Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebookสังคม (ข้าวฟ่าง)

Ebookสังคม (ข้าวฟ่าง)

Published by arm_singjeen47, 2020-07-16 00:23:32

Description: Ebookสังคม

Search

Read the Text Version

E-Book ประกอบการศึกษา วิชาสงั คมศึกษา ลักษณะประชาธิปไตย ในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพทุ ธศาสนา กบั หลกั วิทยาศาสตร์ จดั ทาโดย นางสาวธารลดา กลั ยาประสิทธิ์

สารบญั เนอ้ื หา หนา้  ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา 1  หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ 2  การคดิ ตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนา 3 และการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ 4  พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศกึ ษา 5  พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธ์ 6 ของเหตปุ จั จยั และวธิ กี ารแกป้ ญั หา  เวบ็ อ้างองิ

1 ลักษณะประชาธิปไตย ในพระพทุ ธศาสนา

๑ ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาได้ชือ่ ว่าเปน็ ศาสนาที่มลี กั ษณะประชาธิปไตยหลาย ประการ ได้แก่ 1. พระพุทธศาสนามพี ระธรรมวินัยเป็นธรรมนญู หรือกฎหมาย สงู สดุ พระธรรม คือ คาสอนที่พระพุทธเจา้ ทรงแสดง พระวินยั คือ คาส่ัง อนั เป็นข้อปฏิบัติทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงบัญญตั ิขึ้นเมือ่ รวมกนั เรยี กว่า พระ ธรรมวินัย ก่อนที่พระองค์จะเสดจ็ ปรินิพพานเพียงเล็กน้อยไดท้ รงมอบให้ พระธรรมเป็นพระศาสดาแทนพระองค์ 2. พระพุทธศาสนามีความเสมอภาคภายใต้พระธรรมวินัย บุคคลท่เี ปน็ วรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู รมาแต่เดมิ รวมท้ังคน วรรณะต่ากว่านั้น เชน่ พวกจัณฑาล พวกทาส เมื่อเข้ามาอุปสมบทใน พระพุทธศาสนาอย่างถกู ต้องแล้ว มคี วามเทา่ เทียมกนั คือปฏิบตั ิตาม สกิ ขาบทเท่ากนั และเคารพกันตามลาดับอาวโุ ส คือผู้อุปสมบทภายหลงั เคารพผู้อปุ สมบทก่อน

3. พระภิกษใุ นพระพทุ ธศาสนา มสี ิทธิ เสรีภาพภายใต้พระ ธรรมวินัย เชน่ ภิกษทุ ีจ่ าพรรษาอยู่ดว้ ยกนั มีสิทธไิ ดร้ บั ของแจกตามลาดับ พรรษา มีสิทธริ บั กฐิน และได้รับอานิสงส์กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทียมกัน นอกจากน้ันยังมเี สรีภาพที่จะเดนิ ทางไปไหนมา ไหนได้ จะอยู่จาพรรษาวดั ใดก็ได้เลือกปฏิบัติกรรมฐานข้อใด ถือธุดงควตั ร ข้อใดก็ไดท้ ั้งสิน้ 4. มีการแบ่งอานาจ การกระจายอานาจ มอบภาระหน้าท่ใี ห้ สงฆ์รบั ผิดชอบในพื้นฐานท่ตี า่ ง ๆ พระเถระผู้ใหญ่ทาหน้าที่บริหาร ปกครองหมู่คณะ ส่วนการบญั ญตั ิพระวนิ ยั พระพุทธเจ้าจะทรงบัญญัติเอง เช่น มีภิกษผุ ู้ทาผิดมาสอบสวนแล้วจึงทรงบญั ญัติพระวินยั ส่วนการตดั สิน คดีตามพระวินยั ทรงบัญญัติแลว้ เป็นหน้าทีข่ องพระวินัยธรรมซึง่ เทา่ กบั ศาล

5. มกี ารรับฟังความเหน็ หรือฟังเสยี งของเหล่ากลา่ วคือ ภิกษุทุก รปู มีสทิ ธิในการเข้าประชมุ มีสิทธใิ นการแสดงความคิดเหน็ ท้ังในทาง คัดค้านและในทางเห็นดว้ ย และนามาพิจารณาไตร่ตรอง 6. พระพุทธศาสนายดึ หลักความถกู ตอ้ งตามธรรมะและความ เป็นเอกฉันทใ์ นการลงมติในท่ปี ระชมุ โดยใช้หลกั เสียงขา้ งมากเป็น เกณฑ์ตัดสินในทีป่ ระชุมสงฆ์ เรียกว่า วิธีเยภยุ ยสิกา ประกอบกบั หลัก ความถกู ต้องตามศีลวนิ ยั สงฆ์และหลักธรรมะอืน่ ๆ ประกอบการพิจารณา ร่วมกัน

7. พระพุทธศาสนามีหลักธรรมสนับสนุ นการประชุมในหมู่สงฆ์ และเคารพกฎของการประชมุ คือ หลักธรรม เรือ่ ง “อปริหานิยธรรม” มี 7 ประการ เช่น หม่ันประชมุ เปน็ เนืองนิตย์ เข้าประชมุ และเลกิ ประชมุ พร้อม เพรียงกนั เป็นต้น 8. จดุ ม่งุ หมายสูงสดุ ของพระพุทธศาสนา คือ มุง่ สู่อสิ รภาพ (หมายถึงบคุ คลเปน็ อิสระจากกิเลสกองทุกข์เครือ่ งเศร้าหมองท้ังปวง) หรือ เรียกว่า “วิมุติ” 9. พระพุทธศาสนาสอนให้ชาวพทุ ธมเี สรีภาพทางความคิดและ ปฏิบัติ ให้เกิดศรัทธาด้วยปญั ญา โดยไม่มีการบังคบั 10. พระพุทธศาสนายึดหลกั ธรรมาธิปไตย โดยใชเ้ หตุผลเปน็ ใหญ่ มิใช่ยึดในตวั บุคคล

2 หลกั การของพระพทุ ธศาสนา กบั หลักวทิ ยาศาสตร์

๒ หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลักวทิ ยาศาสตร์ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการของวทิ ยาศาสตร์ มีท้ัง สว่ นทีส่ อดคลอ้ ง และสว่ นทีแ่ ตกต่างกัน ดงั ต่อไปนี้ ความสอดคล้องกนั ของ หลักการของพระพุทธศาสนากับหลกั การวิทยาศาสตร์ 1. ในด้านความเชือ่ (Confidence) หลักการวิทยาศาสตร์ ถือหลกั ว่า จะเชื่ออะไรน้ันจะต้องมีการพิสูจน์ให้เหน็ จริงได้เสยี ก่อน วิทยาศาสตร์ เชือ่ ในเหตุผล ไมเ่ ชื่ออะไรลอย ๆ และต้องมีหลกั ฐานมายืนยนั วิทยาศาสตร์ ไมอ่ าศัยศรทั ธาแต่อาศยั เหตผุ ล เชื่อการทดลองวา่ ใหค้ วามจริงแก่เราได้ แต่ไม่เชือ่ การดลบันดาลของสิ่งศักด์ิสทิ ธิ์ เพราะทกุ อย่างดาเนินอย่างมี กฎเกณฑ์ มเี หตุผล และวิทยาศาสตร์อาศัยปัญญาและเหตุผลเปน็ ตวั ตัดสิน ความจริง วิทยาศาสตร์มีความเชือ่ ว่า สรรพสิ่งในจกั รวาลลว้ นดาเนินไป อย่างมีเหตผุ ล มีความเปน็ ระเบียบและมีกฎเกณฑ์ทแ่ี น่นอน หลกั การทางพระพุทธศาสนา มีหลกั ความเชื่อเชน่ เดียวกับหลัก วิทยาศาสตร์ ไม่ได้สอนให้มนษุ ย์เชื่อและศรัทธาอย่างงมงายใน อิทธปิ าฏิหาริย์ และอาเทศนาปาฏิหาริย์ แต่สอนใหศ้ รัทธาในอนสุ าสนี ปาฏิหาริย์ แต่สอนใหม้ นุษย์นาเอาหลักศรัทธาโยงไปหาการพิสูจน์ดว้ ย ประสบการณ์ ดว้ ยปญั ญา และดว้ ยการปฏิบตั ิ

อย่าเชื่อ เพียงเพราะไดถ้ ือปฏิบัติสืบต่อกันมา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะเสยี งเล่าลือ อย่าเชื่อ เพียงเพราะอ้างตารา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะตรรกะ หรือนึกคิดเอาเอง อยา่ เชื่อ เพียงเพราะอนุมานหรือคาดคะเนเอา อยา่ เชื่อ เพียงเพราะคิดตรองตามแนวเหตผุ ล อยา่ เชื่อ เพียงเพราะตรงกับทฤษฎีของตนหรือความเหน็ ของตน อย่าเชื่อ เพียงเพราะรปู ลกั ษณะน่าเชื่อ อย่าเชื่อ เพียงเพราะท่านเป็นสมณะหรือเปน็ ครูอาจารย์ของเรา ในหลักกาลามสูตรนี้ พระพทุ ธเจา้ ยงั ตรัสต่อไปวา่ จะต้องรู้เข้าใจด้วย ว่า สิง่ เหล่านี้เปน็ กศุ ล หรืออกุศล ถ้ารู้วา่ เปน็ อกุศล มีโทษ ไม่เปน็ ประโยชน์ ทาให้เกิดทุกข์ พึงละเสยี ถ้ารู้วา่ เป็นกศุ ล มคี ุณ เปน็ ประโยชน์ เปน็ ไปเพื่อ ความสขุ กใ็ ห้ถือปฏิบัติ นั่นคือศรัทธาหรือความเชือ่ ที่ก่อให้เกิดปัญญา

2. ในด้านความรู้ (Wisdom) ทั้งหลกั การทางวิทยาศาสตร์และ หลกั การของพระพุทธศาสนา ยอมรบั ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ หมายถึง การที่ตา หู จมกู ลิน้ กาย ได้ประสบกับความรู้สึกนึกคิด เช่น รู้สกึ ดใี จ รสู้ กึ อยากได้ เปน็ ต้น วิทยาศาสตร์เริ่มต้นจากประสบการณ์คือ จากการทีไ่ ดพ้ บเหน็ ส่งิ ต่าง ๆ แล้วเกิดความอยากรู้อยากเห็นกแ็ สวงหา คาอธิบาย วิทยาศาสตร์ไมเ่ ชื่อหรือยึดถืออะไรลว่ งหน้าอย่างตายตวั แต่จะ อาศยั การทดสอบด้วยประสบการณ์สืบสาวไปเรือ่ ย ๆ จะไม่อ้างอิงถงึ สิง่ ศกั ดิส์ ิทธ์ิใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือประสบการณ์และการทดลอง วิทยาศาสตร์ แสวงหาความจริงสากล ไดจ้ ากฐานทีเ่ ป็นความจริงเฉพาะองค์ความรู้ ในทางวิทยาศาสตร์ได้จากประสบการณ์ ความรู้ใดทีอ่ ยนู่ อกขอบเขตของ ประสบการณ์ไม่ถือว่าเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์พระพทุ ธเจ้ากท็ รงเริ่ม คิดจากประสบการณค์ ือ ประสบการณ์ทีไ่ ดเ้ ห็นความเจบ็ ความแก่ ความ ตาย และทีส่ าคัญ ที่สดุ คือความทุกข์ พระองค์มีพระประสงค์ทจ่ี ะค้นหา สาเหตขุ องทุกขใ์ นการค้นหานี้ พระองค์มิไดเ้ ชื่ออะไรลว่ งหน้าอย่างตายตัว ไมท่ รงเชือ่ ว่ามีพระผู้เป็นเจา้ หรือสง่ิ ศักด์ิสทิ ธิใ์ ด ๆ ทีจ่ ะให้คาตอบได้แต่ได้ ทรงทดลองโดยอาศัยประสบการณ์ของพระองค์เองดังเป็นที่ทราบกนั ดอี ยู่ แล้ว

3 การคิดตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาและ การคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์

๓ การคดิ ตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาและการคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ การคิดตามนัยแหง่ พระพุทธศาสนาและการคดิ แบบ วิทยาศาสตร์ มีความสอดคล้องกันเป็นอันมากจนมีบางคนกลา่ วว่า พระพุทธศาสนาเปน็ วิทยาศาสตร์ทางจติ ใจ และโดยเหตุที่พระพุทธศาสนา อบุ ตั ิขึ้นในโลกมนษุ ย์ก่อนวิทยาศาสตร์ ทั้งพระพุทธศาสนา และ วิทยาศาสตร์มีจุดเน้นเหมือนกัน คือ สอนมิให้คนงมงาย ควรนาสง่ิ ต่าง ๆ มาพิจารณาดว้ ยเหตผุ ล มีการทดสอบทดลอง ตรวจสอบ จนเกดิ ความ แน่ใจและเชือ่ ด้วยตนเอง ด้วยปญั ญาทีส่ ่ังสมไว้ของตนเอง พระพุทธเจ้าได้ ตรัสเตือนมิให้คนเชื่ออะไรงา่ ย ๆ หรือมีศรัทธาแบบตาบอด 10 ประการ คือ 1. อย่าเชื่อโดยฟังตามกันมา 2. อยา่ เช่ือโดยเข้าใจวา่ เป็นของเกา่ สืบ ๆ กันมา 3. อย่าเชือ่ เพราะตื่นข่าว

4. อยา่ เชื่อเพราะตารากล่าวไว้ 5. อยา่ เชือ่ โดยนึก 6. อยา่ เชือ่ โดยการคาดคะเน 7. อย่าเช่ือโดยพจิ ารณาตามอาการ 8. อยา่ เชือ่ เพราะชอบใจว่าสอดคล้อง กบั ความเชือ่ เดิมหรือลัทธขิ องตน 9. อยา่ เชื่อเพราะนบั ถือตัวผู้พูดวา่ ควรเชื่อได้ 10. อย่าเชื่อเพราะผ้บู อกเปน็ ครู อาจารย์ของตน

สง่ิ ที่พระพุทธศาสนาและวทิ ยาศาสตร์มคี วามสอดคลอ้ งกนั มหี ลักการเหมอื นกนั คือ มีการสังเกต บันทึก พิสูจน์ ทดลอง ใชเ้ หตผุ ลอยา่ งเต็มที่ ไมเ่ ชือ่ งมงาย เชื่อเหมือนกันว่าผลย่อมมาจากเหตุ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกบั ชวี ิต มนษุ ย์มไิ ด้เกิดจากการดลบันดาลของเทพเจา้ หากเกิดขนึ้ จากการกระทา ของบุคคลผู้นั้นนั่นเอง เช่นเดียวกับกฎของแรงปฏกิ ิริยาจะเกิดเทา่ กบั แรง กิริยา บุคคลประสบผลของกรรมดีเพราะไดก้ ระทาความดีไว้ก่อน เป็นต้น ทั้งพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์มีความเหน็ สอดคลอ้ งกันในเรือ่ ง วิวฒั นาการของชีวติ ว่าชวี ิตค่อย ๆ เปลย่ี นแปรรูป ใชเ้ วลานานแสนนาน เริ่ม วิวฒั นาการจากชีวิตทีไม่มเี พศ จนกระทง่ั เกิดมเี ครื่องหมายเพศชดั เจน จาก สัตว์เซลล์เดียว เปน็ หลายเซลล์ สัตว์มกี ระดูกสนั หลัง ครึง่ บกครึง่ น้า เลยี้ ง ลกู ด้วยน้านม จนกระท่ังมนษุ ย์

4 พระพุทธศาสนา เป็นศาสตร์แหง่ การศึกษา

๔ พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสตร์แห่งการศกึ ษา คาว่า มาจากคาว่า สกิ ขา หมายถึง การเรียน การฝึกอบรม การ ค้นคว้า การพัฒนาการ และ การรู้แจ้งเหน็ จริงในส่งิ ทั้งปวง จะเห็นไดว้ ่า การศึกษาในพระพทุ ธศาสนามีหลายระดับ ต้ังแต่ระดับตา่ สดุ ถึงระดบั สูงสุด เมื่อแบง่ ระดับอย่างกว้าง ๆ มี 2 ประการ คือ 1. การศึกษาระดบั โลกิยะ เพือ่ ดารงชวี ิตในทางโลก 2. การศึกษาระดับโลกตุ ระ เพื่อดารงชีวิตเหนือกระแสโลก

ในการศึกษาหรือการพัฒนาตามหลักพระพทุ ธศาสนา น้ัน พระพทุ ธเจา้ สอนให้คนได้พัฒนาอยู่ 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านศีล ดา้ น จติ ใจ และดา้ นสติปัญญา โดยมีจุดมุ่งหมายใหม้ นษุ ย์เปน็ ทั้งคนดีและคนเกง่ มิใชเ่ ป็นคนดีแต่โง่ หรือเปน็ คนเก่งแต่โกง การจะสอนใหม้ นษุ ย์เป็นคนดแี ละ คนเกง่ น้ัน จะต้องมีหลกั ในการศึกษาทีถ่ ูกต้องเหมาะสม สร้างมนษุ ย์ให้เป็น คนดกี ่อน แล้วจงึ ค่อยสร้างความเก่งทีหลัง ดังน้ันหลักในการศึกษาของพระพุทธศาสนา น้ันจะมี ลาดับข้ันตอน การศึกษา โดยเริ่มจาก สลี สกิ ขา ต่อดว้ ยจิตตสิกขาและขั้นตอนสดุ ท้ายคือ ปญั ญาสกิ ขา ซึ่งขน้ั ตอนการศึกษาท้ัง 3 นี้ รวมเรียกวา่ \"\" ซึง่ มี ความหมายดงั นี้ 1. สีลสิกขา การฝึกศึกษาในด้านความประพฤติทางกาย วาจา และอาชพี ให้มีชีวติ สุจรติ และเกื้อกูล 2. จติ ตสิกขา การฝึกศึกษาดา้ นสมาธิ หรือพฒั นาจิตใจให้เจริญ 3. ปัญญาสิกขา การฝึกศึกษาในปัญญาสูงขึ้นไป ใหร้ ู้คิดเข้าใจมองเห็น ตามเปน็ จริง

5 พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตุ ปจั จยั และวธิ กี ารแกป้ ญั หา

๕ พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธข์ องเหตปุ จั จยั และวธิ กี ารแกป้ ญั หา หลกั ของเหตุปัจจัย หรือหลักความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ซึ่งเปน็ หลกั ของ เหตุปัจจยั ที่องิ อาศยั ซึง่ กันและกัน ทีเ่ รียกว่า \"กฎปฏิจจสมุปบาท\" กฏปฏิจจสมุปบาท คือ กฏแหง่ เหตุผลท่ีว่า ถา้ สง่ิ นมี้ ี สิ่งนั้นกม็ ี ถา้ ส่ิง นี้ดบั สิ่งน้ันก้ดับ ปฏิจจสมปุ บาทมีองค์ประกอบ 12 ประการ คือ 1) อวชิ ชา คือ ความไม่รจู้ ริงของชีวิต ไมร่ ู้แจ้งในอริยสจั 4 ไมร่ ู้เทา่ ทนั ตามสภาพที่เป็นจริง 2) สงั ขาร คือ ความคิดปรงุ แต่ง หรือเจตนาทั้งทีเ่ ป็นกุศลและอกุศล 3) วิญญาณ คือ ความรบั รู้ต่ออารมณต์ ่างๆ เชน่ เหน็ ได้ยิน ได้กลิ่น รู้รส รู้สัมผัส 4) นามรปู คือ ความมีอยู่ในรปู ธรรมและนามธรรม ได้แก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คือ ตา หู จมกู ล้นิ กาย และใจ 6) ผสั สะ คือ การถกู ต้องสัมผสั หรือการกระทบ 7) เวทนา คือ ความรู้สกึ ว่าเป็นสุข ทุกข์ หรืออุเบกขา 8) ตณั หา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรือความต้องการในสิง่ ที่ อานวยความสุขเวทนา และความดิน้ รนหลีกหนีในสิ่งทีก่ อ่ ทุกขเวทนา 9) อปุ าทาน คือ ความยึดมน่ั ถือม่นั ในตัวตน

10) ภพ คือ พฤติกรรมทีแ่ สดงออกเพื่อสนองอปุ าทานน้ันๆ เพือ่ ให้ได้มา และใหเ้ ปน้ ไปตามความยึดมนั่ ถือม่ัน 11) ชาติ คือ ความเกิด ความตระหนักในตวั ตน ตระหนักในพฤติกรรม ของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาสะ คือ ความ แก่ ความตาย ความโศกเศร้า ความครา่ ครวญ ความไม่สบายกาย ความ ไมส่ บายใจ และความคับแค้นใจหรือความกลัดกลมุ่ ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook