Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูเพ็ญประภา

ครูเพ็ญประภา

Published by arm_singjeen47, 2020-07-14 03:44:52

Description: ครูเพ็ญประภา

Search

Read the Text Version

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลกั ประชาธปิ ไตยทัว่ ไปในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาตั้งแตเ่ ริ่มแรก ก่อนทพ่ี ระพุทธเจ้าจะทรงมอบให้พระสงฆเ์ ป็น ใหญ่ในกจิ การท้ังปวงเสียอีกลักษณะท่เี ป็นประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนามีตัวอย่างดงั ตอ่ ไปนี้ 1. พระพทุ ธศาสนามพี ระธรรมวินยั เป็นธรรมนูญหรอื กฎหมายสงู สดุ พระธรรม คือ คำสอนทีพ่ ระพทุ ธเจ้า ทรงแสดง พระวนิ ยั คือ คำสงั่ อนั เปน็ ขอ้ ปฏิบัติทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงบญั ญตั ิขึ้นเมอื่ รวมกัน เรยี กว่า พระธรรม วินัย ซงึ่ มคี วามสำคญั ขนาดท่ีพระพุทธเจ้าทรงมอบให้เป็นพระศาสดาแทนพระองค์ กอ่ นที่พระองคจ์ ะ ปรนิ ิพพานเพียงเล็กน้อย 2. มกี ารกำหนดลักษณะของศาสนาไวเ้ รียบร้อย ไมป่ ล่อยใหเ้ ปน็ ไปตามยถากรรม ลักษณะของพระพุทธ ศาสนาคือสายกลาง ไม่ซา้ ยสดุ ไม่ขวาสดุ ทางสายกลางนเ้ี ป็นครรลอง อาจปฏบิ ัติคอ่ นขา้ งเคร่งครดั กไ็ ด้ โดยใชส้ ทิ ธิในการแสวงหาอดเิ รกลาภตามท่ีทรงอนุญาตไว้ ในสมยั ตอ่ มา เรยี กแนวกลางๆ ของพระพทุ ธ ศาสนาวา่ วิภัชชวาที คอื ศาสนาที่กล่าวจำแนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอยา่ งกลา่ วยืนยนั โดยส่วน เดยี วได้ บางอย่างกลา่ วจำแนกแจกแจงเปน็ กรณี ๆ ไป

3. พระพทุ ธศาสนา มีความเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวนิ ัย บคุ คลที่เปน็ วรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรมาแต่เดมิ รวมท้งั คนวรรณะต่ำกว่านั้น เชน่ พวกจณั ฑาล พวกปุกกสุ ะคนเกบ็ ขยะ และพวกทาส เมอ่ื เข้ามาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้องแล้ว มีความเท่าเทยี มกัน คอื ปฏบิ ตั ิตามสกิ ขาบทเทา่ กนั และเคารพกันตามลำดับอาวโุ ส คือผอู้ ปุ สมบทภายหลงั เคารพผอู้ ุปสมบทกอ่ น 4. พระภกิ ษใุ นพระพุทธศาสนา มสี ิทธิ เสรีภาพภายใต้พระธรรมวินัย เชน่ ในฐานะภกิ ษุเจ้าถิ่น จะมสี ิทธไิ ด้ รับของแจกก่อนภิกษุอาคนั ตุกะ ภิกษุท่ีจำพรรษาอย่ดู ้วยกนั มีสิทธิไดร้ บั ของแจกตามลำดับพรรษา มีสทิ ธิ รับกฐิน และได้รบั อานสิ งส์กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเทา่ เทียมกัน นอกจากน้ันยงั มี เสรีภาพที่จะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยู่จำพรรษาวัดใดก็ได้เลอื กปฏิบตั กิ รรมฐานขอ้ ใด ถือธดุ งคว์ ตั ร ข้อใดก็ไดท้ งั้ สน้ิ 5. มีการแบ่งอำนาจ พระเถระผใู้ หญท่ ำหนา้ ทีบ่ ริหารปกครองหมูค่ ณะ การบญั ญัติพระวินยั พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัตเิ อง เช่นมภี กิ ษุผู้ทำผิดมาสอบสวนแล้วจึงทรงบัญญตั ิพระวนิ ยั สว่ นการตดั สนิ คดตี ามพระวินยั ทรงบญั ญัติแล้วเป็นหน้าทข่ี องพระวนิ ยั ธรรมซงึ่ เท่ากบั ศาล 6. พระพทุ ธศาสนามีหลักเสยี งข้างมาก คือ ใชเ้ สยี งขา้ งมาก เปน็ เกณฑต์ ดั สนิ เรยี กวา่ วิธีเยภุยยสกิ า การ ตดั สินโดยใชเ้ สยี งข้างมาก ฝ่ายใดไดร้ ับเสียงขา้ งมากสนบั สนุน ฝ่ายนนั้ เป็นฝ่ายชนะคดี หลกั ประชาธปิ ไตยในการทพ่ี ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเปน็ ใหญ่แก่สงฆ์ การมอบความเปน็ ใหญแ่ กส่ งฆ์มีลกั ษณะตรงกบั หลักประชาธปิ ไตยหลายประการ สว่ นมากเปน็ เรอื่ ง สังฆกรรม คอื การประชุมกนั ทำกิจสงฆอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ใหส้ ำเร็จ การทำสังฆกรรมประกอบดว้ ยสว่ น สำคัญ 5 ประการ ถ้าทำผิดพลาดประการใดประการหนึ่ง จะทำให้สงั ฆกรรมนนั้ เสยี ไป ใชไ้ ม่ได้ ไมม่ ีผล คือเป็นโมฆะ สว่ นสำคญั มีดังนคี้ ือ -จำนวนสงฆ์อย่างต่ำทเี่ ข้าประชุม การกำหนดจำนวนสงฆ์ผเู้ ข้าประชมุ อย่างต่ำว่าจะทำสงั ฆกรรมอย่างใด ไดบ้ า้ งมี 5 ประเภท คือ 1.1 ภิกษุ 4 รูปเข้าประชุม เรียกว่า สงฆจ์ ตรุ วรรค 1.2 ภิกษุ 5 รปู เข้าประชมุ เรยี กวา่ สงฆ์ปญั จวรรค  1.3 ภิกษุ 10 รูป เข้าประชุม เรียกวา่ สงฆ์ทสวรรค 1.4 ภิกษุ 20 รปู เข้าประชมุ เรียกว่า สงฆว์ สี ตวิ รรค 1.5 ภิกษุกวา่ 20 รูปเข้าประชมุ เรยี กวา่ อติเรกวสี ติวรรค -สถานท่ีประชมุ ของสงฆเ์ พื่อทำสงั ฆกรรม เรียกว่า สมี า แปลวา่ เขตแดน สีมา หมายถึงพื้นดิน ไม่ใช่ อาคาร อาคารจะสรา้ งเป็นรปู ทรงอยา่ งไรหรอื ไม่มอี าคารเลยกไ็ ด้ สมี ามี 2 ประเภทใหญๆ่ คือ พัทธสีมา

สมี าท่ผี ูกแล้ว และอพัทธสมี า สมี าท่ีไม่ต้องผกู พัทธสีมามหี ลายชนิด จะกลา่ วเฉพาะวสิ ุงคามสีมา แปลว่า สีมาในหมู่บา้ น ซง่ึ แยกออกต่างหากจากอาณาเขตของประเทศ การขอวสิ ุงคามสีมาตอ้ งขอจากประมุข ของรฐั   -สิทธขิ องภกิ ษุผู้เข้าประชุม ภกิ ษุผ้เู ข้ารว่ มประชุมทำสงั ฆกรรมทุกรูปมีสทิ ธแิ สดงความคดิ เห็นทงั้ ในทาง เหน็ ด้วยและในทางคัดค้าน ตามปกติเมอื่ ภิกษุผปู้ ระกาศ หรือพระคู่สวดถามความคดิ เห็นของทปี่ ระชมุ ถ้าเหน็ ด้วย ให้ใชว้ ธิ ีนง่ิ ถ้าไมเ่ ห็นดว้ ยให้คดั คา้ นขนึ้ จะต้องมกี ารทำความเขา้ ใจกนั จนกว่าจะยอมเหน็ ดว้ ย ถา้ ภิกษุผูค้ ดั คา้ น ยงั คงยนื กรานไม่เห็นดว้ ย การทำสังฆกรรมนั้นๆ เช่น การอปุ สมบท หรือการมอบผา้ กฐินย่อมไม่สมบรู ณ์ จงึ เห็นไดว้ ่า มตขิ องทีป่ ระชุมตอ้ งเปน็ เอกฉนั ท์คือเหน็ พรอ้ มกันทุกรูป -มติทีป่ ระชมุ การทำสงั ฆกรรมทัง้ หมด มตขิ องท่ีประชมุ ต้องเป็นเอกฉนั ท์ คือเป็นท่ยี อมรบั ของภกิ ษุทุกรปู ทงั้ นเ้ี พราะในสังฆมณฑลนัน้ ภกิ ษุทง้ั หลายตอ้ งอยู่ร่วมกนั มีความไว้เน้อื เช่ือใจกัน กลา่ วคอื มศี ลี และมี ความเหน็ เหมอื น ๆ กัน จงึ จะมีความสามคั คี สืบต่อพระพทุ ธศาสนาได้อย่างถาวร แตใ่ นบางกรณี เมอื่ ภิกษุมคี วามเห็นแตกต่างกนั เปน็ สองฝา่ ยและมจี ำนวนมากด้วยกันต้องหาวธิ ีระงับโดยวธิ ีจับฉลาก หรอื การลงคะแนนเพื่อดวู า่ ฝา่ ยไหนไดเ้ สยี งขา้ งมาก ก็ตัดสนิ ไปตามเสยี งขา้ งมากนั้น วิธีน้เี รียกวา่ เยภุยยสกิ า การถอื เสยี งขา้ งมากเป็นประมาณ ตามหลักประชาธิปไตยทัว่ ไป ซึ่งแสดงวา่ มติทปี่ ระชมุ ไม่ได้ใช้มติ เอกฉนั ทเ์ สมอไป 


หลกั การพระพทุ ธศาสนากับหลักการวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการพทุ ธศาสตร์ ต้งั ปญั หาใหช้ ัด ทกุ ข์-ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ตงั้ คำถามชว่ั คราวเพอื่ ตอบทดสอบ หาคำตอบจากลทั ธิ รวบรวมข้อมูล ลองปฏบิ ตั ิโยคะ วเิ คราะห์ขอ้ มูล รวบรวมผลการปฏิบตั ิ ถ้าคำตอบช่ัวคราวถูกตง้ั มฤษฏีไว้ ผดิ กเ็ ปลย่ี น ถูกก็ดำเนนิ ถึงจุดหมาย นำไปประยกุ ตแ์ กป้ ญั หา เผยแผ่แก่ชาวโลก หลักการของพระพุทธศาสนากับหลกั การของวิทยาศาสตร์มที งั้ สว่ นที่สอดคล้อง และส่วนทแี่ ตกต่าง กนั ดังตอ่ ไปนี้ ความสอดคล้องกนั ของหลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลักการวทิ ยาศาสตร์ 1. ในด้านความเช่อื (Confidence) หลกั การวทิ ยาศาสตร์ ถือหลกั วา่ จะเชื่ออะไรนน้ั จะต้องมกี ารพิสจู น์ ใหเ้ ห็นจริงได้เสยี ก่อน วิทยาศาสตร์เช่ือในเหตผุ ล ไม่เช่อื อะไรลอย ๆ และตอ้ งมีหลักฐานมายืนยัน วิทยาศาสตรไ์ ม่อาศยั ศรทั ธาแตอ่ าศัยเหตุผล เช่อื การทดลองวา่ ใหค้ วามจริงแกเ่ ราได้ แต่ไม่เชอ่ื การดล บนั ดาลของสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ เพราะทกุ อยา่ งดำเนนิ อยา่ งมกี ฎเกณฑ์ มเี หตุผล และวิทยาศาสตรอ์ าศัยปญั ญา และเหตผุ ลเปน็ ตวั ตดั สนิ ความจริง วิทยาศาสตรม์ ีความเชื่อว่า สรรพสงิ่ ในจักรวาลล้วนดำเนินไปอยา่ งมี เหตผุ ล มคี วามเป็นระเบียบและมีกฎเกณฑ์ทแ่ี นน่ อน หลักการทางพระพุทธศาสนา มีหลกั ความเชื่อเช่นเดียวกบั หลกั วิทยาศาสตร์ ไม่ได้สอนใหม้ นษุ ยเ์ ชอื่ และ ศรทั ธาอยา่ งงมงายในอิทธปิ าฏิหารยิ ์ และอาเทศนาปาฏหิ าริย์ แตส่ อนให้ศรทั ธาในอนสุ าสนีปาฏหิ ารยิ ์ ที่ จะก่อให้เกดิ ปญั ญาในการแกท้ กุ ขแ์ ก้ปญั หาชีวติ ไม่สอนให้เชื่อให้ศรทั ธาในสิง่ ที่อย่นู อกเหนือประสาท สัมผัสเช่นเดยี วกบั วิทยาศาสตร์ สอนให้มนุษยน์ ำเอาหลกั ศรทั ธาโยงไปหาการพสิ จู นด์ ้วยประสบการณ์ ด้วยปัญญา และด้วยการปฏบิ ัติ ดังหลกั ของความเชื่อใน “กาลามสูตร” คืออย่าเช่ือ เพียงเพราะให้ฟงั ตาม กันมา อย่าเช่อื เพยี งเพราะไดเ้ รียนตามกนั มา

อยา่ เชือ่ เพยี งเพราะไดถ้ ือปฏบิ ตั ิสืบต่อกนั มา  อย่าเช่ือ เพียงเพราะเสียงเลา่ ลือ  อยา่ เชอื่ เพยี งเพราะอา้ งตำรา  อยา่ เช่อื เพยี งเพราะตรรกะ หรือนึกคดิ เอาเอง  อย่าเชอ่ื เพยี งเพราะอนมุ านหรอื คาดคะเนเอา  อย่าเช่อื เพยี งเพราะคดิ ตรองตามแนวเหตุผล  อย่าเชอื่ เพียงเพราะตรงกับทฤษฎขี องตนหรือความเห็นของตน  อยา่ เชือ่ เพยี งเพราะรูปลกั ษณะน่าเชอ่ื   อยา่ เช่ือ เพียงเพราะท่านเปน็ สมณะหรือเป็นครูอาจารยข์ องเรา  ในหลกั กาลามสูตรนี้ พระพทุ ธเจ้ายงั ตรสั ตอ่ ไปวา่ จะตอ้ งร้เู ข้าใจด้วยวา่ สิ่งเหลา่ นเ้ี ป็นกศุ ล หรอื อกุศล ถา้ รวู้ ่าเปน็ อกุศล มีโทษ ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ ทำใหเ้ กิดทุกข์ พึงละเสีย ถา้ ร้วู ่าเป็นกศุ ล มีคุณ เปน็ ประโยชน์ เปน็ ไปเพ่ือความสขุ ก็ให้ถือปฏบิ ตั ิ นั่นคอื ศรัทธาหรือความเชอ่ื ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ปญั ญา 2. ในด้านความรู้ (Wisdom) ทงั้ หลักการทางวทิ ยาศาสตร์และหลกั การ ของพระพุทธศาสนา ยอมรับความรทู้ ีไ่ ด้จากประสบการณ์ หมายถงึ การท่ี ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ไดป้ ระสบกบั ความร้สู ึกนกึ คิด เช่น รู้สึกดใี จ รู้สึก อยากได้ เป็นตน้ วทิ ยาศาสตรเ์ ร่ิมต้นจากประสบการณค์ อื จากการทไี่ ด้ พบเหน็ สงิ่ ตา่ ง ๆ แล้วเกิดความอยากรูอ้ ยากเห็นก็แสวงหาคำอธิบาย วทิ ยาศาสตร์ไมเ่ ชอ่ื หรอื ยดึ ถอื อะไรล่วงหน้าอย่างตายตวั แตจ่ ะอาศัยการ ทดสอบด้วยประสบการณส์ ืบสาวไปเรือ่ ย ๆ จะไมอ่ ้างอิงถงึ สงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธใิ์ ด ๆ ที่อยู่นอกเหนอื ประสบการณแ์ ละการทดลอง วิทยาศาสตร์ *หลกั การพระพทุ ธศาสนาและหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์มีสว่ นทต่ี ่างกันในเร่อื งน้ีคือ วิทยาศาสตร์เน้น ความสนใจกับปญั หาทีเ่ กิดข้นึ จากประสบการณ์ดา้ นประสาทสัมผสั ส่วนพระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสนใจ กับปญั หาทเี่ กดิ ทางจิตใจ หลักการทางพระพุทธศาสนามสี ่วนคลา้ ยคลงึ กับหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ใน หลายประการ


การคิดตามนยั แหง่ พระพุทธศาสนากับการคดิ แบบ วิทยาศาสตร์ การคดิ ตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนา การคดิ ตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา เปน็ การศกึ ษาถึงวิธีการแก้ ปัญหาตามแนวพระพทุ ธศาสนา ที่เรียกวา่ วิธีการแก้ปญั หาแบบอริยสจั มีดังน้ีคอื 1. ขนั้ กำหนดรู้ทุกข์ การกำหนดรทู้ ุกขห์ รอื การกำหนดปัญหาวา่ คอื อะไร มขี อบเขตของปัญหาแคไ่ หน หน้าทีท่ ่ีควรทำในขน้ั แรกคอื ใหเ้ ผชญิ หนา้ กบั ปญั หา แล้วกำหนดรู้สภาพและขอบเขตของปัญหานน้ั ใหไ้ ด้ ขอ้ สำคัญคือ อย่าหลบปญั หาหรอื คดิ ว่าปัญหาจะหมดไปเองโดยท่ีเราไม่ตอ้ งทำอะไร หน้าท่ีในข้ันนเ้ี หมอื น กบั การที่หมอตรวจอาการของคนไขเ้ พ่ือใหร้ วู้ ่าเปน็ โรคอะไร ทสี่ ่วนไหนของร่างกาย ลกุ ลามไปมากน้อย เพยี งใด ในธัมมจักกปั ปวตั ตนสตู ร มีตัวอยา่ งการกำหนดร้ทู กุ ขต์ ามแนวทางของพุทธพจน์ทวี่ า่ “เกิดเป็น ทกุ ข์ แกเ่ ปน็ ทกุ ข์ ตายเป็นทกุ ข…์ ปรารถนาสิง่ ใดไม่ไดส้ ง่ิ นั้นเป็นทุกข”์ 2. ขน้ั สืบสาวสมทุ ัย ไดแ้ ก่เหตุของทุกขห์ รอื สาเหตุของปัญหา แลว้ กำจดั ใหห้ มดไป ข้ันน้ีเหมือนกบั หมอ วินจิ ฉยั สมฏุ ฐานของโรคกอ่ นลงมือรักษา ตัวอยา่ งสาเหตขุ องปัญหาทพ่ี ระพทุ ธเจ้าแสดงไว้คือ ตณั หา ได้แก่ กามตณั หา ภวตัณหา และวิภวตัณหา 3. ขั้นนิโรธ ได้แก่ความดับทกุ ข์ หรอื สภาพท่ีไรป้ ญั หา ซงึ่ ทำให้สำเรจ็ เปน็ จริงข้นึ มา ในข้นั นต้ี อ้ งตง้ั สมมติฐานวา่ สภาพไรป้ ัญหาน้นั คอื อะไร เข้าถึงได้หรือไม่ โดยวธิ ีใด เหมอื กบั การทีห่ มอต้องคาดว่าโรคน้ี รกั ษาใหห้ ายขาดได้หรอื ไม่ ใชเ้ วลารกั ษานานเท่าไร ตวั อย่างเช่น นิพพาน คอื การดับทกุ ขท์ ั้งปวงเปน็ ส่งิ ท่ี เราสามารถบรรลถุ งึ ไดใ้ นชาตนิ ีด้ ว้ ยการเจริญสตพิ ัฒนาปัญญาเพอื่ ตดั อวิชชา และดับตัณหา 4. ข้นั เจรญิ มรรค ได้แก่ ทางดับทกุ ข์ หรือวธิ ีแกป้ ัญหา ซง่ึ เรามหี น้าท่ลี งมอื ทำ เหมอื นกบั ทีห่ มอลงมือ รกั ษาคนไข้ดว้ ยวธิ ีการและข้ันตอนท่ีเหมาะควรแกก่ ารรกั ษาโรคนัน้ ขัน้ นอ้ี าจแบง่ ออกเป็น 3 ขั้นย่อยคือ 4.1 มรรคขน้ั ท่ี 1 เป็นการแสวงหาและทดลองใชว้ ิธีการ ต่าง ๆ เพอื่ ค้นหาวธิ ีการทเ่ี หมาะสมท่ีสุด เช่น พระพุทธเจา้ ในชว่ งท่เี ป็นคฤหัสถ์เคยใช้ชวี ิตแบบบำรุงบำเรอตน หมกมุ่นในโลกียส์ ุข แต่กท็ รงรสู้ ึกเบอื่ หนา่ ย จงึ ออกผนวช แลว้ ไปบำเพญ็ โยคะบรรลุสมาธิขัน้ สงู สดุ จากสำนักขอ งอาฬารดาบสและอทุ กดาบส แม้ในข้นั น้ีพระองค์ยงั รสู้ กึ วา่ ไมบ่ รรลคุ วามพน้ ทกุ ขจ์ ึงทดลองฝึกการทรมานตนดว้ ยวิธี การตา่ ง ๆ เช่น การอดอาหาร เป็นตน้

4.2 มรรคขน้ั ที่ 2 เปน็ การวิเคราะห์ผลการสังเกตและทดลองท่ไี ด้ปฏิบัตมิ าแลว้ เลือกเฉพาะวิธีการท่ี เหมาะสมทส่ี ดุ ดังกรณที ่ีพระพทุ ธเจ้าทรงพจิ ารณาเหน็ ว่า กามสุขลั ลกิ านโุ ยค (การบำเรอตนดว้ ยกาม) และอตั ตกลิ มถานุโยค (การทรมานตนเอง) ท่ีไดท้ ดลองมาแล้ว ไมใ่ ช่วิธีการทถ่ี ูกต้อง 4.3 มรรคขั้นที่ 3 เป็นการสรปุ ผลของการสังเกตและทดลอง เพอื่ ใหไ้ ด้ความจริงเกี่ยวกบั เรอ่ื งน้ัน ดงั กรณี ที่พระพทุ ธเจ้าได้ข้อสรปุ วา่ ทางสายกลางทไ่ี ม่ตงึ เกนิ ไปหรือไม่หย่อนเกนิ เปน็ ทางดับทกุ ข์ ทางน้ีเปน็ วิถี แห่งปญั ญาทีเ่ ริม่ ต้นด้วยสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) สรุปกค็ ือมรรคมอี งค์ 8 น่นั เองแนวคิดแบบ วทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1. การกำหนดปัญหาใหถ้ กู ต้อง ในขั้นนี้นักวิทยาศาสตร์กำหนดขอบเขตของปัญหาให้ชดั เจนวา่ ปัญหาอยู่ ตรงไหน ปัญหานน้ั นา่ จะมสี าเหตมุ าจากอะไร ตัวอย่างเชน่ การค้นพบดาวเนปจูนเมื่อ พ.ศ. 2386-2389 2. การตงั้ สมมตฐิ าน นักวิทยาศาสตรใ์ ช้ขอ้ มูลเท่าทมี่ อี ยใู่ นขณะนั้นเปน็ ฐานในการตง้ั สมมตฐิ านเพือ่ ใช้ อธบิ ายถงึ สาเหตขุ องปญั หาและเสนอคำตอบหรอื ทางออกสำหรับปัญหานน้ั ตวั อยา่ งเช่น ในเรือ่ งการคันพบ ดาวเนปจนู นัน้ นกั ดาราศาสตร์กลมุ่ หนง่ึ ตง้ั สมมตฐิ านวา่ สาเหตทุ วี่ ถิ โี คจรของดาวยเู รนสั ไมเ่ ปน็ ไปสมำ่ เสมอ นา่ จะเน่อื งมาจากแรงโน้มถ่วงท่ีมาจากดาวเคราะห์ที่ยังค้นไม่พบ  3. การสงั เกตและการทดลอง เป็นขน้ั ตอนสำคญั ทส่ี ดุ ของการศกึ ษาหาความจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์ การ สงั เกตเปน็ การรวบรวมขอ้ มูลมาเป็นเครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ทฤษฎีทีอ่ ธิบายปรากฏการณ์ เชน่ นักดาราศาสตร์ เชื่อวา่ โจฮัน แกลล์ ได้ใชก้ ล้องโทรทรรศนส์ ่องทอ้ งฟ้าจนค้นพบดาวเนปจนู เมือ่ พ.ศ. 2389 นอกจากนนั้ การทดลองหลายต่อหลายคร้ังชว่ ยให้คน้ พบหลกั การทางวิทยาศาสตรแ์ ละสรา้ งความน่าเชือ่ ถอื 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสังเกตและทดลองมจี ำนวนมาก นักวทิ ยาศาสตร์ต้องพจิ ารณา แยกแยะขอ้ มลู เหล่าน้นั พรอ้ มจัดระเบยี บขอ้ มลู เขา้ เป็นหมวดหมู่และหาความสมั พนั ธ์ระหว่างข้อมูลตา่ ง ๆ เชน่ นักเคมีชื่อ ดมติ ริ เมนเดลิฟ (D. Mendelief) พบว่า ธาตุบางธาตมุ ีคุณสมบตั ิทางเคมีคล้ายกัน 5. การสรุปผล ในการสรุปผลของการศึกษาคน้ ควา้ นกั วิทยาศาสตร์อาจใช้ภาษาธรรมดาเขียนกฎหรือหลัก การทางวทิ ยาศาสตรอ์ อกมา บางครัง้ นกั วทิ ยาศาสตร์จำเป็นต้องสรปุ ผลด้วยคณิตศาสตร์ ตวั อย่างเชน่ อัลเบิร์ต ไอสไตน์ พบความสัมพนั ธ์ระหว่างพลังงานและมวลสารจงึ เขยี นสรุปผลการคน้

เปรยี บเทยี บวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรก์ ับวธิ กี ารแกป้ ญั หาแบบอริยสจั วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีการแกป้ ัญหาแบบอรยิ สจั 1.การกำหนดปยั หา 1.ขนั้ กำหนดทุกข์ 2.การตัง้ สมมตฐิ าน 2.ขน้ั สืบสาวสมทุ ัย 3.การสังเกตและการทดลอง 3.ข้ันนโิ รธ 4.การวเิ คราะห์ข้อมลู 4.ขั้นมรรคขน้ั ท่ี 1 5.การสรปุ ผล 5.ขัน้ มรรคขน้ั ท่ี 2 6.ขน้ั มรรคข้ันท่ี 3 


พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสตร์แห่งการศกึ ษา ความหมายของคำว่าการศกึ ษา        คำว่า “การศกึ ษา” มาจากคำว่า “สกิ ขา” โดยทั่วไปหมายถงึ  “กระบวนการเรียน “ “การฝกึ อบรม” “การค้นควา้ ” “การพฒั นาการ” และ “การร้แู จ้งเห็นจรงิ ในสง่ิ ทั้งปวง” จะเห็นไดว้ ่า การศกึ ษา ในพระพุทธศาสนามีหลายระดับ ตัง้ แต่ระดับตำ่ สุดถึงระดับสูงสุด เมอ่ื แบง่ ระดับอยา่ งกว้าง ๆ มี 2 ประการคือ 1. การศกึ ษาระดบั โลกิยะ มคี วามมงุ่ หมายเพ่อื ดำรงชวี ติ ในทางโลก 2. การศกึ ษาระดบั โลกุตระ มคี วามมุ่งหมายเพอื่ ดำรงชวี ติ เหนือกระแสโลก ในการศึกษาหรอื การ พัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนา นน้ั พระพุทธเจ้าสอนให้คนได้พัฒนาอย ู่ 4 ดา้ น คอื ดา้ นร่างกาย ด้านศีล ด้านจติ ใจ และด้านสตปิ ัญญา โดยมีจดุ มงุ่ หมายใหม้ นษุ ยเ์ ป็นทง้ั คนดแี ละคนเก่ง มิใช่เปน็ คนดี แตโ่ ง่ หรือเปน็ คนเก่งแตโ่ กง ดงั นนั้ หลักในการศึกษาของพระพุทธศาสนา น้ันจะมี ลำดับข้นั ตอนการศกึ ษา โดยเร่ิมจาก สีล สิกขา ต่อดว้ ยจติ ตสกิ ขาและขัน้ ตอนสดุ ท้ายคือ ปัญญาสกิ ขา ซ่งึ ขน้ั ตอนการศกึ ษาทัง้  3 นี้ รวมเรียกวา่ \"ไตรสิกขา\"  ซ่งึ มคี วามหมายดงั นี้ 1. สีลสิกขา การฝึกศกึ ษาในดา้ นความประพฤตทิ างกาย วาจา และอาชีพ ใหม้ ชี วี ติ สจุ ริตและเกื้อกลู (Training in Higher Morality)  2. จติ ตสกิ ขา การฝึกศกึ ษาดา้ นสมาธิ หรอื พฒั นาจติ ใจใหเ้ จรญิ ไดท้ ี่ (Training in Higher Mentality หรอื  Concentration)  3. ปญั ญาสิกขา การฝึกศึกษาในปัญญาสงู ข้นึ ไป ให้รคู้ ิดเขา้ ใจมองเหน็ ตามเป็นจรงิ (Training in Higher Wisdom)  ความสมั พันธข์ องไตรสกิ ขา ความสัมพนั ธ์แบบต่อเนื่องของไตรสกิ ขาน้ี มองเห็นได้งา่ ยแมใ้ นชีวติ ประจำวัน กล่าวคอื   (ศีล -> สมาธิ) เมอื่ ประพฤติดี มีความสมั พนั ธ์งดงาม (สมาธิ -> ปัญญา) ย่ิงจติ ไมฟ่ ้งุ ซ่าน สงบ อยูก่ บั ตัว ไรส้ ่ิงขุน่ มวั สดใส นอกจากน้ียังมีวิธกี ารเรยี นรตู้ ามหลกั โดยท่วั ไป ซง่ึ พระพุทธเจ้าพระพทุ ธเจ้าตรัสไว้ 5 ประการ คอื 1. การฟัง หมายถึงการตง้ั ใจศึกษาเลา่ เรยี นในห้องเรียน 2. การจำได้ หมายถึงการใช้วธิ กี ารตา่ ง ๆ เพือ่ ให้จำได้ 3. การสาธยาย หมายถงึ การทอ่ ง การทบทวนความจำบ่อย ๆ 4. การเพ่งพินจิ ด้วยใจ หมายถึงการตัง้ ใจจนิ ตนาการถงึ ความรู้นั้นไว้เสมอ 5. การแทงทะลดุ ว้ ยความเหน็ หมายถึงการเขา้ ถงึ ความรู้อย่างถกู ตอ้ ง 


พระพทุ ธศาสนาเน้นความสมั พันธข์ องเหตุปจั จัยและ วธิ กี ารแกป้ ัญหา พระพทุ ธศาสนาเน้นความสัมพนั ธ์ของเหตุปจั จัย หลกั ของเหตุปจั จยั หรือหลักความเปน็ เหตุเปน็ ผล ซึ่งเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่อิงอาศัยซึง่ กัน และกนั ที่เรียกวา่ \"กฎปฏิจจสมุปบาท\" ซึง่ มีสาระโดยย่อดงั น้ี \"เม่อื อนั นม้ี ี อนั น้จี ึงมี เมื่ออันนีไ้ มม่ ี อนั น้กี ็ ไมม่ ี เพราะอนั นี้เกดิ อันนจ้ี งึ เกิด เพราะอนั นดี้ บั อนั น้จี งึ ดับ\"นเี่ ป็นหลกั ความจริงพ้ืนฐาน ว่าสิ่งหนงึ่ สง่ิ ใด จะเกิดขึ้นมาลอย ๆ ไม่ได้ หรือในชวี ิตประจำวนั ของเรา \"ปญั หา\"ท่เี กิดขึน้ กบั ตัวเราจะเปน็ ปญั หาลอย ๆ ไม่ได้ จะต้องมเี หตุปัจจยั หลายเหตุทกี่ ่อให้เกดิ ปัญหาข้นึ มา หากเราต้องการแก้ไขปัญหากต็ ้องอาศัยเหตุ ปจั จยั ในการแก้ไขหลายเหตุปัจจัย ไม่ใชม่ เี พยี งปัจจยั เดียวหรือมีเพียงหนทางเดยี วในการแก้ไขปญั หา เป็นต้น ความสมั พันธข์ องเหตปุ จั จัย หรอื หลักปฏจิ จสมุปบาท แสดงใหเ้ หน็ อาการของสงิ่ ท้ังหลายสัมพันธเ์ น่อื ง อาศยั เปน็ เหตุปจั จัยตอ่ กันอยา่ งเป็นกระแส ในภาวะทเ่ี ปน็ กระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ้ หน็ แง่ ต่าง ๆ ได้คอื - สิ่งทง้ั หลายมคี วามสัมพันธต์ ่อเนอ่ื งอาศยั เปน็ ปจั จัยแกก่ นั   - สง่ิ ทั้งหลายมอี ยู่โดยความสมั พันธ์กัน - สิ่งทง้ั หลายมอี ยดู่ ้วยอาศัยปจั จยั - สิ่งทงั้ หลายไม่มีความคงท่อี ยู่อยา่ งเดมิ แมแ้ ตข่ ณะเดยี ว (มีการเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา ไม่อยู่นิ่ง) - สิ่งท้ังหลายไมม่ ีอย่โู ดยตวั ของมนั เอง คือ ไมม่ ีตัวตนที่แท้จริงของมัน - ส่งิ ทั้งหลายไมม่ มี ูลการณ์ หรอื ต้นกำเนดิ เดมิ สุด แตม่ ีความสมั พันธ์แบบวฏั จักร หมนุ วนจนไมท่ ราบว่า อะไรเปน็ ตน้ กำเนิดท่ีแท้จรงิ หลกั คำสอนของพระพุทธศาสนาของพระพุทธศาสนาทเ่ี น้นความสัมพนั ธ์ของเหตปุ ัจจัยมีมากมาย ในท่ีน้ี จะกลา่ วถงึ หลักคำสอน 2 เร่อื ง คือ ปฏจิ จสมุปบาท และอริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาท คอื การทส่ี ่ิงท้งั หลายอาศัยซง่ึ กันและกันเกดิ ข้ึน เป็นกฎธรรมชาติทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ทรงค้น พบ


กฏปฏจิ จสมุปบาท คือ กฏแห่งเหตุผลที่ว่า ถา้ สงิ่ นมี้ ี ส่ิงนั้นกม็ ี ถา้ สง่ิ นีด้ บั สิ่งนัน้ ก้ดับ ปฏจิ จสมุปบาทมี องคป์ ระกอบ 12 ประการ คือ   1) อวิชชา คอื ความไมร่ ู้จริงของชีวติ ไม่รแู้ จง้ ในอรยิ สัจ 4 ไมร่ ู้เท่าทนั ตามสภาพทเ่ี ป็นจรงิ     2) สงั ขาร คือ ความคดิ ปรุงแตง่ หรอื เจตนาทง้ั ทีเ่ ป็นกุศลและอกศุ ล    3) วญิ ญาณ คือ ความรบั รู้ตอ่ อารมณ์ตา่ งๆ เชน่ เหน็ ได้ยนิ ได้กลน่ิ รูร้ ส ร้สู ัมผัส    4) นามรูป คือ ความมอี ยู่ในรูปธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกับจิต     5) สฬายตนะ คอื ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ     6) ผัสสะ คอื การถกู ต้องสมั ผสั หรือการกระทบ     7) เวทนา คือ ความรสู้ ึกวา่ เปน็ สขุ ทกุ ข์ หรืออุเบกขา     8) ตัณหา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรอื ความตอ้ งการในส่งิ ท่ีอำนวยความสุขเวทนา และความ ด้ินรนหลีกหนใี นส่งิ ท่กี ่อทกุ ขเวทนา     9) อปุ าทาน คอื ความยึดมัน่ ถอื ม่นั ในตวั ตน     10) ภพ คอื พฤตกิ รรมท่แี สดงออกเพือ่ สนองอุปาทานน้ันๆ เพื่อใหไ้ ด้มาและใหเ้ ปน้ ไปตามความยดึ มน่ั ถอื มนั่      11) ชาต ิ คอื ความเกดิ ความตระหนกั ในตัวตน ตระหนักในพฤติกรรมของตน     12) ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนสั อุปายาสะ คอื ความแก่ ความตาย ความโศกเศร้า ความครำ่ ครวญ ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ และความคับแคน้ ใจหรอื ความกลดั กล่มุ ใจ **องค์ประกอบท้ัง 12 ประเภทนี้ พระพทุ ธเจ้าเรียกว่า องค์ประกอบแหง่ ชีวติ   จากกฏปฏจิ จสมปุ บาทหรือกฎอทิ ปั ปจั จยตาทวี่ า่ อวชิ ชาเปน็ ตวั เหตุของทุกส่งิ ทุกอย่าง อวชิ ชาคอื ความ ไมร่ ู้แจง้ ในอรยิ สจั  4 ดังนนั้ กฎปฏิจจสมปุ บาท เมือ่ กล่าวโดยสรุปแลว้ กค็ อื  อรยิ สัจ 4 นั่นเอง








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook