Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สารละลาย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สารละลาย

Published by นิตยา ขันคำ, 2021-01-07 09:25:57

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สารละลาย

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5.2 รหสั วชิ า ว31222 วชิ าเคมี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 สารละลาย เร่ืองการเตรียมสารละลาย ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 (เน้นวิทยาศาสตร์) ภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวนเวลา 50 นาที ครผู ้สู อน นางสาวนติ ยา ขนั คำ สอนวันท่ี ............................................ 1. สาระวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ สาระเคมี 3. เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคำนวณ ปรมิ าณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธบิ ายปรากฏการณ์ ในชีวิตประจำวนั และการแก้ปัญหาทางเคมี 2. ผลการเรยี นรู้ ม 4/10 อธิบายวธิ ีการ และเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นในหนว่ ยโมลาริตี และปริมาตรสารละลาย ตามท่ีกำหนด 3. สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม การเตรยี มสารละลายให้มีความเขม้ ขน้ และปริมาตรของสารละลายตามท่ีกำหนด ทำไดโ้ ดยการละลาย ตวั ละลายทีเ่ ปน็ สารบรสิ ทุ ธ์ิในตวั ทำละลายหรือนำสารละลายท่มี คี วามเขม้ ข้นมาเจือจางด้วยตวั ทำละลาย โดย ปริมาณของสารที่ใช้ข้นึ อยู่กบั ความเข้มขน้ และปริมาตรของสารละลายทีต่ อ้ งการ 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.นักเรียนสามารถคำนวณความเขม้ ขน้ ในหน่วยโมลาริตีและปริมาตรของสารละลายได้ (K) 2.นกั เรียนสามารถตอบคำถามเรือ่ งการเตรยี มสารละลาย จากสารบริสทุ ธิ์และจากการเจือจางได้ (K) 3.นักเรียนมีทักษะการทำการทดลองเรื่องการเตรียมสารละลาย จากสารบริสุทธิ์และจากการเจือจาง ให้มคี วามเขม้ ขน้ ในหน่วยโมลารติ ีและปรมิ าตรตามท่ีต้องการได้ (P) 4.นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นตั้งใจ สามารถนำความรู้เร่ืองการเตรียมสารละลาย จากสารบริสทุ ธิ์ และจากการเจือจางไปใชป้ ระโยชน์ และเป็นผู้มีจติ วทิ ยาศาสตร์ (A)

5. สาระสำคัญหรือความคดิ รวบยอด ในการเตรยี มสารละลายต่าง ๆ ที่มีความเขม้ ข้นตามทตี่ อ้ งการสามารถทำได้ 2 วิธี ดังน้ี 1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ ทำได้โดยละลายสารบริสุทธิ์ตามปริมาณที่ต้องการในตัวทำ ละลายปริมาณเล็กน้อย แล้วปรับปริมาตรของสารละลายให้ได้ตามที่ต้องการเตรียม ให้มีความเข้มข้นในหน่วย โมลาริตี 2. การเตรียมสารละลายจากสารละลายเข้มข้น เป็นการเตรียมสารละลายโดยใช้สารละลายเดิมซึ่งมี ความเข้มข้นมากกว่าสารละลายทจ่ี ะเตรยี ม มาเตมิ น้ำใหเ้ จือจางลงจนมีความเข้มข้นตามที่ตอ้ งการในการทำให้ สารละลายเข้มข้นเจือจางลงนั้น ความเข้มข้นของสารละลายจะถูกต้องเพียงใด ขึ้นอยู่กับการวัดปริมาตร อุปกรณ์ท่ีนยิ มใช้วดั ปริมาตรของสารละลายเดิม คอื ปเิ ปตต์ หรือกระบอกตวง สว่ นอปุ กรณท์ ่ีใชว้ ัดปรมิ าตรของ สารละลายใหม่ คือ ขวดวัดปรมิ าตร อปุ กรณ์วัดปริมาตรจะใช้ขนาดใดนั้นข้นึ อยู่กับปริมาตรของสารละลาย คือ จะตอ้ งเลอื กใชป้ เิ ปตต์หรือกระบอกตวง และขวดวดั ปริมาตรทมี่ ีปรมิ าตรเท่ากับปริมาตรของสารละลาย โดยใชส้ ตู ร M1 V1 = M2 V2 โมลาริตี (Molarity, M) คือ น้ำหนกั โมเลกุล (mole) ของตัวละลายทีล่ ะลายอยู่ในสารละลาย 1 ลติ ร จากความสัมพันธ์ โมลารติ ี (M) = จำนวนโมลของตวั ละลาย (mol) ปริมาตรของสารละลาย (ลติ ร) หมายถึง จำนวนกรัมโมเลกุลหรือจำนวนมวลของตัวถูกละลายที่มีในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร หรือ 1 ลิตร เช่น สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตมีความเข้มข้น 0.5 โมลต่อลิตร หรือ 0.5 M หมายความว่ามี โพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนต 0.5 โมลในสารละลาย 1 ลิตร 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร - การอธบิ ายถ่ายทอดความรู้ และความเขา้ ใจ - การแลกเปล่ียนความรู้ - มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ 6.2 ความสามารถในการคิด - การคดิ วเิ คราะห์ - การคดิ สังเคราะห์ - การคดิ อย่างสร้างสรรค์ - การคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา - ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของ หลักเหตุผล

6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต - การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง - การเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่อง - กระบวนการคิดคำนวณ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ความสามารถในการสืบคน้ ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 6.6 ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 - การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั สอื่ - การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและการแก้ปัญหา - ความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ 7. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ม่งุ พฒั นา ผเู้ รียน ให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็น พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจรติ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้หรอื กิจกรรมการเรยี นรู้ (แบบสืบเสาะหาความรู้, 5E) 1. ขนั้ กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 5 นาที 1.1 คุณครูตั้งคำถามกับนักเรียนว่าทำไมจึงจำเป็นต้องเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น ตามที่ตอ้ งการในการปฏิบตั ิการทางเคมี 1.2 เมอ่ื นกั เรียนตอบคำถามแล้วให้คุณครเู ป็นผู้รวบยอดความคิดของนักเรยี นอีกครงั้ หนึ่ง เพื่อโยงไปสู่คำถาม ต่อไปคือ นักเรียนคิดว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น ตามทต่ี อ้ งการได้ (แนวการตอบ เชน่ อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการเตรยี มสารละลาย วิธกี ารคำนวณ)

1.3 จากน้นั คุณครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ตอ่ ไป เพื่อทบทวนความรู้เรือ่ งความเขม้ ข้นของสารละลาย แล้วอธิบายให้ความร้เู กย่ี วกับอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเตรยี มสารละลาย และวธิ ีการเตรยี มสารละลาย 2. ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploretion) 25 นาที 2.1 คุณครูให้ความรู้เรื่องการคำนวณความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตีและปริมาตรของ สารละลาย โดยใช้ Powerpoint ชว่ ยในการสอน 2.2 เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้แล้ว จากนั้นนักเรียนทุกคนจะได้ช่วยกันทำการทดลองที่ 1 เรื่อง การเตรยี มสารละลาย และตอบคำถาม จากนนั้ นักเรียนจะไดน้ ำความรทู้ ี่ได้ไปใช้ประกอบในการทำแบบฝึกหัด ตอ่ ไป 3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explaination) 10 นาที 3.1 เมื่อนกั เรียนทำการทดลองสำเรจ็ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานำเสนอผลหน้า ชัน้ เรียน 3.2 ใหน้ กั เรียนร่วมกันวิเคราะห์ และตอบคำถามทา้ ยการทดลองเพ่ือสรปุ โดยใช้แนวคำถาม 1) ในการเตรยี มสารละลาย เหตุใดจึงไมเ่ ตมิ น้ำกลั่นใหข้ ดี บอกปริมาตรในครัง้ เดียว 2) ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่าเดิม แต่มีปริมาตร 100 cm3 จะตอ้ งใช้ NaCl กี่กรมั 3) NaCl ที่ใช้ในการทดลองนี้สามารถใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น 0.5 mol/dm3 ได้ปรมิ าตร เท่าใด 4) สารละลายที่เตรียมได้จากการเจือจางมีความเข้มข้นเท่าใด ในหน่วยโมลต่อ ลูกบาศก์เดซเิ มตร 3.3 คุณครูนำอภปิ รายโดยใชผ้ ลการทดลอง คำถามทา้ ยการทดลอง และสรปุ ผลการทดลองทไี่ ด้ 4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 5 นาที 4.1 ให้นักเรียนศึกษาการหาความเข้มข้นหรือปริมาตรของสารละลายที่ได้จากการทำ สารละลายเขม้ ขน้ ให้เจือจางลง โดยวธิ คี ำนวณจากสูตร M1 V1 = M2 V2 4.2 ให้นักเรียนแตล่ ะกลุม่ สบื คน้ ข้อมูลเพ่ือหาตัวอย่างสารท่สี ามารถใช้เตรยี มสารละลาย มาตรฐานปฐมภมู ิ แลว้ นำเสนอผลของการสืบค้น (แนวการตอบ 2-furoic acid, benzoic acid, sodium carbonate, potassium hydrogenphthalate, sodium oxalate, potassium dicromate) 4.3 หากนักเรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจหรือมีข้อสงสัย ใหค้ ุณครูอธิบายเพิม่ เติม 5. ขน้ั ประเมิน (Evaluation) 5 นาที 5.1 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย ในรูปแบบของ แบบฝกึ หัด

9. สอ่ื การเรียนร้แู ละแหลง่ การเรยี นรู้ แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน สื่อการเรียนรู้ 2. อินเตอรเ์ นต็ 1. Powerpoint ประกอบการสอน เรอ่ื งการเตรยี มสารละลาย 3. หนงั สอื เรียนวชิ าเคมี 1 ของ สสวท. 2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เลม่ ท่ี 2 ตอนท่ี 1 เรอ่ื งสารละลาย 3. แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น เร่ืองการเตรยี มสารละลาย 10. การวัดและการประเมินผล เครอ่ื งมอื ท่ีใชว้ ัดและประเมนิ ผล เกณฑ์การวดั และประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวดั และประเมินผล 1.แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน รอ้ ยละ 70% การเรยี นรู้ ชนดิ อตั นัย 1.ด้านความรู้(K) 1.ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 2.แบบบนั ทึกกจิ กรรมปฏบิ ตั ิการ ผ่านเกณฑ์ ทดลอง เร่อื งการเตรยี มสารละลาย ร้อยละ 70% 2.ดา้ นทกั ษะ/ 2.การทำปฏิบตั ิการทดลอง ผา่ นเกณฑ์ การบวนการ(P) เร่อื งการเตรียมสารละลาย 3.แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ ไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภัย 3 ผา่ นเกณฑ์ มกี ารวางแผนการทดลอง และตอบคำถามได้ถกู ต้อง 3.ดา้ น 3.สังเกตพฤติกรรมการทำงาน คุณลกั ษณะอัน เป็นกลุ่ม และสังเกตความ พงึ ประสงค์(A) มุง่ ม่ันตั้งใจในการเรยี นร้มู ีการ ช่วยเหลือและเกื้อกูลกนั ภายใน กลุ่ม ทำงาน รว่ มกบั ผู้อื่นได้ อย่างถูกต้อง ตามท่ีกำหนดและ มีความรบั ผิดชอบ

11. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากการเรยี นรู้ .................................................................................................................... .......................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค์ .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ..................................................................ผู้เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ (.................................................................) ......................./................/.................... ลงชอ่ื ..................................................................ผตู้ รวจ (.................................................................) ......................./................/.................... ลงชื่อ..................................................................ผู้อนมุ ตั ิ (.................................................................) ......................./................/....................

การบนั ทึกสรปุ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1.ภารงาน /ช้ินงาน ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... 2.การปรบั เปลย่ี นแผนการเรยี นรู้ (ถา้ มี) ............................................................................................................................................................ .................. .............................................................................................................................................................................. 3.บรรยากาศระหว่างการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.สรุปผลการเรยี นรู้จากการวัดและประเมนิ แต่ละคน ......................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 5.ปญั หาข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรบั ปรุงแผนการเรยี นรู้และผู้เรียน ................................................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. 6.พฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่ค้นพบและการพัฒนาพฤติกรรมการสอน .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ คำชแี้ จง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งว่าง ทีก่ ำหนด กล่มุ ท่ี.............. สมาชิกของกล่มุ 1....................................................... 2........................................................ 3....................................................... 4........................................................ พฤตกิ รรม คุณภาพการปฏิบัติ 43 21 1 มกี ารแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในกล่มุ 2 สามารถทำการทดลองท่ี 1 การเตรยี มสารละลายได้อย่างถูกต้อง 3 มีแบบแผนและทำกิจกรรมแสดงละครท่ีถา่ ยทอดความรู้ทไี่ ดร้ บั อยา่ งเป็นระบบ 4 มีความรับผดิ ชอบงานท่ีได้รับมอบหมาย 5 มกี ารช่วยเหลือเก้ือกลู กนั ในกลมุ่ 6 มคี วามม่งุ มัน่ ต้งั ใจ และกระตือรือรน้ ในการทำงาน รวม ลงช่ือ.....................................................ผปู้ ระเมนิ ................/................./................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน = 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง = 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั = 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน เร่อื ง การเตรียมสารละลาย คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง 1. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จากสารละลาย (II) ไน เตรตเข้มข้น 0.2 mol/dm3 ก. จะตอ้ งใช้สารละลาย (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเท่าใด ข. สารละลายท่เี จอื จางแล้วมเี ลด (II) ไนเตรตละลายอย่กู ่ีกรมั ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… …………………………………………………………........………………………………………………………………………………………… 2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต 0.1 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จะต้องใช้แมกนีเซียม ซัลเฟต (MgSO4 . 7H2O) ก่ีกรัม ……………………………………………………………………………………………………............................................................. ……………………………………………………………………………………………………............................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………........................…… ……………………………………………………………………………………………….............................................................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธบิ าย ก. วธิ เี ตรยี มสารละลายซลิ เวอรไ์ นเตรต 0.1 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 จากผลกึ ซิลเวอร์ไนเตรต ข. วิธีเตรียมสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต 0.025 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จากสารละลายทเ่ี ตรยี มได้ในข้อ ก. ………………………………………………………………………………………………………………………………........................…… ……………………………………………………………………………………………….............................................................…… ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 2 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 จะต้องใช้โพแทสเซียม ไอโอไดดก์ ่กี รัม ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....……………………………………………………………………………………………

5. เลด (II) ไนเตรต 3.31 g ใชเ้ ตรียมสารละลายเข้มข้น 0.25 mol/dm3 ได้ก่ลี กู บาศกเ์ ดซเิ มตร ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 6. ถา้ มีแบเรียมคลอไรด์ 2.08 g ตอ้ งการเตรียมสารละลายเขม้ ข้น 0.05 mol/dm3 จำนวน 400 cm3 ก. จะทำได้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ข. จะเตรยี มสารละลายเข้มข้น 0.05 mol/dm3 ไดป้ รมิ าตรมากทส่ี ุดเทา่ ใด ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... ....……………………………………………………………………………………………………......................................................... ....…………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ………........................................................ .....…………………………………………………………………………………………. 7. ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยโมลตอ่ ลกู บาศก์เดซเิ มตรของสารละลายผสมตอ่ ไปนม้ี ีคา่ เทา่ ใด (เม่อื ถอื ว่าปรมิ าตรของสารละลายผสมมคี ่าเทา่ กับผลรวมของปริมาตรของสารละลายเร่ิมตน้ ) ก. สารละลาย ZnSO4 0.60 mol/dm3 จำนวน 70.0 cm3 กบั นำ้ 500 cm3 ข. สารละลาย HCl 1.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 กับสารละลาย HCl 2.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………........................…… ……………………………………………………………………………………………….............................................................…… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 8. จงคำนวณหาปริมาตรของสารละลายเริ่มต้น ทตี่ ้องนำมาใช้ในการเตรียมสารละลายต่อไปนี้ ก. เตรียมสารละลาย HCl 6.0 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จากสารละลาย HCl 12 mol/dm3 ข. เตรยี มสารละลาย HNO3 1.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จากสารละลาย HNO3 16 mol/dm3 ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ………........……………………………………………………………………………………………………........................………………… ………………………………………………………………………………….............................................................………………… …………….........................................................………………………………………………………………………………………….

(เฉลย) แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี น เรอื่ ง การเตรยี มสารละลาย คำช้แี จง จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถูกต้อง 1. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จากสารละลาย (II) ไน เตรตเขม้ ข้น 0.2 mol/dm3 ก. จะตอ้ งใชส้ ารละลาย (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเทา่ ใด ข. สารละลายทีเ่ จือจางแลว้ มีเลด (II) ไนเตรตละลายอยู่กี่กรมั ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… …………………………………………………………........………………………………………………………………………………………… 2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต 0.1 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จะต้องใช้แมกนีเซียม ซลั เฟต (MgSO4 . 7H2O) กก่ี รมั ……………………………………………………………………………………………………............................................................. ……………………………………………………………………………………………………............................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………........................ ……………………………………………………………………………………………………............................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธิบาย ก. วธิ ีเตรยี มสารละลายซิลเวอรไ์ นเตรต 0.1 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 จากผลึกซลิ เวอรไ์ นเตรต ข. วิธเี ตรยี มสารละลายซิลเวอรไ์ นเตรต 0.025 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จากสารละลายท่ีเตรียมได้ในขอ้ ก. ………………………………………………………………………………………………………………………………........................…… ……………………………………………………………………………………………….............................................................…… ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 2 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 จะต้องใช้โพแทสเซียม ไอโอไดดก์ ่กี รมั ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....……………………………………………………………………………………………

5. เลด (II) ไนเตรต 3.31 g ใช้เตรยี มสารละลายเขม้ ขน้ 0.25 mol/dm3 ได้ก่ลี ูกบาศก์เดซเิ มตร ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 6. ถา้ มแี บเรยี มคลอไรด์ 2.08 g ตอ้ งการเตรยี มสารละลายเข้มขน้ 0.05 mol/dm3 จำนวน 400 cm3 ก. จะทำไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด ข. จะเตรียมสารละลายเขม้ ข้น 0.05 mol/dm3 ไดป้ รมิ าตรมากทสี่ ุดเทา่ ใด ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ....……………………………………………………………………………………………………......................................................... ....…………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ……….............................................................…………… ……………………………………………………………………………. 7. ความเข้มขน้ ของสารละลายในหน่วยโมลตอ่ ลกู บาศกเ์ ดซเิ มตรของสารละลายผสมต่อไปนีม้ ีค่าเท่าใด (เมอ่ื ถือวา่ ปรมิ าตรของสารละลายผสมมีคา่ เท่ากับผลรวมของปริมาตรของสารละลายเร่มิ ตน้ ) ก. สารละลาย ZnSO4 0.60 mol/dm3 จำนวน 70.0 cm3 กบั นำ้ 500 cm3 ข. สารละลาย HCl 1.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 กบั สารละลาย HCl 2.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………........................…… ……………………………………………………………………………………………….............................................................…… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 8. จงคำนวณหาปรมิ าตรของสารละลายเร่มิ ตน้ ทต่ี อ้ งนำมาใช้ในการเตรียมสารละลายตอ่ ไปนี้ ก. เตรยี มสารละลาย HCl 6.0 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จากสารละลาย HCl 12 mol/dm3 ข. เตรยี มสารละลาย HNO3 1.0 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 จากสารละลาย HNO3 16 mol/dm3 ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………… ………........……………………………………………………………………………………………………........................………………… ………………………………………………………………………………….............................................................………………… …………….........................................................………………………………………………………………………………………….

ใบความรเู้ พิ่มเตมิ เรอ่ื ง การเตรียมสารละลาย การเตรียมสารละลาย ในการปฏิบัติการทางเคมีสารเคมีที่นำมาใช้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารละลายทีม่ ีความเข้มข้นแตกต่างกนั ดงั น้นั จึงต้องเตรยี มความเขม้ ข้นให้มีความเข้มขน้ ตามที่ต้องการ และในการเตรียมสารละลายนั้นจะต้องมีความ ละเอยี ดรอบคอบทุกข้ันตอน เนอ่ื งจากการวัดปริมาณของสารไม่ว่าจะเป็นมวล หรือปรมิ าตรผิดพลาดเพียงเล็กน้อย จะทำให้ความเข้มข้นของสารละลายที่ได้ไม่ถูกต้อง ดังนั้นเครื่องมือวัดที่ใช้ในการเตรียมสารละลายจึงต้องเป็น เครื่องมือวัดที่สามารถวัดค่าของปริมาณได้อย่างละเอียด เช่น เครื่องชั่งควรเป็นเครื่องชั่งที่สามารถอ่านค่าได้ ละเอยี ดถึง 0.0001 กรัม การวดั ปริมาตรต้องใช้ขวดวดั ปริมาตรและปิเปตต์ เป็นต้น การเตรียมสารละลายแบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ และการเตรียม สารละลายจากสารละลายเข้มขน้ มีรายละเอยี ดข้นั ตอนดังน้ี 1. การเตรียมสารละลายจากสารบรสิ ทุ ธิ์ มขี ั้นตอนดังนี้ 1.1 คำนวณหาปริมาณของตวั ถูกละลาย 1.2 ทำให้เป็นสารละลาย 1.3 เกบ็ สารละลายและอุปกรณ์ 2. การเตรยี มสารละลายจากสารละลายเข้มขน้ หรือการทำให้สารละลายเจือจาง เช่น ในหอ้ งปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์มีกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 6 โมลาร์ แต่ต้องการสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1.0 โมลาร์ จะตอ้ งทำให้สารละลายเจอื จางลงซ่ึงมขี ั้นตอนดังน้ี 2.1 คำนวณหาปริมาณของตวั ถกู ละลายในสารละลายที่ต้องการเตรียม 2.2 คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเดิมที่ต้องการนำมาเตรยี มสารละลายใหม่ 2.3 ทำสารละลายให้เจือจางลง 2.4 เก็บสารละลายและอุปกรณ์ การเตรียมสารละลายโดยวธิ ที ำให้เจอื จางนน้ั จะทำให้ความเขม้ ขน้ ของสารละลายลดลงโดยการเติม ตวั ทำละลายเท่านน้ั แตป่ ริมาณของตวั ถูกทำละลายยังคงที่ ดังน้นั การคำนวณหาความเข้มข้นหรือปริมาตรของ สารละลายทเี่ กี่ยวของสามารถใช้ความสัมพนั ธ์ ดงั น้ี จากความสมั พนั ธ์ โมลารติ ี (M) = จำนวนโมลของตัวละลาย (mol) ปรมิ าตรของสารละลาย (ลติ ร) จากสูตร M1 V1 = M2 V2 กำหนดให้ M1 = ความเขม้ ขน้ ของสารละลายก่อนทำให้เจือจาง (mol/dm3) M2 = ความเขม้ ขน้ ของสารละลายหลงั ทำให้เจือจาง (mol/dm3) V1 = ปรมิ าตรของสารละลายก่อนทำให้เจือจาง (mol/dm3) V2 = ปรมิ าตรของสารละลายหลังทำให้เจอื จาง (mol/dm3)

ความสมั พันธ์ระหว่างความเข้มขน้ กับปรมิ าตรน้ี สามารถนำไปใช้คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเดิม ทีต่ อ้ งนำมาใช้เตรียมสารละลายได้ การทำปฏิบัติการทางเคมีบางเรื่องจำเป็นต้องใช้สารละลายที่ทราบความเข้มข้นแน่นอน เรียกว่า สารละลายมาตรฐาน สามารถเตรียมได้ด้วยวิธีการเตรียมสารละลายข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว แต่มีสารบางชนิดที่อาจ ชั่งให้แม่นยำทำได้ยาก เนื่องจากสารเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือทำปฏิกิริยากับสารในอากาศ เมื่อนำมาเตรียม สารละลายจะได้สารละลายที่มีความเข้มข้นที่ไม่ถูกต้อง การเตรียมสารละลายของสารชนิดน้ี ทำได้โดยนำ สารละลายของสารชนิดนี้ที่ทราบปริมาตรแน่นอนทำปฏิกิริยากับสารละลายมาตรฐานชนิดหนึ่ง เรียกว่า สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ เมื่อทราบความเข้มข้นและปริมาตรของสารละลายมาตรฐานปฐมภูมิแล้ว สามารถคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายที่เตรียมขึ้นได้ กระบวนการเตรียมสารละลายดังกล่าวเรียกว่า การเทียบมาตรฐาน สารละลายที่ผ่านการเทียบมาตรฐานแลว้ เรียกว่า สารละลายมาตรฐานทตุ ิยภูมิ

การทดลองท่ี 1 การเตรียมสารละลาย คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นทำการทดลองตามวธิ กี ารทดลองต่อไปนี้ พรอ้ มทั้งบนั ทกึ ผลการทดลอง อภปิ รายผล สรปุ ผลให้สมบูรณ์ วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 เตรยี มสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.4 mol/dm3 จำนวน 250 cm3 1. คำนวณหามวลของโซเดยี มคลอไรด์ทตี่ ้องการใชแ้ ละชง่ั ด้วยเคร่อื งชง่ั อยา่ งละเอยี ด 2. ใส่ NaCl จากข้อ 1 ในบกี เกอร์และเติมน้ากล่นั ประมาณ 50 cm3 คนจน NaCl ละลายหมด เท สารละลายที่ได้ผา่ นกรวยลงในขวดวัดปรมิ าตรขนาด 250 cm3 3. ล้างบกี เกอร์จากข้อ 2 ดว้ ยน้ำกลน่ั เล็กนอ้ ยแลว้ เทลงในขวดวัดปรมิ าตร และทำซำ้ อีก 2-3 ครง้ั 4. เติมนำ้ กลน่ั ลงในขวดวดั ปริมาตรอยา่ งชา้ ๆ ปิดจกุ และเขยา่ ขวด แล้วเตมิ น้ำกล่นั จนสารละลายถึง ขดี วัดปริมาตร ปดิ จุกแลว้ คว่ำขวดเขยา่ เบาๆ จนสารผสมเป็นเนอื้ เดยี วกนั ตอนท่ี 2 เตรยี มสารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ จือจางจากสารละลายโซเดยี มคลอไรด์เขม้ ข้น 1. ใช้ปิเปตต์ขนาด 10 cm3 ดูดสารละลาย NaCl จากตอนท่ี 1 และถ่ายลงในขวดวดั ปริมาตรขนาด 100 cm3 2. เตมิ น้ำกลนั่ ลงในขวดวัดปริมาตร ปดิ จุกและเขยา่ ขวด แล้วเตมิ นา้ กล่นั จนถึงขีดบอกปริมาตรปดิ จกุ แลว้ คว่ำเขยา่ เบา ๆ จนสารผสมเป็นเนอ้ื เดยี วกัน

รายงานผลการทดลองที่ 1 ช่อื เรือ่ ง................................................................................................................................................................. จุดประสงค์ ………………………………………....................................………………………………………………………………… ปญั หา ………………………………………............................................………………………………………………………………… สมมติฐาน ………………………......................................………………………………………………………………………………… วิธีการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………........................……… …………………………………………………………………………………………….............................................................……… ………………………............................................................................................................………………………………… …………………………………………………………………….....................................………………………………........................ ……………………………………………………………………………………………………............................................................. …………………………………….........................................................................…………………………………………………… ………………………………………………………………….................................................................................................... ................................................................................……………………………............................................................. …………………………………….........................................................................…………………………………………………… ผลการทดลอง …………………………………………………………………….....................................………………………………........................ ……………………………………………………………………………………………………............................................................. …………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………….............................................................…………………………………………………………… …………………………...........……………………………………………………………………………………………………..................... อภปิ รายผล ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................. ...................……........................ สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ............................................................................................................………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………........................……………………………… …………………………………………………………………….............................................................……………………………… ............................................................................................................…………………………………………………………

คำถาม 1. ในการเตรยี มสารละลาย เหตุใดจงึ ไม่เติมนำ้ กล่นั ใหข้ ีดบอกปริมาตรในครง้ั เดียว ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 2. ถา้ ตอ้ งการเตรยี มสารละลายท่มี คี วามเข้มข้นเทา่ เดิม แต่มีปริมาตร 100 cm3 จะตอ้ งใช้ NaCl กี่กรมั ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 3. NaCl ทใี่ ช้ในการทดลองนี้สามารถใชเ้ ตรยี มสารละลายท่ีมีความเข้มขน้ 0.5 mol/dm3 ได้ปริมาตร เทา่ ใด ……….............................................................…………………………………………………………………………………………. 4. สารละลายที่เตรยี มไดจ้ ากการเจอื จางมคี วามเขม้ ขน้ เทา่ ใด ในหน่วยโมลตอ่ ลกู บาศก์เดซเิ มตร ……….............................................................………………………………………………………………………………………….


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook