Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย265

วิจัย265

Published by supawadee_011, 2023-04-17 11:23:13

Description: วิจัย265

Search

Read the Text Version

งานวิจยั เรอ่ื ง การแกป้ ัญหานักเรียนท่มี ีพฤตกิ รรมขาดการกล้าแสดงออก อย่างเหมาะสมในช้นั เรยี น รายวชิ าศิลปศึกษาโดยใช้กระบวนการกลุม่ ผู้วจิ ยั นางสภุ าวดี ไชยโพธ์ิ ครู กศน.ตาบล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสุวรรณคูหา สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั หนองบวั ลาภู สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมากสาหรับทุกประเทศ เพราะเป็นต้นกาเนิดแห่งการพัฒนาที่ไม่หยุดย้ัง ของคน การท่ีเราจะใช้เทคนิคหรือวิธีการสอนให้แก่เด็กเหมือนเช่นเดิม ที่ผ่านมา คงจะเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะว่าในปัจจุบันสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีมีความทันสมัยทาให้ การศึกษาสามารถเรียนรู้กันได้ข้ามประเทศ เพียงแค่คุณอยู่ที่บ้าน แม้กระท่ังการติดต่อสื่อสารก็ทาให้ได้รับข้อมูล ข่าวสารทั้งทางบวกและทางลบ ตัวอย่างท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสม จึงทาให้เกิดการลอกเลียนแบบอย่างถูกต้อง และไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะวัยรุ่น เป็นพฤติกรรมการกล้าแสดงออกที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างยิ่งต่อการ ดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบนั เนอื่ งจากเป็นปัจจยั ทีท่ าให้สามารถเผชิญกบั สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม กล้า ฟนั ฝ่าอุปสรรค ปญั หา และยังทาใหเ้ ป็นบคุ คลท่มี ีความมัน่ ใจในตนเอง ได้ในส่ิงทต่ี ้องการ และบุคคลท่ีพบเห็นจะให้ เกียรติมากข้ึน จอร์นสัน (Johnson, 2004) กล่าวว่าการท่ีคนเราจะเริ่มเปล่ียนแปลงไปสู่พฤติกรรมการแสดงออก นนั้ จะตอ้ งตระหนกั ไวเ้ สมอว่าการเปลี่ยนแปลงนนั้ จะทาใหค้ นใกลช้ ิดหรือคนท่ีเก่ียวขอ้ ง แสดงพฤติกรรมโต้ตอบใน ทาทางลบต่อการเปล่ียนแปลงน้ันได้ เนื่องจากว่าถ้าเราไม่เคยมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกแล้วไปแสดงออกเลย การเปล่ียนแปลงน้ันยากที่ผู้ใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้องจะยอมรับได้ เน่ืองจากพวกเราจะคุ้นเคยกับสิ่งที่เราเป็น ไดร้ ับในส่ิงท่ีตอ้ งการความกลัวว่าจะสูญเสียเราจากไปจากการกระทาน้ัน ซึ่งเราไม่ควรจะย่อท้อหรือเปลี่ยนใจท่ีจะ เปล่ียนแปลงตัวเอง เน่ืองจากเราอาจจะไม่สามารถที่จะไม่ใส่ใจคนที่เรารัก หรือคนท่ีสาคัญในชีวิตของเราได้ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมกล้าแสดงออกเป็นคุณสมบัติท่ีสามารถปลูกฝังและพัฒนาให้เกิดข้ึนได้ในตัวบุคคลให้มีการ กลา้ แสดงออกทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสมได้ ทาใหบ้ ุคคลเรยี นรู้ท่จี ะเปน็ “ผูช้ นะ” ในสถานการณต์ ่าง ๆ อยา่ งแท้จรงิ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า การที่บุคคลมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ช่วยทาให้มีบุคลิกท่ีดีขึ้น สามารถปรับตัว มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าพูดต่อหน้าผู้อื่น กล้าเข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการ ยอมรับจากเพื่อน มีผลการเรียนที่ดีขึ้น และการมีพฤติกรรมท่ีกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมยังเป็นพ้ืนฐานทาให้ สามารถปรับตนเองให้อยู่ในสังคม เป็นคนเก่ง คนดี ได้อย่างมีความสุข ประสบผลสาเร็จท้ังด้านการเรียนและการ ดาเนินชีวิตประจาวันต่อไป จากสภาพปัญหาที่กล่าวข้างต้น ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาการแก้ปัญหา นักเรียนที่มีพฤติกรรมขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียน รายวิชาศิลปศึกษา โดยใช้กระบวนการ กล่มุ นางสุภาวดี ไชยโพธ์ิ

ชื่องานวิจัย การแก้ปัญหานกั เรยี นทมี่ ีพฤตกิ รรมขาดการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม ชื่อผ้วู ิจยั ในชน้ั เรยี นรายวชิ าศลิ ปศึกษาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม นางสุภาวดี ไชยโพธ์ิ บทคดั ย่อ การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหา นักเรียนเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียน รายวิชาศิลปศึกษา 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุ่มที่มีต่อพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมในช้ันเรียน รายวชิ าศิลปศึกษา กอ่ นการใชก้ ระบวนการกลมุ่ และหลังการใชก้ ระบวนการกลุ่ม การวจิ ยั คร้งั นเี้ ปน็ การแก้ปัญหานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออก อย่างเหมาะสมในชั้นเรียนรายวิชาศิลปศึกษาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อหาแนวทาง ในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในการเรียนรู้ ซึ่งศึกษาโดยการสังเกตและสอบถามนักเรียนพบว่าสาเหตุของ การท่ีทาให้นักเรียนไม่กล้าแสดงออกในชั้นเรียนนั้นเกิดจากความขาดความม่ันใจในการตอบคาถาม นักเรียนไม่ กลา้ แสดงความคิดเห็น ดว้ ยกลัววา่ ความคิดเห็นน้ันจะผดิ หรอื ถูก ตรงประเด็นที่จะแสดงความคิดเห็นหรือไม่ อีก ทั้งยังขาดความรู้ที่จะแสดงออก รวมทั้งความประหม่าในการพูด กลัวจะถูกเพ่ือนและครุหยอกล้อหรือตาหริ ผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาดังกลา่ วโดยจัดการเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่าการแก้ปัญหานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออก อย่างเหมาะสมในชั้นเรียนรายวชิ าศิลปศึกษาโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมูลดังน้ี 1. ผลการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการกลุ่มนักเรียนมีความกลา้ แสดงพฤติกรรมอยา่ งเหมาะสมในการ เรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการพูด ระดับพฤติกรรมที่ 4.45 ระดับทุกครั้ง ด้านการกระทา ระดับพฤติกรรม ท่ี 4.44 ระดบั ทกุ ครั้ง และดา้ นการแสดงความคิดเห็น ระดบั พฤติกรรม ที่ 4.35 2. ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกล่มุ นกั เรยี นมีความกล้าแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการ เรียนรู้เปรียบเทียบก่อนการใช้กระบวนการกลุ่มท้ัง 3 ด้าน พบว่า ด้านการพูด นักเรียนมีระดับพฤติกรรมดีข้ึนท่ี ร้อยละ 64.66 ดา้ นการกระทา ทรี่ อ้ ยละ 63.66 ด้านการแสดงความคดิ เห็นทีร่ ้อยละ 59.16

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง ก คานา ข บทคัดย่อ ค สารบัญ บทท่ี 1 บทนา 1 2 ความเป็นมาและความสาคัญ 2 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 3 กรอบแนวคิดการวจิ ยั 3 ขอบเขตการวจิ ัย 3 สมมติฐานการวจิ ยั นยิ ามศพั ท์ 4 บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง 7 แนวคิดที่เกยี่ วข้องกบั พฤติกรรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม 13 แนวคดิ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั กระบวนการกลมุ่ งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง 14 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการศกึ ษาค้นควา้ 14 การศึกษาเอกสาร 16 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั 16 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 16 สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิจัย การเกบ็ รวมรวมขอ้ มูล 18 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มลู และผลการวิเคราะห์ข้อมลู 21 บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 21 สรุปผลการวิจัย 22 อภิปรายผล 24 ประโยชน์ของการวิจยั 27 ภาคผนวก บรรณานุกรม

บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมากสาหรับทุกประเทศ เพราะเป็นต้นกาเนิดแห่งการพัฒนาท่ีไม่หยุดยั้ง ของคน การท่ีเราจะใช้เทคนิคหรือวิธีการสอนให้แก่เด็กเหมือนเช่นเดิม ที่ผ่านมา คงจะเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว เพราะว่าในปัจจุบันสภาพการณ์ต่าง ๆ ได้เปล่ียนแปลงไปเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีมีความทันสมัย ทาให้การศึกษาสามารถเรียนรู้กันได้ข้ามประเทศ เพียงแค่คุณอยู่ที่บ้าน แม้กระทั่งการติดต่อส่ือสารก็ทาให้ได้รับ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ทั้ ง ท า ง บ ว ก แ ล ะ ท า ง ล บ ตั ว อ ย่ า ง ท่ี เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม จึ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด การลอกเลียนแบบอย่างถูกต้องและไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะวัยรุ่น เป็นวัยท่ีมีความอยากรู้ อยากเห็น และอยากลอก เป็นอย่างมาก จึงทาให้พฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคลและแต่ละครั้งมีท้ังความเหมาะสมและ ไม่เหมาะสม ส่ิงที่ดีอาจถูกมองเป็นส่ิงที่ไม่ดี และสิ่งที่ไม่ดีอาจถูกมองเป็นส่ิงที่ดี เน่ืองจากการได้รับรู้ข้อมูล มาจากโลกอินเตอร์เน็ตอย่างผิด ๆ ทาให้วัยรุ่นไทยในปัจจุบันมีพฤติกรรมการแสดงออกที่ไม่เหมาะสมหรือ พฤติกรรมที่ก้าวร้าว ซง่ึ บางครงั้ อาจจะแสดงออกมาอย่างตัง้ ใจหรอื ไมต่ งั้ ใจกไ็ ด้โดยในปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มท่ีจะ แสดงออกพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมมาก เพราะเราได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมความเกรงใจ และคาว่า ไม่เป็นไรมากจากบรรพบุรุษ จึงทาให้เราไม่กล้าแสดงออก หรืออาจเป็นเพราะความไม่มั่นใจ อาย ไม่กล้า จึงทาให้บุคคลอื่นมองว่าเราเป็นคนไม่รู้ ฉลาดน้อย หรือต่อต้าน จึงไม่แสดงออก ทาให้เรามีความเส่ียงต่อ การขาดโอกาสการก้าวหน้าในชีวิต ถ้าหากบุคคลใดมีความบกพร่องเก่ียวกับการกล้าแสดงออก บุคคลนั้นมักจะ พบกับปัญหาท้ังในด้านการติดต่อ และการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ซ่ึงจะทาให้เกิดความยากลาบากท้ังในการ เรยี น การทางาน และเกิดความวติ กกังวลตา่ ง ๆ ตามมา พฤติกรรมการกล้าแสดงออกที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างย่ิงต่อการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน เนอ่ื งจากเป็นปัจจัยทท่ี าให้สามารถเผชญิ กบั สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม กล้าฟันฝ่าอุปสรรค ปัญหา และ ยังทาให้เป็นบุคคลที่มีความมั่นใจในตนเอง ได้ในสิ่งที่ต้องการ และบุคคลท่ีพบเห็นจะให้เกียรติมากข้ึน จอร์นสัน (Johnson, 2004) กล่าวว่าการที่คนเราจะเร่ิมเปลี่ยนแปลงไปสู่พฤติกรรมการแสดงออกนั้น จะต้องตระหนักไว้ เสมอว่าการเปลี่ยนแปลงน้ันจะทาให้คนใกล้ชิดหรือคนที่เกี่ยวข้อง แสดงพฤติกรรมโต้ตอบในท่าทางลบต่อการ เปลี่ยนแปลงนั้นได้ เน่ืองจากว่าถ้าเราไม่เคยมีพ ฤติกรรมการกล้าแสดงออกแล้วไปแสดงออกเลย การเปล่ียนแปลงนั้นยากท่ีผู้ใกล้ชิดหรือคนท่ีเกี่ยวข้องจะยอมรับได้ เนื่องจากพวกเราจะคุ้นเคยกับสิ่งที่เราเป็น ได้รับในสิ่งที่ต้องการความกลัวว่าจะสูญเสียเราจากไปจากการกระทาน้ัน ซึ่งเราไม่ควรจะย่อท้อหรือเปล่ียนใจ ที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง เนื่องจากเราอาจจะไม่สามารถที่จะไม่ใส่ใจคนที่เรารัก หรือคนท่ีสาคัญในชีวิตของเราได้ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมกล้าแสดงออกเป็นคุณสมบัติที่สามารถปลูกฝังและพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ในตัวบุคคลให้มีการ กล้าแสดงออกท่ีถูกต้องและเหมาะสมได้ ทาให้บคุ คลเรยี นร้ทู จ่ี ะเป็น “ผู้ชนะ” ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งแทจ้ รงิ

ดังน้ันจึงกล่าวได้ว่า การท่ีบุคคลมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ช่วยทาให้มีบุคลิกที่ดีข้ึน สามารถปรับตัว มีความเชื่อม่ันในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าพูดต่อหน้าผู้อื่น กล้าเข้าร่วมกิจกรรม ไดร้ บั การยอมรับจากเพื่อน มผี ลการเรยี นทีด่ ขี นึ้ และการมพี ฤติกรรมที่กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมยังเป็นพ้ืนฐาน ทาใหส้ ามารถปรับตนเองให้อยู่ในสงั คม เป็นคนเกง่ คนดี ได้อย่างมีความสุข ประสบผลสาเร็จท้ังด้านการเรียนและ การดาเนินชีวิตประจาวันต่อไป จากสภาพปัญหาท่ีกล่าวข้างต้น ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาการแก้ปัญหา นักเรียนท่ีมีพฤติกรรมขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียน รายวิชาศิลปศึกษา โดยใช้กระบวนการ กลุ่ม คาถามวิจยั กระบวนการกลุ่มสามารถแก้ปัญหานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขาดความกล้าแสดงออกอย่า เหมาะสมในชน้ั เรียนรายวชิ าศลิ ปศกึ ษาได้หรอื ไม่ วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาการใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหานักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย มพี ฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้นั เรยี น รายวชิ าศลิ ปศกึ ษา 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุ่มท่ีมีต่อพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมใน ชน้ั เรียน รายวชิ าศลิ ปศึกษา ก่อนการใชก้ ระบวนการกลุม่ และหลงั การใช้กระบวนการกลุ่ม กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม กระบวนการกล่มุ พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมายของการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตาบลนาดี 1 ภาคการศึกษา 2 ปกี ารศึกษา 2565 ตัวแปรทศ่ี ึกษา ตัวแปรตน้ คอื การแกป้ ญั หานกั เรียน ท่ีไม่กลา้ แสดงโดยใช้กระบวนการกล่มุ ตวั แปรตาม คอื มีพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม สมมตฐิ านการวจิ ยั พฤติกรรมกลา้ แสดงออกของนกั เรียนหลงั การใชก้ ระบวนการกลุ่ม ดกี วา่ ก่อนการใช้กระบวนการกลุ่ม

นยิ ามศพั ท์ พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม หมายถึงพฤติกรรมท่ีบุคคลสามารถแสดงออกได้อย่างเป็น ธรรมชาติมากที่สุดตามสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยวิธีการทางบวก โดย ปราศจากความวิตกกังวล น่นั คอื บุคคลสามารถแสดงออกซึ่งความต้องการหรือความรู้สึกได้อย่างตรงมาและจริงใจ อย่างไรกต็ ามพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทาเพ่ือที่จะให้ได้ส่ิงท่ีต้องการ เป้าหมายของการ กระทาพฤติกรรมกล้าแสดงออกน้ันคือการส่ือสารอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรือการ คิดเหน็ ขอบบุคคลอื่น ซึ่งการทาเช่นนน้ั จะทาใหม้ โี อกาสบรรลุเป้าหมายท่ีตอ้ งการโดยไมป่ ฏิเสธสิทธขิ องผู้อนื่ กระบวนการกลุ่ม หมายถึง กิจกรรมหรือประสบการท่ีจัดขึ้นให้กับนักเรียน โดยกลุ่มจะต้องประกอบด้วย บุคคลต้ังแต่ 2 คนขึ้นไปมารวมตัวกัน และปฏิบัติตามบทบาทของตนเองโดยมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ดว้ ยกนั และมจี ดุ มุ่งหมายรว่ มกนั ภายในกลุ่ม นกั เรยี น หมายถึง นกั ศึกษา กศน.ตาบลนาดี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 35 คน การพูด หมายถงึ ความกลา้ แสดงออกในการพดู อยา่ งเหมาะสม การกระทา หมายถึง การกล้าคดิ กลา้ ทา กลา้ โต้แยง้ อยา่ งมีเหตุผล การแสดงความคิดเห็น หมายถึง การกล้าวิพากษ์ วจิ ารณ์อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง 1. แนวคิดทเี่ กยี่ วข้องกับพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม ความหมายของพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (ธีรวรรณธีระพงษ์, 2543) ให้ความหมายว่า เป็นพฤติกรรมท่ีบุคคลสามารถแสดงออกได้อย่างเป็น ธรรมชาติมากที่สุดตามสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ และสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยวิธีการทางบวก โดย ปราศจากความวิตกกงั วล น่นั คือบุคคลสามารถแสดงออกซึ่งความต้องการหรือความรู้สึกได้อย่างตรงมาและจริงใจ อยา่ งไรกต็ ามพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมมิใช่กระทาเพ่ือที่จะให้ได้สิ่งที่ต้องการ เป้าหมายของการ กระทาพฤติกรรมกล้าแสดงออกน้ันคือการสื่อสารอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรือการ คิดเห็นขอบบุคคลอนื่ ซึ่งการทาเช่นนั้นจะทาใหม้ โี อกาสบรรลุเปา้ หมายท่ตี ้องการโดยไม่ปฏิเสธสิทธขิ องผ้อู ่นื โบเวอร์ และ โบเวอร์(Bower & Bower, 1976) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการแสดงออก คือความสามารถในการท่จี ะแสดงความรู้สึกที่จะเลือกว่าควรปฏิบัติอย่างไร ที่จะแสดงสิทธิเม่ือมีความเหมาะสม ที่ จะเพ่ิมความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ที่จะช่วยพัฒนาความม่ันใจในตนเองให้เกิดขึ้น ที่จะแสดงความไม่เห็นด้วย เม่อื คดิ ว่ามคี วามสาคญั มากพอ และความสามารถในการที่จะดาเนินการ เพื่อปรับพฤติกรรมจองตนเองและขอร้อง ให้ผอู้ นื่ เปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการต่อตา้ นเขาด้วย เจกุโบว์กี้ (Jakubowski, 1973) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมระหว่างบุคคลหนึ่งซึ่งบุคคลลุกข้ึนเพ่ือแสดง สิทธิอันถูกต้องของเขาในวิถีทางที่ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืน เป็นการแสดงความรู้สึก การคิดและความเชื่อออกมา อย่างตรงไปตรงมา จรงิ ใจ และเหมาะสม สรปุ ความหมายพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม หมายถึง พฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออกอย่าง เหมาะสม กล้าคิด กล้าพูด กล้ากระทาในสิ่งท่ีถูกต้อง เป็นการเพิ่มความม่ันใจในตนเองโดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น โดยเป็นการแสดงออกอยา่ งชดั เจนและตรงไปตรงมา ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม พฤติกรรมไม่กล้าแสดงออก และพฤติกรรม กา้ วร้าว การตอบสนองอยา่ งเหมาะสม(Assertion) พฤติกรรมกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมเป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงความกล้าพูด กล้าคิด กล้ากระทาในส่ิงท่ี ถูกต้อง และกล้าแสดงออกตามความรู้สึกที่แท้จริงของตน โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืน และเมื่อแสดงพฤติกรรมไป แล้วจะไม่มีความวิตกกังวลใจ ซ่ึงแสดงถึงการยอมรับในสิทธิของบุคคล เมื่อพิจารณาในรูปของการมีความสัมพันธ์ กบั บคุ คลอืน่ จะเป็นบุคคลท่ีส่ือสารดว้ ยความจริงใจเปิดเผยและตรงตามความต้องการหรือความรู้สึกของตนเองโดย มีวิธีการท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ซ่ึงแสดงถึงการมีความเคารพนับถือยอมรับ และเห็นคุณค่าของ บุคคลอ่ืนและของตนเองด้วย

การตอบสนองอยา่ งไม่กล้าแสดงออก(Passive) พฤติกรรมไม่กล้าแสดงออก หรือการยอมตาม เป็นความขลาดกลัวที่ไม่กล้าแสดงออกถึงความรู้สึกความ ต้องการที่แท้จริงของตน รวมทงั้ ไมส่ ามารถจะรักษาสทิ ธิของตนเองได้ เป็นบุคคลท่ีมีความอาย ไม่กล้าแสดงออกถึง ความไม่สบายใจหรือความไม่เห็นด้วยกับบุคคลอื่น ไม่กล้าปฏิเสธ มีความเชื่อฟัง สอนง่ายมักจะเก็บความรู้สึกขุ่น มัวเอาไว้ หากถูกเอาเปรียบก็มักจะถอยหนีหรือหลบตัวมักจะมีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองต่าหากต้องการ แสดงออกถึงความต้องการของตนก็มกั จะมคี วามวิตกกงั วลหรอื ความไม่สบายใจ จึงมีท่าทางที่ระมัดระวังและกล่าว คาขอโทษอยเู่ สมอ พรอ้ มกับมีภาษาท่าทางทไี่ ม่เหมาะสม เช่นการไม่กล้าสบตาผูส้ นทนา พูดเสียงเบา พูดเร็วเกินไป เปน็ ตน้ การตอบสนองดว้ ยความก้าวร้าว(Aggression) พฤตกิ รรมกา้ วร้าวเป็นการแสดงออกถึงการยดึ ตนเองเป็นศูนย์กลางเรียกร้องถึงสิทธิของตนโดยไม่สนใจว่า จะไปละเมิดสิทธิของผู้อื่นหรือไม่ ไม่เห็นความสาคัญของปฏิกิริยา ความรู้สึกและความคิดเห็นที่บุคคลอื่นได้แสดง ออกมา รวมทัง้ ไมม่ ีความเคารพนบั ถอื บคุ คลอืน่ ด้วยบคุ คลทีม่ ีพฤติกรรมกา้ วร้าวจึงมักแสดงออกถึงความรู้สึก ความ ต้องการและความคิดเห็นที่ตนมีในลักษณะของการข่มขู่ บังคับ เรียกร้อง พูดโต้เถียงให้ชนะพูดกล่าวโทษผู้อื่น พูด เสียงดัง พูดจาเสียดสี พูดเหยียดหยามข่มขู่หรือพูดในสิ่งที่แสดงถึงความมีอานาจของตน หรือทาให้ตนเองมี ความสาคัญมากข้ึน และอาจแสดงความหยาบคายต่อบุคคลอ่ืน มักจะทาให้บุคคลอ่ืนไม่สบายใจหรือขัดใจหรือ โกรธอย่เู สมอ ซ่ึงมีผลทาให้สมั พันธภาพระหวา่ งบคุ คลเปล่ียนแปลงไปถึงแม้ผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าวจะมีความรู้สึกผิด แต่บรรลุเป้าหมายท่ีตนต้องการก็เหมือนได้รับการเสริมแรงต่อพฤติกรรมก้าวร้ าวน้ันจึงมีแนวโน้มการกระทา กา้ วร้าวต่อไปอกี ลักษณะของการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม เฟสเตอร์ฮิม (Fensterheim& Bear, 1978) กล่าวว่าบุคคลท่ีมีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะต้อง มีลักษณะ 4 ประการดงั น้ี 1. รู้สกึ อสิ ระที่จะเปดิ เผยตนเอง ไมว่ า่ จะเปน็ การพดู หรอื การกระทา 2. สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลได้ทุกระดับ และทุกประเภท เช่น คนแปลกหน้า เพ่ือนฝูง คนใน ครอบครวั โดยทีก่ ารตดิ ตอ่ นนั้ เป็นไปอยา่ งเปิดเผยและตรงไปตรงมา 3. มีความกระตือรือร้นในการดาเนินชีวิต พยามยามทาสิ่งต่าง ๆ ตามท่ีตนเองคิดและต้องการ ไม่น่ังคอย วา่ อะไรจะเกดิ ข้ึนกบั ตนเองและไมต่ ้องรอคอยใหใ้ ครมาช่วย 4. กระทาในส่ิงท่ีทาให้ตนเองภูมิใจอย่างท่ีสุด ยอมรับความสามารถและข้อจากัดของตนเอง แต่ใน ขณะเดยี วกนั ก็พยามนาตนเองไปสู่ความสาเรจ็ ถึงแม้ว่าจะลม้ เหลวกย็ งั นับถอื ตนเอง

ผลของการมพี ฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (ธีรวรรณธีระพงษ์, 2543) กล่าวว่าพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ผู้น้ันเป็นที่ ยอมรับและสามารถแสดงสทิ ธขิ องตนโดยไมก่ ระทบสทิ ธขิ องผูอ้ ืน่ อนั นาไปสู่สัมพันธท์ ่ีพฒั นาและดงี าม ไดแ้ ก่ 1. การยืนหยัดเพ่ือตัวเอง และการทาให้คนอื่นรู้จักตัวของเรานั้นเป็นการเคารพตนเองและเป็นการที่จะ ไดร้ ับการเคารพจากผอู้ นื่ 2. การพยายามใชช้ วี ติ ของเราอยู่ในแนวทางที่จะไม่ทาให้ผู้อื่นเจ็บปวดเลย ไม่ว่าจะอยู่ภายใต้เง่ือนไขใด ๆ กต็ าม มักจะจบลงด้วยการทาใหผ้ ู้อ่นื และตัวเองเจ็บปวดดว้ ย (เป็นวงจรของพฤติกรรมการไมก่ ลา้ แสดงออก) 3. เมื่อเรายืนหยัดเพ่ือตัวเอง และแสดงความรู้สึกของเราออกมาอย่างจริงใจ หรือแสดงการคิดเห็นอย่าง ตรงไปตรงมา ดว้ ยท่าทีที่เหมาะสม ทุกคนจะได้รับประโยชน์ในระยะยาว แต่ถ้าเราไม่จริงใจต่อคนอ่ืน เท่ากับว่าเรา ไมจ่ รงิ ใจกับตัวเอง ทุกคนทเ่ี ก่ียวขอ้ งก็จะสญู เสียประโยชน์ในระยะยาว 4. ในการเสียสละความเปน็ ตวั ของเราเอง และปฏิเสธความรู้สึกส่วนตัวของเรา มกั จะนาไปสู่ความร้าวราน ในสมั พันธ์ หรือความสมั พันธไ์ ม่สามารถพัฒนาต่อไปได้ 5. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะมีคุณค่ามากขึ้นและน่าพึงพอใจมากข้ึนเมื่อเราสามารถแลกเปลี่ยนการ ตอบสนองตอบทจ่ี ริงใจกับบคุ คลอื่น และไมข่ ดั ขวางบคุ คลอน่ื ที่ตอบสนองต่อเรา 6. การไม่ให้ผู้อ่ืนรู้ว่าเราคิด หรือรู้สึกอย่างไร เป็นการเห็นแก่ตัวเท่า ๆ กับการไม่สนใจความรู้สึกและการ คิดของคนอื่น 7. การท่เี ราเสยี สทิ ธิสว่ นตวั ของเรา เทา่ กับเราสอนใหบ้ คุ คลอ่ืนเอาเปรยี บเรา 8. ในการท่ีเรากล้าแสดงออก และบอกบุคคลอื่นว่าพฤติกรรมของเขามีผลต่อเราเช่นใด เท่ากับเราได้เปิด โอกาสให้เขาเปล่ียนพฤติกรรม และเป็นการแสดงให้เห็นว่าเราได้ให้เกียรติแก่สิทธิของเขา ท่ีบอกให้เขารู้ว่าเขา กาลงั ยนื อยูท่ ี่จุดใดกับเรา (สมโภชน์ เอ่ยี มสุภาษิต, 2539 อ้างถงึ ใน ธีรวรรณธีระพงษ,์ 2543) การพฒั นาพฤตกิ รรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (Developing Assertiveness) การฝึกพฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม มหี ลักสาคัญ 3 ประการดังนี้ 1. การตระหนักรู้ตนเอง (Self – awareness) เป็นการสารวจตรวจสอบพฤติกรรมการแสดงออกของ ตนเอง พิจารณาผลทเ่ี กิดข้ึน อาจขอรับข้อมลู ย้อนกลบั จากผ้อู ืน่ หรือการสารวจด้วยตนเอง 2. การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก เป็นกระบวนการฝึกทักษะการกล้าแสดงออก ท้ังความรู้สึก ความคิด และการติดต่อสื่อสาร เช่น ทักษะการแสดงการเห็นด้วยกับสาระสาคัญท่ีได้รับการวิพากษ์ ทักษะการตอบสนองผู้ วิพากษ์ ทักษะการยอมรับการวิพากษ์ หรือทักษะการแสดงความม่ันคงในความคิดและความรู้สึกของตน เป็นต้น การฝึกพฤติกรรมกลา้ แสดงออก ประกอบด้วยความรคู้ วามเข้าใจและการฝึกหดั ให้เกิดความคล่องตัว 3. การพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมกับผูท้ ่ีเก่ียวข้อง ในการฝึกทักษะท่ีจาเป็นจนชานาญ แล้ว ควรพัฒนาเพิ่มพูนทักษะให้มากขึ้น รวมท้ังการรักษาให้เป็นพฤติกรรมคงทนต่อไป โดยการฝึกหัดแสดงออก และตอบสนองกบั ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ซัลเทอร์ (Salter, 1949) ได้สรุปว่า บุคคลผู้มีพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมจะสามารถแสดง พฤติกรรมต่อไปน้ีได้ ได้แก่ การแสดงความรู้สึก พูดเกี่ยวกับตัวท่านเอง การพูดทักทายปราศรัย การยอมรับคา

ชมเชย การแสดงออกทางสีหน้าท่ีเหมาะสม การแสดงความไม่เห็นด้วยอย่างสุภาพ การขอร้องให้แสดงความ กระจ่างแจ้ง การถามหาเหตุผล การแสดงความไม่เห็นด้วยขณะนั้น การกล่าววาจาเพื่อรักษาสิทธิ การแสดงความ มน่ั คง หลีกเล่ียงทจี่ ะตอ้ งแสดงเหตผุ ลในทุก ๆ ความเหน็ 2. แนวคดิ ที่เกย่ี วข้องกับกระบวนการกลุ่ม ความหมายของกระบวนการกลุ่ม ชาร์ทวิง และ เซนเดอร์(Cartwright & Zander, 1968) ให้ความหมายว่า อุดมการณ์ทางการเมืองแบบ หนง่ึ ท่ีกลมุ่ ควรจดั ใหม้ ีและควรดาเนนิ การโดยอุดมการณ์ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับความเป็นผู้นาในระบบประชาธิปไตย รวมถึงการมีสว่ นร่วมในการตัดสนิ ใจของสมาชกิ คณุ คา่ และประโยชน์ที่สมาชิกและสังคมควรได้รับ ซึ่งการรวมกลุ่ม ดังกล่าวจะมีคุณค่าต่อสมาชิก ซึ่งนับว่าเป็นการรวมกลุ่มในอุดมคติท่ีสมาชิกทุกคนจะมีความเท่าเทียมกัน ไม่มีการ กาหนดการเป็นผนู้ าผ้ตู าม ทกุ คนจะใชส้ ติปัญญาและความสามารถที่ตนมีอยู่อย่างเต็มที่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตน และสงั คม (ช่อลัดดา ขวัญเมือง, 2541) ให้ความหมายว่า กระบวนการที่ช่วยให้นักเรียนได้มีพัฒนาการในด้าน ทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมที่บกพร่อง เป็นปัญหาควรแก้ไขโดยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ จึงเป็นวิธีการที่เปิด โอกาสใหน้ กั เรียนเข้าใจความตอ้ งการของตนเองและของผู้อ่ืน จากการสัมผัสด้วยการปฏิบัติจนเกิดการค้นพบส่ิงท่ี ต้องการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงทาใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อการปฏิบัติตนในการอย่รู ่วมกับผอู้ น่ื (กาญจนา ไชยพันธุ์, 2549) ให้ความหมายว่า การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณ์ของกลุ่ม หลาย ๆ ฝ่าย ศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นาผู้ตาม ความคิด ฝึกปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และมีการศึกษาจาก ประสบการณ์ โดยผศู้ ึกษาจะต้องเข้าไปมสี ่วนรว่ มในประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่จัดขึน้ สรุปความหมาย กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การที่บุคคลมารวมกันต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป เพ่ือร่วมกันกระทา การศึกษาหาข้อมูลตามความเป็นจริง โดยทุกคนได้รับประโยชน์ ไม่มีการเป็นผู้นา ผู้ตาม ทุกคนสามารถแสดง ความคิด ความร้สู กึ และการกระทาได้อยา่ งเทา่ เทยี มกัน เพื่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและตอ่ สังคม ทฤษฎีเก่ยี วกับกระบวนการกลุ่ม (กาญจนา ไชยพันธ์ุ, 2549) กระบวนกลุ่มต้องอาศัยทฤษฎีเข้ามามีส่วนเก่ียวข้องในการจัดกระบวนการ กล่มุ ซ่งึ มีทฤษฎดี งั ต่อไปนี้ 1. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของ Kurt Lewinในเร่ืองของกลุ่ม Lewinสรุปสาระสาคัญของทฤษฎี สนามไว้ดงั น้ี (วนิ ิจ เกตุขาและคมเพชร ฉตั รศุภกลุ , 2522) 1. พฤติกรรมเป็นผลจากพลังความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มไม่ได้เกิดจากการรวมตัวของ สมาชกิ เพยี งเอย่างเดยี ว แต่จะเป็นผลจากโครงสร้างท่ีเกิดจากการเกี่ยวข้องสัมพนั ธ์กันและกันในกลุ่ม 2. โครงสรา้ งของกลมุ่ เกดิ จากระบวนกลมุ่ ของบุคคลทีม่ ลี กั ษณะแตกตา่ งกัน 3. การรวมกลุ่มแต่ละคร้ังจะต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยเป็นปฏิสัมพันธ์ใน รูปการกระทาความรู้สกึ และความคิด 4. องค์ประกอบด้านปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การกระทา ความรู้สึก และความคิด จะก่อให้เกิด โครงสร้างของกลุม่ แต่ละครงั้ ซง่ึ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ออกไปตามลกั ษณะของสมาชกิ ในกลมุ่

5. สมาชิกในกลุ่มจะมีการปรับตัวเข้าหากัน และพยายามช่วยกันทางาน ซึ่งการที่บุคคลพยายาม ปรับบุคลิกภาพของตนท่ีมีความแตกต่างกันนี้ จะก่อให้เกิดความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน และทาให้เกิดพลังหรือ แรงผลักดนั ของกลมุ่ ทที่ าในการทางานเป็นไปดว้ ยดี 2. ทฤษฎีปฏสิ มั พันธ์ (Interaction Theory) ของ Bales โฮมาน และ ไวที (Homans& Whyte อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2522) ไดก้ ลา่ วถึงแนวคดิ พ้ืนฐานของทฤษฎนี ี้ คอื 1. กลุม่ จะมปี ฏสิ ัมพนั ธโ์ ดยการกระทากิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ 2. ปฏสิ ัมพนั ธจ์ ะเป็นปฏิสัมพนั ธ์ทุก ๆ ดา้ น คือ - ปฏสิ ัมพนั ธท์ างรา่ งกาย - ปฏสิ มั พันธท์ างวาจา - ปฏิสัมพันธท์ างจติ ใจ 3. กิจกรรมต่าง ๆ ทีก่ ระทาผ่านการมปี ฏิสมั พนั ธน์ ้ี จะก่อใหเ้ กิดอารมณ์ความรสู้ กึ ข้ึน 3. ทฤษฎีบุคลกิ ภาพของกลมุ่ (Group Syntality Theory) ของ Cattellทฤษฎีน้อี าศยั หลกั การจากทฤษฎี การเสริมแรง (Reinforcement Theory) (โยธิน ศันสนยุทธ, 2528) คือ กฎแห่งผล (Low of Effect) เพ่ืออธิบาย พฤติกรรมของกล่มุ แนวคดิ ในทฤษฎีนปี้ ระกอบไปดว้ ย 1. ลกั ษณะของกลุ่มประกอบด้วย - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีบุคลิกภาพเฉพาะตัว (Population Traits) ไดแ้ ก่ สติปัญญา ทศั นคติ บุคลกิ ภาพ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเป็นลักษณะในรูปเอกัตบุคคลท่ีรวมกันเข้าเป็นกลุ่ม การ ทางานของเอกตั บุคคลท่ที างานสอดคลอ้ งกันเรียกวา่ กลมุ่ - กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีบุคลิกภาพเฉพาะกลุ่ม (Syntality Traits) หรือความสามารถที่ กล่มุ ไดร้ ับจากสมาชกิ ซ่ึงจะทาใหก้ ลุ่มมีลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป บุคลิกภาพของกลุ่มได้จากความสามารถของ กล่มุ ทมี่ ีอยูใ่ นการกระทาของสมาชิกร่วมกนั - กลุ่มแตล่ ะกลุ่มจะมีลักษณะโครงสร้างภายในโดยเฉพาะ (Characteristic of Internal Structure) ซ่งึ หมายถึง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมาชกิ และแบบแผน หรือลักษณะในการรวมกลุ่ม เช่น มีการแสดง ตาแหนง่ บทบาทหน้าที่ มกี ารสอ่ื สารกนั ระหวา่ งสมาชิก 2. พลัง หรือการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของกลุ่ม (Dynamics of Syntality) หมายถึง การ แสดงกิจกรรมหรือความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่มเพ่ือจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง การกระทาของสมาชิกจะมี ลกั ษณะ 2 ประการ คือ - ลกั ษณะท่ที าให้กลุ่มรวมกันได้ (Maintenance Synergy) หมายถึง ลักษณะของความ ร่วมมือในการกระทากิจกรรมของสมาชิกแต่ละกลุ่มเพ่ือให้ความสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นไปได้อย่างราบรื่น และ ก่อให้เกดิ ความสามคั คี ซงึ่ จะทาให้การรวมกลุม่ ไมม่ ีการแตกแยก หรือการถอนตัวออกจากกลุม่ - ลักษณะที่จะทาให้กลุ่มประสบผลสาเร็จ (Effective Synergy) หมายถึง กิจกรรมท่ี สมาชิกกระทาเพื่อใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมายทตี่ ้งั ไว้

4. ทฤษฎีพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือ FIRO (Fundamental Interpersonal Relation Orientation) ของ Schutsทฤษฎีนี้จะพิจารณาพฤติกรรมระหว่างสมาชิกที่พยายามปรับตัวเข้าหากัน โดยเช่ือว่า คนทุกคนจะมีลักษณะเฉพาะในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อ่ืน ความต้องการท่ีจะมีความสัมพันธ์กับผู้อ่ืนมี 3 ลักษณะ คือ 1. ความต้องการมีส่วนร่วมหรือการเชื่อมโยงกับผู้อ่ืน (Inclusion) ได้แก่ความต้องการจะมี สัมพันธ์กับผู้อื่น โดยการแสดงพฤติกรรมการสนใจต่อผู้อื่น และความเป็นมิตรหรือความต้องการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน เพอื่ ใหเ้ กิดช่อื เสียง (Prestige) การเป็นทย่ี อมรับนบั ถือ (Recognition) และความมเี กยี รติ (Prestige) เป็นตน้ 2. ความต้องการในการควบคุม (Control) หมายถึง กระบวนการบุคคลตัดสินใจเพื่อจะให้ อิทธิพล (Authority) มีอานาจ (Power) หรือความต้องการจะควบคุมผู้อื่น ซ่ึงอาจจะแสดงออกมาในลักษณะ คือ การควบคมุ ผอู้ ่นื 3. ความต้องการเป็นท่ีรักใครของผู้อ่ืน (Affection) หมายถึง ความรู้สึกและอารมณ์ส่วนตัวท่ี เกิดข้ึนระหว่างบุคคลสองคน เช่น ความรัก ความเป็นมิตร การช่วยเหลือเก้ือกูลกัน การสร้างความผูกพันทาง อารมณ์ เพื่อใหเ้ กิดความใกล้ชดิ สนทิ สนมตอ่ กัน การที่บุคคลมีความสัมพันธ์กัน จะแสดงพฤติกรรมและความต้องการเฉพาะตน ซ่ึงพัฒนาขึ้นจาก การได้รับการสนองความต้องการในวัยเด็ก ความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่มอาจเป็นในลักษณะท่ีเข้ากันได้ (Compatibility) หรือเข้ากันไม่ได้ (Incompatibility) ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับบุคคลท่ีสัมพันธ์กันและลักษณะในการแสดง ความสมั พนั ธ์กนั เปน็ สาคัญ 5. ทฤษฎีสัมฤทธิผลของกลุ่ม (A Theory of Group Achievement) ผู้ท่ีเริ่มทฤษฎีน้ี คือ Stogdillโดยมี วัตถุประสงค์สาคัญในเร่ืองผลผลิตหรือสัมฤทธิผลของกลุ่ม ดังน้ันทฤษฎีนี้จึงไม่กล่าวถึงพฤติกรรมของสมาชิกใน กลุ่ม แตเ่ นน้ โครงสรา้ งของทฤษฎปี ระกอบดว้ ยตวั แปร 3 ประเภท คือ 1. การลงทนุ ของสมาชกิ หรอื ตวั แปรที่สมาชิกป้อนใส่เข้าไป (Member Input) คือ การแสดงออก ของสมาชิกภายในกลุ่ม รวมถึงการกระทาและการแสดงออกของสมาชิกเป็นส่วนสาคัญโดยเฉพาะในเร่ือง เมื่อ บุคคลมาอยู่รวมกันจะมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) การแสดงออก (Performance) และความคาดหวัง (Expectations) 2. สื่อกลางของการลงทุนของสมาชิก (Mediating Variables) เมื่อสมาชิกมีการลงทุนโดยกระทา หรือมปี ฏิสมั พนั ธ์ รวมทง้ั การคาดหวังผลร่วมกันแล้ว ส่ิงหนึ่งที่จะทาให้กลุ่มบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายท่ีต้องการ คือ การกาหนดโครงสร้างของกลุ่มขึ้น เพื่อเป็นสื่อให้การลงทุนของสมาชิกบังเกิดผล โครงสร้างของกลุ่มประกอบด้วย โครงสรา้ งอย่างเปน็ ทางการ โครงสร้างเกี่ยวกบั บทบาทของสมาชิก และผลของกลมุ่ หรือสัมฤทธผิ ลของกล่มุ 6. ทฤษฎีการแลกเปล่ียนพฤติกรรมกลุ่ม (Exchange Theory) Thifaut and Kelley ทฤษฎีน้ีเน้น ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกและกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลจากการรวมกลุ่ม แนวคิดของทฤษฎีจะเป็น พ้นื ฐานของการทาหนา้ ที่ในกลมุ่ ไดเ้ ป็นอย่างดี แนวคดิ ทสี่ าคัญของทฤษฎีมี 3 ประการ ลกุ ท์ (Lugt, 1970) คือ

1. ในการรวมกลุ่มทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนพฤติกรรมและเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ซ่ึง เกิดจากการท่ีสมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในรูปต่าง ๆ เช่น การส่ือสาร หรือการแสดงพฤติกรรมท่ีบุคคลหนึ่งแสดง ตอ่ อกี คนหนึง่ และจะมอี ทิ ธผิ ลตอ่ การแสดงพฤตกิ รรมของบคุ คลนนั้ ด้วย เช่น การแสดงพฤติกรรม การกระทาหรือ คาพูด 2. การแลกเปล่ียนพฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก จะก่อให้เกิดผลของกลุ่ม (Group Outcome) ขึ้น จึงเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก (Consequences of Interaction) ซึ่งประกอบด้วย รางวลั จากการมีปฏสิ ัมพันธ์ เช่น ความสบายใจ ความสนกุ สนาน ความอ่ิมอกอ่ิมใจ ความพอใจ และเห็นคุณค่าของ การพยายามกระทาพฤตกิ รรมนั้นใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมายตามที่ต้องการ 7. ทฤษฎสี ังคมมติ ิ (Sociometric Theory) Morenoคอื ผู้กอ่ ตง้ั ทฤษฎีและอาศยั พ้ืนฐานทางทฤษฎี ดังนี้ 1. การกระทาและจรยิ ธรรมหรอื ขอบเขตการกระทาของกลุ่มจะเกิดความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ในกลุ่ม 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ คือ การแสดงบทบาทจาลอง (Role Playing) หรือ สงั คมมิติ (Sociometric) 8. ทฤษฎีจติ วิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎจี ิตวิเคราะห์นี้ สิงมัน (Sigmund Freud, 1993) มีแนวคดิ สาคัญของทฤษฎี คอื 1. กระบวนการทางแรงจูงใจ (Motivation Process) เมื่อบุคคลมาอยู่รวมกันจะต้องอาศัย แรงจงู ใจเปน็ รางวลั หรือผลจากการทางานในกลุ่ม 2. การรวมกลุ่ม (Cohesive) บคุ คลจะมีโอกาสแสดงตนอย่างเปิดเผย หรือพยายามป้องกันปิดบัง ตนเองโดยกลวิธีในการป้องกันตน หรือพยายามปิดบังตนเองโดยกลวิธีในการวิเคราะห์ต่าง ๆ (Defense Mechanism) การใช้แนวคิดนี้ในการวิเคราะห์กลุ่ม ซึ่งให้บุคคลแสดงออกตามความเป็นจริง โดยใช้วิธีการบาบัด จะทาให้สมาชกิ ในกลุ่มเกิดความเขา้ ใจตนเองและผู้อน่ื เทคนิคและวธิ ีการที่ใชใ้ นกระบวนการกลุม่ สาหรับเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในกระบวนการกลุ่มน้ัน (สุรางค์โค้วตระกูล, 2541 อ้างถึงใน นิตยา วิเศษ พานชิ , 2546) ได้กล่าวถึงเทคนิคและวิธกี ารนากระบวนการกลุ่มมาใช้ในการสอน โดยใช้สรุปเป็นเทคนิควิธีที่สาคัญ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. เกม (Game) การสอนโดยใช้เกม เปน็ การสอนโดยให้ผูเ้ รยี นเข้าไปอยู่ในกิจกรรม หรือสถานการณ์ท่ีผู้ เล่นยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง เพ่ือให้ได้ตามเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งมักจะมีผลในรูป ของการแพ้ การชนะ การเล่นเกมจะช่วยให้สมาชิกได้เรียนรู้ยุทธวิธีท่ีจะเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ และได้ฝึกฝน เทคนิค และทกั ษะทต่ี อ้ งการ รวมทัง้ ช่วยให้เกดิ ความสนุกสนานในการเรียน 2. บทบาทสมมติ (Role - Play) การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ เป็นการใช้ตัวละครที่สมมติขึ้นจาก สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริง มาเป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนสวม บทบาทน้ัน ๆ และแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเกี่ยวกับบทบาทนั้นออกมา วิธีการนี้ช่วยให้มีโอกาสศึกษา

วิเคราะห์ถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผู้อ่ืนได้อย่างลึกซึ้ง และบทบาทสมมติยังช่วยให้เข้าใจถึง บทบาททีต่ า่ งไปจากตน 3. กรณีตัวอย่าง (Case) เป็นการใช้กรณี หรือเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจริงมาดัดแปลงและใช้เป็นส่ือ ตัวอย่าง หรือเคร่ืองมือในการศึกษาวิเคราะห์และอภิปรายกัน เป็นการช่วยฝึกฝนการใช้ความคิดในการแก้ปัญหา หลาย ๆ แบบ วิธีการนี้ช่วยให้คิดและพิจารณาข้อมูลที่ตนได้รับอย่างถ่ีถ้วน นอกจากน้ันยังช่วยให้การเรียนรู้มี ลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริง ทาใหก้ ารเรียนรมู้ ีความหมายตอ่ ผเู้ รยี นมากขึน้ 4. สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็นการใช้สถานการณ์ท่ีจาลองข้ึนให้เหมือนจริง หรือใกล้เคียงกับ ความเป็นจริง โดยให้ผู้เรียนเข้าไปอยู่ในสถานการณ์นั้น และมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่ในสถานการณ์และใช้ ข้อมูลในความเป็นจริงในสภาพการณ์น้ัน ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยที่การตัดสินใจนั้นจะส่งผลถึงผู้ เล่นถึงลักษณะเดียวกับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริง ในการเล่นในสถานการณ์จาลองช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ ลึกซึ้งในองค์ประกอบท่ีซับซ้อนของสภาพความเป็นจริงได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีในชีวิตจริงอาจไม่กล้า แสดง เพราะเป็นการเส่ียงตอ่ ผลทีจ่ ะได้รบั จนเกนิ ไป 5. กลุ่มย่อย (Small Group) การใช้กลุ่มย่อยช่วยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่าง ทั่วถึง รวมท้ังให้สมาชิกได้เรียนรู้จากกันและกัน คือ ได้เรียนรู้ความรู้สึก พฤติกรรม การปรับตัว การมีปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้บทบาทหน้าท่ี การแก้ปัญหาและการตัดสินใจร่วมกัน ทั้ งยังได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ความรู้ ความคดิ การใช้เทคนคิ กลุ่มยอ่ ยมีหลายวิธีด้วยกัน แต่ที่นิยมใช้กันมากก็คือ กลุ่มระดมสมอง ท่เี รยี กว่า Brainstorming Group จากท่ีกล่าวมา อาจกลา่ วไดว้ ่า เทคนิคและวิธีการใช้กระบวนการกลุ่มน้ันมีหลากหลาย ฉะน้ันในการท่ีจะ เลือกใช้วธิ กี ารใด จงึ ควรคานึงถึงความเหมาะสมในทุกด้าน รวมทั้งคานึงถึงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการจัด กิจกรรมในแตล่ ะครง้ั ด้วย 3. งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง (วิมพ์วิภา ถาสกุล, 2550) ทาการวิจัยเชิงทดลอง เพ่ือศึกษาการใช้กิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญ ความจริงเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน ถูกเลือกมาแบบสุ่มอย่างง่าย เพื่อเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงจานวน 10 กิจกรรม เคร่ืองมือที่ใช้ได้แก่ แบบทดสอบพฤติกรรมกล้า แสดงออกประเมินก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม และกิจกรรมตามทฤษฎีเผชิญความจริง วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และหาค่า t – test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนมีค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมกล้าแสดงออกสูงกว่าก่อนเข้าร่วม กิจกรรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 (D’Zurilla&Goldfried ,1971) ได้ทาการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์คือมุ่งระบุลาดับเวลาความคิด ของคนทีม่ ีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมสูง กบั คนท่ีมพี ฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมต่า พบวา่ คนทีม่ ีพฤติกรรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมสงู มที กั ษะการแก้ปัญหา มีการเตรียมปัญหา มีการกาหนด

มกี ารสรา้ งรูปแบบทกั ษะการแกป้ ญั หา และมนั่ ใจตนเองในการมีความสามารถทจ่ี ะใหค้ าตอบสูงกว่าผู้ที่มีพฤติกรรม การกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมต่า (รัศมี เชือ้ เจ็ดตน, 2539) ศึกษาพฤตกิ รรมกล้าแสดงออกของเด็กปฐมวัยโดยใช้บทบาทสมมุติและ เปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมของเด็กปฐมวัยที่รับการฝึก โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ และไม่ได้รับการฝึกโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ จานวน 46 คน พบว่านักเรียนท่ีได้รับการฝึกโดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมุติมีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในด้านการพูดมากกว่าการกระทาและการคิดและมี พฤตกิ รรมกล้าแสดงออกเพม่ิ ข้นึ หลังได้รับการฝกึ โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ

บทท่ี 3 วิธดี าเนินการศกึ ษาค้นควา้ วิธีการดาเนนิ การวิจยั แบ่งเป็น 2 สว่ น คือ 1. การศกึ ษาเอกสาร (Document study) เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทฤษฎี แนวคิด และผลงานวิจัยที่เก่ียวกับ พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ในด้านแนวคิดเก่ียวกับพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการกลุ่ม เพ่ือหาข้อสรุปถึงวิธีการแก้ปัญหาขาดความการกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมของนกั ศกึ ษาในช้ันเรยี น รายวิชาศลิ ปศกึ ษา และนาไปสรา้ งเครื่องมือทใ่ี ชว้ ดั พฤติกรรมการกล้าแสดงออก อยา่ งเหมาะสมของนักเรียนในช้ันเรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุม่ 2. การวจิ ัยเชิงสารวจ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือ สารวจพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมของนักเรียนในช้ันเรียน รายวิชาศิลปศึกษา ภาคการศึกษา ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 จานวน 35 คน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กศน.ตาบลนาดี 1 การวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยใช้แบบสอบถามถึงพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม โดยใช้ กระบวนการกลมุ่ เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยมแี นวทางในการสร้างแบบสอบถาม ดังน้ี 1. เกณฑ์ในการวดั แบบสอบถาม ใช้วิธีการสร้างแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประเมินค่า (Rating scale) โดยเกณฑ์ในการให้ คะแนนแบ่งออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้ ตารางท่ี 1 ค่าพฤตกิ รรมการกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม และระดับคะแนน ระดบั ความรสู้ ึกเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง ระดับคะแนน ทุกครั้ง 5 บอ่ ยครัง้ 4 บางครง้ั 3 นาน ๆ ครั้ง 2 แทบไม่เคย 1 เกณฑใ์ นการแปลความหมายของคะแนน ผู้วิจัยได้แปลระดับของพฤติกรรม โดยใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนเป็นตัวช้ีวัด โดยกาหนดช่วงในการวัดเปน็ 5 ระดบั โดยกาหนดช่วงคะแนนในแต่ละระดับจากสตู รการคานวณ ดังน้ี คะแนนสูงสุด – คะแนนตา่ สดุ = 5– 1 = 0.8 จานวนระดับ 5

จากสูตรการคานวณ ได้แปรค่าระดบั ความหมายของพฤติกรรมออกเปน็ 5 ระดับ ดงั ตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 การแปรความหมายระดบั ความรสู้ กึ เหน็ คุณค่าในตนเอง ระดบั ความคดิ เห็น ระดบั คะแนน ทกุ คร้งั 4.21 - 5.00 บ่อยครงั้ 3.41 – 4.20 บางคร้ัง 2.61 – 3.40 นาน ๆ คร้งั 1.81 – 2.60 แทบไม่เคย 1.00 – 1.80 2. การสร้างเคร่อื งมือ สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎีที่เก่ียวกับแนวคิดพฤติกรรมการ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และกระบวนการกลุ่ม ในการสร้างแบบสอบถาม ซึ่งเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยใน คร้งั นี้ โดยเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือศึกษาค้นคว้าคร้ังนี้ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล จากประชากรกลุม่ ตัวอยา่ ง 2q คน โดยแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป เปน็ แบบสอบถามถึงรายละเอียดตา่ ง ๆ เกีย่ วกับผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ชน้ั ปกี ารศกึ ษา สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และกระบวนการกลุม่ ได้แก่ 1. ดา้ นการพูด 2. ด้านการกระทา 3. ด้านการแสดงความคดิ เห็น สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 1. ประชากร ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของ กศน.ตาบลนาดี 1 จานวนทง้ั หมด 35 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของ กศน.ตาบลนาดี 1 จานวนท้ังหมด 35 คน

สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวิจยั สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ข้อมูลข้อมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมโดยใช้กระบวนการกลุ่ม โดยเป็นคาถามแสดง ระดับความคดิ เห็น 5 ระดบั วเิ คราะหด์ ว้ ยคา่ เฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์ด้วยอัตราร้อยละ (Percentage) การเก็บรวมรวมขอ้ มูล การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีได้เก็บรวบรวมข้อมูล พฤติกรรมนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ขาดการกล้า แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียน รายวิชาศิลปศึกษา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั น้ี 1. แจง้ การศกึ ษาการทาวจิ ัยให้กับนกั เรียนในชน้ั เรียนทราบ 2. ดาเนินการเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมลู จากนกั เรียน 3. ตรวจแบบสอบถามท่ีได้รับกลับคืนมา คัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่สมบูรณ์ไว้เพื่อทาการ วิเคราะห์ขอ้ มูลต่อไป

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการศึกษาข้อมูลการวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีมี พฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชัน้ เรยี น รายวิชาศิลปศึกษา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผู้วิจัยได้ ดาเนินการวิจัยเชิงสารวจ โดยใช้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย จานวน 30 คน เป็นชาย 15 คน เป็นหญิง 15 คน ใช้แบบสอบถาม 30 ชุด และได้จานวนแบบสอบถามคืนกลับ 30 ชุด ครบทกุ คน คิดเปน็ ร้อยละรอ้ ย การวจิ ัยครงั้ น้กี ระทาขน้ึ หลงั จากการจัดกระบวนการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท้ังหมดเปน็ ที่เรยี บรอ้ ยของภาคเรียนที่ 2/2565 โดยผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล เป็นภาพรวมท้ังนักเรียนชายและหญิง จาแนกออกเป็น 3 ด้านคือ ด้านการพูด ด้านการกระทา ด้านการแสดง ความคดิ เห็น ดงั นี้ ตาราง 1 ด้านการพูด หัวขอ้ ระดับพฤตกิ รรม x ระดบั 1. คุณพรอ้ มทจ่ี ะชมเชยหรอื ยกย่องสรรเสรญิ เพือ่ น 5432 1 x พฤติกรรม 16 8 2 2 2 124 4.13 บอ่ ยครง้ั 2. คุณพรอ้ มท่ีจะขอร้องให้เพ่ือนช่วยทาอะไรใหค้ ณุ 20 8 2 - - 138 4.60 ทกุ ครง้ั 3. ถ้าเพ่อื นของคณุ แตง่ กายด้วยชดุ ใหม่ ซ่งึ คณุ เห็นวา่ สวย 20 9 - 1 - 138 4.60 ทกุ คร้ัง คุณจะบอกเขา ใหท้ ราบว่าเขาแต่งกายสวย 4. ถ้าเพ่อื นขอร้องใหค้ ุณทาในสิ่งทค่ี ุณคดิ ว่าเปน็ การ 21 7 1 1 - 138 4.60 ทกุ ครง้ั ขอรอ้ งทไี่ ม่มีเหตุผล สมควร คณุ กลา้ ทจี่ ะบอกปฏิเสธ 5. ถา้ เพือ่ นทาอะไรเพอ่ื คุณ คุณจะบอกให้เขาทราบวา่ คุณ 21 7 1 1 - 138 4.60 ทุกครั้ง ซาบซงึ้ เพียงใด 6. เมื่อมีใครแสดงความไม่ยตุ ธิ รรมตอ่ คุณ คณุ กลา้ ทจ่ี ะ 24 5 1 - - 143 4.76 ทกุ ครั้ง พูดบางสง่ิ ที่เก่ียวกับเรอื่ งนั้นกบั เขา 7. คุณกล้าที่จะถามปญั หาในชน้ั เรยี น 18 6 3 2 1 128 4.26 ทกุ คร้ัง 8. คณุ สามารถส่ือสารกับเพือ่ นของคณุ ไดอ้ ย่างเปิดเผย 19 8 2 1 - 135 4.50 ทกุ ครง้ั ตรงไปตรงมา 9. เม่ืออาจารยใ์ หค้ ณุ ออกมาพูดหน้าชนั้ เรยี น คุณกลา้ ท่ี 17 8 3 1 1 129 4.30 ทกุ ครง้ั จะพูดเสียงไดอ้ ยา่ งปกติ ไม่ เบาหรือพูดเร็วเกินไป 10. คณุ สามารถพูดเรื่องเกี่ยวกับตัวคณุ เองใหเ้ พือ่ นฟงั ได้ 18 4 4 3 1 125 4.16 บ่อยครงั้ อยา่ งไมข่ วยเขนิ เฉลย่ี 19.40 7.00 1.90 1.20 0.5 1336 4.45 ทุกครั้ง ร้อยละ 64.66 23.33 6.33 4.00 1.6 6

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตารางท่ี 1 ด้านการพูด พบว่าหลังจากใช้กระบวนการกลุ่ม นักเรียนมีพฤติกรรม กล้าท่ีจะพูดในระดับทุกครั้ง ท่ี 4.45 โดยในหัวข้อ เมื่อมีใครแสดงความไม่ยุติธรรมต่อคุณ คุณกล้าที่จะพูดบางส่ิง ที่เกี่ยวกับเร่ืองนั้นกับเขา นักเรียนกล้าพูดมากท่ีสุดในระดับ ทุกคร้ัง ที่ 4.76 และในหัวข้อคุณพร้อมที่จะชมเชย หรือยกย่องสรรเสริญเพื่อน นักเรียนกล้าพูดในระดับ บ่อยคร้ัง ที่ 4.13 โดยภาพรวมนักเรียนกล้าพูดที่ ร้อยละ 64.66 และไม่กล้าทีจ่ ะพดู ร้อยละ 1.66 ตาราง 2 ดา้ นการกระทา หวั ขอ้ ระดับพฤตกิ รรม x x ระดับ 54321 พฤติกรร ม 1. ขณะท่ีคณุ กาลังเรยี นและเพอื่ นร่วมหอ้ งของคุณส่ง 21 7 1 1 - 138 4.60 ทกุ ครง้ั เสียงดังมากเกนิ ไป คณุ จะขอรอ้ งให้เขาหยดุ ทาเสียงดงั 2. คุณเขา้ ร่วมสังคมกับเพอ่ื น โดยไม่กลัววา่ จะทาหรอื พดู 16 10 2 1 1 129 4.30 ทกุ คร้งั ในสง่ิ ท่ผี ดิ ๆ 3. เมอ่ื คุณทางานรว่ มกับเพ่ือน คุณจะรู้สึกมคี วามเช่ือมนั่ 17 9 2 1 1 130 4.33 ทกุ ครั้ง ในการคดิ หรอื การกระทาของตนเอง 4. เม่อื มีการทางานร่วมกับเพอ่ื น คณุ จะมีความ 19 6 3 1 1 131 4.36 ทกุ ครง้ั กระตือรอื รน้ โดยไม่ตอ้ งให้เพ่ือนคอยเตือน 5. คณุ รู้สึกภูมิใจทเี่ พื่อนรว่ มหอ้ งยอมรับความสามารถและ 22 6 1 1 - 139 4.63 ทุกคร้ัง ขอ้ จากัด ของคณุ 6. คณุ สามารถแสดงความรสู้ ึกยอมรับและนับถือ เมอ่ื 24 4 1 1 - 141 4.70 ทุกครั้ง เพ่ือนของคณุ ทางานประสบความสาเร็จไดอ้ ยา่ งไมข่ วย เขิน 7. เม่ือมีใครพูดอะไรกับคุณ คณุ กลา้ สบตาผสู้ นทนา 17 8 2 2 1 128 4.26 ทกุ ครง้ั 8. การกล้าทักทายผูอ้ ื่นก่อน เปน็ เร่อื งทคี่ ุณทาได้อยา่ ง 19 8 2 1 - 135 4.50 ทกุ ครง้ั ลาบากใจ 9. คุณกล้าท่ีจะเป็นผู้นากลมุ่ ในการอภปิ ราย 17 8 2 2 1 128 4.26 ทุกครงั้ 10. การไดท้ างานกบั เพ่ือน ทาให้ปฏิสมั พันธด์ า้ น 19 8 2 1 - 135 4.50 ทกุ ครง้ั ความรสู้ กึ ความคดิ และการกระทา กับเพื่อนมีการ พฒั นาขึน้ เฉลย่ี 19.10 7.40 1.80 1.20 0.5 1334 4.44 ทกุ ครัง้ ร้อยละ 63.66 24.66 6.00 4.00 1.66

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตารางท่ี 2 ด้านการกระทา พบว่าหลังจากใช้กระบวนการกลุ่ม นักเรียนมี พฤติกรรมกล้าท่ีจะกระทาในระดับทุกคร้ัง ที่ 4.44 โดยในหัวข้อ คุณสามารถแสดงความรู้สึกยอมรับและนับถือ เม่อื เพอ่ื นของคุณทางานประสบความสาเร็จได้อย่างไม่ขวยเขิน นักเรียนกล้าท่ีจะแสดงออก มากท่ีสุดในระดับ ทุก คร้ัง ท่ี 4.70 โดยภาพรวมนักเรียนกล้าที่จะกระทาการแสดงออกท่ี ร้อยละ 63.66 และไม้กล้าท่ีจะกระทาการ แสดงออก ทีร่ ้อยละ 1.66 ตาราง 3 ดา้ นการแสดงความคิดเหน็ หวั ข้อ ระดบั พฤติกรรม ระดับ 5 4321 พฤตกิ รร ม 1. คณุ ชอบแสดงความคิดเห็น 14 10 3 2 1 124 4.13 บ่อยครง้ั 2. เมอื่ มีการอภิปรายในช้ันเรยี น คุณจะแสดงความ 15 10 2 2 1 126 4.20 บ่อยครัง้ คิดเห็นของคุณอยา่ งอิสระ 3. คณุ กล้าแสดงความร้สู กึ ไมส่ บายใจ หรือไม่เหน็ ดว้ ย 18 8 2 2 - 132 4.40 ทกุ ครง้ั กับบคุ คลอื่น 4. คุณมคี วามมนั่ คงในข้อคิดเห็นของคุณ แม้เพ่อื นใน 16 10 2 2 - 130 4.33 ทกุ คร้งั กลุม่ จะไม่เหน็ ด้วย 5. การทางานเป็นกลมุ่ ทาใหค้ ุณรสู้ ึกมคี วามคดิ 22 4 2 2 - 136 4.53 ทุกครั้ง สรา้ งสรรค์ 6. เมื่อร่วมกันอภปิ รายกลุ่มในชั้นเรียน คุณกลา้ 19 7 2 2 - 133 4.43 ทกุ ครั้ง วพิ ากษว์ ิจารณค์ วามคดิ เหน็ ของคนอนื่ 7. ขณะที่คุณกาลังเข้าอภิปรายกลุ่ม อาจารยไ์ ด้พดู สิ่งท่ี 16 9 2 2 1 127 4.23 ทุกครั้ง คุณคิดวา่ ไมเ่ ปน็ ความจรงิ คุณจะท้วงตอ่ อาจารย์ 8. การได้รว่ มทางานหรือแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นกบั 22 5 2 1 - 138 4.60 ทกุ ครงั้ เพ่อื นทาให้คุณมีความเข้าใจในเนือ้ หาทเ่ี รียน เฉลยี่ 17.75 7.87 2.12 1.87 0.37 1046 4.35 ทกุ ครง้ั ร้อยละ 59.16 26.23 7.06 6.23 1.23 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลตารางที่ 3 ด้านการแสดงความคิดเหน็ พบวา่ หลังจากใช้กระบวนการกลมุ่ นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมกล้าท่ีจะแสดงความคิดเหน็ ในระดับทุกครัง้ ท่ี 4.35 โดยในหวั ข้อ การไดร้ ว่ มทางานหรือ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กับเพอ่ื นทาให้คุณมคี วามเขา้ ใจในเน้ือหาที่เรยี นนักเรียนกล้าทจี่ ะแสดงออกด้านการแสดง ความคดิ เห็น มากทส่ี ดุ ในระดับ ทกุ ครง้ั ที่ 4.60 และในหัวขอ้ คณุ ชอบแสดงความคดิ เห็น นอ้ ยท่สี ุดในระดบั บ่อยครั้ง ท่ี 4.13 โดยภาพรวมนักเรียนกลา้ ท่ีจะแสดงความคดิ เหน็ ที่ รอ้ ยละ 59.16 และไม้กลา้ ที่จะแสดงความ คิดเหน็ ที่ร้อยละ 1.23

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลการวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การแก้ปัญหานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีมี พฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรียนรายวิชาศิลปศึกษาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผู้วิจัยได้ ดาเนินการวิจัยเชิงสารวจ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตาบลนาดี 1 อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัด หนองบัวลาภู จานวนประชากรทั้งหมด 35 คน กลุ่มตัวอย่าง 30 คน โดยมี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหานักเรียนเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีพฤติกรรมขาด ความกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชั้นเรยี น รายวชิ าศลิ ปศึกษา 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลของกระบวนการกลุ่มที่ มตี อ่ พฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชั้นเรียน รายวิชาศลิ ปศกึ ษา ก่อนการใช้กระบวนการกลุ่ม และหลังการใชก้ ระบวนการกลุ่มโดยใช้เครือ่ งมอื แบบสอบถามความคิดเห็นระดับพฤติกรรม ของผู้เรียนหลังจาก ก า ร จั ด ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย วิ ธี ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ่ ม แ ล ะ ใ ช้ ส ถิ ติ ค่ า เ ฉ ล่ี ย กั บ ร้ อ ย ล ะ ในการวเิ คราะห์ข้อมลู สรปุ ผลการวจิ ัย การแกป้ ัญหานักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่มพี ฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมใน ชัน้ เรยี นรายวชิ าศลิ ปศกึ ษาโดยใช้กระบวนการกลมุ่ สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังนี้ 1. ผลการจัดการเรยี นร้ดู ว้ ยกระบวนการกลุ่มนักเรยี นมีความกล้าแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการ เรียนรทู้ ั้ง 3 ด้าน คอื ด้านการพูด ระดับพฤติกรรม ท่ี 4.45 ระดับทุกคร้งั ดา้ นการกระทา ระดบั พฤติกรรม ท่ี 4.44 ระดับทุกคร้ัง และด้านการแสดงความคดิ เหน็ ระดับพฤติกรรม ท่ี 4.35 2.ผลการจดั การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการกลุม่ นักเรยี นมีความกล้าแสดงพฤติกรรมอยา่ งเหมาะสมในการ เรียนร้เู ปรยี บเทียบก่อนการใช้กระบวนการกล่มุ ท้งั 3 ด้าน พบวา่ ด้านการพูด นักเรียนมีระดบั พฤติกรรมดีข้ึนท่ี ร้อยละ 64.66 ด้านการกระทา ท่รี ้อยละ 63.66 ดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ทีร่ ้อยละ 59.16 อภิปรายผล การวิจยั ครงั้ นเี้ ป็นการแก้ปัญหานักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีมีพฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออก อย่างเหมาะสมในช้ันเรียนรายวิชาศิลปศึกษาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อหาแนวทาง ในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในการเรียนรู้ ซ่ึงศึกษาโดยการสังเกตและสอบถามนักเรียนพบว่าสาเหตุของ การท่ีทาให้นักเรียนไม่กล้าแสดงออกในชั้นเรียนน้ันเกิดจากความขาดความม่ันใจในการตอบคาถาม นักเรียนไม่ กล้าแสดงความคิดเห็น ด้วยกลวั วา่ ความคดิ เห็นนนั้ จะผดิ หรอื ถกู ตรงประเด็นที่จะแสดงความคิดเห็นหรือไม่ อีก ท้งั ยังขาดความรทู้ ่จี ะแสดงออก รวมทงั้ ความประหม่าในการพดู กลวั จะถกู เพอ่ื นและครูหยอกลอ้ หรือตาหนิ ผู้วิจัย ได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม ให้มีการฝึกปฏิบัติการพูด การกระทา และการแสดงความคิดเห็นร่วมกันภายในกลุ่ม เพ่ือพัฒนาให้นักเรียนกล้าที่จะแสดงออก โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา และมีการจัดให้นกั เรยี นได้มีการแสดงออกให้มากยิ่งขึ้นในโอกาสท่ีมีเวลาว่าง เพื่อให้นักเรียนปรับตัวในความม่ันใจ ในการแสดงออกทางศิลปวัฒนธรรม โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้ถ่ายทอดและร่วมฝึกปฏิบัติ นอกเหนือจากการสอนในชั้น

เรียน จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้ร่วมปฏิบัติกิจกรรมพบว่า นักเรียนมีพัฒนาการ มีความม่ันใจในการ แสดงออกทีเ่ หมาะสมย่งิ ข้นึ นอกจากน้ีเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ทาให้ ผู้เรียนมีทัศนคติท่ีดี มีความมุ่งม่ันในการพัฒนาตนเองเพ่ือเป็นศิลปินผู้อนุรักษ์ อันเป็นศิลปวัฒนธรรมของชาติ ต่อไป ประโยชน์ของการวิจัย 1. นกั เรียนมวี นิ ัยในการเรียน เห็นความสาคัญของการแสดงออก การฝึกฝนและการพัฒนาตนเองเพือ่ ความกลา้ แสดงออกอยา่ งม่นั ใจ 2. ก่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางการเรียนการสอนศลิ ปศึกษา 3. สามารถแสดงออกได้อยา่ งเหมาะสม ตามเวลา โอกาส และสถานท่ี 4. ได้รับความสามัคคีในกลมุ่ ของการทางานรว่ มกนั

ภาคผนวก

แบบสอบถามเพื่อการวจิ ยั เร่ือง การแกป้ ัญหานักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มพี ฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมใน ชัน้ เรยี น รายวชิ าศลิ ปศกึ ษา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม คาชแี้ จง : แบบสอบถามนี้จัดทาข้นึ เพ่อื เก็บรวบรวมข้อมูลในการทาวิจยั ในชัน้ เรยี น เร่อื งการแก้ปัญหานักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่มีพฤตกิ รรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในช้ันเรยี น รายวชิ าศลิ ปศึกษา โดยใช้กระบวนการกลุ่มโดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ศึกษาพฤติกรรมขาดการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมในช้นั เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม โดยแบ่งขอ้ คาถามออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1ข้อมูลทัว่ ไป ตอนที่ 2 การศึกษาพฤตกิ รรมขาดความกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชนั้ เรยี นโดยใช้กระบวนการกลุม่ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยขอความร่วมมือท่านตอบแบบสอบถามให้ครบทุกข้อตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ต่อโรงเรียน และขอ้ มลู ดงั กล่าวไมม่ ผี ลกระทบใด ๆ ตอ่ นักเรียน ผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณในความรว่ มมอื มา ณ โอกาสนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. เพศ ชาย  หญิง ตอนท่ี 2 การศกึ ษาพฤติกรรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชน้ั เรียน โดยใช้ กระบวนการกลุ่ม โปรดตอบทกุ ๆ ข้อ ลงในกระดาษคาตอบและในกรณที ี่สถานการณ์นั้นไม่ได้ได้เกดิ ขึ้นกับท่าน ให้ทา่ น สมมติว่าถา้ สถานการณ์นนั้ เกิดขน้ึ กบั ท่าน ทา่ นจะมคี วามรู้สึกหรือปฏิบัติอย่างไร พฤติกรรมขาดความกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมในชัน้ เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (ดา้ นการพดู ) หวั ข้อ ระดับพฤติกรรม 54321 1. คุณพร้อมทจี่ ะชมเชยหรือยกยอ่ งสรรเสริญเพื่อน 2. คณุ พร้อมท่ีจะขอร้องใหเ้ พอื่ นช่วยทาอะไรใหค้ ุณ 3. ถ้าเพื่อนของคณุ แตง่ กายด้วยชุดใหม่ ซึ่งคณุ เห็นว่าสวย คณุ จะบอกเขา ให้ทราบว่าเขาแตง่ กายสวย 4. ถ้าเพ่อื นขอร้องให้คุณทาในส่งิ ท่ีคุณคิดวา่ เป็นการขอร้องทีไ่ ม่มเี หตผุ ล สมควร คุณกล้าทจ่ี ะบอกปฏิเสธ 5. ถ้าเพื่อนทาอะไรเพื่อคุณ คณุ จะบอกให้เขาทราบวา่ คณุ ซาบซึง้ เพียงใด 6. เม่อื มใี ครแสดงความไมย่ ตุ ิธรรมตอ่ คุณ คุณกล้าท่จี ะพูดบางสงิ่ ที่เกี่ยวกับเรอ่ื งนนั้ กบั เขา 7. คณุ กลา้ ที่จะถามปัญหาในชน้ั เรยี น 8. คุณสามารถสือ่ สารกบั เพ่ือนของคณุ ได้อยา่ งเปดิ เผยตรงไปตรงมา

9. เมอ่ื อาจารย์ให้คณุ ออกมาพดู หนา้ ชั้นเรยี น คณุ กลา้ ที่จะพูดเสยี งได้อย่าง ปกติ ไม่ เบาหรือพดู เรว็ เกนิ ไป 10. คุณสามารถพูดเรื่องเกีย่ วกบั ตัวคุณเองให้เพอ่ื นฟงั ไดอ้ ยา่ งไม่ขวยเขิน พฤติกรรมขาดความกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชัน้ เรยี น โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม (ด้านการกระทา) หวั ข้อ ระดับพฤติกรรม 54321 1. ขณะที่คณุ กาลงั เรยี นและเพ่ือร่วมห้องของคุณส่งเสียงดังมากเกินไป คณุ จะขอร้องใหเ้ ขาหยดุ ทาเสยี งดัง 2. คุณเข้าร่วมสงั คมกบั เพอ่ื น โดยไม่กลวั วา่ จะทาหรือพดู ในส่ิงที่ผดิ ๆ 3. เม่ือคุณทางานรว่ มกบั เพ่ือน คณุ จะรู้สึกมีความเชื่อมนั่ ในการคดิ หรือการ กระทาของตนเอง 4. เมอ่ื มกี ารทางานรว่ มกับเพื่อน คุณจะมีความกระตอื รือร้น โดยไม่ตอ้ งให้ เพ่ือนคอยเตือน 5. คณุ รูส้ กึ ภูมใิ จทเ่ี พ่ือนร่วมหอ้ งยอมรับความสามารถและข้อจากดั ของคุณ 6. คณุ สามารถแสดงความรู้สึกยอมรบั และนับถือ เม่ือเพอื่ นของคณุ ทางาน ประสบความสาเร็จไดอ้ ยา่ งไม่ขวยเขิน 7. เมือ่ มีใครพดู อะไรกบั คุณ คุณกล้าสบตาผู้สนทนา 8. การกล้าทักทายผู้อนื่ ก่อน เปน็ เรอื่ งท่ีคณุ ทาได้อยา่ งลาบากใจ 9. คณุ กล้าทจี่ ะเป็นผู้นากลุม่ ในการอภิปราย 10. การได้ทางานกับเพื่อน ทาใหป้ ฏิสัมพนั ธด์ า้ นความร้สู ึก ความคิดและการ กระทา กบั เพ่ือนมีการพฒั นาขึน้ พฤตกิ รรมขาดความกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในชน้ั เรียน โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม (ด้านการแสดงความคดิ เหน็ ) หวั ข้อ ระดบั พฤตกิ รรม 54321 1. คณุ ชอบแสดงความคดิ เห็น 2. เมอื่ มกี ารอภปิ รายในชัน้ เรียน คุณจะแสดงความคดิ เห็นของคณุ อย่าง อิสระ 3. คุณกล้าแสดงความร้สู กึ ไม่สบายใจ หรอื ไมเ่ ห็นดว้ ยกับ บุคคลอื่น 4. คุณมีความมั่นคงในข้อคิดเห็นของคุณ แมเ้ พื่อนในกลุ่มจะไม่เห็นด้วย 5. การทางานเปน็ กลุ่มทาให้คุณรู้สึกมีความคิดสรา้ งสรรค์ 6.เมื่อร่วมกันอภปิ รายกลุ่มในชัน้ เรียน คุณกลา้ วิพากษว์ ิจารณค์ วามคิดเห็น ของคนอนื่

7. ขณะที่คุณกาลงั เข้าอภปิ รายกลมุ่ อาจารย์ได้พดู สิง่ ทค่ี ุณคิดว่าไมเ่ ป็นความ จรงิ คุณจะทว้ งต่ออาจารย์ 8. การไดร้ ว่ มทางานหรอื แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นกับเพื่อนทาให้คณุ มคี วาม เข้าใจในเน้ือหาทเ่ี รยี น ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2544). หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : กระทรวงฯ. . (2545). แนวทางการจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมฯ. . (2545). หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ : กรมฯ. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : กระทรวงฯ. คมเพชร ฉัตรศภุ กลิ . (2530). กิจกรรมกล่มุ ในโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร. จรูญศรี วีระวานิช. การสอนและการจัดการแสดง. พมิ พ์คร้ังท่ี 4. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ ุสภา, 2526. จาเนียร ศลิ ปะวานิช. (2538). หลักและวธิ ีสอน. กรุงเทพฯ : เจรญิ รงุ่ เรอื งการพมิ พ์. ชะลดู นม่ิ เสมอ. องค์ประกอบศิลป.์ กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานิช, 2542. ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน.์ การวิจยั ทางศลิ ปะ. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั , 2543.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook