำงานจึงมีน้ำมันหล่อลื่นไหลไปกับน้ำยาจำนวนมากที่ทางออกของคอมเพรสเซอร์แบบสกรูจึงต้องติดอุปกรณ์ แยกนำ้ มัน (Oil Separator) ไว้ด้วยเสมอ คอมเพรสเซอร์แบบกันหอยหรอื แบบสโครล์ (Scroll Type) เป็นคอมเพรสเซอร์แบบใหม่ล่าสุดที่ออกแบบ มาใช้งานในระบบทำความเย็นแบบอัดไอ การทำงานจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือส่วนที่มีลักษณะ เป็นกันหอยอยู่กับที่และส่วนที่เคลื่อนที่ ซึ่งจะเคลื่อนที่ในลักษณะเยื้องศูนย์ โดยไม่มีการเคลื่อนที่ในลักษณะ หมุนรอบแกน (Not Rotate) โดยความดันจะเพิ่มจากภายนอกและถูกอัดมากสุดเมื่ออยู่ที่แกนกลาง ลักษณะ เคลื่อนไหวเทียบได้กับพายุทอร์นาโด (Torado) ปัจจุบันนำมาใช้กับระบบปรับอากาศที่ใช้ในที่พักอาศัย ใน สำนกั งาน รามท้ังระบบปรบั อากาศในรถยนต์ เน่ืองจากการทำงานมีการเคล่ือนไหวน้อยไมต่ ้องใชล้ ิน้ ทางดูด ทางส่ง จงึ ทำงานไดเ้ รยี บและเงยี บกวา่

26 2.3.1 เครื่องระเหย (Evaporator) เปน็ อุปกรณ์ ทส่ี ำคัญอีกอยา่ งหนึ่งของระบบทำความเยน็ ทำหนา้ ท่ีดูดปรบั ปรมิ าณความร้อนจากในบรเิ วณ หรือในเนอื้ ท่ที ่ีต้องการทำความเย็น ขณะทส่ี ารทำความเยน็ ภายในระบบนีเ้ ดือดจะเปล่ียนสถานะเป็นก๊าซกจ็ ะดดู รบั ปริมาณความร้อนผ่านผวิ ท่อทางเดินสารความเย็นเขา้ ไปขังสารความเยน็ ในระบบทำให้อุณหภมู ิโดยรอบคอยลเ์ ย็น ลดลง เคร่ืองระเหย โดยทว่ั ไปแบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะคือ 1. เครือ่ งระเหยชนดิ ทอ่ และครบี (Finned-Tube Evaporator) 2. เครอ่ื งระเหยชนิดเปลือกและทอ่ (Shell and Tube Evaporator) 1.เครื่องระเหยชนดิ ท่อและครบี (Finned-Tube Evaporator) มี โครงสร้างและหลักการทำงานเหมือนกัน กับคอนเดนเซอร์คือมีท่อและครีบอะลูมิเนียมบางเป็นโครงสร้างหลักทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) แต่ทำงานในลักษณะตรงข้ามกัน คือคอนเคนเซอร์ทำหน้าที่ระบายความร้อนให้กับอากาศ แต่ เครื่องระเหขดดู ความร้อนจากอากาศท่ีผา่ น 2.เครื่องระเหยชนิดเปลือกและท่อ (Shell and Tube Evaporator) มีโครงสร้างและหลักการทำงาน เหมอื นกับท่ีใช้เปน็ คอนเดนเซอร์ นยิ มใช้กับระบบปรับอากาศแบบใช้น้ำเยน็ โคยเรยี กเครื่องระเหย ชนิดนี้ว่าเครื่อง ทำนำ้ เย็น ซึ่งมที ้ังที่เป็นเคร่ืองทำนำ้ เย็น แบบแห้งและแบบเปยี ก

27 2.3.3 คอนเคนเซอร์ (Condenser) คอนเคนเซอร์หรืออุปกรณ์ควบแน่นเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของระบบทำความเย็นทำหน้ าที่ ระบายความร้อน ในสถานะก๊าซที่มีความดันสูงและอุณหภูมิสูงที่ถูกอัดตัวส่งมาจากคอมเพรสเชอร์เพื่อให้กลั่นตัว เป็นน้ำเหลวในคอนเดนเซอร์ด้วยการระเหยความร้อนออกแต่ยังคงมีความดันและอุณหภูมิสูงอยู่เช่นเดิม คอนเดนเซอรแ์ บง่ ออกได้เปน็ 2 ลกั ษณะคือการจำแนกตามลักษณะ โครงสร้าง และ การจำแนกตามวิธรี ะบาขความ รอ้ น การจำแนกตามวิธรี ะบายความร้อนได้ 3 ประเภทดงั นี้ 1.การระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Condenser) คอนเคนเซอร์ชนิดนี้จะ ใช้อากาศเป็น ตวั กลางในการระบายความร้อนออกจากน้ำยาเพือ่ ให้นำ้ ขาในสถานะซกล่นั ตวั เป็นของเหลวตามปกตแิ ล้วคอนเคนเซ อร์ชนดิ นมี้ ักจะทำดว้ ยท่อทองแดงหรือท่อเหล็กมีครีบเป็นตวั ชว่ ยเพิ่มพืน้ ที่ผวิ ในการระบายความร้อนออกจากน้ำขา ภายในคอนเดนเซอร์แบ่งออกไดเ้ ปน็ แบบใชอ้ ากาศหมนุ เวยี นอากาศโดยรอบคอนเคนเซอรจ์ ะมีอุณหภมู ิสูงกว่าอากาศปกตจิ งึ ลอยตัว สงู ข้ึนสว่ นอากาศทเ่ี ย็นกว่าจะไหลเขา้ มาแทนทจี่ ึงระบายความร้อนออกจากผิวของคอนเคนเซอร์ แบบมีพดั ลมช่วย คอนเคนเซอร์ชนิดนี้จะใชพ้ ัดลมหรือโบลเวอรช์ ว่ ยในการเพม่ิ ปรมิ าณลมที่ผ่านผวิ ของคอนเคนเซอร์จึงช่วยลดขนาครูปรา่ งของคอนเดนเซอร์ลงไดม้ ากข้ึน 2.การระบายความรอ้ นด้วยนำ้ (Water Cooled Condenser) คอนเดนเซอรช์ นิดนจ้ี ะ ใชน้ ้ำเป็นตวั กลางใน การระบาขความร้อนออกจากนำ้ ขาโดยผ่านหอผ่ึงลมเย็น(Cooling Tower) เพือ่ ใหน้ ้ำขากล่นั ตวั เป็นน้ำยาเหลวและ ก็เช่นเดียวกนั คอนเคนเซอร์ทั้งสองชนิดน้ีจะรับความร้อนที่ถกู คายออกจากน้ำยาในสถานะก๊าซเพื่อการกล่ันตัวเปน็ น้ำยาเหลว ทำใหอ้ ุณหภูมขิ องอากาศหรอื น้ำที่ใช้เป็นตัวกลางมีอุณหภมู สิ งู ขึ้น 3. การระบายด้วยนำ้ และอากา (Water and Air Cooled Condenser) คอนเดนเซอรช์ นิดน้จี ะใชท้ ั้งอากาศและน้ำเป็นตวั กลางในการระบายความร้อนออกจากน้ำยาเพ่ือให้น้ำยาในสถานะ ก๊าซในคอนเคนเซอร์กลั่นตัวเป็นน้ำขาเหลวโดยการฉีดน้ำเย็นให้เป็นฝอยผ่านลงบนคอนเดนเซอร์อากาศนี้จะสวน ทางกับสเปรยน์ ้ำตกลงมาผ่านอิลิมิเนเตอรซ์ ่งึ เปน็ อุปกรณ์ปอ้ งกนั ไม่ให้สเปรยต์ ดิ อกไปกบั อากาศซ่ึงน้ำบางสว่ นจะระเหยตัวขณะที่ไหร้ ับความรอ้ นจากแผงคอนเดนเซอร์ ทาให้สเปรย์นำ้ ทตี่ กกลบั ลง มาในถังนน้ั มอี ุณหภมู ลิ ดต่ำลง

28 2.3.4 อุปกรณล์ ดความดนั (Expansion Valve) ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของสารทำความเย็นก่อนเข้าเครืองระเหยซึ่งมีหลักการในการทำงานง่ายๆ คอื การลดพื้นที่หน้าตัดลง เหมอื นกบั การนำสายยางไปต่อกับก็อกน้ำแล้วเปิดน้ำให้แรงจากน้นั ใช้มือปิดท่ีปลายสาย ยางจะเกิดเป็นฝอยละอองซึง่ ก็ใช้หลักการคลา้ ยกนั รปู ท่ี 2 อุปกรณ์ลดความดัน.9 (Expansion Valve) เพียงแต่ว่าอุปกรณ์ลดความดันจะควบคุมอัตราการไหลของสารทำความเย็นตามความต้องการของระบบ ปรับ อากาศ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือความดันจะลดลง และสถานะจะเปลี่ยนจากแก๊สอุณหภูมิสูงความดันสูงให้ เป็นฝอย ละออง และความดนั ลดลงจนสามารถเปลีย่ นเป็นไอได้แตท่ บี่ ริเวณทางออกของอุปกรณล์ ดความ ดันยงั ไม่เปน็ ไอ รปู ท2ี่ .10 อุปกรณ์ลดความดนั (Expansion Valve) 2.3.5 อปุ กรณ์ชว่ ยภายในระบบทาความเย็นไดแ้ ก่ รปู ที่ 21.1ดรายเออร์

29 1. ดรายเออร์ (Dryer) ทำหน้าที่ดดู ซบั ความชื้นจากสารทำความเยน็ และกรองส่งิ สกปรกมที ง้ั ขนาดใหญจ่ นไปถึงขนาดใหญก่ ารเลือกใชต้ ้องคำนึงถงึ ชนิดของนำ้ ยา ขนาด เครือ่ งทำความเยน็ ขาดท่อน้ำยา รูปที่ 2.1ไสก้ รองภายในดรายเออร์ 2. แอคคิวมูเลเตอร์(Accumulator) รูปที่ 23.1อปุ กรณแ์ ยกนา้ ยาเหลว(Accumulator) อุปกรณแ์ ยกนน้ำยาเหลวหรือแอคควิ มเู ลเตอร์ (Accumulator) ตดิ ตงั้ ระหว่างเครื่องระเหยและ คอมเพรสเซอร์ ทาหน้าที่ป้องกนของเหลวเข้าสู่คอมเพรสเซอร์โดยน้ำยาที่ยังเดือดไม่หมดจากเครื่องระเหย จะตกลงสู่ด้านล่าง คอมเพรสเซอรจ์ ะดูดเฉพาะนำ้ ยาทเี่ ปน็ ไอจากด้านบน 3. ถงั พักสารทำความเย็นเหลว (Receiver tank) รูปที่ 24.1 ถงั พักสารทำความเยน็ เหลว (Receiver tank) ถังพักสารทำความเย็นเหลวหรือรีซีฟเวอร์ (Receiver tank) ติดตั้งที่ทางออกคอนเดนเซอร์ทำหน้าที่ รับ น้ำยาเหลวที่ควบแน่นจากคอนเดนเซอร์เพื่อส่งสารทำความเย็นเหลวไปยังเครื่องระเหยได้ต่อเนื่องสม่ำเสมอใช้ ในเคร่ืองทาความเยน็ ขนาดใหญ่

30 4. อุปกรณ์แยกนำ้ มันหล่อลน่ื (Oil separator) รูปท่ี 25.1 อปุ กรณแ์ ยกน้ำมนั หลอ่ ลน่ื ติดตงั้ ทที่ างออกคอมเพรสเซอรท์ ำหน้าทีแ่ ยกนำ้ มันหลอ่ ลื่นทป่ี นออกมากับไอน้ำยาให้กลับไปอา่ ง น้ำมันหลอ่ ลนื่ ในคอมเพรสเซอร์ไอน้ำยาที่ถกู แยกออกจึงถูกส่งไปเขา้ คอนเดนเซอรต์ ่อไป 5. สวิทซค์ วบคุมความดนั (Pressure Switch) รูปที่ 26.1สวทิ ซ์ควบคมุ ความดนั สวิทช์ควบคุมความดัน มีหลักการทำงาน คือ ทำหน้าที่ในการตัดและต่อวงจรไฟฟ้าให้มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ทำงานและหยุดทำงานโดยอัตโนมัติอาศัยความดันของน้ำยาด้านความดันสูงและด้าน ความดัน ต่ำของคอมเพรสเซอร์ 2.4 ชนิดของเคร่อื งปรบั อากาศ เคร่ืองปรบั อากาศมีวธิ ใี นการแบ่งประเภทออกได้หลายวธิ ีด้วยกนั แต่วธิ ีท่ีนยิ มใช้แบง่ ประเภท ของ เครือ่ งปรบั อากาศ ไดแ้ ก่การแบง่ ตามลกั ษณะการใช้งานการแบ่งตามลักษณะการระบายความร้อนของคอน เดน ซิ่ง การแบง่ ตามชนิดของคอมเพรสเซอร์และการแบ่งตามขนาดซ่งึ วิธีนเี้ ปน็ ทน่ี ิยมมากที่สุด ชนดิ ของ เคร่อื งปรับอากาศมีอยู่ 4 ประเภทดังต่อไปน้ี 2.4.1 เครอ่ื งปรบั อากาศขนาดเล็ก รปู ท2่ี .17 เคร่ืองปรับอากาศขนาดเล็ก

31 เครอ่ื งปรับอากาศขนาดเล็กเป็นเครือ่ งปรบั อาการทเี่ ราเห็นใช้กนั อยตู่ ามบา้ นเรือนและสำนักงาน ขนาดเล็ก เครื่องปรับอากาศขนาดเล็กมักเป็นเครื่องเด่ียวๆจงึ มักเรียกวา่ Unitary เครอื่ งแบบนี้สามารถปรับ อากาศได้ โดยไม่จำเปน็ ต้องต่อพวงอุปกรณ์อ่นื เชน่ หอผึง่ ลมเย็นเคร่อื งเป่ าลมท่อลม เปน็ ตน้ 2.4.2 เคร่ืองปรบั อากาศแบบหน้าตา่ ง (รูปท2ี่ .18 เครื่องปรบั อากาศแบบหน้าตา่ ง) เครอื่ งปรับอากาศแบบหน้าต่างจะรวมอปุ กรณ์ทั้ง 4 อยางเข้าไว้ในตัวเครื่องเดยี วกนั การติดตงั้ จึง ต้องตดิ ตงั้ โดยให้ ดา้ นหนง่ึ อยภู่ ายในห้องส่วนอีกดา้ นอยภู่ ายนอกเพ่ือทำหน้าทีร่ ะบายความร้อน ฉะน้นั ใน การติดตงั้ จึงต้องติดต้งั บริเวณชอ่ งหน้าต่างหรือเจาะชอ่ งท่ผี นังด้านที่แขง็ แรง ในกรณีทเ่ี ปน็ บา้ นไม้ก็อาจมี เสยี งดงั ขอ้ ดีของ เครื่องปรับอากาศประเภทนค้ี ือประหยดั เน้ือที่ไมจ่ ำเปน็ ต้องมที ส่ี ำหรบั ต้งั คอนเดนซงยูนิต่ และความสามารถใน การทา 2.4.3 เครอ่ื งปรบั อากาศแบบแยกส่วน (Spilt Type) เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนจะแยกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนทำความเย็นที่เรียกว่าแฟนคอยล์ยูนิต (Fan Coil Unit) จะเป็นสว่ นท่ีอยภู่ ายในหอ้ ง ซง่ึ ภายในประกอบดว้ ย อวี าพอเรเตอร์(Evaporator Coil) และ อปุ กรณ์ลดความดนั (บางรุ่นจะติดตง้ั ไวใ้ นคอนเดนซงิ่ ) อกี สว่ นหนึ่งคือคอนเดนซ่ิงยนู ติ Condensing( Unit) จะตั้งอยูภายนอกประกอบด้วยคอนเดนเซอร์คอยล์่Condensor( Coil) และ คอมเพรสเซอร์(Compressor) ท้ัง สองส่วนนีจ้ ะต่อถงึ กนั โดยระบบท่อนำ้ ยาเคร่อื งปรบั อากาศแบบแยกส่วนมขี ้อดคี ือส่วนทปี่ รับอากาศจะ เงยี บ

32 2.4.4 เคร่อื งปรบั อากาศขนาดใหญ่ รปู ท2่ี .19 เครื่องทำน้ำเยน็ ระบายความรอ้ นด้วยน้ำ ครอื่ งปรับอากาศขนาดใหญ่เครื่องปรับอากาศขนาดใหญเ่ ป็นเครือ่ งปรบั อากาศท่ีใช้กนั ในอสุ าหกรรมและ อาคารขนาดใหญ่ เช่น โรงงาน โรงแรม ห้างสรรพสิ นคา้ โรงพยาบาล เป็ นตน้ เคร่ืองปรับอากาศประเภทนีม้ กั ประกอบดว้ ยวงจรทำความเย็น 2 ส่วน จงึ ต้องมีอุปกรณม์ าตอ่ พ่วงเพื่อให้ ระบบสมบรู ณ์ เครอ่ื งปรับอากาศแบบน้ี จะมีราคาแพงแตป่ ระสิทธภิ าพสงู เชน่ ระบบปรบั อุณหภมู ินำ้ เย็น เครอื่ งปรบั อากาศขนาดใหญแ่ บง่ ตามการ ระบายความร้อนได้ดงั น้ี 1. ระบบปรับอากาศแบบทำน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยนำ้ 2. ระบบปรบั อากาศแบบทำน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ 2.5 เคร่ืองทำเย็น เครื่องทำนำ้ เย็น คือ เครื่องทำความเย็นขนาดใหญ่ทีม่ ีหนา้ ท่ีในการผลิตน้ำเย็นหรอื ปรับอุณหภูมนิ ้ำเยน็ และส่งไป ยังเครือ่ งปรบั อากาศทมี่ ีอยใู นห้องต่างๆ ของอาคารแต่ละอาคาร หรอื อาจใชน้ ำ้ เยน็ ไปหล่อเยน็ อุณหภูมิของ เครอ่ื งจักรภายในโรงงานอุสาหกรรม รปู ท่ี 20.2วงจรทำนำ้ เยน็ ชนิดระบายความร้อนดว้ ยนำ้

33 หลักการทำงานของระบบปรบั อากาศสำหรับโรงงานและอาคารธรุ กิจขนาดใหญร่ ะบบ ปรบั อากาศท่นี ิยมตดิ ต้งั และใช้มักเป็นระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์ (Central Air-conditioning System) โดย เครื่องทำน้ำเย็น (Water Chiller) เป็นแบบระบายความร้อนด้วยน้ำ ซึ่งมีประสิทธิภาพการทางานสูงกว่า แบบ ระบายความร้อนด้วยอากาศเครื่องทำน้ำเย็นแบบอัดไอประกอบด้วย คอมเพรสเซอร์ (Compressor) คอนเดนเซอร์ (Condenser) เครื่องระเหย (Evaporator) และอุปกรณ์ลดความดัน (Expansion Valve) โดยมี สารทำความเยน็ เช่น R22 หรอื R134 a บรรจอุ ยูภายในวงจรสารทำความเยน็ [2] เมื่อป้อนไฟฟ้าให้คอมเพรสเซคอมเพรสเซอร์จะดูดไอสาทำความเย็นจากเครื่องระเหยแล้วอัด ส่งไปที่ คอนเดนเซอร์ ที่เครื่องระเหยสารทำความเย็นจะมีความดันและอุณหภูมิตสารทำความเย็นจะดูด ความร้อนจาก น้ำเย็นที่ไหลผานเครื่องระเหย่และระเหยกลายเป็นไอในขณะเดียวกนท่ีคอนเดนเซอร์สารทำความเย็น จะมีความ ดันและอุณหภูมิสูงร้อนจากสารทำความเย็นจะถ่ายเทให้กบั นั้าหล่อเยน็ ทำให้สาร ทำความเย็น กลันตัวกลายเป็น ของเหลวที่ความดันสงู เมื่อสารทำความเย็นไหลผ่านอุปกรณล์ ดความดนั ความดนั ก็จะลดลง เท่ากบความดันตั่าท่ี เคร่อื งระเหยสารทำความเย็นกจ็ ะไหลครบ วัฏจักรสารทำความเย็น นำ้ หลอ่ เยน็ เมื่อได้รับความร้อนจากคอนเดนเซอร์จะมีอณุ หภูมิสูงขนึ้ เมือ่ ถูกเคร่ืองสบู น้าหล่อเยน็ ส่งไปท่ีหอผ่ึงลม เย็น(Cooling Tower) ดังแสดงในรูปท่ี 2.20 ก็จะถ่ายเทความร้อนให้กับอากาศโดยการระเหยน้ำทำให้น้าที่เหลือ เย็นลงแล้วไหลกลับไปรับความร้อนที่คอนเดนเซอร์อีกทาให้ครบ วัฏจักรน้ำหล่อเย็นน้ำเย็นเมื่อถ่ายเทความร้อน ให้กับเครื่องระเหยก็มีอุณหภูมิต่ำลง เมื่อถูกเครื่องสูบน้ำเย็นส่งไปที่เครื่องส่งลมเย็น (Air Handling Unit) ก็จะ ถ่ายเทความรอ้ นให้กบอากาศทัาให้นำ้ ร้อนข้ึนแลว้ ไหลกลบั ไปถา่ ยเทความร้อนใหก้ ับเครื่องระเหยอีกทำให้ครบวัฏ จักรน้ำเย็นเครื่องส่งลมเย็นจะดูดอากาศร้อนจากห้องปรับอากาศ ผ่านระบบท่อลมไปถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ เย็น ทำให้อากาศมีอุณหภูมิต่ำลงแล้วส่งกลับไปที่ห้องปรับอากาศทำใหค้ รบวัฏจกั รลมเย็นทำใหอ้ ากาศมีอุณหภูมิ ต่ำลงแลว้ ส่งกลบั ไปที่หอ้ งปรบั อากาศทำให้ครบวฏั จักรลมเย็น รูปท่ี 21.2วงจรทาน้าเย็นชนดิ ระบายความร้อนดว้ ยอากาศ

34 หลกั การทำงานของเครือ่ งทำน้ำเย็นแบบระบายความร้อนดว้ ยอากาศก็จะเหมือนเครอ่ื งทำน้ำเยน็ แบบระบายความรอ้ นด้วยน้ำแตแ่ ตกตา่ งกันท่ีเครื่องควบแนน่ ทีม่ ีลกั ษณะเปน็ ครบี ท่อ เมื่อป้อนไฟฟ้าให้คอมเพรสเซอร์คอมเพรสเซอร์จะดูดไอสารทำความเย็นจากเครื่องระเหยแล้วอัดส่งไปที่ เครื่อง ควบแน่นสารทำความเย็นจะมีความดนั และอณุ หภูมสิ งู ร้อนจากสารทำความเย็นจะถ่ายเทให้กับ นำ้ หลอ่ เย็นทำใหส้ ารทำความเย็นกลนั ตวั กลายเปน็ ของเหลวทคี่ วามดันสงู และมีการระบายความร้อนของ สารทำ ความเย็นโดยการใช้พัดลมดูดอากาศรอบๆเครื่องให้ไหลผ่านแผงคอยล์ร้อนและดูดอากาศที่มีความ ร้อนระบาย ออกดา้ นบน

35 บทท่ี3 วธิ กี ารศกึ ษาและค้นควา้ 3.1 เครอ่ื งมือการวิจัย การศึกษาน้ีเป็นการวิจัยแบบประยกุ ต์ (Applied) เพื่อนําผลวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวัด ประสทิ ธิภาพเคร่ืองทําความเยน็ ประวตั ิการดูแลซ่อมบํารุง คา่ พลงั งานการใช้ ไฟฟ้าของเครอ่ื งจักรมาสรุปและนํา ขอ้ กําหนดเกี่ยวกับเครอ่ื งทาํ ความเย็นประสิทธภิ าพสงู และเรื่อง การใชส้ ารทาํ ความเยน็ มาประกอบเปน็ ขอ้ มลู เพื่อ ศกึ ษาความจาํ เป็นในการเปล่ยี นเครอ่ื งทาํ ความเยน็ (Chiller) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 3.1.1 ประกาศกระทรวงพลังงาน เรอื่ ง การกําหนดคา่ สมั ประสิทธสิ์ มรรถนะขน้ั ตํา่ ค่า ประสิทธิภาพการ ใหค้ วามเย็นและคา่ พลังไฟฟ้าต่อตนั ความเยน็ ของระบบปรับอากาศท่ีตดิ ตง้ั งานในอาคาร พ.ศ. 2552 ข้อ 2 ระบบปรับอากาศประเภทและขนาดต่างๆ ท่ีติดตั้งใช้งานในอาคาร ต้องมคี า่ สมั ประสิทธ์สิ มรรถนะ ค่าประสิทธิภาพการให้ความเยน็ ในรูปของอัตราส่วนของประสิทธิภาพ พลงั งาน และค่า พลงั ไฟฟ้าต่อตันความเย็นของเครอื่ งทํานําเย็นดงั ต่อไปนี้ 2) ระบบปรบั อากาศขนาดใหญ่ต้องมีคา่ พลงั ไฟฟา้ ต่อตันความเยน็ ของเครื่อง ทํานาํ เยน็ และ สว่ นประกอบอนื่ ของระบบปรับอากาศดงั ต่อไปนี้ ความเยน็ ไม่เกนิ กวา่ ที่กาํ หนดไวด้ ังต่อไปน้ี ท7ี่ ค่า ตาราง ต่อตันความเย็นของระบบปรบั อากาศ พลังงานไฟฟา้

36 3.1.2 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่องการกําหนดปริมาณการนําเข้าสารซีเอฟซี ซึ่งเป็นวัตถุ อันตรายชนิดท่ี 3 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และสาร ดังกล่าวเป็นสารควบคุมตามพิธีสาร มอนทรอี อลท่ีประเทศไทยใหส้ ัตยาบนั ไว้ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถควบคุมปรมิ าณการใชส้ ารดังกลา่ วใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาํ หนด กรมโรงงาน อุตสาหกรรมจงึ ออกประกาศกําหนดปริมาณการนําเขา้ สาร ซเี อฟซี ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2546 ถึงพ.ศ. 2553 ไว้ดังนี้ ตารางท8่ี ปรมิ าณการนาํ เข้าสารซเี อฟซตี ั้งแตป่ ี2550 - 2553 3.2 วิธีการเก็บขอ้ มลู ในการศึกษาคร้ังนีได้ดาํ เนนิ การเก็บข้อมูลตามขนั้ ตอนดังนี้ 1. ศกึ ษากฎหมาย และมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้องกับระบบปรบั อากาศ และจดั ทําเครื่องมือการวจิ ยั 2. รวบรวมขอ้ มลู โดยสํารวจในพืนทีห่ อ้ งเคร่อื งของระบบปรบั อากาศของอาคาร้ โดยใชก้ ารสังเกตุ 3. รวบรวมขอ้ มูลจากรายงานประวัตเิ ครือ่ งจกั ร (History Card) การซ่อมบาํ รุงรักษา 4. รวบรวมขอ้ มูลจากการวดั ประสทิ ธิภาพเครอื่ งทาํ ความเย็น (Chiller) ที่ทําการวัดประสทิ ธิภาพ เครอ่ื งทาํ นาํ เย็น้ โดยบรษิ ทั ผผู้ ลิต 5. รวบรวมข้อมลู จากวิศวกรประจําอาคาร โดยการสัมภาษณต์ ามเคร่อื งมือการวจิ ยั 3.3 การวิเคราะหข์ ้อมูล การบันทกึ ข้อมลู ในเคร่ืองมือการวจิ ัยทไ่ี ด้ทําการตรวจสอบ (Audits) โดยการตรวจสภาพ ของเคร่อื งทํา ความเยน็ (Chiller) ของระบบปรบั อากาศในอาคาร ซึ่งเป็นขนั้ ตอนเร่ิมแรกสดุ การ ตรวจสอบอุปกรณส์ ภาพการ ใชง้ านเคร่ืองทําความเยน็ (Chiller) ในระยะสน้ั ๆ เพื่อหาวา่ สว่ นใดของ เคร่ืองทําความเย็น (Chiller) ของอาคารมี ปัญหาชัดเจน และทาํ การตรวจวดั ประสทิ ธิภาพเคร่ืองทําน้ำเยน็ (Chiller) และรวมรวมข้อมูลจากประวัติ เครอื่ งจักรรวมท้ังปญั หาท่เี กดิ ขน้ึ ในระหวา่ งการ ทํางานของอุปกรณ์เครื่องจักรดังกลา่ ว รวมท้ังประวตั ิในการซ่อม บํารงุ รกั ษา และผลกระทบตา่ ง ๆ เกดิ ขน้ึ ในอดีตทผ่ี า่ นมามารวบรวมและวิเคราะห์ (Analysis) และนาํ มา เปรียบเทยี บกับมาตร

37 บทที่ 4 ผลการเพ่ิมประสิทธิภาพ 4.1 การอนุรักษ์พลงั งาน ( เคร่อื งทำความเย็น ) การปรบั อากาศเป็นการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น ความสะอาด การกระจายความเยน็ ให้ได้สภาวะที่ ตอ้ งการ โดยเฉพาะในอาคารขนาดใหญ่ พลงั งานทใ่ี ช้ในระบบปรบั อากาศคิดเป็นประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ ของ พลังงานท่ีใชท้ ั้งหมด จึงมีความจำเป็นอยา่ งยิ่งในการศกึ ษาและทำความเขา้ ใจในระบบทำความเยน็ และระบบปรับ อากาศ เนอื่ งจากหากสามารถประหยดั พลังงานในระบบทำความเยน็ และปรับอากาศได้ กจ็ ะสามารถประหยัด พลังงานได้อย่างมาก ตาราง แสดงการใชไ้ ฟฟา้ ในอาคารแตล่ ะประเภทแยกตามกจิ กรรม คือ ระบบทำความเยน็ ระบบแสงสว่าง และอื่นๆ เป็นรอ้ ยละ ของการใชง้ าน (Lawrence Berkley Laboratory การพลงั งานแห่งชาติ E nergy Conservation in Conservation in Commercial Building ปี พ.ศ. 2528 โรงงานและศูนย์การคา้ มีการใช้ระบบปรบั อากาศแบบรวมศูนย์ ซง่ึ เปน็ กระบวนการควบคมุ สภาวะของ อากาศเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการ โดยทัว่ ไป ปจั จยั หรือพารามิเตอรข์ องอากาศทต่ี ้องควบคมุ ประกอบดว้ ย อุณหภมู ิ ความชืน้ ความสะอาด การกระจายลม และปริมาณลม ระบบปรบั อากาศประเภทน้ีประกอบดว้ ยระบบ นำ้ เยน็ (Chilled Water System) โดยมเี ครอื่ งทำน้ำเย็น(Chiller) ทำหน้าที่ผลิตน้ำเย็นจา่ ยให้แก่เครอื่ งส่งลมเย็น (Air Handling Unit ; AHU) เพ่ือทำการปรับอากาศให้แก่บริเวณพ้ืนท่กี ารผลติ พ้นื ท่ีสำนักงาน หรอื ศูนย์การค้า และเพ่ือควบคุมสภาวะอากาศในการผลติ สว่ นความร้อนจากระบบจะถูกระบายออกสู่สิ่งแวดล้อมทห่ี อทำความ เย็น (Cooling Tower)

38 ตัวอย่างการอนรุ ักษพ์ ลงั งานในระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์สามารถทำได้ ดังน้ี 1. กำหนดเวลาเปดิ -ปิดเครอ่ื งทำนำ้ เยน็ ใหเ้ หมาะสม 2. การเพม่ิ ประสิทธภิ าพในระบบน้ำหล่อเยน็ ของเครื่องทำน้ำเยน็ 3. การปรับตัง้ อุณหภูมขิ องเครอ่ื งทำน้ำเย็นใหเ้ หมาะสม 4. การทำความสะอาดคอนเดนเซอรเ์ ครื่องทำน้ำเย็น 5. การเลอื กเดนิ เครือ่ งทำน้ำเย็นประสทิ ธภิ าพสูงเปน็ หลกั 6. การใช้เคร่อื งทำนำ้ เยน็ ในจุดที่มปี ระสิทธิภาพสงู สดุ 7. การหร่วี าลว์ ที่ออกจากปั๊มเพือ่ ลดอัตราการไหลของนำ้ 8. การทยอยเพิ่มภาระการปรับอากาศ นอกจากวธิ ขี า้ งต้นแลว้ ในการอนุรักษ์พลังงานระบบปรบั อากาศ จำเป็นที่จะต้องประเมินสมรรถนะการทำงาน และประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองปรับอากาศ ดว้ ยการตรวจวัดค่าตา่ งๆ เช่น – วดั กำลังไฟฟ้า (Power Meter) วัดค่ากำลงั ไฟฟ้าทป่ี ้อนเข้าเครื่องทำน้ำเยน็ หน่วยเป็นกโิ ลวัตต์ (kW) – วดั อัตราการไหลของน้ำเยน็ ทผ่ี ่านเครอื่ งสบู น้ำเย็นในรูปของ ลิตรตอ่ วินาที (L/s) หรอื แกลลอนตอ่ วนิ าที (GPM) – วดั ค่าอณุ หภมู นิ ำ้ เยน็ เข้าและออกเครอื่ งทำน้ำเย็นในหน่วยองศาเซลเซียส

39 4.2 ผลหลงั การเพิม่ ประสิทธิภาพการอนรุ ักษพ์ ลังงาน การใชเ้ ครื่องปรบั อากาศประสทิ ธิภาพสงู สมการทีใ่ ชป้ ระเมนิ ผลประหยดั คอื ตารางที่ 5.7 ผลประหยดั จากการเลือกใชเ้ ครื่องปรบั อากาศเบอร์ 5 รุ่นตา่ งๆ ตวั อยา่ ง เดิมเคร่อื งปรับอากาศขนาด 12000 Btu / hr มคี า่ Kw/Tr = 1.75 ใช้งาน 3600 ชม/ปี Load Factor 80% ตอ้ งการเปลย่ี นเปน็ เครือ่ งปรบั อากาศ ที่มี EER = 11.5 จะประหยัดพลังงานปลี ะเทา่ ไหร่ ? จากตาราง 5.7 kw/er ทลี่ ดลง = 40 % พลังงานไฟฟ้าท่ลี ดลง = 12000 120000 = 2016 kwh/ปี การลดระยะเวลาการใชง้ านเคร่ืองปรับอากาศ โดยการเปิดใช้เครื่องปรับอากาศเท่าทีจ่ ำเป็น ตลอดจนการปรบั เวลาเปิดใช้งานใหช้ ้าลง และ ปดิ การใช้งานให้ เร็วขนึ้ ตวั อยา่ ง เคร่อื งปรับอากาศขนาด 12000 Btu / hr เปดิ ใช้งาน 10ขม/วัน และทำงาน 5วนั /สัปดาห์ เปลย่ี นเป็นลด ระยะเวลาการใชง้ านเคร่ืองปรับอากาศโดยปิดเครื่องปรบั อากาศก่อนพักเทีย่ งครึง่ ชวั่ โมง และ ก่อนเลิกงานคร่ึง ช่วั โมง รวมเป็น 1 ชัว่ โมง และ 1 ปี จะประหยัดพลังงานไปท้ังหมด พลังงานไฟฟ้าก่อนปรับปรงุ = 2080 Kwh/ปี หลงั ปรบั ปรุงเหลือ 9 ช่วั โมง = 1872 Kwh/ปี พลงั งานไฟฟ้าท่ลี ดลง = 2080-1872 = 208 Kwh/ปี

40 การล้างทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ เคร่อื งปรบั อากาศจะทำงานมีประสทิ ธภิ าพดี เมื่อคอยลร์ อ้ นสามารถระบายความร้อนได้ดี และ คอยล์เย็น สามารถกระจายลมเยน็ ได้ดี ซึ่งโดยทั่วไปเม่ือใชง้ านไประยะหนึ่งฝนุ่ ละอองในอากาศจะถูกดดู ดว้ ยพัดลม และ เกาะตวั บรเิ วณ ฟลิ เตอร์ และ แผงคอยล์ ดงั นน้ั จึงต้องมีการบำรุงรักษาดว้ ยการลา้ งทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอโดยทว่ั ไปกรองอากาศคอยล์ เย็นซ่ึงสามารถถอดลา้ งเองได้ง่าย ควรทำความสะอาดทุกๆ 2-4 เดอื น และแผงคอยล์ร้อน แผงคอยล์เย็น และ พัดลม ควรล้างทำความสะอาดโดยช่างผู้เชี่ยวชาญทุกๆ 4-6 เดือน ซงึ่ ความถใี่ นการล้าง ข้ึนอยู่กับช่วั โมงการใช้ งาน และสภาพอากาศ บริเวณท่ีใช้งาน และ เมือ่ หลังลา้ งแลว้ สามารถชว่ ยประหยัดพลงั งานได้ถึง 10 % ตา่ ง จากตอนกอ่ นทจ่ี ะล้าง ทำความสะอาด

41 บทท่ี5 ข้อสรปุ และเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการทำงาน จากการศึกษาการเพิ่มประสิทธภิ าพการอนรุ ักษ์พลงั งานในอุตสาหกรรมและจัดการพลังงานสำหรบั เครอื่ งระบบความเย็นในโรงงานอตุ สาหกรรมทกุ คนมสี ่วนร่วมในปัจจุบนั ระบบทาความเย็นและปรบั อากาศ มี ความสาคัญอยา่ งยง่ิ ต่อชวี ติ ประจาวนั ไม่ว่าจะทอ่ี ยู่อาศัย โรงงานอตุ สาหกรรม อาคาร ตวั อย่างเชน่ เครอ่ื งปรบั อากาศ แอร์ ต้เู ย็น ตู้แช่ เพื่อแชแ่ ข็งหรอื ลดอณุ หภมู ิของสินคา้ หรือปรับอุณหภูมใิ นหอ้ ง เพื่อให้ เจา้ หน้าทห่ี รือบุคลากรสามารถทางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ เป็นทท่ี ราบดีวา่ ระบบทาความเย็นและปรบั อากาศ มกี ารใชพ้ ลงั งานและค่าใชจ้ า่ ยด้านพลงั งานท่สี งู หากสามารถควบคมุ การทางานของระบบทาความเย็น และปรับอากาศใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพไดแ้ ล้ว การใช้พลงั งานก็จะเป็นไปอยา่ งคุ้มคา่ และชว่ ยประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยด้านพลังงานใหก้ ับสถานประกอบการลงได้เปน็ อย่างมากเพื่อลดปรมิ าณการใช้พลงั งาน ลดปัญหา สิ่งแวดล้อมเพ่ือใช้พลงั งานไดเ้ ต็มประสิทธิภาพมากท่ีสุดเพ่ือการหมุนเวยี นกลบั มาใชใ้ หม่ โดยการนาวัสดุที่ชา รุดนามาซอ่ มใช้ใหม่ การลดการทิ้งขยะทไ่ี ม่จาเป็นหรือการหมนุ เวียนกลับมาผลติ ใหม่ 5.2 ข้อเสนอแนะ จากการเสนอแนะผู้ใช้งานหรือปฏบิ ัตคิ วรได้คำแนะนำจากผู้สรา้ งให้ดีก่อนใชง้ านถา้ เกดิ ผู้ใชไ้ ม่รู้วิธีการ ปฏิบัตอิ าจจะเกดิ การสญู เสียหรอื ได้รบั ความเสยี หายได้

42 ตอนท่ี 3 : การจัดการพลังงาน สำหรับโรงงานควบคุม หรือ อาคารควบคุม ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550เป็นปีที่ 62 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยที่เปน็ การสมควรแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ กฎหมายวา่ ด้วยการส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลังงาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 28 ประกอบกบั มาตรา 33 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บัญญัตใิ หก้ ระทําได้ โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญตั ิแหง่ กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ดังตอ่ ไปนี้ มาตรา 1 พระราชบญั ญตั ินเี้ รียกว่า “พระราชบญั ญัตกิ ารส่งเสรมิ การอนุรักษพ์ ลงั งาน (ฉบับท2่ี ) พ.ศ. 2550 มาตรา 2 พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ห้ใชบ้ งั คบั เมื่อพน้ กําหนดหน่งึ ร้อยแปดสิบวนั นับแต่วนั ประกาศ ในราช กิจจานุเบกษา มาตรา 3 ให้ยกเลกิ ความใน (3) ของมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญัติการสง่ เสริมการอนรุ ักษ์ พลงั งาน พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความตอ่ ไปนีแ้ ทน “(3) ให้คําแนะนาํ ในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 5 มาตรา 15 มาตรา 21 และมาตรา 23” มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา6๖ แหง่ พระราชบัญญตั ิการสง่ เสริมการอนุรักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน มาตรา 6 ใหน้ ายกรัฐมนตรี รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงพลงั งาน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง อุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตาม พระราชบญั ญตั ิน้ี ทงั้ น้ี ในส่วนท่เี ก่ยี วกับอํานาจหนา้ ทขี่ องตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มีอํานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวง หรือประกาศ ตลอดจนมอี าํ นาจกาํ หนดกิจการอนื่ เพอ่ื ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เม่ือไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วใหใ้ ช้บงั คบั ได้” มาตรา 5 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบญั ญตั ิการสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน มาตรา 8 เพื่อประโยชนใ์ นการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานควบคุม ใหร้ ฐั มนตรโี ดยคาํ แนะนาํ ของ คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ มีอาํ นาจออกกฎกระทรวงในเรื่องดงั ต่อไปน้ี (1) กาํ หนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารจดั การพลงั งานใหเ้ จา้ ของโรงงานควบคุมตอ้ งปฏิบตั ิ

43 (2) กาํ หนดให้เจา้ ของโรงงานควบคุมต้องจดั ใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบดา้ นพลังงานประจําในโรงงาน ควบคุมแต่ ละแหง่ ตลอดจนกาํ หนดคุณสมบตั แิ ละหน้าที่ของผ้รู บั ผิดชอบดา้ นพลังงาน กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะกําหนดประเภท ชนิด หรือขนาดของโรงงานควบคุมใดให้ได้รับ ยกเว้นจากการ ต้องปฏิบัติในเรื่องหนึ่งเรื่องใดก็ได้ และกฎกระทรวงดังกล่าวจะกําหนดรายละเอียด ทางด้านเทคนิค วิชาการ หรือเรื่องอื่นใดที่เป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ รฐั มนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษากไ็ ด้” มาตรา 6 ให้ยกเลกิ มาตรา 11 มาตรา 12 มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 และ มาตรา 16 แห่ง พระราชบญั ญตั ิการสง่ เสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญตั กิ ารสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 และ ให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา 15 เพื่อประโยชนใ์ นการอนรุ กั ษ์พลังงานในอาคารทีจ่ ะทําการก่อสร้างหรอื ดัดแปลง ใหร้ ฐั มนตรี โดย คาํ แนะนําของคณะกรรมการนโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ มอี ํานาจออกกฎกระทรวงในเร่อื ง ดงั ต่อไปนี้ (1) กําหนดประเภท หรือขนาดของอาคารที่จะทําการก่อสร้างหรือดัดแปลงที่จะต้องมีการออกแบบ เพื่อการ อนุรกั ษพ์ ลังงาน (2) กําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารในการออกแบบอาคารตาม (1) เพอื่ การ อนรุ กั ษพ์ ลงั งาน กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะกําหนดรายละเอียดทางด้านเทคนิค วิชาการ หรือเรื่องอื่นใดที่เป็นเรื่อง ท่ี เปล่ียนแปลงรวดเรว็ ตามสภาพเศรษฐกิจและสงั คม ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ทร่ี ัฐมนตรีกําหนดโดย ประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษาก็ได”้ มาตรา 4 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 21 แหง่ พระราชบัญญัตกิ ารส่งเสรมิ การอนุรักษ์ พลงั งาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ให้ใช้ความตอ่ ไปนี้แทน มาตรา 21 เพอ่ื ประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคมุ ใหร้ ฐั มนตรี โดย คาํ แนะนาํ ของ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ มีอํานาจออกกฎกระทรวงในเรอ่ื งดงั ต่อไปน้ี (1) กําหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานใหเ้ จา้ ของอาคารควบคุมต้องปฏิบัติ (2) กําหนดให้เจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจําในอาคาร ควบคุมแต่ละแ ห่ง ตลอดจนกําหนดคณุ สมบัตแิ ละหนา้ ทขี่ องผู้รบั ผิดชอบด้านพลงั งาน หน้ าํ มาตรา 9 วรรคสองและมาตรา 10 มาใช้บังคับโดยอนุโลม” มาตรา 9 ให้ยกเลกิ มาตรา 22 แห่งพระราชบญั ญตั ิการส่งเสรมิ การอนุรักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 10 ใหย้ กเลกิ ชอื่ หมวด ๓ การอนุรักษ์พลังงานในเคร่ืองจักร อปุ กรณ์และส่งเสริม การใชว้ ัสดเุ พ่อื อนุรักษ์พลังงาน และความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปน้แี ทน “หมวด 3

44 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานในเคร่อื งจกั ร หรอื อุปกรณ์ และส่งเสรมิ การใช้วัสดุหรืออปุ กรณเ์ พือ่ การอนุรักษ์พลงั งาน มาตรา 23 เพือ่ ประโยชนใ์ นการอนุรักษ์พลังงานในเคร่ืองจักร หรืออปุ กรณ์ รวมทง้ั ใหม้ กี าร ส่งเสริมการใช้วัสดุ หรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ให้รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการ นโยบายพลงั งานแหง่ ชาติ มอี าํ นาจออกกฎกระทรวงในเรือ่ งดังต่อไปนี้ (1) กําหนดมาตรฐานด้านประสิทธภิ าพการใช้พลังงานของเครือ่ งจักร หรอื อปุ กรณ์ (2) กําหนดเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ตามประเภท ขนาด ปริมาณการใช้พลังงาน อัตราการ เปลี่ยนแปลง พลงั งาน และประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งานอย่างใด เป็นเครือ่ งจักร หรอื อปุ กรณ์ ที่มีประสิทธภิ าพสูง (3) กําหนดวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามประเภท คุณภาพและมาตรฐาน อย่างใด เป็นวัสดุ หรอื อุปกรณ์เพ่ือการอนรุ กั ษ์พลงั งาน (4) กาํ หนดให้ผูผ้ ลติ และผจู้ ําหน่ายเครอื่ งจักร หรอื อปุ กรณ์ ต้องแสดงค่าประสิทธภิ าพการใช้ พลงั งาน ผ้ผู ลิตและผู้จาํ หนา่ ยเครื่องจักรหรอื อปุ กรณ์ หรอื วัสดหุ รืออปุ กรณ์เพ่อื การอนรุ ักษ์พลังงาน ท่มี ปี ระสิทธิภาพสูง ตามวรรคหนึ่ง (2) หรอื (3) มีสทิ ธิขอรบั การสง่ เสริมและช่วยเหลือตามมาตรา 40 ได้ กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะกําหนดรายละเอียดทางด้านเทคนิค วิชาการ หรือเรื่องอื่นใด ที่เป็นเรื่องท่ี เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจและสงั คม ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ทร่ี ฐั มนตรี กําหนดโดยประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษากไ็ ด้ ถ้าคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเห็นสมควรจะกําหนดให้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใด ต้อง เป็นไปตามมาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ได้กําหนดไว้ในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรานี้ ให้ สาํ นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม” มาตรา 11 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญตั ิการส่งเสริมการอนรุ กั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา 24 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งเรียกว่า “กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” ใน กระทรวงพลังงาน เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายช่วยเหลือหรืออุดหนุนการดําเนินงานเกี่ยวกับ การ อนรุ ักษ์พลังงาน โดยประกอบด้วยเงินและทรพั ย์สนิ ดงั ต่อไปนี้ (1) เงินที่โอนจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขและป้องกันภาวะการ ขาดแคลนน้ํามัน เชอื้ เพลิงตามจาํ นวนทนี่ ายกรฐั มนตรกี ําหนด (2) เงนิ ทส่ี ่งตามมาตรา 35 มาตรา 36 และมาตรา 31 (3) เงนิ คา่ ธรรมเนียมพิเศษทจี่ ัดเกบ็ ตามมาตรา 42 (4) เงนิ อดุ หนุนจากรัฐบาลเปน็ คราว ๆ (5) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ได้รับจากภาคเอกชนทั้งภายในและภายนอกประเทศ รัฐบาล ต่างประเทศหรือ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ (6) เงินจากดอกผลและประโยชน์ใด ๆ ที่เกดิ จากกองทนุ นี้

45 ให้กระทรวงพลังงานเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของกองทุนและดําเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุน ตาม พระราชบัญญัติน้ี” มาตรา 12 ใหเ้ พิ่มความตอ่ ไปนี้เป็นมาตรา 24/1 แห่งพระราชบัญญตั กิ ารส่งเสริมการอนรุ กั ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 24/1 ใหโ้ อนบรรดากิจการ ทรพั ยส์ นิ สิทธิ หน้สี ิน และเงินจากกองทนุ เพือ่ สง่ เสริมการอนุรักษ์ พลังงาน ในกระทรวงการคลัง ไปเป็นของกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ตามพระราชบญั ญัติ น้ี” มาตรา 13 ใหย้ กเลกิ ความในวรรคหนึง่ ของมาตรา ๒๗ แหง่ พระราชบัญญัติการส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนแ้ี ทน “มาตรา 27 ใหม้ คี ณะกรรมการกองทนุ คณะหน่ึงประกอบดว้ ย รองนายกรฐั มนตรคี นหนง่ึ ท่ี นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ปลัด กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพลังงาน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ เลขาธกิ ารสํานกั งาน มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม อธบิ ดีกรมบญั ชีกลาง อธิบดกี รมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายกสภาวิศวกร นายกสภาสถาปนิก และผู้ทรงคุณวุฒิไม่ เกินเจ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็น กรรมการ และผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน เปน็ กรรมการและเลขานุการ” มาตรา 14 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน มาตรา 34 ให้คณะกรรมการกองทุนมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือ ปฏิบัติการ ตามที่คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย ตลอดจนเชญิ บคุ คลมาให้ข้อเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนํา หรอื ความเหน็ เพ่อื ประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ิตามอํานาจหนา้ ท่ีไดต้ ามความจําเปน็ ในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามมาตรา 28 (2) คณะกรรมการ กองทุนอาจมอบอํานาจให้คณะอนุกรรมการมีอํานาจในการอนุมัติการขอเปลี่ยนแปลงการ จัดสรร เงินกองทุน ใหแ้ กก่ จิ การ แผนงาน หรอื โครงการได้เท่าทีไ่ ม่เกินจากวงเงนิ ทคี่ ณะกรรมการกองทนุ จัดสรรให้ ท้ังน้ี ให้ เปน็ ไปตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการกองทุนกําหนด ให้คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการกองทุนแต่งตั้งขึ้นตามวรรคหนึ่งเชิญบุคคลมาให้ข้อเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนํา หรือความเห็น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามอํานาจหน้าที่ได้ตามความจําเป็น และให้นํามาตรา 33 มาใชบ้ งั คับแกก่ ารประชุมของคณะอนุกรรมการ โดยอนโุ ลม”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook