Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2565-2567) ของ สพม.ชบรย

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2565-2567) ของ สพม.ชบรย

Published by spmplan1003, 2022-01-14 04:25:56

Description: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2565-2567)

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด จึงมีภารกิจในการจัดทำแผนพัฒนา การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงและสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทไ่ี ด้กำหนดไว้ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2565 - 2567 ฉบับน้ีเป็นแผนพัฒนา ระยะ 3 ปี ซ่ึงมี การวิเคราะห์สภาพองค์กรปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน และการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในปีท่ีผ่านมา แผนฉบับนี้จึงได้มีการกำหนดการพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพและการบูรณาการ ความ รว่ มมือของทกุ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานของสถานศึกษาในสังกัดที่มีคุณภาพ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ขอขอบคุณผบู้ ริหาร บุคลากรในสงั กัด และผู้มีส่วนมีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ทำให้แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2565 - 2567 ของสำนักงาน เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง สำเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

สารบัญ หนา้ คำนำ 1 สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 2 เหตผุ ลและความจำเปน็ 3 สภาพทางภมู ิศาสตร์ 4 เขตการปกครอง 4 โครงสร้างการบริหารงานสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง 9 ภารกจิ และอำนาจหน้าที่ 10 โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษาในสังกัด 14 ขอ้ มลู พ้นื ฐานดา้ นการศกึ ษา การพัฒนาสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง ส่วนท่ี 2 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 22 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 22 พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 22 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) 23 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 25 แผนปฏิรปู ประเทศ 26 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) 27 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) 27 นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 28 30 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 31 32 แผนพฒั นาการศกึ ษาจังหวดั ชลบรุ ี (พ.ศ. 2563 – 2565) แผนพัฒนาการศึกษาจงั หวดั ระยอง (พ.ศ. 2563 – 2565) สว่ นท่ี 3 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มด้านการศกึ ษาของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา 33 มัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน 33 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 36 สว่ นท่ี 4 ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) 38 วสิ ัยทัศน์ คา่ นยิ มองค์กร พันธกิจ เป้าประสงค์ นโยบายและกลยุทธ์ 38-40 นโยบาย ตัวชี้วดั ความสำเร็จ ค่าเป้าหมาย แนวทางการพัฒนา และโครงการ โครงการ/กิจกรรม และค่าเป้าหมาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2567 41 53 สว่ นที่ 5 การบริหารแผนสคู่ วามสำเร็จ 66

ความเชอ่ื มโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศกึ ษา แผนพัฒนากา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ย.ชาติ 20 ปี ย.1 ด้านความมั่นคง ย.2 ด้านการสรา้ งความสามารถ ย.3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ ในการแข่งขันฯ คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ เป้าหมาย บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและ ประเทศไทยมีขีดความสามารถใน ทุกระดับ การแข่งขันสงู ขึ้น ประเด็นยทุ ธศาสตร์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีมี อุตสาหกรรมและบรกิ ารแห่ง การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบส ผลกระทบต่อความมั่นคง อนาคต : อตุ สาหกรรมและบริการ ดิจิทัล ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ แผนแม่บทภายใต้ ความม่ันคง เขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาการเรียนรู้ การ ยทุ ธศาสตร์ชาติ เป้าหมาย ประเทศชาติมีความมั่นคงในทุกมิติ การเจริญเติบโตของผลติ ภัณฑ์มวล 1. คนไทยมีการศึกษาที่มี 2. คนไทยได้รบั การ คนไทยท และทุกระดับเพิ่มข้ึน รวมของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ มาตรฐานสากลเพ่ิมขึ้น มี พัฒนาเต็มตาม พัฒนาอย ท้ังหมดเพิ่มขึ้น การลงทุนในพ้ืนที่ ทักษะท่ีจ้าเป็นของโลก ศักยภาพตามความถนัด และคุณธ เขตเศรษฐกจิ พิเศษท้ังหมดได้รับ ศตวรรษที่ 21 สามารถใน และความสามารถของ ทักษะใน การยกระดับ การแก้ปัญหาปรบั ตัว พหุปัญญาดีขึ้น ต่อเนื่องต สอื่ สาร และท้างานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมีประสทิ ธผิ ล เพ่ิมข้ึน มีนิสัยใฝ่เรยี นรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ แผนย่อย การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาที่มี การพัฒนาเขตพิเศษภาคตะวนั ออก การปฏิรูปกระบวนการ การตระหนักถึงพหุ การพัฒน ผลกระทบต่อความมั่นคง เรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการ ปัญญาของมนุษย์ท่ี เรยี น/วยั เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 หลากหลาย

ารศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2564 - 2565) สพฐ. และแผนพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สพม.ชบรย ามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง มสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ย.5 ด้านการสรา้ งการ ย.4 ด้านการสรา้ งโอกาส ย.6 ด้านการปรับสมดุลและ พ พร้อมสา้ หรับวถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 เติบโตบนคุณภาพ และความเสมอภาคทาง พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการภาครัฐ ชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม สังคม สร้างความเป็นธรรม และ ภาครัฐมีวฒั นธรรมการทา้ งานที่มุ่ง ลดความเหล่ือมลา้ ในทุกมิติ ผลสัมฤทธแ์ิ ละผลประโยชน์ ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส สนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 การลดความเหลอ่ื มล้า ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็น สรา้ งความเป็นธรรมในทุก ศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ มิติ และให้บรกิ ารอย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส รพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การปรับเปลี่ยนค่านิยม ความเสมอภาคและ การบริการประชาชนและ และวัฒนธรรม หลักประกันทางสังคม ประสิทธิภาพภาครัฐ ทุกช่วงวยั มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการ คนไทยมีคุณธรรม คนไทยทุกคนได้รบั การ บริการของรัฐมีประสิทธภิ าพและมี ย่างสมดุล ท้ังด้านร่างกายสติปัญญา จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม คุ้มครองและมีหลักประกัน คุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บริการ ธรรม จรยิ ธรรม เป็นผทู้ ี่มีความรู้และ และมีความรัก และภูมิใจ ทางสงั คมเพ่ิมขึ้น นศตวรรษท่ี 21 รักการเรยี นรู้อย่าง ในความเป็นไทยมากขึ้น ตลอดชีวติ น้าหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ใน การด้ารงชีวติ สงั คมไทยมี ความสขุ และเป็นท่ียอมรับ ของนานาประเทศมากขึ้น นาช่วงวยั การพัฒนาและ การปลกู ฝงั คุณธรรม มาตรการแบบเจาะจง การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ ยรุ่น ยกระดับศักยภาพวยั จรยิ ธรรม ค่านิยม และการ กลมุ่ เป้าหมายเพื่อแกป้ ัญหา แรงงาน เสรมิ สร้างจิตสาธารณะ เฉพาะกลมุ่ และการเป็นพลเมืองท่ีดี

ย.ชาติ 20 ปี ย.1 ด้านความม่ันคง ย.2 ด้านการสรา้ งความสามารถ ย.3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ ในการแข่งขันฯ เป้าหมายแผนยอ่ ย ปัญหาความม่ันคงท่ีมีอยใู่ นปัจจุบัน การขยายตัวของผลิตภัณฑม์ วล คนไทยได้รับการศึกษาที่มี ประเทศไทยมีระบบ วยั เรียน/ แนวทางการพัฒนา ข้อมูลเพื่อการสง่ เสรมิ ความรู้แล (เช่น ปัญหายาเสพติด ความมั่นคง รวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค คุณภาพตามมาตรฐาน มี การพัฒนาศักยภาพ ศตวรรษ ตามพหุปัญญา เพ่ือ รูจ้ ักคิดว ทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ ฯลฯ) ตะวนั ออกเพ่ิมข้ึน ทักษะการเรียนรู้และ ประโยชน์ในการพัฒนา การเรียน และการส่งต่อการ พลเมือง ได้รับการแกไ้ ขจนไม่สง่ ผลกระทบต่อ ทักษาะท่ีจา้ เป็นของโลก พัฒนาให้เต็มตาม หาญทาง ศักยภาพเพิ่มข้ึน ความสาม การบรหิ ารและพัฒนาประเทศ ศตวรรษท่ี 21 สามารถ แก้ปัญหา สื่อสารแล เข้าถึงการเรียนรู้อยา่ ง ร่วมกันก มีประสิท ต่อเนื่องตลอดชีวติ ชีวติ ดขี ึ้น การส่งเส พัฒนาการจดั การศึกษาให้สอดคล้อง พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ น การพัฒนาหลกั สูตร การวัด การพัฒนาหลกั สูตร การศึกษ นักเรยี น กบั อัตลกั ษณว์ ิถีชีวิต วัฒนธรรม ให้เกดิ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม การประเมินผล การพัฒนาครู การวดั การประเมิน การศึกษ ความสมานฉันท์ และรู้รักสามัคคี มีความ สา้ หรับการท้าวิจัยตอ่ ยอด เพอ่ื ขยาย การพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพ การพัฒนาครู การ และมัธย เข้าใจซ่ึงกนั และกัน อยรู่ ่วมกันอยา่ งสันติ ผลงานวิจยั ไปสเู่ ชิงพาณชิ ยแ์ ละพัฒนา ดว้ ยการปรบั เปลี่ยนระบบการ ปลาย สุข มีคุณภาพตามมาตรฐาน และ ศูนยก์ ารเรยี นรู้และศูนยบ์ รกิ าร รวมทั้ง เรียนรู้สา้ หรับศตวรรษที่ 21 พัฒนาคุณภาพ เสรมิ สร้างภูมิคุ้มกนั ป้องกนั ยาเสพตดิ ใน จัดท้าหลักสตู รการเรียนการสอนและ โดยพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ท่ี สถานศึกษา กล่มุ เดก็ และเยาวชน พัฒนากระบวนการ ฝกึ อบรมตอ่ ยอดโครงสร้างพ้ืนฐานให้ ใช้ฐานความรู้และระบบคิดใน ระบบตดิ ตาม ดแู ล ช่วยเหลอื กลุม่ เดก็ และ เป็นแหล่งสนับสนุนการถ่ายทอด ลกั ษณะสหวิทยาการ พัฒนา เยาวชนท่ีมีปัญหายาเสพตดิ สรา้ งและ เทคโนโลยที ้ังในและตา่ งประเทศ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาระบบรองรบั สนับสนุนการคืนเดก็ รวมถึงการให้บริการวิเคราะห์ทดสอบ สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมจาก ดสี สู่ ังคม เสรมิ สรา้ งมาตรฐานในการ ของภูมิภาคอาเซยี น ภาคเอกชนในการจดั การศึกษา ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาในกลุม่ เป้าหมาย แผนปฏิรูปประเทศ การปฏิรูปการศึกษาและการ การปฏิรปู การจัดการเรยี น การปฏิรูปกลไกและ การปฏิร (พ.ศ. 2561- 2565) เรยี นรู้โดยการผลกิ โฉมด้วยระบบ การสอนเพื่อตอบสนองการ ระบบการผลติ คัดกรอง เรียนการ ดิจิทัล เปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพัฒนาผู้ประกอบ ตอบสนอ ด้านการศึกษา วชิ าชีพครู และอาจารย์ เปลี่ยนแ ศตวรรษ นโยบาย สพฐ. ด้านความปลอดภัย ด้านคุณภ ปี งปม. 64 - 65 ข้อท่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคลอ้ แผนพัฒนาการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) ข้อท่ี 1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่ือ ความม่ันคงและความปลอดภัย สพม.ชบรย กลยทุ ธ์ สง่ เสริมการจัดการศึกษาให้มีความ • ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผเู้ รียน เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับน ปีงบประมาณ ม่ันคงและความปลอดภัยจากภัยทุก • ส่งเสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2565 - 2567 รปู แบบ • สง่ เสรมิ จัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื (Sustainable Development G สพม.ชบรย เศรษฐกจิ พอเพียง

มสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ย.5 ด้านการสรา้ งการ ย.4 ด้านการสรา้ งโอกาส ย.6 ด้านการปรับสมดุลและ เติบโตบนคุณภาพ และความเสมอภาคทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครฐั ชีวิตที่เป็นมิตรต่อ ภาครัฐมีขีดสมรรถนะสูงเทียบเท่า สิ่งแวดล้อม สังคม มาตรฐานสากลและมีความคลอ่ งตัว /วยั ร้นุ มี แรงงานมีศักยภาพใน คนไทยเป็นมนุษยสี่ มบูรณ์ มีระบบและกลไกในการให้ พัฒนาหน่วยงานภาครัฐให้เป็น มีความพร้อมในทุกมิติตาม ความช่วยเหลือ ภาครัฐทันสมัย เปิดกวา้ ง เป็น ละทกั ษะใน การเพ่ิมผลผลิต มี มาตราฐานและสมดุลทั้ง กลมุ่ เป้าหมายท่ีต้องการ ษท่ี 21 ครบถ้วน ทักษะอาชีพสงู ด้านสติปัญญา คุณธรรม ความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ องค์กรขีดสมรรถนะสูง วิเคราะห์ รัก ตระหนักใน จริยธรรม และจิตวญิ ญาณ มากยง่ิ ขึ้น นรู้ มีสา้ นึก ความส้าคัญท่ีจะ ที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตน มีความกล้า พัฒนาตนเองให้เต็ม ปรบั ตัวเข้ากบั งจริยธรรม มี ศักยภาพสามารถ สภาพแวดล้อมดีข้ึน มารถในการ า ปรับตัว ปรบั ตัวและเรียนรู้สิ่ง ส่งเสรมิ ให้มีการปลูกฝัง ละทา้ งาน ใหม่ตามพลวตั ของ คุณธรรม จรยิ ธรรม กับผู้อื่นไดอ้ ย่าง โครงสร้างอาชีพและ ค่านิยม และการเสริมสร้าง ทธผิ ลตลอด ความต้องการของ จิตสาธารณะ และการเป็น น ตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น พลเมืองท่ีดี แก่ผเู้ รียน และบุคลากรที่เกีย่ วข้อง สรมิ การจัด การยกระดับศักยภาพ จัดให้มีระบบสนับสนุน ช่วยเหลอื ผเู้ รยี น ษาให้กบั ทักษะและสมรรถนะ โดยเฉพาะผทู้ ี่ต้องการความ ช่วยเหลอื เป็นพิเศษ นระดับ ของคนในช่วงวยั ษาภาคบังคับ ทา้ งานให้สอดคล้อง ยมศึกษาตอน กบั ความสามารถ เฉพาะบุคคลและ ความต้องการของ ตลาดแรงงาน รูปการจัดการ การปฏิรูปการจัดการ การปฏิรปู เพ่ือลดความ รสอนเพ่ือ เรยี นการสอนเพ่ือ เหลอื่ มล้าทางการศึกษา องการ ตอบสนองการ แปลงใน เปลย่ี นแปลงใน ษท่ี 21 ศตวรรษท่ี 21 ภาพ ด้านโอกาส ด้านประสิทธภิ าพ องกับการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 ข้อที่ 2 สรา้ งโอกาส ความ ข้อท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภาพระบบการ เสมอภาค และการเข้าถึง บริหารจดั การและสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ ม นานาชาติและเทียบเคียงสมู่ าตรฐานสากล บริการทางการศึกษาอยา่ ง Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ตามหลักปรชั ญา ในการจัดการศึกษา ทั่วถึงและมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เสมอภาคการเข้าถึงบรกิ าร กา้ กับติดตาม ประเมินผล ท่ีมี ทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประสทิ ธภิ าพตามหลกั อย่างทั่วถึงที่มีคุณภาพ ธรรมาภิบาล และส่งเสริมการมี ส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

ส่วนที่ 1 บทนำ

ส่วนที่ 1 บทนำ เหตผุ ลและความจำเปน็ ตามท่ีได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2553 และพระราชบัญญัติ ระเบยี บข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 ที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกำหนดให้มีเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา และที่ต้ังของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 42 เขต เมอ่ื วันท่ี 17 สิงหาคม 2553 นั้น และเป็นหนว่ ยงานทีไ่ ด้รบั การกำหนดใหม้ ขี น้ึ ตามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาดังกล่าว โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน มอี ำนาจหน้าท่ีตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พ.ศ. 2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ. 2560 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจ หน้าท่ีของคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มีอำนาจหน้าที่จัดทำนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาให้สอดคล้องกับ นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของ ท้องถิ่น วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณของหน่วยงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและแจ้งจัดสรร งบประมาณท่ีได้รับให้สถานศึกษาในสังกัดทราบ กำกับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของ หน่วยงานดังกล่าว ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนนุ การจัดและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา จัดระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ประสานส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาของเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ดำเนินการประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษา การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ คณะทำงานด้านการศึกษา ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กร หน่วยงานภาครฐั เอกชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ในฐานะ สำนักงานผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้ืนที่การศึกษาปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเก่ียวกับกิจการภายในเขตพื้นที่ การศกึ ษา ท่ีมิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ีของผู้ใดโดยเฉพาะ หรือปฏิบัติงานอ่ืนตามที่มอบหมายการปฏิบัติภารกิจ ดังกล่าวจะบรรลุผลสำเร็จได้จะต้องมีระบบการวางแผนการดำเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือสนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนา เป็นจุดเชื่อมประสานการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในจังหวัด โดยการกำหนดทิศทางการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล นโยบายของ แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

2 กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังนั้น สำนักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง จึงได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) โดยวิเคราะห์ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล นโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือเป็นกรอบทิศทางในการ ดำเนินงานให้สามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกำหนดได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล สงู สุด สภาพทางภูมศิ าสตร์ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง เป็นหนว่ ยงานในสงั กดั สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีภารกิจรบั ผิดชอบบริหาร จัดการในเขตพนื้ ที่ใน 2 จังหวัด จงั หวัดชลบรุ ี ได้แก่ อำเภอเมืองชลบรุ ี บ้านบงึ หนองใหญ่ พนสั นิคม พานทอง บอ่ ทอง เกาะจันทร์ สตั หบี บางละมงุ ศรีราชา และเกาะสีชงั จังหวดั ระยอง ได้แก่ อำเภอเมืองระยอง แกลง บ้านคา่ ย บา้ นฉาง ปลวกแดง นคิ มพฒั นา วังจนั ทร์ และเขาชะเมา ท่ีต้ัง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ตั้งอยู่เลขท่ี 25/11 หมู่ 5 ตำบลอา่ งศิลา อำเภอเมอื งชลบรุ ี จงั หวัดชลบุรี รหัสไปรษณยี ์ 20000 เวบ็ ไซต์ www.spm18.go.th แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

3 อาณาเขตติดตอ่ ของจงั หวัดชลบุรี ทิศเหนือ ติดกบั จงั หวัดฉะเชิงเทรา ทศิ ใต้ ติดกบั จงั หวดั ระยอง ทิศตะวนั ออก ตดิ กับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวดั จนั ทบรุ ี และระยอง ทิศตะวนั ตก ติดกบั ชายฝง่ั ทะเลตะวันออก ของอ่าวไทย อาณาเขตติดต่อของจงั หวดั ระยอง ทศิ เหนือ ตดิ กับอำเภอหนองใหญ่ บ่อทอง ศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี ทิศใต้ ติดกับชายฝงั่ ทะเลตะวนั ออกของอ่าวไทย ทิศตะวนั ออก ตดิ กับอำเภอนายายอาม แกง่ หางแมว จังหวดั จนั ทบุรี ทิศตะวนั ตก ตดิ กับอำเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี เขตการปกครอง สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง รับผิดชอบพื้นที่ให้บริการ 2 จังหวัด ได้แก่ จงั หวัดชลบรุ ี และจังหวัดระยอง ซ่งึ แตล่ ะจังหวัดแบง่ การปกครอง ดังนี้ 1. จังหวัดชลบุรี แบ่งเขตการปกครองออกแบ่งเป็น 11 อำเภอ 92 ตำบล 687 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตำบล 29 แหง่ องค์การบริหารส่วนตำบล 58 แหง่ และมีรูปแบบการปกครองพิเศษ 1 แห่ง คือ เมืองพัทยา แยกจากการปกครองของอำเภอบางละมุง เนื่องจากเป็นเมืองท่องเท่ียวระดับนานาชาติ ซ่ึงมี การเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็ว จังหวัดชลบุรี มี 11 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอพนัสนิคม อำเภอพานทอง อำเภอบ้านบึง อำเภอศรีราชา อำเภอเกาะจันทร์ อำเภอบ่อทอง อำเภอหนองใหญ่ อำเภอบางละมุง อำเภอสตั หีบ และอำเภอเกาะสชี งั จำนวนประชากร 1,566,885 คน 2. จังหวัดระยอง แบ่งเขตการปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 54 ตำบล 439 หมู่บ้าน 80 ชุมชน ส่วนด้านการปกครองท้องถิ่นประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 22 แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตำบล 42 แห่ง จังหวัดระยอง มี 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเขาชะเมา อำเภอบ้านฉาง อำเภอวังจันทร์ อำเภอปลวกแดง อำเภอแกลง อำเภอนคิ มพฒั นา และอำเภอบ้านค่าย จำนวนประชากร 741,524 คน แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

4 โครงสร้างการบรหิ ารงานสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง ผอู้ ำนวยการ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง (ก.ต.ป.น.เขตพื้นที่การศึกษา) รองผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมนิ ผลฯ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มบริหารงานการเงนิ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลมุ่ นโยบายและแผน และสนิ ทรพั ย์ กลมุ่ สง่ เสริมการศึกษา หนว่ ยตรวจสอบภายใน กลุ่มกฎหมายและคดี ทางไกล เทคโนโลยี กลุ่มส่งเสรมิ การ สารสนเทศและการสื่อสาร จดั การศกึ ษา กลมุ่ พฒั นาครแู ละ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ภารกจิ และอำนาจหน้าท่ี กฎ กระท รวงแบ่ งส่ วน ราช การภ าย ใน สำนั กงาน เขต พ้ื น ที่ การศึก ษ า พ .ศ. 2560 กระทรวงศึกษาธิการ ให้สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีอํานาจหน้าที่ดําเนินการให้เป็นไปตามอํานาจหน้าท่ี ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมี อํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1) จัดทํานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้สอดคล้องกับ นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และความต้องการของ ทอ้ งถนิ่ 2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นที่ การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมท้ังกํากับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานดังกลา่ ว 3) ประสาน ส่งเสรมิ สนบั สนุน และพัฒนาหลักสตู รรว่ มกบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 4) กาํ กบั ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา 6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านตา่ ง ๆ รวมท้ังทรพั ยากรบุคคล เพื่อสง่ เสริม สนับสนุนการจัด แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

5 และพัฒนาการศกึ ษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา 7) จัดระบบประกนั คุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา 8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นท่ี จดั การศึกษารปู แบบท่หี ลากหลายในเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา 9) ดําเนินการและประสาน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 10) ประสาน ส่งเสริม การดําเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทํางานด้าน การศกึ ษา 11) ประสานการปฏิบัติราชการท่ัวไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน และ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ 12) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย อำนาจหนา้ ที่ของสว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง 1. กลมุ่ อํานวยการ มอี ํานาจหนา้ ทดี่ ังต่อไปน้ี (ก) ปฏบิ ตั งิ านสารบรรณสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา (ข) ดําเนินการเก่ยี วกับงานช่วยอํานวยการ (ค) ดาํ เนินการเกยี่ วกับอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม และยานพาหนะ (ง) จัดระบบบรหิ ารงาน การควบคมุ ภายใน และพฒั นาองคก์ ร (จ) ประชาสมั พันธ์ เผยแพรก่ จิ การ ผลงาน และบรกิ ารข้อมลู ข่าวสาร (ฉ) ประสานการดาํ เนินงานระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา (ช) ดาํ เนนิ การเลอื กตง้ั และสรรหากรรมการและอนุกรรมการ (ซ) ประสาน สง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารและสวัสดภิ าพ (ฌ) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนท่ีเก่ียวข้องกับกิจการภายในของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มิใช่งาน ของ ส่วนราชการใดโดยเฉพาะ (ญ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือ ท่ีได้รับ มอบหมาย 2. กล่มุ นโยบายและแผน มีอาํ นาจหนา้ ท่ีดังต่อไปนี้ (ก) จัดทํานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และความต้องการของท้องถิน่ (ข) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและแจ้งการจัดสรร งบประมาณ (ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณและ ผลการปฏิบัติตาม นโยบายและแผน (ง) ดําเนินการวิเคราะห์ และจัดทําข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอนสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

6 (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือ ที่ได้รับ มอบหมาย 3. กลุม่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร มีอํานาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ศกึ ษา วิเคราะห์ ดาํ เนนิ การ และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาทางไกล (ข) ศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั และพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารและการจัดการศึกษา (ค) ดําเนนิ งานสารสนเทศเพอ่ื การบริหารและการจดั การศึกษา (ง) ดําเนินการวิเคราะห์ และปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร (จ) สง่ เสริม สนับสนนุ และดาํ เนนิ งานบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมาย 4. กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์ มอี ํานาจหน้าทดี่ งั ต่อไปน้ี (ก) ดาํ เนนิ งานเกยี่ วกับงานบริหารการเงิน (ข) ดําเนนิ งานเกยี่ วกับงานบริหารงานบญั ชี (ค) ดําเนนิ งานเกีย่ วกับงานบริหารงานพสั ดุ (ง) ดําเนนิ งานเก่ียวกบั งานบริหารสนิ ทรัพย์ (จ) ใหค้ ําปรกึ ษาสถานศกึ ษาเกย่ี วกบั การดําเนนิ งานบริหารการเงนิ งานบญั ชี งานพสั ดุ และงานบรหิ าร สินทรัพย์ (ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง หรือ ที่ได้รับ มอบหมาย 5. กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล มอี าํ นาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) วางแผนอัตรากาํ ลังและกาํ หนดตําแหนง่ (ข) ส่งเสริม สนับสนนุ การมีหรอื เล่อื นวิทยฐานะ (ค) วิเคราะห์และจัดทําข้อมูลเกี่ยวกบั การสรรหา บรรจุและแต่งต้ัง ย้าย โอน และการลาออกจาก ราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ง) ศึกษาวิเคราะห์ และดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อนเงินเดือน การมอบหมายหน้าท่ีให้ปฏิบตั ิของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (จ) จัดทาํ ขอ้ มูลเก่ียวกบั บาํ เหน็จความชอบและทะเบยี นประวตั ิ (ฉ) จดั ทาํ ขอ้ มลู ระบบจา่ ยตรงเงินเดอื นและคา่ จา้ งประจํา (ช) ปฏิบัติการบริการและอํานวยความสะดวกในเรื่องการออกหนังสือรับรองต่างๆ การออกบัตร ประจาํ ตวั และการขออนุญาตตา่ ง ๆ (ซ) ศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทําข้อมูลเพ่ือดําเนินงานวินัย อทุ ธรณ์ ร้องทุกข์ และการดําเนนิ คดีของรัฐ (ฌ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือ ที่ได้รับ มอบหมาย แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

7 6. กลมุ่ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มอี าํ นาจหนา้ ทด่ี ังตอ่ ไปนี้ (ก) ดำเนนิ งานฝกึ อบรมพฒั นาก่อนแตง่ ตง้ั (ข) ดําเนินงานฝกึ อบรมพฒั นาเพือ่ เพิ่มศักยภาพการปฏบิ ตั ิงาน (ค) ดําเนนิ งานพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณ (ง) ปฏบิ ตั งิ านส่งเสรมิ สนับสนนุ และยกย่องเชดิ ชูเกยี รติขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (จ) ดําเนินการเกี่ยวกับการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัยภายในประเทศ หรือ ต่างประเทศ (ฉ) ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ัย และเสริมสรา้ งระบบเครือขา่ ยการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (ช) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือท่ีได้รับ มอบหมาย 7. กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา มอี ํานาจหนา้ ทีด่ ังต่อไปนี้ (ก) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษา ระดับก่อนประถมศกึ ษา และหลกั สตู รการศกึ ษาพเิ ศษ (ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพือ่ พฒั นาหลกั สูตรการสอนและกระบวนการเรยี นรู้ของผเู้ รียน (ค) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินเกี่ยวกับการวัดและการประเมินผล การศกึ ษา (ง) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังประเมิน ติดตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา (จ) นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา (ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั และพฒั นาสือ่ นวตั กรรมการนเิ ทศทางการศกึ ษา (ช) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่ การศึกษา (ซ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง หรือท่ีได้รับ มอบหมาย 8. กลุ่มสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา มีอํานาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ศึกษา วเิ คราะห์ ส่งเสรมิ สนับสนุน และดําเนนิ งานเก่ยี วกับศาสตร์พระราชา (ข) ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศัย (ค) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ของบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สงั คมอ่ืน (ง) ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ให้สามารถจดั การศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา (จ) สง่ เสริมการจดั การศึกษาสําหรบั ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ (ฉ) ส่งเสริมงานการแนะแนว สุขภาพ อนามัย กีฬา และนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

8 ผู้บําเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษ์สิทธิเด็ก และ เยาวชน และงานกจิ การนักเรียนอนื่ (ช) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา (ซ) ประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมป้องกันแก้ไขและ คุ้มครองความประพฤตินกั เรยี นและนักศึกษา รวมท้งั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน (ฌ) ดาํ เนนิ งานวเิ ทศสัมพนั ธ์ (ญ) ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษากับการศาสนาและการวัฒนธรรม (ฎ) ส่งเสรมิ แหลง่ การเรียนรู้ สงิ่ แวดล้อมทางการศึกษา และภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ (ฏ) ประสานและส่งเสรมิ สถานศึกษาใหม้ ีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชน (ฐ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมาย 9. หน่วยตรวจสอบภายใน มอี าํ นาจหน้าท่ดี ังต่อไปน้ี (ก) ดาํ เนินงานเก่ยี วกับงานตรวจสอบการเงนิ การบญั ชี และตรวจสอบระบบการดแู ล ทรพั ย์สิน (ข) ดําเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการดําเนินงานหรือกระบวนการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับ ผลผลิตหรอื เป้าหมายท่กี าํ หนด (ค) ดาํ เนนิ งานเกี่ยวกับการประเมินการบริหารความเสย่ี ง (ง) ดําเนินการอน่ื เกี่ยวกับการตรวจสอบภายในตามท่ีกฎหมายกาํ หนด (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอนื่ ท่ีเกย่ี วข้องหรือ ที่ไดร้ ับมอบหมาย 10. กลมุ่ กฎหมายและคดี มอี ำนาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ส่งเสริม สนบั สนุน พัฒนาการมวี ินยั และรกั ษาวนิ ัย (ข) ดำเนินการสบื สวนเกยี่ วกบั เรอ่ื งร้องเรียน (ค) ดำเนนิ การสอบสวนเก่ียวกับวินัยและการตรวจพิจารณาวินัย (ง) ดำเนนิ การเก่ยี วกบั การอทุ ธรณ์และการพิจารณาอทุ ธรณ์ (จ) ดำเนนิ การเก่ยี วกับการร้องทกุ ข์และการพจิ ารณาร้องทุกข์ (ฉ) ดำเนนิ การเกยี่ วกบั ความรับผิดทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ท่ี (ช) ดำเนนิ การเกีย่ วกบั งานคดปี กครอง คดีแพ่ง คดีอาญา และคดีอื่น ๆ ของรฐั (ซ) ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ (ฌ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั จดั ทำขอ้ มลู และติดตามประเมินผลเพือ่ พฒั นางานกฎหมายและงานคดขี องรัฐ (ญ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

9 โครงสร้างการบรหิ ารงานสถานศกึ ษา แผนภมู ิแสดงโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

10 ข้อมลู พืน้ ฐานดา้ นการศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ และพนักงานอัตราจ้าง ภายในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จำนวน 66 คน ดังนี้ - ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา จำนวน 1 คน - รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา จำนวน 3 คน - ศกึ ษานเิ ทศก์ จำนวน 10 คน - บคุ ลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา 38 ค (2) จำนวน 33 คน - ลูกประจำ จำนวน 1 คน - พนกั งานราชการ/ครอู ตั ราจา้ งช่วยราชการ จำนวน 12 คน - ลูกจ้างช่วั คราว จำนวน 6 คน มีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ และลูกจ้างช่ัวคราว ในสถานศึกษา จำนวน 4,858 คน มีโรงเรียนในจังหวัดชลบุรี จำนวน 31 โรงเรียน และจังหวัดระยอง จำนวน 20 โรงเรียน รวมท้ังส้ิน 51 โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 50 คน รองผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 97 คน ข้าราชการครู จำนวน 3,789 คน บุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม มาตรา 38 ค (2) จำนวน 1 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 61 คน พนักงานราชการ จำนวน 98 คน ลูกจ้าง ชั่วคราว จำนวน 762 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564) ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนโรงเรยี นสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ขนาดโรงเรียน จำนวนนกั เรยี น จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง (จำนวนโรงเรยี น) (จำนวนโรงเรียน) ขนาดเลก็ นกั เรียน 1 – 359 คน 3 2 ขนาดกลาง นักเรียน 360 – 1,079 คน 8 8 ขนาดใหญ่ นกั เรยี น 1,080 – 1,679 คน 7 1 ขนาดใหญ่พเิ ศษ นักเรียน 1,680 คน ขึน้ ไป 13 9 รวมโรงเรยี น 31 20 รวมโรงเรยี นท้งั ส้นิ 51 แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

11 ตารางท่ี 2 แสดงข้อมลู นักเรียนรายโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2564 (ข้อมูล 10 มิถนุ ายน 2564) ที่ โรงเรียน จำนวนนักเรียน รวม ปวช. ประถม มัธยม มธั ยม ตน้ ปลาย 2,823 3,500 1 ชลบุรี “สุขบท” 1,641 1,182 4,087 1,648 2 ชลราษฎรอำรุง 1,501 1,999 2,236 1,203 3 ชลกนั ยานกุ ูล 2,109 1,978 282 4 แสนสุข 1,192 456 3,265 5 บ้านสวน (จั่นอนุสรณ)์ 1,529 707 604 719 6 อา่ งศิลาพทิ ยาคม 852 351 551 624 7 หนองรมี งคลสขุ สวสั ด์ิ 194 88 1,734 1,504 8 บา้ นบึง “อตุ สาหกรรมนุเคราะห์” 1,769 1,496 3,081 581 9 บา้ นบงึ “มนูญวทิ ยาคาร” 417 187 92 75 1,368 10 วทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ชลบุรี 288 431 782 330 11 คลองกิ่วย่งิ วิทยา 372 179 2,303 2,711 12 หนองใหญ่ศิรวิ รวาทวทิ ยา 378 246 444 2,955 13 พานทองสภาชนปู ถมั ภ์ 1,254 480 1,559 1,222 14 พานทอง 1,024 480 1,356 2,770 15 พนสั พทิ ยาคาร 1,604 1,477 369 1,735 16 ทงุ่ เหียงพิทยาคม 358 223 3,584 75 52,022 17 เทพศิรนิ ทร์ ชลบรุ ี (อุทกฯ อุปถัมถ์) 69 23 18 บอ่ ทองวงษจ์ นั ทร์วทิ ยา 728 565 19 เกาะโพธิ์ถ้วยงามวิทยา 414 368 20 เกาะจนั ทรพ์ ทิ ยาคาร 172 158 21 บางละมงุ 1,173 1,130 22 โพธิสัมพนั ธพ์ ิทยาคาร 1,227 1,484 23 ผนิ แจ่มวิชาสอน 280 164 24 ศรรี าชา 1,684 1,271 25 ท่งุ ศุขลาพิทยา “กรุงไทยอนุเคราะห์” 994 565 26 บึงศรีราชาพทิ ยาคม 798 424 27 สุรศักดิว์ ทิ ยาคม 924 432 28 สวนกุหลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี 1,589 1,181 29 เกาะสีชงั 246 88 35 30 สตั หีบวิทยาคม 1050 685 31 สงิ ห์สมุทร 1,584 2,000 รวมจงั หวัดชลบรุ ี 246 29,256 22,445 แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

12 ที่ โรงเรียน จำนวนนกั เรียน รวม ประถม มัธยม มธั ยม ปวช. 1 วดั ป่าประดู่ 2,667 2 ระยองวทิ ยาคม ตน้ ปลาย 3,610 3 บา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา 1,796 871 2,503 4 เพรกั ษมาตาวทิ ยา 5 มาบตาพุดพนั พิทยาคาร 1,620 1,990 854 6 ระยองวทิ ยาคม นิคมอุตสาหกรรม 2,930 7 ระยองวิทยาคม ปากนำ้ 1,640 863 8 เฉลิมพระเกยี รติพระศรนี ครินทร์ 493 361 449 787 ระยอง 1,986 944 1,044 9 บ้านค่าย 10 ปลวกแดงพิทยาคม 236 213 11 นิคมวทิ ยา 478 309 12 แกลง”วิทยสถาวร” 657 387 13 วังจันทร์วทิ ยา 14 เขาชะเมาวิทยา 1,325 746 2,071 15 ชำนาญสามัคคีวิทยา 1,386 766 2,152 16 ชำฆ้อพิทยาคม 1,132 695 1,827 17 สนุ ทรภูพ่ ทิ ยา 18 ห้วยยางศึกษา 1,598 1,116 2,714 19 มกฎุ เมืองราชวทิ ยาลัย 968 765 1,733 20 มาบยางพรวทิ ยาคม 185 166 351 รวมจงั หวัดระยอง 902 722 รวมท้ังสน้ิ 116 94 1,624 210 459 297 245 129 756 374 613 398 727 115 1,011 842 0 18,562 11,947 246 47,818 34,392 0 30,509 75 82,531 แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

13 ตารางที่ 3 เครือขายสงเสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การมธั ยมศึกษา (สหวทิ ยาเขต) ที่ ชื่อสหวทิ ยาเขต จำนวน รายช่อื โรงเรียน โรงเรียน 1 สหวทิ ยาเขตชลบุรี 1 12 1. ชลบุรี “สขุ บท” 8. บา้ นบงึ “อตุ สาหกรรม 2. ชลราษฎรอำรงุ นเุ คราะห์” 3. ชลกนั ยานุกลู 9. บา้ นบึง “มนญู วทิ ยาคาร” 4. แสนสุข 10. วิทยาศาสตร์จฬุ าภรณ 5. บ้านสวน (จ่นั อนุสรณ)์ ราชวิทยาลยั ชลบุรี 6. อ่างศิลาพิทยาคม 11. คลองกิว่ ยงิ่ วทิ ยา 7. หนองรมี งคลสขุ สวสั ด์ิ 12. หนองใหญศ่ ริ วิ รวาทวทิ ยา 2 สหวทิ ยาเขตชลบุรี 2 8 1. พานทองสภาชนูปถัมภ์ 5. เทพศิรินทร์ ชลบรุ ี (อุทกฯ 2. พานทอง อปุ ถมั ถ)์ 3. พนัสพิทยาคาร 6. บ่อทองวงษ์จันทรว์ ิทยา 4. ท่งุ เหียงพทิ ยาคม 7. เกาะโพธ์ถิ ้วยงามวทิ ยา 8. เกาะจนั ทร์พทิ ยาคาร 3 สหวทิ ยาเขตชลบรุ ี 3 11 1. บางละมุง 6. บึงศรรี าชาพทิ ยาคม 2. โพธิสัมพันธ์พิทยาคาร 7. สรุ ศักดิ์วิทยาคม 3. ผนิ แจม่ วิชาสอน 8. สวนกุหลาบวทิ ยาลัย ชลบรุ ี 4. ศรีราชา 9. เกาะสีชงั 5. ทงุ่ ศุขลาพิทยา “กรุงไทย 10.สัตหบี วทิ ยาคม อนเุ คราะห”์ 11. สงิ ห์สมทุ ร 4 สหวิทยาเขตระยอง 1 12 1. วดั ป่าประดู่ 7. ระยองวิทยาคม ปากน้ำ 2. ระยองวิทยาคม 8. เฉลมิ พระเกียรติพระศรี 3. บา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา นครินทร์ ระยอง 4. เพรกั ษมาตาวิทยา 9. บ้านคา่ ย 5. มาบตาพดุ พนั พิทยาคาร 10. ปลวกแดงพิทยาคม 6. ระยองวิทยาคม นิคม 11. นคิ มวทิ ยา อุตสาหกรรม 12. มาบยางพรวทิ ยาคม 5 สหวทิ ยาเขตระยอง 2 8 1. แกลง”วิทยสถาวร” 5. ชำฆอ้ พทิ ยาคม 2. วงั จันทรว์ ทิ ยา 6. สนุ ทรภพู่ ิทยา 3. เขาชะเมาวิทยา 7. หว้ ยยางศึกษา 4. ชำนาญสามัคคีวิทยา 8. มกุฎเมอื งราชวิทยาลัย แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

14 การพัฒนาสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีผลการดำเนินงานด้านคุณภาพ การศึกษา ด้านโอกาสทางการศึกษา และด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สรปุ เป็นรายด้าน ไดด้ งั นี้ ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ได้ดำเนนิ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผเู้ รียนได้รับ การศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยมีกระบวนการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ • ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนมีกระบวนการเรียนการสอนท่ีหลากหลายสอดคล้องกับ บรบิ ทของพ้ืนที่ • ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนมีรูปแบบการศึกษาที่หลากหลาย ตามความเหมาะสมของ ผู้เรียนแตล่ ะบุคคล • เสริมสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบคัดกรอง นักเรยี นยากจนอย่างถกู ต้อง • ตดิ ตาม ตรวจสอบการรายงานข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพ่ือเป็นการ สนบั สนนุ การบริหารจดั การงบประมาณ ดา้ นคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ข้นั พ้ืนฐาน (O-Net) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จาก รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มีดังนี้  ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลยี่ รวมทุกวิชาสูงกว่าค่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ อยูท่ ่ีระดับ 41.44  ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 มีค่าคะแนนเฉล่ียรวมทุกวิชาสงู กวา่ คา่ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ อยูท่ ี่ระดับ 37.03 แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

15 ตารางท่ี 3 ค่าคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-Net) ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 คะแนน : รอ้ ยละ กลมุ่ สาระ ภาษาไทย ค่าเฉล่ีย ระดบั ภาษา ัองกฤษ 4 กลมุ่ สาระ ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ระดับประเทศ 54.29 34.38 25.46 29.89 36.01 ระดับสงั กัด (สพฐ.) 55.18 34.14 25.82 30.17 36.33 ระดับจงั หวดั ชลบุรี 57.23 37.78 28.68 31.80 38.87 ระดบั จังหวัดระยอง 56.65 36.58 26.78 31.10 37.78 ระดับ สพม.ชบรย 59.80 41.33 31.49 33.15 41.44 ผลตางระดับประเทศกบั เขตพ้นื ที่ +5.51 +6.95 +6.03 +3.26 +5.44 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-Net) 4 กล่มุ สาระวิชา ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 เฉลยี่ รวม 0 36.01 41.44 54.29 59.8 70 วทิ ยาศาสตร์ 0 29.8933.15 คณิตศาสตร์ 0 25.46 31.49 50 60 ภาษาองั กฤษ 0 34.38 41.33 ภาษาไทย 0 0 10 20 30 40 ระดบั สพม.ชบรย ระดบั ประเทศ แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

16 ตารางที่ 4 คา่ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-Net) ระดับ ภาษาไทย สังคมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 คะแนน : รอ้ ยละ กล่มุ สาระ ภาษาไทย คา่ เฉลี่ย ัสงคมศึกษา 5 กลุ่มสาระ ภาษา ัองกฤษ ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ระดับประเทศ 44.36 29.94 26.04 35.93 32.68 33.79 ระดับสังกดั (สพฐ.) 45.22 29.73 26.33 36.32 33.04 34.13 ระดับจงั หวัดชลบุรี 48.79 33.97 29.79 37.66 35.63 37.17 ระดบั จงั หวัดระยอง 48.17 32.86 29.30 37.61 35.88 36.76 ระดับ สพม.ชบรย 48.58 33.59 29.63 37.65 35.71 37.03 ผลตา่ งระดบั ประเทศกบั เขตพ้ืนท่ี +4.22 +3.65 +3.59 +1.72 +3.03 +3.24 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-Net) 4 กล่มุ สาระวิชา ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563 เฉลี่ยรวม 37.03 วทิ ยาศาสตร์ 33.79 คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 35.71 สงั คมศกึ ษา 32.68 ภาษาไทย 37.65 0 35.93 29.63 26.04 33.59 29.94 48.58 44.36 10 20 30 40 50 60 ระดับ สพม.ชบรย ระดบั ประเทศ แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

17 ตารางท่ี 5 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-Net) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2559 - 2563 ระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง คะแนน : รอ้ ยละ สาระการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เปรียบเทียบ ปีการศกึ ษา ปี 2562-2563 2559 2560 2561 2562 2563 ภาษาไทย 50.27 52.11 59.08 59.38 59.80 +0.42 ภาษาอังกฤษ 35.21 32.95 31.84 37.13 41.33 +4.20 คณิตศาสตร์ 33.80 30.38 33.77 30.56 31.49 +0.93 วทิ ยาศาสตร์ 37.44 34.37 38.60 31.54 33.15 +1.61 เฉล่ียรวม 39.18 37.45 40.82 39.65 41.44 +1.79 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-Net) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2559 - 2563 ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง 70 60 50 40 30 20 10 0 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เฉลยี่ รวม ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

18 ตารางท่ี 6 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2559 – 2563 ระดบั เขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง คะแนน : ร้อยละ สาระการเรยี นรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เปรียบเทียบ ปีการศึกษา ปี 2562 - 2563 2559 2560 2561 2562 2563 ภาษาไทย 56.85 52.96 51.32 46.29 48.58 +2.29 สังคมศกึ ษาฯ 37.63 36.23 36.72 37.69 37.65 -0.04 ภาษาองั กฤษ 30.18 31.34 34.99 32.46 33.59 +1.13 คณิตศาสตร์ 28.02 28.37 36.06 30.04 29.63 -0.41 วิทยาศาสตร์ 33.50 31.89 32.86 31.77 35.71 +3.94 เฉลยี่ รวม 37.23 36.15 38.39 35.65 37.03 +1.38 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2559 – 2563 ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง 60 50 40 30 20 10 0 สงั คมศึกษา ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลยี่ รวม ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

19 ตารางท่ี 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-Net) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ระดบั ประเทศกบั คา่ เฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่ วชิ า ปีการศึกษา 2562 และ ปีการศึกษา 2563 ภาษาไทย คะแนน : ร้อยละ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 วทิ ยาศาสตร์ คา่ เฉลย่ี คา่ เฉล่ยี ผลตา่ ง คา่ เฉลี่ย ค่าเฉล่ีย ผลตา่ ง รวมเฉลีย่ ระดบั ประเทศ ระดับเขตฯ +/- ระดบั ประเทศ ระดบั เขตฯ +/- 55.14 59.38 +4.24 54.29 59.80 +5.51 33.25 37.13 +3.88 34.38 41.33 +6.95 26.73 30.56 +3.83 25.46 31.49 +6.03 30.07 31.54 +1.47 29.89 33.15 +3.26 36.30 39.65 +3.36 36.01 41.44 +5.43 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 เปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ระดับประเทศกบั ค่าเฉลย่ี ระดบั เขตพื้นที่ ปีการศึกษา 2562 และ 2563 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมเฉลี่ย ภาษาไทย 2562 2563 แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

20 ตารางท่ี 8 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-Net) วชิ า ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างค่าเฉล่ียระดับประเทศ กับค่าเฉล่ียระดับเขตพน้ื ท่ี ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2562 และ ปกี ารศกึ ษา 2563 สงั คมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คะแนน : รอ้ ยละ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 รวมเฉลี่ย ค่าเฉลีย่ ค่าเฉลย่ี ผลตา่ ง ค่าเฉล่ีย ค่าเฉลย่ี ผลต่าง ระดับประเทศ ระดบั เขตฯ +/- ระดับประเทศ ระดับเขตฯ +/- 42.21 46.29 +4.08 44.36 48.58 +4.22 35.70 37.69 +1.99 35.93 37.65 +1.72 29.20 32.46 +3.26 29.94 33.59 +3.65 25.41 30.04 +4.63 26.04 29.63 +3.59 29.20 31.77 +2.57 32.68 35.71 +3.03 32.34 35.65 +3.31 33.79 37.03 +3.24 เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-Net) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เปรียบเทียบค่าเฉล่ยี ระดับประเทศกับค่าเฉลีย่ ระดับเขตพ้ืนที่ ปีการศึกษา 2562 และ 2563 5 4.5 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ภาษาไทย สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวมเฉล่ยี 2562 2563 แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

21 ดา้ นประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มผี ลการพัฒนาดา้ นประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ ได้แก่ ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการประเมินการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติราชการของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และผลการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ • ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สรุปภาพรวมมาตรฐานที่ 3 สมั ฤทธิผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษา อยู่ในระดับดีเยยี่ ม • ผลการประเมินการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานตามตัวชี้วัด แผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตัวช้ีวัด จำนวน 10 ตัวชี้วัด) ผลการประเมินสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง บรรลุค่าเป้าหมาย จำนวน 8 ตวั ช้วี ัด และ ไมบ่ รรลุคา่ เปา้ หมาย จำนวน 2 ตวั ชี้วัด • ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ผลการดำเนินงาน ความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานอยู่ในระดบั A โดยมคี า่ คะแนน 90.14 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง

สว่ นที่ 2 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทำ แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

สว่ นท่ี 2 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กฎหมาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนงานสำคัญที่เก่ยี วขอ้ ง แผนพฒั นาการศกึ ษาชั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 – 2567) สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ชลบรุ ี ระยอง มกี ฎหมาย ยทุ ธศาสตร์ แผนงานสำคญั ตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้อง ดงั น้ี รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้มีการประกาศใช้ต้ังแต่วันที่ 6 เมษายน 2560 ซึ่งในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา มีบทบัญญัติไว้ใน มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็ก ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรค ที่หน่ึง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการ ให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริม ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษา ทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ท้ังนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เก่ียวกับ การจัดทำแผนการศึกษาแหง่ ชาติ การดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษา แห่งชาติด้วย การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตนและมีความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในการดำเนินการ ให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามวรรคสาม รัฐต้อง ดำเนนิ การใหผ้ ขู้ าดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการศึกษาตามความถนดั ของตน พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดคำนิยามการศึกษาข้ันพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา และกำหนดในมาตรา 10 การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ โอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกวา่ สิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย ▪ การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรู้ หรือมรี ่างกายพกิ าร หรือทพุ พลภาพหรือบุคคล ซงึ่ ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผูด้ แู ล ด้อยโอกาส ตอ้ งจดั ใหบ้ คุ คลดงั กล่าวมสี ทิ ธแิ ละโอกาสได้รับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานเปน็ พิเศษ ▪ การศึกษาสำหรับคนพิการ ให้จัดต้ังแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมี ความสามารถพเิ ศษต้องจดั ดว้ ยรูปแบบทเี่ หมาะสม โดยคำนงึ ถงึ ความสามารถของบคุ คลน้ัน แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

23 ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดใหร้ ัฐมยี ุทธศาสตรช์ าติเปน็ เปา้ หมาย การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้อง และบูรณาการกัน ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซ่ึงกำหนดให้ หน่วยงานรัฐทกุ หนว่ ยมีหนา้ ทด่ี ำเนินการเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 มีวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ประกอบด้วย ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนา เศรษฐกิจและการกระจายรายได้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ความเท่าเทียมและความเสมอ ภาคของสังคม ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และประสิทธิภาพการบริหารจดั การและการเข้าถงึ การให้บริการของภาครฐั การพัฒนาประเทศในช่วงเวลา ของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒนาความม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และ ส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในก ารแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยแต่ละ ยทุ ธศาสตร์มเี ป้าหมายและประเด็นการพฒั นา ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรด์ ้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหาร จัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อย ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยีและระบบฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภยั คุกคาม และภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบและทกุ ระดบั ความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านความมั่นคงท่ีมีอยู่ในปัจจุบันและท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้าน และมิตรประเทศทั่วโลกบนพ้ืนฐานของหลักธรรมาภิบาล เพ่ือเอื้ ออำนวย ประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่นๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทางและ เป้าหมายท่ีกำหนด 2. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ทม่ี ุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิตบิ นพื้นฐาน แนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลบั ไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลกั ษณ์วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศในด้านอ่ืนๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ของประเทศในมิติต่างๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับ รูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับอนาคต แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

24 บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบนั พร้อมทั้งการสง่ เสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ใหป้ ระเทศ ไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลกควบคู่ ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดีรวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนช้ันกลาง และลดความเหลื่อมล้ำของ คนในประเทศไดใ้ นคราวเดียวกนั 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และ มีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดี ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษา ศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และ อ่ืนๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง 4. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทำ เพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับ ท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของ ประชากรไทย ทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถ พ่ึงตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึง บริการและสวัสดกิ ารที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทวั่ ถึง 5. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ท้งั ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทงั้ ภายใน และภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นท่ีเป็นตัวต้ังในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่าย ท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบน พ้ืนฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิตโดยให้ความสำคัญกับ การสร้างสมดลุ ทงั้ 3 ดา้ น อนั จะนำไปส่คู วามยง่ั ยนื เพอื่ คนรุ่นต่อไปอยา่ งแท้จรงิ 6. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพื่อ ประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดทเ่ี หมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐที่ทำหน้าท่ีในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิง การพัฒนา นวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ระบบการทำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและ ปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาค ส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดย ทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์และสร้างจิตสำนึกในการ ปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียง แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

25 เท่าท่ีจำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำและ เอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการ อำนวยความยุตธิ รรมตามหลักนิติธรรม แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนท่ีจัดทำไว้เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทำ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณจะตอ้ งสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ซ่ึงประเด็น แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ความม่ันคง 2) การต่างประเทศ 3) การ พฒั นาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพนื้ ที่และเมอื งน่า อยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) การพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี 14) ศักยภาพ การกีฬา 15) พลังทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม 18) การเติบโตอย่างยั่งยืน 19) การบริหารจัดการน้ำท้ังระบบ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ ภาครัฐ 21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ 23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นองค์กรเจ้าภาพหลัก ในประเด็นท่ี 12 การพฒั นาการเรยี นรู้ และเป็นองค์กรเจ้าภาพร่วม ในประเด็นที่ 11 ศกั ยภาพคนตลอดช่วง ชีวติ สรุปสาระสำคญั ได้ดังน้ี ▪ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ มีเป้าหมาย ระดับประเด็น 2 เป้าหมาย คือ 1) คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะท่ี จำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแก้ปัญหาปรับตัว ส่ือสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิผลเพ่ิมขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และ 2) คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพตามความถนัดและความสามารถของพหุปัญญาดีข้ึน มีแผนย่อย 2 แผน ดังนี้ 1. แผนย่อยการ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีแนวทางการพัฒนา โดย 1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สำหรับศตวรรษท่ี 21 2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ 3) เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท 4) พัฒนาระบบ การเรียนรู้ตลอด ชีวิต และ 5) สร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติและมีเป้าหมายให้คนไทย มีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และมีทักษะท่ีจำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตดีขึ้น 2. แผนย่อยการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ ท่ีหลากหลาย ซึ่งมีแนวทางการพัฒนา คือ 1) พัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญา 2) สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ และมีเป้าหมาย ของแผนย่อย คือ ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพ่ือการส่งเสริม การพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญา เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งตอ่ การพัฒนาใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพเพิม่ ขึ้น ▪ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (11) ประเด็นการพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มีเป้าหมายระดับประเด็น คือ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ท้ังด้าน ร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม เป็นผูท้ ่ีมีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต และมีแผนย่อยที่เก่ียวข้องกับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2 แผนย่อย ได้แก่ 1. แผนย่อยการ แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

26 พัฒนาเด็กต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย แนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน คอื จัดใหม้ ีการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคณุ ลักษณะท่ีดี ท่ีสมวัยทุกดา้ น โดยการพัฒนาหลกั สตู รการสอนและปรับปรงุ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐาน ทีเ่ นน้ การ พัฒนาทักษะสำคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจำ ทักษะการควบคุม อารมณ์ ทกั ษะการวางแผนและการจดั ระบบ ทักษะการรู้จกั ประเมินตนเอง ควบคูก่ ับการยกระดับบุคลากร ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมท้ังทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ เป้าหมาย ของแผนย่อย คือ เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพมีการพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากข้ึน 2. แผนย่อยการพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น แนวทางพัฒนา ได้แก่ 1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะที่สอดรับกับ ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา ท่ีซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน 2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ 3) จัดให้มีการ พัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงนิ ตลอดจนทักษะท่เี ชือ่ มต่อกับโลกการทำงาน 4) จดั ให้ มพี ฒั นาทักษะอาชีพ ท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ การบ่มเพาะการเป็นนกั คิด นักนวัตกร และ การเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมท้ังทักษะชีวิตท่ีสามารถอยู่ร่วมกันและทำงานภายใต้สังคมท่ีเป็นพหุ วัฒนธรรม 5) ส่งเสริมและสนับสนุน ระบบบริการสุขภาพและอนามัยที่เช่ือมต่อกันระหว่างระบบ สาธารณสุขกับโรงเรียนหรือสถานศึกษา เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา และ ความฉลาดทางอารมณ์ตลอดจนภูมิคุ้มกันด้านต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิตของกลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น เป้าหมาย ของแผนย่อย คือ วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการ เรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้อย่างมปี ระสิทธิผลตลอดชีวติ ดีขึ้น แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนการปฏิรูปประเทศ ได้มีการประกาศเม่ือวันท่ี 6 เมษายน 2561 เพื่อกำหนดกลไก วิธีการ และขั้นตอนการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ โดยการปฏิรูปประเทศต้องดำเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้าน วัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจ สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพ่ือขจัดความ เหลื่อมล้ำ ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งมีการปฏิรูป 13 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยี สารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ 12) ด้านการศึกษา 13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งน้ี การ ปฏิรูปประเทศต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี 13 ตุลาคม 2562 จึงได้มีการประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 ซ่ึงกำหนดแผนงานในแผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา (ฉบบั ปรับปรุง) 5 เรื่อง ไดแ้ ก่ 1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจดั การเรียนการ สอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 3) การปฏิรูปกลไก และ แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

27 ระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4) การจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบอ่ืน ๆ ที่เน้นการฝึกปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ นำไปสู่การจ้างงานและการสร้างงาน 5) การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสนับสนุนการพัฒนา ประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างย่ังยืนและกำหนดกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) เพ่ือเรง่ รัดให้เกิดผลการดำเนินการที่สำคัญภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) หลักการพัฒนาประเทศท่ีสำคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” “การพฒั นาท่ยี ั่งยืน” และ “คนเปน็ ศนู ย์กลางการพฒั นา” วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพฒั นา ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เพือ่ วางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งมียุทธศาสตร์ในการ พัฒนา ดังนี้ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2) การสร้างความเป็นธรรมและลดความ เหล่ือมล้ำในสังคม 3) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่ังยืน 4) การเติบโตท่ีเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน 5) การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ ความม่ังค่ังและยั่งยืน 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9) การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ 10) ความร่วมมือระหว่าง ประเทศเพอ่ื การพฒั นา การพัฒนาความรว่ มมอื แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เป็นแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาระยะยาว โดยจุดมุ่งหมายท่ีสำคัญของแผน คือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและ การศึกษาเพื่อการมีงานทำและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก ที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความเป็นพลวัตร เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถ ก้าวข้ามกบั ดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึงภายใตก้ รอบแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 ได้กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) คุณภาพการศกึ ษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทเปลี่ยนแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปี ข้างหน้า มียุทธศาสตร์ ดังน้ี 1) การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2) การผลิต และพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวตั กรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3) การ พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และ ความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา 5) การจดั การศึกษาเพอ่ื สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม และ 6) การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

28 นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็ก ต้ังแต่ช่วงการต้ังครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพ วัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการ เปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญหาของมนุษย์ท่ีหลากลาย และประเด็นอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง จึงกำหนด นโยบายการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดังนี้ นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของโลก ในศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับ บริบท สังคมไทย 2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ อาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพ่ือให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ผลลัพธ์ ทางการศกึ ษาทีเ่ กดิ กับผ้เู รยี น 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์ม การเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยและเข้าถึงแหล่ง เรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ ในการพฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารและการจัดการศึกษา 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้ จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาตทิ ่ีได้รับการปรบั ปรุงเพ่ือกำหนดใหม้ ีระบบ บริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบรหิ ารงานบคุ คลโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล 5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัดความรู้ และทักษะท่ีจำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท้ังสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพ่ือให้ระบบการ ประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธท์ างการศกึ ษาได้อยา่ งเหมาะสม 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร ทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม และสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอ่ืน ๆ กระจายทรัพยากรท้ัง บคุ ลากรทางการศกึ ษา งบประมาณและส่อื เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ 7. การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ เป็นการผลิตและการพัฒนากำลังคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เช่ือมโยงระบบ แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

29 การศึกษา และการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทำ มาตรฐานอาชีพในสาขา ท่สี ามารถอา้ งอิงอาเซียนได้ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพ่ือเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานที่ เกยี่ วข้องนำไปเปน็ กรอบในการจัดทำแผนปฏบิ ัติการเพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัย และมีการติดตามความกา้ วหน้า เปน็ ระยะ 9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบ การศกึ ษาระดับปริญญาและอาชีวศกึ ษา มีอาชีพและรายได้ท่เี หมาะสมกบั การดำรงชีพและคณุ ภาพชีวิตท่ีดี มสี ่วนชว่ ยเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีโลกได้ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการ จัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใชใ้ นการจัดการศึกษาผ่านระบบดิจิทลั 11. การเพมิ่ โอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่มี ีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศกึ ษา และ ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาและผู้เรยี นท่มี คี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่ม ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) 1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครองความ ปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถงึ การสร้างทักษะใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามสามารถในการดแู ลตนเองจากภัย อนั ตรายตา่ ง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสังคม 2. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุง่ เน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายโดยยึดความสามารถของผู้เรียน เป็นหลกั และพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะทต่ี ้องการ 3. ฐานข้อมูล Big Data มุ่งพฒั นาการจัดเกบ็ ขอ้ มูลอย่างเปน็ ระบบและไมซ่ ้ำซ้อน เพ่ือให้ได้ข้อมูล ภาพรวมการศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างแท้จริง 4. ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศของแต่ละ สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ังในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจดั การเรยี นการสอนด้วยเคร่ืองมือที่ทันสมัย สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยปี จั จุบัน 5. พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีเน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรีย น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสม และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ 6. การศกึ ษาตลอดชวี ิต การจดั การเรียนรูต้ ลอดชวี ิตสำหรับประชาชนทุกชว่ งวัยให้มีคณุ ภาพและ มาตรฐาน ประซาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและเต็ม แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

30 ตามศักยภาพตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมเพ่ือเตรียมความพร้อมในการเข้า สูส่ งั คมผ้สู ูงวยั 7. การจัดการศึกษาสำหรับผู้ท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ที่มี ความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศกั ด์ศิ รี เท่าเทยี มกบั ผู้อนื่ ในสงั คม สามารถช่วยเหลอื ตนเองและมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถงึ นโยบายด้านการศกึ ษา ซ่งึ ถือเป็น สว่ นสำคัญยิง่ ในการพัฒนาประเทศใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายอยา่ งย่งั ยืน เป็นประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ในทุกด้าน ดังน้ัน เพื่อให้การดำเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์และสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะกิจกรรมปฏิรูป ประเทศทจ่ี ะส่งผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมนี ยั สำคญั (Big Rock) ท่มี ีความสำคญั เร่งด่วน และสามารถดำเนินการ และวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2565 ซ่ึงเกี่ยวข้องกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ 1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการ เปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และ 3) การสร้างระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี คุณภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั น้ี 1. ดา้ นความปลอดภยั พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อม ที่เอือ้ ต่อการมสี ขุ ภาวะทีด่ ี สามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบตั ใิ หม่และโรคอบุ ัติซำ้ 2. ดา้ นโอกาส 2.1 สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดีท้ังทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกับวัย 2.2 ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง มีคุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อและ ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียนท่ีมี ความสามารถพิเศษสู่ความเปน็ เลศิ เพ่ือเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับ การศึกษาขัน้ พื้นฐานอย่างเท่าเทยี มกนั 2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

31 3. ดา้ นคุณภาพ 3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะ ทีจ่ ำเป็นของโลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดม่ัน การปกครองในระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มีทัศนคติทีถ่ กู ต้องตอ่ บา้ นเมือง 3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดข้ันสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง่ ขัน และการเลอื กศกึ ษาต่อเพ่อื การมงี านทำ 3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ท่ีเน้นการพัฒนาสมรรถนะหลัก ท่ีจำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ี สร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผล ผู้เรียนทุกระดับ 3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าท่ีได้ดี มีความรู้ความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั มีการพัฒนาตนเองทางวชิ าชีพอย่างตอ่ เนือ่ ง รวมทั้งมีจติ วิญญาณความเป็นครู 4. ด้านประสทิ ธภิ าพ 4.1 พฒั นาระบบบริหารจัดการโดยใชพ้ นื้ ทเ่ี ป็นฐาน มีนวตั กรรมเป็นกลไกหลกั ในการ ขบั เคลื่อนบนฐานขอ้ มลู สารสนเทศทถ่ี ูกตอ้ ง ทันสมยั และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 4.2 พัฒนาโรงเรยี นมัธยมดีส่ีมุมเมอื ง โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนท่ีสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับ บรบิ ทของพ้นื ท่ี 4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีจำนวนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบาย โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน 4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะและ สถานศึกษาท่ตี ้ังในพน้ื ท่ลี กั ษณะพิเศษ 4.5 สนับสนุนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรม การศกึ ษาและการเพม่ิ ความคลอ่ งตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 4.6 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน แผนพัฒนาการศึกษาจังหวดั ชลบุรี (พ.ศ. 2563 – 2565) วิสัยทัศน์ ผู้นำองค์กรด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มุ่งสู่การศึกษาเพื่อการมีงานทำ ด้วยวิถี พอเพยี ง อย่างมัน่ คง ม่ังคงั่ ยั่งยนื ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) พันธกิจ 1. พฒั นาการบริหารการจดั การศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพ 2. สร้างโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และเทา่ เทยี มต่อเนื่องตลอดชวี ติ แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

32 3. ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาด้านวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ่ ยกระดับ คุณภาพส่มู าตรฐานการศึกษาระดับนานาชาตติ อ่ เนื่องตลอดชวี ติ 4. พฒั นาระบบการนิเทศ ตรวจ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษาทัง้ ระบบ ยทุ ธศาสตร์ 1. การจดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถ ในการศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทำ 3. การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ 4. การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งความเท่าเทียมทางการเรยี นรู้ 5. การจัดการศกึ ษาเพอื่ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม 6. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา แผนพฒั นาการศกึ ษาจังหวดั ระยอง (พ.ศ. 2563 – 2565) วิสัยทัศน์ คุณธรรมนำสังคมแห่งการเรียนรู้ ร่วมสร้างระยองให้เป็นเมืองนวัตกรรมการศึกษาสู่การ พัฒนาเศรษฐกจิ ช้นั นำ ผเู้ รยี นมีงานทำอยา่ งย่ังยนื พนั ธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาที่บูรณาการเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมของ สถาบัน มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะการดำรงชีวิตและมีงานทำสอดคล้องกับบริบทพ้ืนท่ี บนพ้ืนฐานหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. จัดการศึกษาให้คนทุกช่วงวัยมีคุณภาพตามหลักสูตร เชื่อมโยงทุกระดับ มีองค์ความรู้ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามสมรรถนะ และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือการเรียนการสอนอย่างมี ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทันการเปล่ียนแปลงของโลก 3. สร้างความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา และส่งเสริมก ารพัฒนา ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล ยุทธศาสตร์ 1. การจดั การศึกษาเพอ่ื ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ 2. พัฒนากำลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรรม เพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. พัฒนาระบบการเรียนการสอนทุกช่วงวัยให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยี สารสนเทศใหผ้ ้เู รียนมสี มรรถนะและทักษะเพื่อการมีงานทำ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา 5. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตบนพ้ืนฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม 6. พัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการศึกษาใหเ้ ป็นองค์กรอัจฉรยิ ะ (Smart Education) แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

สว่ นท่ี 3 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม ของสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา มัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้ศึกษาวิเคราะห์ ถึงสภาพปัญหา ตลอดจน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษาของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ชลบุรี ระยอง ในเชิงบวกและเชิงลบโดยการพิจารณาจากสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก เป็นการพิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อนของสภาพแวดล้อมภายในองค์กร และการพิจารณาโอกาสและอุปสรรค จากสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อการทำงานระดับสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สามารถสรปุ ผลได้ ดังนี้ การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน จุดออ่ น 1. ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบาย (Structure : S1) นโยบายการกระจายอำนาจมีขอ้ จำกัดการปฏบิ ตั ใิ น จดุ แข็ง บางภารกจิ 1. นโยบายขององค์กรมีความชดั เจนส่งผลตอ่ การ ปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธภิ าพ 2. โครงสร้างและบทบาทหน้าท่ชี ัดเจน ทำให้การ บรหิ ารจดั การมีประสทิ ธภิ าพ 3. วัฒนธรรมขององคก์ รมีความรักและความสามัคคี ทำใหเ้ กดิ การประสานงานทีด่ ี 4. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานที่ชดั เจน โดยมีองค์คณะ บุคคลรว่ มจดั การศกึ ษา 5. มีกฎเกณฑ์และข้อกำหนดจากการมสี ่วนร่วม ทำใหเ้ กดิ ความร่วมมือ 2. ดา้ นผลผลติ และบริการ (Product and service : S2) จดุ แขง็ จุดอ่อน 1. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาสามารถ แนวโนม้ ปัญหาเดก็ ด้อยโอกาส และเด็กออก ช่วยยกระดบั คุณภาพและผลสัมฤทธิข์ องนักเรยี น กลางคนั เพิ่มข้นึ เนื่องจากการอพยพที่อยแู่ ละ 2. โรงเรยี นใช้แหล่งเรยี นรูท้ ่มี ีคอ่ นข้างหลากหลาย เคลื่อนย้ายแรงงานของผ้ปู กครองนกั เรยี นตา่ งถ่ิน/ ในการจัดการเรยี นการสอน ตา่ งดา้ วกลบั ถน่ิ ฐานเดิมหรือแหล่งงานใหม่ จึงเปน็ 3. การประกนั โอกาสทางการศกึ ษากบั ประชากร ปัญหาในการติดตามเด็กมาเข้าเรียนเพราะไม่ทราบ วยั เรยี นไดอ้ ยา่ งเสมอภาคและทว่ั ถงึ ท่ีอยู่ที่แน่นอน 4. การนเิ ทศการศกึ ษาส่งผลต่อระดบั คณุ ภาพ และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ 5. การจัดการส่งเสริมการศึกษาและสุขภาพอนามยั นกั เรยี นอยา่ งท่ัวถงึ แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

34 จุดแขง็ จุดออ่ น 6. โรงเรยี นจดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษาที่สอดคล้อง กบั บริบทของโรงเรียน 7. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ของนักเรยี นระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานสงู กวา่ ระดบั ประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8. โรงเรยี นมรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ซ่ึงทำให้ นักเรียนได้รับการศึกษาและป้องกันการออกกลางคัน 9. โรงเรียนมีระบบการแนะแนวการศึกษา เพ่ือการ พัฒนาผู้เรียนในการวางแผนการศึกษาต่อ สร้างเสรมิ ประสบการณ์และทักษะอาชีพ เพ่ือมุง่ สู่การมีงานทำ 3. ดา้ นบคุ ลากร (Man : M1) จดุ แขง็ จุดอ่อน 1. ขา้ ราชการครสู ่วนใหญ่เอาใจใสใ่ นการสอนและดูแล 1. โรงเรยี นส่วนใหญ่ยังขาดบุคลากรจำนวนมากทำให้ นกั เรียน ประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นรู้ลดลง 2. บคุ ลากรมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ 2. บุคลากรบางสว่ นยังขาดความรู้ความเข้าใจในการ หลากหลาย ส่งผลให้การปฏิบัติงานเป็นไปอยา่ งราบร่นื ใชเ้ ทคโนโลยแี ละแนวทางการปฏบิ ัติงานใหม่ๆ ท่จี ะ 3. บุคลากรในสังกัดไดร้ ับการพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง ช่วยบริหารจดั การการทำงานให้สะดวก รวดเรว็ และ ทำให้การปฏบิ ตั ิงานเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ ถูกต้อง 4. บุคลากรมีความสนใจในการพัฒนาตนเองและ 3. ขาดแคลนครใู นสาขาขาดแคลน โดยเฉพาะ ศึกษาตอ่ ในระดบั ที่สูงขึ้น ซ่ึงสามารถส่งเสริมให้การ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละ จัดการเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น คณิตศาสตร์ มีครูไม่ตรงสาขาวิชาเอก เนอื่ งจากครูท่ี 5. บุคลากรในสังกัดได้รับการพฒั นาเพิ่มวิทยฐานะ ไดร้ บั การบรรจมุ ีภมู ิลำเนาตา่ งถนิ่ มักขอยา้ ยกลับ ในระดบั สูงขึน้ ภูมิลำเนาเดมิ สง่ ผลใหส้ ถานศึกษามีครูไมค่ รบชน้ั 6. ผบู้ ริหารระดับสูงใหค้ วามสำคญั และเอาใจใสใ่ น ครขู าดเกณฑ์ สง่ ผลให้การจดั การเรยี นการสอนได้ การพฒั นาบุคลากรเป็นอย่างดี ทำให้จัดกิจกรรม ไม่เตม็ ประสทิ ธภิ าพ การเรียนการสอนบรรลุวตั ถุประสงค์ของทางราชการ 7. บุคลากรมคี วามรู้ความเข้าใจในการจดั ทำ แผนกลยทุ ธ์ 8. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง 4. ดา้ นการเงนิ และงบประมาณ (Money : M2) จดุ ออ่ น จดุ แขง็ การจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอตอ่ การบรหิ าร 1. ได้รับการสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณให้กับ จัดการศกึ ษา ตามภารกิจหลกั กลยทุ ธ์ และ สถานศึกษาจากทกุ ภาคสว่ น แผนปฏิบัติการประจำปี 2. การบริหารงบประมาณโดยการมสี ่วนรว่ ม แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

35 จุดแขง็ จดุ อ่อน ทำให้สามารถดำเนินการได้ตรงตามความต้องการ ของหนว่ ยงาน 3. การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทำให้ มคี วามคล่องตัวในการปฏิบัตแิ ละเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ 4. การควบคมุ กำกับ ติดตาม การบริหารงบประมาณ มีประสิทธภิ าพ ทำให้ดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ 5. สถานศึกษามีการระดมทนุ จากทุกภาคสว่ นใน การจดั การศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 5. ด้านวัสดุ อุปกรณ์ (Material : M3) จดุ ออ่ น จุดแขง็ 1. การจดั ซอื้ จดั จา้ ง มีการมอบอำนาจใหห้ นว่ ยงาน ระดบั ปฏิบตั ิงานชัดเจนและเหมาะสมทำให้การ จัดซ้อื จดั จ้าง มีประสิทธิภาพ 2. การจัดซื้อ จัดจ้าง มีการดำเนินการตาม แผนปฏบิ ัตกิ าร ทำให้การดำเนนิ งานเปน็ ไปตาม วตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย 6. ด้านการบริหารจดั การ (Management : M4) จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 1. มีข้อมูลทางการศกึ ษาทเี่ พียงพอ เป็นปัจจุบนั และ ระบบการจัดเก็บข้อมลู สารสนเทศมีความซำ้ ซ้อน พรอ้ มใช้ ในการวางแผนการจัดการศึกษา ท้งั ด้าน รวมถงึ ตวั ชีว้ ดั /การรายงานผลการดำเนนิ งานต่อ ปริมาณ คณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพ เนอ่ื งจาก หนว่ ยงานส่วนกลางมีจำนวนมาก และมาจาก หน่วยงานทางการศึกษา ใช้เทคโนโลยที ท่ี นั สมยั ในการ หลากหลายสำนักในสว่ นกลาง ทำใหก้ ารรายงานข้อมูล จดั เกบ็ ประมวลผล และรายงานเผยแพร่สู่บคุ คลและ มีความซ้ำซ้อน ท้งั ๆ ท่ีเป็นการรายงานข้อมูลชดุ หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง เดยี วกนั 2. มรี ูปแบบการบริหารจัดการทเ่ี ป็นระบบ 3. มีการบริหารงานแบบมีส่วนรว่ ม มีการทำงานเปน็ ทีมยดึ หลักคุณธรรม จริยธรรม มีความโปรง่ ใส ในการดำเนนิ งาน 4. สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทางการศึกษาสามารถ เชอื่ มโยงระบบเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตได้อยา่ งท่วั ถึง ทำให้เกิดความคล่องตวั ในการบริหารจัดการและเพมิ่ ช่องทางในการแสวงหาความรใู้ หม่ๆ แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

36 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 1. ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal = P) ประเดน็ ทเ่ี ปน็ โอกาส ประเดน็ ท่เี ปน็ อุปสรรค 1. เป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน SDG 4 ด้านการศกึ ษา 1. กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับมีความ “สรา้ งหลกั ประกนั ว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ซ้ำซอ้ นในส่วนทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการใช้อำนาจการ อยา่ งครอบคลมุ และเทา่ เทยี ม” พจิ ารณาระหวา่ งองคก์ ร กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาการ 2. พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ข บรหิ ารงานดา้ นกฎหมายของหน่วยงาน เพ่มิ เติม เปิดโอกาสใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั 2. นโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลไม่ต่อเน่ืองและ การศกึ ษาได้ 3 ระบบ (ในระบบ นอกระบบและตาม ไม่นำผลการติดตามงานนโยบายไปใช้ในการแก้ไข อธั ยาศัย) สง่ ผลใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสในการเข้าถึงการจดั ปัญหาอยา่ งจรงิ จัง ส่งผลต่อประสิทธภิ าพการจัด การศกึ ษาได้ ตามศักยภาพและบริบท การศกึ ษา การดำเนินงานไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมาย 3. กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ที่กำหนด ทำใหข้ าดประสทิ ธิภาพ การประกันคุณภาพภายใน พ.ศ. 2561 สง่ ผลใหร้ ะบบ 3. มีการเปล่ยี นแปลงผู้บริหารในระดับสว่ นกลาง การบรหิ ารจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาไปสกู่ าร บ่อยครั้ง ทำใหน้ โยบายมกี ารเปล่ยี นแปลงและ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ไมต่ ่อเน่อื ง 4. มกี ฎหมายกระจายอำนาจใหค้ วามสำคัญกับการ จัดการศึกษา ทำให้ทอ้ งถ่นิ จัดการศึกษาไดต้ าม ต้องการและทั่วถงึ 5. องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และหน่วยงาน ภาคเอกชนมีความเข้มแข็งให้การสนบั สนุนงบประมาณ และมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาอย่างทั่วถึงทกุ ระดบั 2. ด้านเศรษฐกิจ (Economic = E) ประเด็นทเ่ี ป็นอปุ สรรค ประเดน็ ทีเ่ ป็นโอกาส 1. ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ทำใหอ้ ัตราการ ว่างงานเพ่มิ ขนึ้ และค่าครองชีพสูงขน้ึ ตามมา 1. การขยายตวั ของภาคอุตสาหกรรม สง่ ผลใหเ้ กิดการสรา้ ง ดว้ ย ส่งผลให้ผู้ปกครองมรี ายไดไ้ ม่เพยี งพอกับ งาน และสร้างรายได้เพิ่มข้ึนส่งผลตอ่ การสง่ เสรมิ การศึกษา คา่ ใช้จ่าย สง่ ผลถึงปจั จัยสนบั สนนุ ด้าน 2. องค์กรเอกชน ภาคอุตสาหกรรม และท้องถนิ่ ให้การ การศกึ ษาของนักเรียน สนบั สนนุ การจัดการศึกษา 2. ประชากรบางสว่ นมีรายได้ต่ำ เนอ่ื งจาก 3. ตามพระราชบัญญตั ิ เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก การประกอบอาชีพเกษตรกรหรือรับจ้าง พ.ศ. 2561 ได้กำหนดจงั หวัดชลบุรีและระยอง เป็นพ้นื ที่ 3. การขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรม ทำให้มี เป้าหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อการลงทนุ ในพน้ื ทช่ี ายฝ่งั ประชากรแฝงเพ่ิมมากข้นึ ทะเลภาคตะวันออกในดา้ นศูนย์กลางการศึกษานานาชาติดา้ น 4. การแพร่ระบาดของโรคอบุ ัติใหม่ ทำใหม้ ี อุตสาหกรรมรถยนตอ์ นาคต ดา้ นอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ศูนย์ ความเสย่ี ง สง่ ผลกระทบต่อด้านเศรษฐกจิ การการคมนาคม ศูนยก์ ลางธรุ กจิ การบิน ท่าเรือระดับโลก เขต ท่องเท่ียวภาคตะวนั ออกเชงิ ธรุ กจิ /ครอบครัว/สุขภาพ ส่งผลให้ การจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนเขา้ สู่ตลาดแรงงาน เป็นการสรา้ งโอกาสการมงี านทำของประชาชนในพื้นที่ แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

37 3. ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม (Social & Culture = S) ประเดน็ ทเ่ี ป็นโอกาส ประเดน็ ทีเ่ ปน็ อปุ สรรค 1. มีสถานศึกษาทุกระดับ เด็กและเยาวชนสามารถ 1. ผู้ปกครองมีคา่ นยิ มส่งบุตรหลานเข้าเรยี นโรงเรียน เขา้ ศึกษาไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องจนประกอบอาชีพได้ ยอดนิยมหรือมชี ือ่ เสียง/โรงเรียนแข่งขันสูง 2. ประชาชน ผู้เก่ียวขอ้ ง และองค์กรภายนอก 2. ผูป้ กครองมีเวลาใหก้ ับบตุ รหลานน้อยลงก่อให้เกิด ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณ และทุนการศึกษา ปญั หาครอบครวั 3. ชมุ ชนเปน็ แหล่งเรยี นรู้และแหลง่ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ 3. ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ การถ่ายทอดวฒั นธรรม สามารถนำมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้และให้การ เป็นไปอย่างรวดเรว็ ผเู้ รียนเกิดค่านยิ มใหม่ ฟุ้งเฟอ้ สนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนได้เปน็ อย่างดี ฟุ่มเฟือย ขาดระเบยี บวินยั ไม่เคารพกฎระเบียบ 4. การประกาศเขตพ้ืนทเี่ ศรษฐกจิ พิเศษภาค 4. การขยายตวั ของสงั คมเมือง กอ่ ใหเ้ กดิ ตะวนั ออก ทำให้เกษตรกรมีการพัฒนาการทำเกษตร ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด อาชญากรรม รปู แบบเดิม มาใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ชว่ ยในการทำ เพิม่ มากขึ้น ส่งผลให้ครอบครัวเกดิ ความอ่อนแอ เกษตรกรรมเพ่ิมขนึ้ 5. การแพร่ระบาดของโรคอบุ ัตใิ หม่ ส่งผลกระทบในวง กวา้ งท้ังด้านสุขภาพ ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านสงั คม 4. ด้านเทคโนโลยี (Technological = T) ประเด็นทีเ่ ปน็ โอกาส ประเด็นทีเ่ ป็นอปุ สรรค 1. ความเจรญิ กา้ วหน้าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. เทคโนโลยดี า้ นข้อมลู ขา่ วสาร ไมส่ ามารถควบคมุ ได้ ส่งผลใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามโี อกาสพัฒนา มีผลกระทบต่อคุณธรรม จรยิ ธรรม ของนกั เรียน และ ตนเองและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมี เลยี นแบบพฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสม โอกาสเรยี นรู้เทา่ ทนั สังคมโลก 2. เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปล่ียนแปลงบ่อย ซง่ึ 2. หน่วยงานของรฐั เอกชน และผู้ประกอบการใหก้ าร ตอ้ งมีการปรบั ตัวใหท้ ันอย่เู สมอ สง่ ผลตอ่ งบประมาณ สนับสนุนแหลง่ เรียนรูด้ า้ นเทคโนโลยี สามารถจดั ทีม่ จี ำกัด การศึกษาได้หลากหลายรูปแบบ 3. นโยบายรฐั บาลให้ความสำคญั กับการดำเนนิ งาน ปฏริ ูปการศกึ ษาตามแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และ เรง่ รดั ดำเนนิ การให้เป็นไปตามกฎหมาย ตลอดจนการ นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพ การเรียนการสอนและเรยี นรู้อย่างจริงจังและการเข้าถึง ระบบอินเตอรเ์ น็ตความเร็วสูงอย่างกวา้ งขวางและ ทั่วถึง แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง

สว่ นที่ 4 ทิศทางการพัฒนาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)

สว่ นท่ี 4 ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ได้นำยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา นโยบายของรฐั บาล นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นโยบายของหน่วยงานอ่ืนๆ และระเบียบ กฎหมายที่เก่ียวข้องมาวิเคราะห์ความเช่ือมโยง เพ่ือกำหนดทิศทาง ในการพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 - 2567) วสิ ัยทัศน์ มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ให้ได้มาตรฐานระดับสากล สคู่ ณุ ภาพทย่ี งั่ ยนื ค่านยิ มองค์กร “ซ่ือสัตย์ พร้อมบริการ สุภาพ มีคุณธรรม” ตัวย่อ “ISPM” (Integrity Service mind Polite Morality) พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของ ชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และส่งเสริมสนับสนุนการ ดูแลความปลอดภัยด้านเพศวิถี ภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบให้กับผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่ รวมถึงจัดสภาพแวดล้อม ทเี่ ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาวะท่ดี ี 2. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน และมีคุณธรรมจรยิ ธรรม 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษา พัฒนาผู้เรียนและพัฒนาพ้ืนที่นวัตกรรม การศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสอดคล้องกับพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) มสี มรรถนะและทักษะท่ีจำเป็นสำหรับอนาคต มีความรคู้ วามเข้าใจ สามารถวางแผนการศึกษา ต่อ เพื่อการมงี านทำและปรบั ตวั ในการดำรงชวี ิตอยู่ในสงั คมอย่างมีความสุข 4. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความเชี่ยวชาญ สมรรถนะตรงตามสายงาน และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการ กำกับติดตาม ประเมินผลของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง ให้มีประสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล และการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนในการจัด การศกึ ษา แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง

39 เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความ ปลอดภัยด้านเพศวิถี ภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับ วถิ ชี ีวติ ใหม่ รวมถึงจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสขุ ภาวะท่ดี ี 2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพตามมาตรฐาน และมี คณุ ธรรมจริยธรรม 3. ผู้เรียน และสถานศึกษาในพื้นท่ีนวัตกรรม ได้รับการพัฒนาและมีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) มีสมรรถนะและทักษะ ที่จำเป็นสำหรับอนาคต มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวางแผนการศึกษาต่อ เพ่ือการมีงานทำและปรับตัวในการ ดำรงชีวติ อยูใ่ นสงั คมอย่างมีความสุข 4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความเช่ียวชาญ สมรรถนะ ตรงตามสายงาน และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี 5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 6. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีระบบบริหารจัดการ กำกับติดตาม ประเมนิ ผล ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล และการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา นโยบายและกลยทุ ธ์ ขอ้ ที่ 1 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงและความปลอดภัย กลยทุ ธ์ ▪ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาใหม้ ีความม่ันคงและความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ ข้อที่ 2 สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมคี ณุ ภาพ กลยทุ ธ์ ▪ สร้างโอกาส และความเสมอภาคการเข้าถึงบริการทางการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างท่ัวถึง ท่มี คี ุณภาพ ขอ้ ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ ▪ ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผู้เรียน เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ แขง่ ขันระดบั นานาชาตแิ ละเทียบเคยี งสู่มาตรฐานสากล ▪ ส่งเสริมและสนับสนุนการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ▪ ส่งเสริมจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2565 - 2567) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook