แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีการศกึ ษา พ.ศ 2566 ของโรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
ความเห็นชอบแผนปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2566 ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการศกึ ษา พ.ศ. 2566 ของโรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ ด้วยโรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา พ.ศ.2566 และเสนอเรื่องเข้าท่ีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียน อนุบาลคลองขลุง คร้ังที่ ...1... /....2566.... เมื่อวันที่......23......เดือน.......มิถุนายน.......พ.ศ. ......2566......ได้พิจารณา แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา พ.ศ.2566 ของโรงเรียนอนุบาลคลองขลุงแล้ว เห็นชอบในการบริหาร งบประมาณและใหด้ าเนินการได้ (นายกมล ประเทืองไพรศรี) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
ก คานา แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี 2566 ของโรงเรยี นอนบุ าลคลองขลุงฉบับนี้ จัดทาขนึ้ เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการบริหารจดั การศึกษาของโรงเรยี น ตามแนวทาง การจดั การศึกษา ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษา พุทธศักราช 2544 และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2545 แนวทางการจดั การเรียนรูห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 แนวทางการ จัดการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ พทุ ธศักราช 2556 และแนวนโยบายการจดั การศึกษาของโรงเรยี น โดยคานึงถงึ เปา้ หมายสงู สุดของการปฏิรปู การศกึ ษา คือ ยกระดับมาตรฐานคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ และบงั เกดิ ความพึงพอใจของชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ สรา้ งผลผลิต คือ นักเรยี นใหม้ ีมาตรฐานในทกุ ระดบั ช้ัน ให้เป็นคน เก่ง คนดี มีความสุข เป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม เพื่อจะเป็นกาลงั สาคญั ในการพัฒนาประเทศชาตสิ บื ไป โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ 29 พฤษภาคม 2566 แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
ข สารบญั หน้า คานา ก สารบญั ข ส่วนที่ 1 บทนา 1. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของโรงเรยี น 7 ๒. ข้อมูลด้านการบรหิ าร 7 3. ขอ้ มูลจานวนนักเรียน 9 4. ข้อมูลครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 10 5. ข้อมลู อาคารเรยี น อาคารประกอบ และจานวนห้อง 11 6. ขอ้ มูลสภาพชมุ ชน 13 7. ข้อมลู ผลการดาเนินงานในปที ี่ผา่ นมา 13 ส่วนท่ี 2 ทิศทางการบริหารและกลยทุ ธก์ ารจดั การศึกษาของโรงเรียนอนุบาลคลองขลุง 1. ทิศทางการบริหารและการพัฒนา 1.1 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 20 1.2 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชกาลท่ี 10 21 1.3 การสืบสานพระราชปณธิ านในหลวงรัชกาลที่ 9 ดา้ นการศกึ ษา 21 1.4 กรอบยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) 22 1.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ 2566 - 2570) 33 1.6 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 35 1.7 นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี 39 1.8 นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 39 1.9 นโยบายและจุดเนน้ ของ สพฐ. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 44 1.10 แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวดั กาแพงเพชร พ.ศ. 2560-2570 46 1.11 ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สพป. กาแพงเพชร เขต 2 50 2. ทิศทางการพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ 2.1 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 53 2.2 วิสัยทัศน์ 54 2.3 พันธกิจ 55 2.4 เปา้ ประสงค์ 55 2.5 อตั ลกั ษณ์ 55 2.6 เอกลกั ษณ์ 55 2.7 จดุ เน้น 55 2.8 กลยทุ ธ์ 55 2.9 กรอบกลยทุ ธก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 57 แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
สารบญั (ต่อ) ค ส่วนท่ี 3 รายละเอียดแผนการใช้งบประมาณ หน้า 1. การประมาณการรายรบั ประจาปีการศกึ ษา พ.ศ.2566 59 2. การแบ่งสัดสว่ นงบประมาณและการประมาณการรายจา่ ย 60 ประจาปีการศกึ ษา พ.ศ. 2566 61 สว่ นท่ี 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2566 63 160 โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีการศกึ ษา พ.ศ. 2566 166 1. ด้านการบรหิ ารวิชาการ 172 2. ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล 3. ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ 217 4. ดา้ นการบรหิ ารทั่วไป 217 ส่วนท่ี 5 การกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงาน 221 1. กระบวนการนาแผนสูก่ ารปฏบิ ัติ 223 2. การกากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน 225 ภาคผนวก - คาสัง่ คณะทางานจดั ทาแผนฯ - คาสั่งคณะทางานการกากับ ติดตาม ประเมิน และรายงาน - ผู้จดั ทา แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
7 สว่ นที่ 1 บรบิ ทของโรงเรียน 1. ข้อมลู พื้นฐานของโรงเรยี น ๑) ขอ้ มูลทว่ั ไป โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ ต้งั อยู่เลขท่ี 1008 หมู่ 2 เขตเทศบาลตาบลทา่ มะเขอื ตาบลทา่ มะเขือ อาเภอคลองขลุง จงั หวดั กาแพงเพชร รหสั ไปรษณีย์ 62120 โทรศัพท์ 0-5586-3499 e-mail……-…. website Anubankk.net เปิดสอนตัง้ แต่ระดบั ปฐมวยั (อนบุ าลปีท่ี 1) ถึง ระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.3) มเี นือ้ ท่ี จานวน 9 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวา มีเขตพน้ื ท่ีบริการ ได้แก่ 1) ระดบั กอ่ นประถม และระดับประถมศึกษา เขตเทศบาลตาบลท่ามะเขอื หมู่ 1 ต. ทา่ มะเขอื ( บ้านเกาะหมู ) หมู่ 2 ต. ทา่ มะเขือ ( บ้านบอ่ หว้า ) หมู่ 6 ต. ทา่ มะเขอื ( บ้านดงประดา ) 2) ระดับมัธยมศึกษา หมู่ 1 ต. ทา่ มะเขือ ( บา้ นเกาะหมู ) หมู่ 2 ต. ทา่ มะเขือ ( บ้านบ่อหวา้ ) หมู่ 3 ต. ท่ามะเขอื ( บ้านโนนมะกอก ) หมู่ 4 ต. ท่ามะเขอื ( บ้านหนองจอก ) หมู่ 5 ต. ท่ามะเขอื ( บา้ นวังน้าแดง ) หมู่ 6 ต. ทา่ มะเขือ ( บ้านดงประดา ) หมู่ 7 ต. ท่ามะเขอื ( บา้ นอ่สู าเภา ) หมู่ 8 ต. ท่ามะเขอื ( บา้ นคลองพฒั นา ) หมู่ 9 ต. ทา่ มะเขอื ( บา้ นหนองจอก ) ๒. ขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ าร 1) ชอื่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา - ช่อื ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา นายทรงศักด์ิ เงินเมือง ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ เรมิ่ ดารงตาแหน่งเม่ือวนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 จนถงึ ปัจจุบนั 1 ปี 7 เดือน 2) ประวัติโดยย่อของโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง ตั้งอยู่เลขที่ 1008 เทศบาลตาบล ท่ามะเขอื อาเภอคลองขลุง จังหวดั กาแพงเพชร รหสั ไปรษณยี ์ 62120 ก่อต้ังเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 โดยแยกจากโรงเรียนวดั สามัคคีธรรม ใช้ชื่อ ว่า “โรงเรียนวัดสามัคคีธรรม 2” เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 เปลีย่ นชื่อเป็น “โรงเรียนบ้านท่ามะเขือ” เปิดทาการสอน ต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 พ.ศ. 2512 ได้รับการอนุมัติให้เปิด สอน ตั้งแต่ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึงชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 3) คาขวัญของโรงเรียน “รู้เวลา รู้หน้าที่ มวี ินยั น้าใจงาม ความสามคั คี” …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
4) ระบบโครงสร้างการบริหาร 8 คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรียน . กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล - งานวางแผนอตั รากาลงั และกาหนดตาแหน่ง - งานพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา - งานสรรหาและการบรรจแุ ต่งตั้ง - งานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ - งานเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ - งานวดั ผล ประเมินผลฯ - งานวนิ ยั และการรกั ษาวินยั - งานวจิ ัยเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา - งานทะเบยี นประวตั ิขา้ ราชการและลูกจา้ ง - งานพฒั นาสื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยฯี - งานพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ กลุ่มงานบรหิ ารงานท่ัวไป - งานนเิ ทศการศกึ ษา - งานแนะแนวการศึกษา - งานธรุ การ - งานพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน - งานส่งเสริมความรดู้ า้ นวชิ าการแก่ชุมชน - งานพัฒนาระบบและเครอื ขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ - งานประสานความรว่ มมือในการพฒั นาวชิ าการก - งานประสานและพฒั นาเครอื ขา่ ยการศกึ ษา - - งานจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคก์ ร สถานศกษาน - งานเทคโนโลยีสารสนเทศ - งานประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา - งานดแู ลอาคารสถานท่ี - งานส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่ บคุ คล ครอบครัว - งานจัดทาสามะโนผู้เรียน - งานรับนกั เรียน กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ - ส่งเสรมิ และประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบและตาม อธั ยาศยั - งานจดั สรรงบประมาณ - งานสง่ เสริมงานกจิ การนกั เรยี น - งานตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงาน - งานประชาสัมพนั ธง์ านการศึกษา ผลการใชเ้ งนิ และผลการดาเนนิ งาน - งานสง่ เสริมสนับสนนุ และประสานงานการศกึ ษา ของบุคคล - งานระดมทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา ชุมชน องค์กร หนว่ ยงานและสถาบนั อ่นื - งานบริหารการเงิน ทีจ่ ัดการศึกษา อบต./อาเภอ/สาธารณสุข/ฯลฯ - งานบรหิ ารบญั ชี - งานประสานราชการกบั เขตพ้ืนทฯี่ และหนว่ ยงานอ่นื - งานบริหารพัสดแุ ละสินทรัพย์ - งานจัดระบบการควบคมุ ในหนว่ ยงาน - งานบรกิ ารสาธารณะ แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
9 3. ข้อมลู จานวนนักเรยี น 1) จานวนนกั เรยี นในเขตพน้ื ท่ีบรกิ ารท้ังหมด จานวน 255 คน 2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ชัน้ ที่เปดิ สอน ชน้ั ท้ังหมด รวม 3 อนบุ าล 1 ชาย หญงิ 10 อนุบาล 2 -3 10 อนบุ าล 3 82 23 73 24 รวมระดบั อนบุ าล 15 8 28 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 13 11 17 ประถมศึกษาปที ่ี 2 11 17 23 ประถมศึกษาปที ่ี 3 7 10 27 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 16 7 28 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 10 17 147 ประถมศึกษาปีท่ี 6 12 16 21 69 78 36 รวมระดบั ประถม 13 8 28 มธั ยมศึกษาปีที่ 1 22 14 85 มธั ยมศึกษาปีที่ 2 17 11 255 มธั ยมศึกษาปีที่ 3 52 33 136 117 รวมมธั ยม รวมท้ังหมด 3) มนี ักเรียนทมี่ ีความบกพรอ่ ง เรยี นรว่ ม จานวน........14........คน 4) มนี ักเรียนท่มี ภี าวะทุพโภชนาการ จานวน........32........คน 5) มนี ักเรียนความเป็นเลิศ จานวน........38........คน 6) มีนักเรียนตอ้ งการความช่วยเหลือพิเศษ จานวน........10........คน 7) จานวนนกั เรยี น (เฉลีย่ ) ต่อห้อง จานวน........29........คน 8) สดั สว่ นครู 1 คน นกั เรียน จานวน........18........คน 9) จานวนนักเรยี นท่ีลาออกกลางคัน (ปีปัจจุบนั ) จานวน...........5........คน แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ
10 4. ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตารางท่ี 2 แสดงจานวนข้าราชการครูและบุคลาการทางการศกึ ษาโรงเรียนอนุบาล คลองขลุง ปกี ารศึกษา 2566 จาแนกตามตาแหน่ง ตาแหนง่ จานวน รวม ชาย หญงิ ผู้อานวยการสถานศึกษา 1- 1 ครูชานาญการพเิ ศษ 3 ครูชานาญการ 3 6 ครู 24 4 ครผู ้ชู ่วย 22 - ครอู ัตราจา้ ง (นอกงบประมาณ) -- 3 ครธู ุรการ 12 - แม่บา้ น (พนกั งานจ้างเหมา) -- 1 -1 18 รวม 6 12 2) มคี รทู ่ีสอนตรงตามวชิ าเอก จานวน ........14.........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ........100........ 3) มคี รทู ี่สอนวิชาตามความถนดั จานวน .........-.......คน คิดเป็นร้อยละ........-........... 4) ช่วั โมงสอนโดยเฉลย่ี ของครู คนละ .........22.........ช่วั โมง / สัปดาห์ 5) สถิตกิ ารอบรมและพฒั นาบุคลากรในรอบปีท่ีผ่านมาบคุ ลากรได้รับการพัฒนาเฉลีย่ คนละ.…12....ครัง้ /ปี แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลุง
11 5. ขอ้ มลู อาคารเรียน อาคารประกอบ และจานวนห้อง 1) ขอ้ มลู อาคารเรียน อาคารประกอบ และจานวนหอ้ ง จานวน …3….หลัง ดังน้ี ลาดับ รายการ จานวน อาคารเรยี น 1 หลงั 1 หลัง 1. อาคารเรยี น แบบ สปช. 105/29 ขนาด 2/8 1 หลงั 2. อาคารเรียน แบบ สปช. 2/28 ขนาด 3/18 2 หอ้ ง 3. อาคารเรียน แบบ สปช. 2/28 ขนาด 3/15 6 ห้อง หอ้ งเรียน 3 หอ้ ง 5. ห้องเรยี นระดับก่อนประถม 1 หอ้ ง 6. ห้องเรียนประถมศึกษา 1 ห้อง 7. หอ้ งเรยี นมัธยมศึกษา 1 หอ้ ง 8. ห้องวิทยาศาสตร์ 1 ห้อง 9. หอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษา 1 หอ้ ง 10. ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง 11. หอ้ งสมุด 1 ห้อง 12. หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางด้านนาฏศลิ ป์ 1 ห้อง 13. ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางดา้ นดนตรี 14. ห้องปฏิบัตกิ ารสอื่ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1 หลัง 15 ห้องปฏิบตั กิ ารอินโนเวชนั่ เลิร์นนงิ่ 1 หลัง อาคารประกอบ 1 หลงั 16. อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.205/26 1 หลงั 17. อาคารจริยธรรม แบบสรา้ งเอง 1 หลงั 18. อาคารงานอาชพี – สหกรณ์ 1 หลัง 19. ศาลาประดษิ ฐานพระพุทธรปู 1 หลงั 20. ส้วม แบบ สปช.602/26 ขนาด 10 ท่ีนง่ั 21. ส้วม แบบ สปช.601/26 ขนาด 4 ที่น่ัง 1 สนาม 22. ศาลาทรงแปดเหล่ียม แบบสร้างเอง 1 สนาม สนามกีฬา 1 สนาม 23 สนามวอลเลย์บอล 24 สนามตะกรอ้ 1 สนาม 25 สนามบาสเกตบอล 1 สนาม สนามกฬี า 26 สนามอเนกประสงค์ 27 สนามเด็กเล่น แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
12 2) ข้อมูลแหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียน สถติ ิการเข้าใช้บริการ 1,025 ลาดับ รายการแหล่งการเรียนรู้ภายใน 1200 1 หอ้ งสมุด 700 2 ห้องคอมพวิ เตอร์ 1000 3 ห้องโสตทัศนปู กรณ์ 600 4 หอ้ งวิทยาศาสตร์ 600 5 หอ้ งส่อื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1200 6 หอ้ งดนตรี 1200 7 หอ้ งนาฏศลิ ป์ 1200 8 ห้องประชาสมั พันธ์ 1200 9 สนามเดก็ เลน่ 400 10 เรือนเพาะชา 400 11 ห้องจริยธรรม 1000 12 หอ้ งประชาธปิ ไตย 1200 13 หอ้ งพยาบาล 14 ต้นไมค้ าคม สถิติการเข้าใชบ้ ริการ 60 ลาดับ รายการแหลง่ การเรียนรภู้ ายนอก 40 1 วดั สนั ตวิ นาราม 65 2 วัดสามคั คธี รรม 40 3 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลท่ามะเขือ 4 4 ศนู ยส์ ่งเสริมวฒั นธรรมไทยสายใยชุมชน วัดสนั ตวิ นาราม 4 5 อทุ ยานประวัตศิ าสตร์มรดกโลกกาแพงเพชร 70 6 สถานแหง่ ชาติ จ.กาแพงเพชร 15 7 ตลาดสดเทศบาลตาบลท่ามะเขอื 50 8 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2 5 9 ศาลเจ้าพ่อปดู่ า 12 10 สานกั สงฆ์ บา้ นดงประดา 1 11 โรงพยาบาลคลองขลงุ 12 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การเรยี นรู้เกาะเสอื อาเภอโกสัมพนี คร จังหวัดกาแพงเพชร แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
13 6. ข้อมลู สภาพชุมชน 1) สภาพชุมชนรอบโรงเรียน (บอกลกั ษณะภูมิประเทศรอบๆโรงเรยี น) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมีลักษณะเป็นสังคมชนบทก่งึ เมอื ง มีประชากรประมาณ 4,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ วัดสนั ตวิ นาราม วดั สามัคคธี รรม วัดวังคลา้ ย สถานอี นามัยตาบลทา่ มะเขอื ตลาดสดเทศบาลตาบลท่ามะเขือ สวนกล้วยไม้ ไรอ่ อ้ ย อาชพี หลัก ของชมุ ชน คอื รับจ้าง สว่ นใหญน่ ับถือศาสนา พทุ ธ ประเพณ/ี ศิลปะวัฒนธรรมท้องถนิ่ เปน็ ทร่ี ู้จักโดยทว่ั ไป คอื การทาบุญตักบาตร งานวันสาคญั ทางศาสนา ตักบาตรเทโว งานประเพณลี อยกระทง งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณีงานงวิ้ เจ้าพ่อปดู่ า (ตลาดเหนอื ) งานง้วิ เจา้ พอ่ เสอื (ตลาดใต้) ในชมุ ชนตลาดท่ามะเขอื 2) ข้อมูลผู้ปกครอง ระดับการศกึ ษา ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอนต้น อาชีพหลัก คือ รบั จ้าง สว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ ครอบครัว ตอ่ ปี 20,000- 30,000 บาท จานวนคนเฉลยี่ ตอ่ ครอบครวั 5 คน 7. ข้อมูลผลการดาเนนิ งานในปีท่ีผา่ นมา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕65 1.1 ระดบั ปฐมวัย ช้นั จานวน พัฒนาการดา้ น จานวน/ร้อยละของเดก็ ตามระดบั คณุ ภาพ นกั เรียน(คน) ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ๑. ดา้ นรา่ งกาย 85.71 14.29 - อนบุ าล 1 7 ๒. ดา้ นอารมณ์-จิตใจ 100 - - ๓. ด้านสงั คม 100 - - ๔. ด้านสตปิ ญั ญา 85.71 14.29 - ๑. ด้านรา่ งกาย 100 - - อนบุ าล 2 8 ๒. ดา้ นอารมณ์-จิตใจ 100 - - ๓. ด้านสังคม 100 - - ๔. ดา้ นสตปิ ญั ญา 87.50 12.50 - ๑. ดา้ นร่างกาย 100 - - อนุบาล 3 7 ๒. ด้านอารมณ์-จิตใจ 100 - - ๓. ด้านสังคม 100 - - ๔. ด้านสตปิ ัญญา 85.71 14.28 - แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
14 1.2 ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ (คา่ เฉลีย่ ) ชน้ั ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประวัติศาสตร์ สุขศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงาน ภาษา อาชพี ฯ ต่างประเทศ ป.๑ 79.5 68.2 71.1 71.1 70.00 66 82.1 75.4 66.1 ป.๒ 80.8 79.1 82.1 76.5 78.2 72.1 80.0 76.5 76.1 ป.๓ 62.4 68.9 58.3 60.5 64.4 52.3 76.8 70.8 60.1 ป.๔ 68.55 68.41 68.00 69.14 66.38 60.59 73.83 73.59 66.28 ป.๕ 77.00 74.86 81.89 77.43 71.79 54.32 79.79 74.39 74.07 ป.๖ 79.43 63.43 81.67 65.52 67.14 72.10 78.29 61.05 66.29 รวม 74.61 70.48 73.84 70.03 69.65 62.90 78.42 71.96 68.16 ค่าเฉลย่ี ม.๑ 73.60 60.31 71.03 71.83 63.17 73.09 65.73 64.26 58.46 ม.๒ 76.92 59.46 70.42 75.71 57.25 77.33 64.96 73.54 61.54 ม.๓ 73.77 58.81 76.87 67.94 66.61 74.33 71.63 67.97 58.42 รวม 74.76 59.53 72.77 62.34 62.34 74.83 67.44 68.59 59.42 ค่าเฉลี่ย คาอธบิ าย รวมคา่ เฉลย่ี = ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนนักเรยี นทุกคนในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้แตล่ ะช้นั หารดว้ ยจานวนนกั เรียน ทั้งหมดแต่ละช้ัน ๒) ผลการทดสอบ ระดับชาติ 2.1 ทดสอบเพอ่ื ประเมินความสามารถในการอา่ น (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ความสามารถ จานวนคน คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เฉลย่ี ร้อยละ การออกเสยี ง 25 64.44 15.88 65.44 การอ่านร้เู รื่อง 25 50.96 9.62 50.96 58.20 เฉล่ยี รวม 2.2 การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ความสามารถ จานวนคน คะแนนเฉลีย่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน เฉลยี่ รอ้ ยละ คณติ ศาสตร์ 18 35.83 13.43 35.83 ภาษาไทย 18 40.02 20.91 40.02 37.93 เฉลีย่ รวม แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
15 2.3 การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O - NET) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ สาระการเรยี นรู้ จานวนคน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน เฉลี่ยร้อยละ คณติ ศาสตร์ 15 19.29 25.78 ภาษาไทย 15 13.72 58.08 วทิ ยาศาสตร์ 15 8.88 31.67 ภาษาอังกฤษ 15 13.69 30.83 36.59 เฉลยี่ รวม 2.4 การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O - NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาศึกษาปที ่ี ๓ สาระการเรยี นรู้ จานวนคน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เฉล่ียร้อยละ คณิตศาสตร์ 15 8.44 20.58 ภาษาไทย 15 11.31 58.99 วิทยาศาสตร์ 15 7.41 32.87 ภาษาอังกฤษ 15 6.24 29.58 เฉล่ยี รวม 35.51 3) ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ตนเอง 3.1 ระดบั ปฐมวยั ของโรงเรียน (ปีการศกึ ษา ...............) มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเย่ียม ๑. คณุ ภาพของเดก็ ✓ ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ๓. กระบวนการจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เปน็ สาคัญ ✓ ผลการประเมนิ ในภาพรวม ✓ คาอธิบาย : ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมายถกู ในช่องระดับคณุ ภาพ ✓ 3.2 ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน มาตรฐานการศึกษา ผลการประเมนิ ตนเอง ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ของโรงเรยี น (ปีการศึกษา ...............) กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม ๑. คณุ ภาพของผู้เรียน ✓ ๒. กระบวนการบริหารและการจดั การ ✓ ๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ✓ ผลการประเมินในภาพรวม ✓ คาอธบิ าย : ให้ใส่เครือ่ งหมายถกู ในชอ่ งระดับคุณภาพ แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
16 ๔) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (เมือ่ วันที่ 21 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565 ) 4.1 ระดบั ปฐมวัย มาตรฐานการศกึ ษา ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ระดบั ปฐมวยั ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ดีเย่ียม ๑. คณุ ภาพของเดก็ ✓ ๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ✓ ๓. กระบวนการจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเปน็ สาคญั ✓ คาอธบิ าย : ให้ใส่เคร่ืองหมายถกู ในช่องระดับคณุ ภาพ ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก ระดับปฐมวัย จุดเด่น ระบุเป้าหมายคุณภาพเด็กปฐมวัยสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง เป็นแนวทางการ พฒั นาสรา้ งแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูแ้ ก่เด็ก จุดทค่ี วรพัฒนา ผปู้ กครอง ครแู ละเดก็ จดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกัน ขอ้ เสนอแนะ หากผลการประเมนิ ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมายควรทบทวนการใช้เครื่องมือมาวิเคราะห์ เพอ่ื จดั ทาแผนสาหรับพัฒนาการเดก็ ใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑ์เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ 4.2 ระดับระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. มาตรฐานการศึกษา ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ดีเยีย่ ม ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑. คณุ ภาพของผู้เรียน ✓ ✓ ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ✓ ๓. กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั คาอธบิ าย : ใหใ้ สเ่ ครื่องหมายถกู ในชอ่ งระดบั คุณภาพ ข้อเสนอแนะจากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน จุดเด่น สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ในระดับดีเลิศมีการ กาหนดเปา้ หมายด้านคณุ ภาพผู้เรยี นเปน็ ไปตามมาตรฐานรการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัดตามหลักสูตรสถานศกึ ษา จดุ ที่ควรพัฒนา สถานศึกษาควรเพิม่ เตมิ ข้อมลู แนวทางการพิจารณาการกาหนดค่าเป้าหมายเพ่ือ การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพข้อเสนอแนะดา้ นการบริหารและการ จดั การเพมิ่ เติม ขอ้ เสนอแนะ สถานศกึ ษาควรเพิม่ ข้อมลู ข้อเสนอแนะทีส่ อดรับกับจุดท่ีควรพฒั นาในทกุ มาตรฐาน แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลุง
17 5) โครงการ / กิจกรรมท่ีประสบความสาเร็จ (ถา้ มี) ชอ่ื โครงการ / กจิ กรรม หลักฐานยนื ยันความสาเร็จ โครงการพฒั นางานวิชาการ รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม โครงการพัฒนากจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการส่งเสริมศักยภาพและยกระดับผลสัมฤทธ์ิ รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถา่ ยกิจกรรม ทางการเรียน โครงการสง่ เสริมการจัดการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตร รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการห้องสมดุ กา้ วไกลไปสูโ่ ลกกว้าง/รักการอ่าน รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการพฒั นาคณุ ภาพปฐมวัย รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการพฒั นาห้องเรียนคุณภาพ รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการปรับปรุงซอ่ มบารุง ซอ่ มแซมดูแลยานพาหนะ รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการศกึ ษาและเรียนรนู้ อกสถานศึกษา รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาและ รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โสตทัศนปู กรณ์ โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากร รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม ทางการศกึ ษา โครงการสาธารณปโภค รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีและสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการวนั สาคญั รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการพัฒนาขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการ รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม และประชาสัมพันธ์ โครงการโรงเรยี นสขี าว รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการนิเทศภายใน รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกิจกรรม โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม โครงการปรับปรุงและพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม โครงการพัฒนาความสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกิจกรรม และคดิ สรา้ งสรรค์ โครงการกจิ กรรมภาษาอังกฤษ CHISTMAS’S DAY รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถ่ายกิจกรรม โครงการขอรับเงนิ อดุ หนนุ อาหารกลางวนั รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกิจกรรม โครงการพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน รายงานผลการดาเนนิ โครงการ ภาพถา่ ยกิจกรรม ชื่อโครงการ / กิจกรรม หลักฐานยืนยันความสาเร็จ รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการส่งเสริมพัฒนาสุขภาวะผูเ้ รยี น รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถา่ ยกจิ กรรม โครงการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระ การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายงานผลการดาเนินโครงการ ภาพถ่ายกจิ กรรม โครงการสง่ เสริมสนุ ทรยี ทางดนตรี นาฏศิลป์ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
18 6) รางวัลทไ่ี ดร้ ับในรอบปที ผ่ี า่ นมา ประเภท ระดับรางวลั /ชือ่ รางวัลทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานท่ีมอบ ระดับสถานศกึ ษา 1. ครผู ู้ฝกึ สอนได้รบั เหรยี ญทอง รอง สพฐ. 2. ชนะเลศิ อันดับท่ี 2 ในการแขง่ ขนั ศิลปะ- สพฐ. ผู้บรหิ ารโรงเรียน ดนตรี งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน สพฐ. 1. ระดับชาติ คร้งั ท่ี 70 ปกี ารศกึ ษา 2565 2. ระดบั ภาคเหนอื จังหวดั นา่ น ครู ครผู ฝู้ กึ สอนครูผฝู้ กึ สอนได้รบั เหรยี ญทอง 1. นายคมสนั สวุ รรณ รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ในการแขง่ ขัน นชุ ศิลปะ-ดนตรี งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 70 ปกี ารศึกษา 2565 2. นางสาวอรสิ า ระดบั ภาคเหนอื จังหวดั นา่ น องอาจกิจ บุคลากรทางการศึกษา 1. นายวรากรณ์ แสง ครผู ู้ฝกึ สอนไดร้ บั เหรียญทอง รอง ทอง ชนะเลศิ อันดับที่ 2 ในการแข่งขันศิลปะ- ดนตรี งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 70 ปีการศกึ ษา 2565 ระดับภาคเหนอื จังหวัดน่าน นักเรยี น ได้รับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ 2 สพฐ. 1. เด็กชายศักรินทร์ ในการแข่งขันศิลปะ-ดนตรี จนั ถาวร งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ครง้ั ที่ 70 ปีการศกึ ษา 2565 แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ
2. เดก็ ชายสุทธิภัทร ได้รับเหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ 2 19 พรหมบุตร ในการแขง่ ขันศิลปะ-ดนตรี งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ สพฐ. 3. เดก็ ชายพรภมู ินทร์ คร้ังที่ 70 ปกี ารศกึ ษา 2565 สพฐ. ชอบธรรม สพฐ. ได้รบั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดับที่ 2 สพฐ. 4. เดก็ ชายตะวนั พงษ์ ในการแขง่ ขันศิลปะ-ดนตรี สพฐ. สระพัง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 70 ปกี ารศึกษา 2565 5. เดก็ ชายปรเมดศ วงษเ์ จยี ม ได้รับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับท่ี 2 ในการแขง่ ขันศิลปะ-ดนตรี 6. เด็กชายกติ ติพฒั น์ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั ชาติ อุดมนทิ ศั น์ ครง้ั ที่ 70 ปกี ารศกึ ษา 2565 . ไดร้ บั เหรียญทอง รองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 2 ในการแขง่ ขนั ศิลปะ-ดนตรี งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 70 ปีการศึกษา 2565 ได้รับเหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับท่ี 2 ในการแขง่ ขันศิลปะ-ดนตรี งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 70 ปกี ารศึกษา 2565 แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
20 สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการบรหิ ารและกลยทุ ธ์การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ การจัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2566 ของโรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ มีกฎหมาย ระเบยี บและขอ้ บังคับที่เก่ียวขอ้ ง ดังน้ี 1. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 2. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ 10 3. การสบื สานพระราชปณธิ านในหลวงรชั กาลที่ 9 ดา้ นการศึกษา 4. กรอบยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2566-2570) 5. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) 6. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี 8. นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 9. นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 10. แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดกาแพงเพชร พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2570 1.11 ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2 1. ทศิ ทางการบรหิ ารและการพัฒนา 1.1 รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติสาระสาคัญเก่ียวกับการศึกษา ข้ันพื้นฐานไว้ใน มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ กอ่ นวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบังคบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพอื่ พฒั นาร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาใหส้ มกับวยั โดยสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีสว่ นรว่ มในการดาเนนิ การด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมท้ังส่งเสริมให้มี การเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอย่างน้อยต้อง มีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติด้วย การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญ ไดต้ ามความถนดั ของตน และมีความรบั ผิดชอบต่อครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ในการดาเนินการใหเ้ ด็กเลก็ ไดร้ ับการดแู ลและพฒั นาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัดของตน ให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและ เพ่อื เสริมสรา้ งและพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครู โดยให้รฐั จดั สรรงบประมาณให้แก่กองทนุ หรือใช้มาตรการ หรอื กลไกทางภาษีรวมท้งั การใหผ้ ูบ้ ริจาคทรัพย์สินเขา้ กองทุนไดร้ ับประโยชนใ์ นการลดหยอ่ นภาษดี ว้ ย แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
21 1.2 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรชั กาลท่ี 10 การศึกษาต้องมุ่งสรา้ งพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ดา้ น คือ 2.1 ทัศนคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง ไดแ้ ก่ 2.1.1 ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ชาตบิ า้ นเมือง 2.1.2 ยดึ มัน่ ในศาสนา 2.1.3 มน่ั คงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 2.1.4 มีความเออ้ื อาทรตอ่ ครอบครวั และชมุ ชนของตน 2.2 มพี นื้ ฐานชวี ติ ทม่ี นั่ คง – มคี ณุ ธรรม 2.2.1 รู้จกั แยกแยะสงิ่ ที่ผิด – ชอบ / ช่ัว – ดี 2.2.2 ปฏบิ ตั ิแต่สง่ิ ทีช่ อบ สง่ิ ทดี่ งี าม 2.3.3 ปฏิเสธสงิ่ ท่ีผดิ สิ่งทชี่ ั่ว 2.4.4 ช่วยกันสรา้ งคนดีใหแ้ กบ่ า้ นเมอื ง 2.3 มงี านทา – มีอาชีพ 2.3.1 การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้ เด็กและเยาวชนรกั งาน ส้งู าน ทางานจนสาเร็จ 2.3.2 การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทางานเปน็ และมงี านทาในทีส่ ุด 2.3.3 ต้องสนับสนนุ ผสู้ าเรจ็ หลกั สตู รมอี าชีพ มีงานทาจนสามารถเลย้ี งตัวเองและครอบครัว 2.4 เปน็ พลเมืองดี 2.4.1 การเป็นพลเมอื งดี เป็นหน้าท่ีของทกุ คน 2.4.2 ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสหน้าที่ เป็นพลเมอื งดี 2.4.3 การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรท่ีจะทาเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทา” เช่น งานอาสา สมคั รงานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทาด้วยความมีน้าใจและความเอ้ืออาทร 1.3 การสบื สานพระราชปณธิ านในหลวงรชั กาลที่ 9 ด้านการศกึ ษา 3.1 “ครูต้องสอนให้นักเรียนมีน้าใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพื่อนท่ีเรียนล้าหลังมิใช่สอนให้คิด แต่จะแข่งขัน (Compete) กับเพื่อนเพ่ือให้คนเก่งได้ลาดับดีๆ เช่น สอบได้ที่หน่ึงของช้ัน แต่ต้องให้เด็กแข่งขัน กบั ตนเอง” (11 ม.ิ ย.2555) 3.2 “ครูไม่จาเป็นต้องมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องปลูกฝังความดีให้นักเรียนชั้นต้น อบรมบ่มนสิ ัยใหเ้ ป็นพลเมืองดีเด็กโตก็ทาไดเ้ ช่นกนั ” (6 ม.ิ ย.2555) 3.3 “เราต้องฝึกหัดใหน้ ักเรยี นรู้จักทางานร่วมกันเป็นกลุ่มเปน็ หมู่คณะมากข้ึน จะได้มีความสามัคคี รู้จักดแู ลช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกันเอือ้ เฟอ้ื เผอื่ แผค่ วามรู้และประสบการณ์แก่กนั ” (๕ ก.ค.๒๕๕๕) 3.4 “ทาตัวอย่างไรให้นักเรยี นเป็นคนดี นกั เรยี นรักครู ครูรักนกั เรียน” (๙ ก.ค.๒๕๕๕) 3.5 “เร่ืองครูมีความสาคัญไม่น้อยกว่านักเรียนปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะจานวนไม่พอ และครูย้ายบ่อย ดังนั้น ก่อนคัดเลือกเด็กท่ีจะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ให้พร้อมก่อนท่ีจะสอนเด็กให้ได้ผล ตามที่ต้องการ จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องตั้งฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสมและปลูกจิตสานกึ โดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” (11 มิ.ย. 2555) แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
22 1.4 กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี รัฐบาลได้กาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ในการดาเนินงานไว้ ดังน้ี 4.1 วสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมน่ั คง มัง่ คั่ง ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคตพิ จนป์ ระจาชาติวา่ “มน่ั คง มัง่ ค่ัง ย่งั ยนื ” 4.2 ยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานด้านต่างๆ ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความม่ันคง เพ่ือปรับเปล่ียนและเสริมสร้างเสถียรภาพให้เหมาะสมตามกรอบ แนวคิดใหม่ท่ีเรียกกว่า “ความม่ันคงแบบองค์รวม” โดยมีเป้าหมายเพื่อจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศ ให้ม่ันคง ปลอดภัย และสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ทุกมิติ และพร้อมรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติ ได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ใช้กลไกในการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคก์ รทไ่ี ม่ใช่รัฐ ประเทศเพ่อื นบา้ น และมิตรประเทศท่ัวโลก บนพ้ืนฐานหลกั ธรรมมาภิบาล เปา้ หมาย 1) ประชาชนอยูด่ ี กินดี และมคี วามสุข 2) บ้านเมอื งมีความมน่ั คง 3) กองทพั หน่วยงานด้านความม่ันคง ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีควาพร้อมใน การป้องกันและแกไ้ ขปัญหาความมน่ั คง 4) ประเทศไทยมีบทบาทด้านความม่ันคงเป็นท่ีช่ืนชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคม ระหว่างประเทศ 5) การบรหิ ารจดั การความม่ันคงมีผลสาเร็จท่เี ปน็ รูปธรรมอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาติ 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ 2) การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาทมี่ ีผลกระทบต่อความมนั่ คง 3) การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พรอ้ มเผชญิ ภยั คกุ คามท่กี ระทบตอ่ ความมั่นคงของชาติ 4) การบูรณาการความร่วมมือด้านความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติรวมถึงองค์กร ภาครฐั และท่ีมใิ ชภ่ าครฐั 5) การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับ ไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิจ ให้เกิดการยกระดับรายได้เพื่อลดความเหล่ือมล้า สร้างเครื่องยนต์ทางเศรษฐกิจใหม่เพ่ือนาประเทศ สู่เป้าหมายในช่วง ๒๐ ปี ข้างหน้า จะมุ่งเน้นการวิจัย พัฒนานวัตกรรม และนาเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้และ ต่อยอดภาคการผลิต และบริการในปัจจุบัน เพื่อเพ่ิมผลิตภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนารูปแบบการค้า ให้สอดรับกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป การส่งเสริมให้เกิดสังคมผู้ประกอบการ การพัฒนาทักษะ และความสามารถ ของแรงงานท้งั น้ี ภายใต้กรอบการปฏริ ูปและพัฒนาปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์ทกุ ด้าน เปา้ หมาย 1) ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่พี ัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเตบิ โตอย่างมีเสถียรภาพและย่ังยืน 2) ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขน้ึ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
23 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ 1) การเกษตรสร้างมูลค่า 2) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 3) สรา้ งความหลากหลายด้านการท่องเท่ยี ว 4) โครงสรา้ งพื้นฐาน เชือ่ มไทย เช่ือมโลก 5) พฒั นาเศรษฐกจิ บนพ้นื ฐานผปู้ ระกอบการรุ่นใหม่ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้ทรัพยากรมนษุ ย์ ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยสามารถได้รับการพัฒนาและยกระดับ ได้เต็มศักยภาพและเหมาะสม ตลอดช่วงชีวติ ควบคู่กับการปฏิรปู ที่สาคัญ ท้ังในส่วนของการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวฒั นธรรม เพือ่ ให้คนมีความ ดีอยู่ใน ‘วิถี’ การดาเนินชีวิตและ มีจิตสานึกร่วมในการสร้างสังคมที่น่าอยู่ และการเรียนรู้แบบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต พร้อมท้ังการเสริมสร้างครอบครัวที่เข้มแข็งอบอุ่น ซ่ึงเป็นการวางรากฐานการส่งต่อเด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วงอายุถัดไป ภายใต้กรอบ การพัฒนา เปา้ หมาย 1) คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวถิ ชี ีวติ ในศตวรรษท่ี 21 2) สงั คมไทยมีสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อและสนบั สนุนตอ่ การพฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าติ 1) การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวฒั นธรรม 2) การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 3) ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 4) การตระหนักถึงพหุปญั ญาของมนษุ ย์ที่หลากหลาย 5) การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมสี ขุ ภาวะทีด่ ี 6) การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 7) การเสรมิ สรา้ งศักยภาพการกฬี าในการสรา้ งคณุ ค่าทางสงั คมและพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เน้นการตอบ โจทย์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ เพื่อให้การเติบโต ของประเทศเป็นการเติบโตที่ย่ังยืนโดยทุกคนได้รับประโยชน์อย่างท่ัวถึง และเป็นธรรม มุ่งเน้นการดึงเอาพลัง ทางสังคมท่ีประกอบด้วยภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่นมาร่วม ขับเคลื่อน การพัฒนาประเทศในรปู แบบประชารฐั เป้าหมาย 1) สรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ 2) กระจายศูนยก์ ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และสังคม เพ่มิ โอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ มาเป็น กาลังของการพัฒนาประเทศในทกุ ระดับ 3) เพมิ่ ขดี ความสามารถของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจดั การตนเอง ประเด็นยทุ ธศาสตร์ชาติ 1) การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเปน็ ธรรมในทุกมิติ 2) การกระจายศูนยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกจิ สงั คม และเทคโนโลยี 3) การเสรมิ สร้างพลังทางสงั คม 4) การเพ่มิ ขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพฒั นา การพ่ึงตนเอง แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
24 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้น้อมนา ศาสตร์ของพระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน โดยยึดหลัก ๓ ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” มาเป็นหลักในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติควบคู่กับการนาเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน ท้ัง ๑๗ เปา้ หมาย มาเปน็ กรอบแนวคิดทีจ่ ะผลกั ดันดาเนนิ การเพื่อนาไปสกู่ ารบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืนใน ทุกมิติทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วน ความรว่ มมือระหว่างกันทัง้ ภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ โดยมีวิสัยทัศน์เพ่ือให้ประเทศไทย เป็นประเทศพัฒนาแล้วท่ีมี คุณภาพชวี ิตและส่งิ แวดล้อมทด่ี ที ่สี ดุ ในอาเซียนภายในปีพ.ศ. ๒๕๘๐ เป้าหมาย 1) อนุรกั ษ์และรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นตอ่ ไปได้ใช้ อย่าง ยงั่ ยืน มีสมดุล 2) ฟื้นฟูและสร้างใหม่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือลดผลกระทบทางลบจากการ พัฒนาสงั คม เศรษฐกิจของประเทศ 3) ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมให้สมดลุ ภายใน ขดี ความสามารถของระบบนิเวศ 4) ยกระดับกระบวนทัศน์ เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม บนหลกั ของการมีส่วนรว่ ม และธรรมาภิบาล ประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าติ 1) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกจิ สเี ขยี ว 2) สรา้ งการเติบโตอย่างยัง่ ยนื บนสังคมเศรษฐกจิ ภาคทะเล 3) สรา้ งการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสงั คมทเ่ี ป็นมติ รตอ่ สภาพภูมอิ ากาศ 4) พัฒนาพ้ืนที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ มงุ่ เน้นความเปน็ เมืองที่ เตบิ โตอยา่ งต่อเนื่อง 5) พัฒนาความมน่ั คงด้าน พลงั งาน และเกษตรทเี่ ปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6) ยกระดับกระบวนทศั นเ์ พ่ือกาหนดอนาคตประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นา ระบบการบริหารจัดการภาครฐั ทเ่ี นน้ การปรับเปลี่ยน ภาครัฐ ยดึ หลกั “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ สว่ นรวม” โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดที่เหมาะสม กั บ บ ท บ า ท ภ า ร กิ จ แ ล ะ แ ย ก แ ย ะ บ ท บ า ท ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ที่ ท า ห น้ า ท่ี ใ น ก า ร ก า กั บ ห รื อ ในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ ทางานให้มุ่งผลสมั ฤทธ์ิและผลประโยชนส์ ว่ นรวม มีความทันสมัย และพรอ้ มที่จะปรบั ตัวใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลง ของโลกอยตู่ ลอดเวลา เปา้ หมาย 1) ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 2) ภาครฐั มีขนาดเล็กลง พรอ้ มปรบั ตวั ให้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง 3) ภาครัฐมีความโปรง่ ใส ปลอดการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 4) กระบวนการยตุ ิธรรม เป็นไปเพ่ือประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมของประเทศ ประเด็นยุทธศาสตรช์ าติ 1) ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
25 2) ภาครัฐบริหารงานแบบบรู ณาการโดยมยี ุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยงการพฒั นา ในทุกระดบั ทุกประเดน็ ทกุ ภารกิจ และทุกพ้นื ท่ี 3) ภาครัฐมขี นาดเลก็ ลง เหมาะสมกบั ภารกิจ ส่งเสริมใหป้ ระชาชนและทุกภาคส่วนมีสว่ นรว่ ม ใน การพฒั นาประเทศ 4) ภาครัฐมคี วามทันสมยั 5) บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก มีความสามารถสูง มงุ่ ม่ัน และเป็นมืออาชีพ 6) ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ 7) กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกบั บรบิ ทต่าง ๆ และมีเท่าท่ีจาเป็น 8) กระบวนการยุตธิ รรมเคารพสิทธมิ นุษยชนและปฏบิ ัตติ ่อประชาชนโดยเสมอภาค 4.3 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาและอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง ศึกษาธิการ ด้านการศึกษา 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ ประเด็นท่ี 10 การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม ประเด็นที่ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และประเด็นท่ี 12 การพัฒนาการเรียนรู้ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ประเด็นท่ี 10 การปรับเปลย่ี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม เป็นปจั จยั พ้นื ฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความสมบูรณ์ ควบคู่ไปกับการยกระดับในด้านสุขภาวะและด้านทักษะการศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ ในการพัฒนาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยให้เปน็ คนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยในช่วงท่ีผ่านมา กระแสของการ เปลี่ ยน แปลง ต่ าง ๆ ที่ หลั่ ง ไ หลเข้ าสู่ ปร ะ เ ทศไ ทย อ าทิ เทคโ น โ ลยี และ ส่ื อ ท่ี มี อิ ทธิ พ ลและ มีการขยายตัวอย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง การสร้างบุคลิกภาพของคนรุ่นใหม่ในโลกแห่งความเป็นจริงกับโลกไซ เบอร์หรือโลกเสมือนความรักสนุกและรักสบาย ขาดความอดทนขาดวินัย และวัตถุนิยม ตลอดจนค่านิยม ในการยอมรับคนทมี่ ีฐานะมากกว่าคนดีมีคุณธรรม สง่ ผลให้ในช่วงที่ผ่านมาประชากรไทยส่วนใหญย่ ังมีปญั หาด้าน คุณธรรมจริยธรรม และไม่ตระหนักถึงความสาคัญของการมีวินัย ความซ่ือสัตย์สุจริต และการมี จติ สาธารณะดงั ปรากฏในผลการสารวจด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมต่างๆ อาทิ การสารวจโดยศนู ยค์ ณุ ธรรม (องคก์ าร มหาชน) เมื่อปี 2561 พบว่า ปัญหาความซื่อสัตย์ สุจริต ทุจริตคอรัปชั่น เป็นปัญหาท่ีมีความรุนแรงมากท่ีสุด (ระดับความรุนแรง 4.13 จากคะแนนเต็ม 5.00) และจาเป็นต้องได้รบั การแก้ไขปัญหามากที่สุด รองลงมาคือ ปัญหาจติ สานกึ สาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกวา่ ส่วนรวม ซงึ่ อาจสะท้อนการเปล่ยี นไปของวฒั นธรรม และวิถชี วี ิตทีม่ คี า่ นยิ มยึดตนเองเปน็ หลักมากกวา่ การคานึงถึงสงั คมสว่ นรวม 1. เป้าหมายการพฒั นาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นความมนั่ คง 1) ประชาชนอย่ดู ี กินดี และมีความสขุ ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 1) คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 2) สงั คมไทยมสี ภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ และสนบั สนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 1) สร้างความเปน็ ธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทกุ มติ ิ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ
26 ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม 1) ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรมบนหลักของการมสี ่วนร่วมและธรรมาภิบาล ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั 1) ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ 2. แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ การปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรม เป็นรากฐานที่สาคัญต่อการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ โดยต้องสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม โดยใช้กลไกทางสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน วัด ชุมชน และสื่อ ในการปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม ความซ่ือสตั ย์ วินยั คณุ ธรรม จริยธรรม การยดึ ม่นั ในสถาบันหลกั ความรักชาติและความภาคภูมิใจในความเป็น ชาติ และส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะ จิตอาสา รวมทั้งจิตสานึก ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม โดยมแี นวทางการพฒั นา 3 แผนยอ่ ย ดังน้ี 2.1 แผนยอ่ ยการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ค่านยิ ม และการเสรมิ สรา้ งจติ สาธารณะและการ เปน็ พลเมืองที่ดี การจัดการเรียนการสอนท้ังในและนอกสถานศึกษา สอดแทรกการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการมจี ติ สาธารณะเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทกุ กิจกรรม รวมท้งั ปรบั สภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอก สถานศึกษาให้เอื้อต่อการมีคุณธรรมจริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมถึงการรักษา ขนบธรรมเนียมและประเพณี อั น ดี ง า ม ต ล อ ด จ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู้ แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใหร้ องรบั การเปล่ียนแปลงท้ังในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้น หาก ให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในสถานศึกษาให้มีความครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ วิชาการ วิชาชีพ วิชาชีวิต และการพัฒนาองค์ความรู้ เคร่ืองมือ และทักษะการสร้างการเรียนรู้ในการปลูกฝังส่งเสริม ค่านิยม วัฒนธรรม และคุณธรรมที่พึงประสงค์ผ่านการเรียนการสอนและกิจกรรมต่าง ๆ รวมท้ังการพัฒนา ศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการปลูกฝังส่งเสริมคุณธรรม ให้แก่นักเรียน พัฒนาให้ครูเป็นตัวอย่างท่ีดีสาหรับนักเรียนท้ังการดารงชีวติ ความประพฤติ และรสนิยม ควบคู่ กับการสร้างความร่วมมือในการปลูกฝังส่งเสริม ความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรมจริยธรรม ระหว่าง บ้าน โรงเรียน และชุมชนให้มคี วามต่อเนื่องจนยึดถือเปน็ หลกั ในการดารงชวี ิต รวมถงึ การสร้างความเข้มแข็งของ สถาบันทางศาสนาเพื่อเผยแพร่หลักคาสอนท่ีดงี ามใหแ้ ก่ประชาชน โดยพัฒนาผู้เผยแผ่ศาสนาให้ประพฤตปิ ฏิบตั ิ ตัวเป็นแบบอย่าง ตามคาสอนท่ีถูกต้องของแต่ละศาสนา รวมทั้ง มีการเผยแผ่หลักธรรมคาสอน ทางศาสนาท่ีสอดคล้องกับการดาเนินชีวิตที่เข้าใจง่าย และสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง ดังนั้นหากมีระบบ คัดสรรและการเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเป็นพระ นักบวชในศาสนา ซ่ึงจะช่วยสร้างความน่าเช่ือถือ แก่ผู้เผยแผ่ศาสนาและมีความสามารถและศักยภาพในการเผยแผ่หลักคาสอนท่ีถูกต้อง เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมายและบรบิ ททม่ี คี วามหลากหลายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แนวทางการพฒั นา 1) ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมผ่านการเล้ียงดูในครอบครัว ปลูกฝังค่านิยมและ บรรทัดฐานวัฒนธรรมที่ดีผ่านสถาบันครอบครัว ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมท่ีพัฒนาในเรื่องคุณธรรมจริยธรรม การมัธยัสถ์ อดออม ซื่อสัตย์และดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเสริมให้สถาบัน ครอบครวั เข้มแข็งและอบอ่นุ แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
27 2) บูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรมจริยธรรม และด้านส่ิงแวดล้อมในการ จัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรยี นการสอนตามพระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนรู้ทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมทั้งการตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้รองรับ การเปล่ียนแปลง ท้ังในประเทศและต่างประเทศ 3) สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางศาสนาเพือ่ เผยแพร่หลักคาสอนที่ดีอุปถมั ภ์คุ้มครอง ศาสนา ส่งเสรมิ กิจกรรมและการนาหลักธรรมทางศาสนามาใช้ในชวี ติ ประจาวัน 4) ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน อนุรักษ์พัฒนาและสืบสานมรดก ทางศิลปะและวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิน่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม รณรงคส์ ่งเสรมิ ความเป็นไทย ในระดับทอ้ งถิ่นและชุมชน จัดใหม้ พี น้ื ทมี่ รดกทางวัฒนธรรมของพื้นท่ี ส่งเสริมชุมชนให้เป็นฐานการสรา้ งวิถีชีวิต พอเพียง 5) การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมสร้าง จิ ตสาธาร ณะ และจิ ตอ าสาโ ดย ใช้ ประ โยชน์ จาก คว ามก้ าว หน้ าทางด้ าน เทคโนโลยี สาร สน เทศก าร ส่ื อ สา ร เพื่อรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นาการเปลี่ยนแปลง และต้นแบบท่ีดีท้ังระดับบุคคลและองค์กร โดยการยกย่องผู้นาท่ีมีจิตสาธารณะและจิตอาสา และมีความรับผิดชอบต่อสังคมส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไก การดาเนินงานในการสร้างเสริมการพัฒนาจิตสาธารณะและจิตอาสา เพ่ือสังคมและส่วนรวม โดยส่งเสริมและ สนับสนุนองค์กรสาธารณะทไ่ี ม่หวงั ผลประโยชน์ 2.2 แผนยอ่ ยการสร้างค่านิยมและวฒั นธรรมที่พงึ ประสงค์จากภาคธรุ กิจ การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์จากภาคธุรกิจ โดยกระตุ้นให้ภาคธุรกิจ มีการบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ และคานึงถึงการเติบโตท่ีเป็นมิตร กับทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อมบนหลักของการมีส่วนร่วม โดยการสร้างความรู้สึกรับผิดชอบต่อสังคม ของคนทุกคนในบริษัท ทั้งผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงานลูกจ้าง และลูกค้า รวมทั้งปรับเปลี่ยนทัศนคติการดาเนิน ธุรกิจจากการเน้นที่ผลตอบแทนสูงสุดของผู้ถือหุ้น เป็นการคานึงถึงต้นทุนทางสังคมและผลประโยชน์ตอบแทน ต่อส่วนรวมอย่างย่ังยืน แนวทางการพฒั นา 1) เสรมิ สรา้ งและพัฒนากลไก เพื่อใหภ้ าคธุรกิจส่งเสริมสนบั สนนุ และสร้างค่านิยมและ วัฒนธรรมท่ีดี โดยการสรา้ งมาตรการจูงใจให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุนพัฒนา ด้านสังคมในรปู แบบต่างๆ อาทิ วสิ าหกจิ เพอื่ สังคม การพฒั นาผลิตภณั ฑเ์ พ่อื ชมุ ชน การพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้ 2) ยกระดับการบริหารจัดการ รวมถึงมาตรการของภาครัฐเพ่ือให้ภาคธุรกิจร่วมรับผิดชอบ ในการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี อาทิ การประกวดหรือเชิดชูเกียรติให้กับ บริษัทหรือ ภาคธรุ กิจ ตัวอยา่ งทมี่ ธี รรมาภิบาลและร่วมสร้างค่านยิ มและวัฒนธรรมที่ดี บริษัทหรือภาคธุรกจิ ท่สี ่งเสรมิ คุณค่า ที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ มีจิตสานึกร่วมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดลอ้ มทีค่ านงึ ถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกยคุ ใหมแ่ ละพฤติกรรมของมนุษยท์ ี่เปลี่ยนไปในแตล่ ะชว่ ง 2.3 แผนย่อยการใช้ส่ือและส่ือสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของ คนในสงั คม การใช้สือ่ และสือ่ สารมวลชนในการปลูกฝังค่านยิ มและวัฒนธรรมของคนในสงั คมโดยส่งเสริมให้ ส่ือและสื่อสารมวลชนปฏิบัติตามจรรยาบรรณส่ืออย่างเคร่งครัด การจัดเวลาและพื้นที่ออกอากาศให้แก่ สอื่ สรา้ งสรรค์ในชว่ งเวลาที่มีผูช้ มมากท่สี ดุ รวมท้ังการสง่ เสริมการใช้ส่ือออนไลนแ์ ละเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
28 อย่างสรา้ งสรรค์ นาเสนอตัวอย่างของการมีคุณธรรมจริยธรรม และการมีจิตสาธารณะ เพ่อื ปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ดังนั้นหากมีมาตรการทางสังคมในการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการและวิชาชีพส่ือมี จรรยาบรรณตามวิชาชีพและรับผิดชอบต่อสังคม และการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันความรู้ในการเลือกรับ ปรับใช้สื่อหรือการรู้ เท่าทันส่ือและส่ือออนไลน์แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนท่ัวไป และการเฝ้าระวัง การบริโภคส่ือที่เหมาะสม และการส่งเสริมกิจกรรม การสื่อรณรงค์ การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และคา่ นิยมของสังคมไทยในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนือ่ ง กจ็ ะช่วยเสรมิ สร้างค่านิยมท่ดี ีให้แก่ประชาชน ทง้ั น้ี สื่อที่จะสามารถสร้างการเปล่ียนแปลงของสังคมได้น้ัน จะต้องเป็นสื่อท่ีมีเน้ือหาคุณภาพสูงที่มีผู้ผลิต และเผยแพร่กันอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน สามารถเข้าถึง รับรู้ และเข้าใจเน้ือหาของสื่อ จนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวัฒนธรรมอันดีงาม รวมท้ังบ่มเพาะคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของคนไทยได้ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาส่ือสร้างสรรค์ โดยจัดเวลาและพื้นที่ออกอากาศส่ือกระแสหลักให้แก่ สื่อสร้างสรรค์ รวมทั้งการส่งเสริมการใช้สื่อออนไลน์และเครือข่ายสังคมออนไลนอ์ ย่างสร้างสรรค์ เพื่อนาเสนอ ตัวอย่างของการมีคุณธรรมจริยธรรม และการมีจิตอาสา จิตสาธารณะ เพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ สร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท สิทธิ และหน้าท่กี ารเปน็ พลเมืองที่ดี ใหก้ บั ประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะในกลุ่มเดก็ 2) พัฒนาส่ือเผยแพร่เพ่ือส่งเสริมให้สื่อและส่ือสารมวลชนปฏิบัติงานบนเสรีภาพ ของส่ือควบคู่ไปกับจรรยาบรรณส่ืออย่างเคร่งครัดและมีความรับผิดชอบต่อสังคม พัฒนาเน้ือหาสาระ ทีเ่ ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ และมีคุณภาพสงู รวมท้งั เสริมสร้างภูมิคุ้มกันความรู้ในการเลอื กรับปรับใช้สื่อหรอื การรู้เท่าทันสื่อ และสอื่ ออนไลน์แกเ่ ด็ก เยาวชน และประชาชนทวั่ ไป ตลอดจนการเฝา้ ระวงั การบรโิ ภคสื่อท่ีเหมาะสม 3) พัฒนาระบบโครงสร้างเครือข่ายด้านข้อมูลเพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงข้อมลู ขา่ วสารทถี่ กู ต้อง มคี ุณภาพ และเช่อื ถอื ได้ ประเด็นที่ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมต้ังแต่ระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศให้เอ้ือต่อการพัฒนาศักยภาพคนไทยตลอดช่วงชีวิต เพื่อให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ ที่สามารถพัฒนาตนและเป็นกาลังสาคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาสังคม การพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย ตั้งแต่ช่วงตัง้ ครรภ์ ปฐมวัย วยั รุ่น วยั เรียน วยั แรงงาน และวัยผสู้ ูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่ มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ด้วยตนเองในทุกช่วงวัย มีความรอบรู้ทางการเงิน มีความสามารถในการวางแผนชวี ิตและการวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และความสามารถใน การดารงชวี ติ อยา่ งมคี ุณค่า และเปน็ กาลังสาคญั ในการพัฒนาประเทศ 1. เปา้ หมายการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 1) ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สูง ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1) คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 2) สงั คมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนนุ ตอ่ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ยทุ ธศาสตร์ชาติการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1) สรา้ งความเป็นธรรม และลดความเหลอ่ื มล้าในทุกมติ ิ แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลุง
29 2. แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร รับผดิ ชอบในการดาเนินงาน ตามแผนยอ่ ยของแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ได้แก่ การพฒั นาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ชว่ งวัยเรียน/วัยรุ่น ปลกู ฝงั ความเปน็ คนดี มีวินยั พัฒนาทักษะความสามารถท่สี อดรับกับทกั ษะใน ศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีซับซ้อน มีความ สามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีความยึดหยุ่นทางความคิด รวมถึงทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพ่ือการวางแผนชีวิตและวางแผน ทางการเงินท่ีเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และนาไปปฏิบัติได้ ตลอดจนการพัฒนาทักษะการเรียนรทู้ ่ีเชื่อมต่อกับ โลกการทางาน รวมถึงทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศมีทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมและ ทางานกับผู้อ่นื ได้ภายใต้สังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรม แนวทางการพัฒนา 1. จัดใหม้ ีการพัฒนามีทกั ษะที่สอดรบั กบั ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทกั ษะด้าน การคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ความสามารถในการแก้ปญั หาทีซ่ ับซ้อน ความคดิ สรา้ งสรรคก์ ารทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ 2. จัดให้มีการพัฒนาด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทส่ี อดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจ 3. จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะ ที่เชอื่ มต่อกับโลกการทางาน 4. จัดให้มีการพัฒนาทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะ การเป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมท้ังทักษะชีวิตท่ีสามารถอยู่ร่วมและ ทางานภายใตส้ ังคมทีเ่ ป็นพหวุ ฒั นธรรม 5. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการสุขภาพและอนามัยท่ีเช่ือมต่อกนั ระหว่างระบบ สาธารณสุขกับโรงเรียนหรือสถานศึกษา เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาว์ปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ ตลอดจนภมู คิ มุ้ กนั ด้านตา่ ง ๆ ในการดาเนนิ ชีวติ ของกลมุ่ วัยเรยี น/วยั รุน่ ประเด็นที่ 12 การพฒั นาการเรียนรู้ การพัฒนาการเรียนรู้มงุ่ เน้นผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรแู้ ละมใี จใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลามีการออกแบบ ระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรูโ้ ดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ อีกทั้งยังให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการ พฒั นาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตามศักยภาพ การสรา้ งเสรมิ ศักยภาพผ้มู ีความสามารถพิเศษให้สามารถต่อยอด การประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง รวมถึงการพัฒนา กลไกการทางานในลักษณะการรวมตัวของกลุ่ม ผู้มีความสามารถพิเศษในหลากหลายสาขาวิชา ในการรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้าเพ่ือพัฒนาต่อยอด งานวจิ ัยในการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม เพ่อื ตอบโจทย์การพฒั นาประเทศ และเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและความเข้มแข็ง ของประเทศ 1. เปา้ หมายการพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1) คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรบั วถิ ีชีวิตในศตวรรษที่ 21 2) สงั คมไทยมีสภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ และสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชวี ิต แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ
30 2. แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มีแผนยอ่ ย 2 แผนยอ่ ย ดงั น้ี 1) แผนยอ่ ยการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ทตี่ อบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ในทุกระดับช้ันอย่างเป็นระบบ ต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นการใช้ฐานความรู้และระบบคิด ในลักษณะสหวิทยาการ อาทิ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้งคาถาม ความเข้าใจและความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์ และการคิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา ความรู้และทักษะทางศิลปะ และความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสัมพันธ์ การพัฒนาระบบการเรียนรู้ เชงิ บรู ณาการทเี่ นน้ การลงมือปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด ทบทวนไตร่ตรอง การสรา้ งผูเ้ รยี นให้สามารถกากับ การเรียนรู้ของตนได้ การหล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ท่ีผู้เรียนสามารถนา องคค์ วามรูไ้ ปใชใ้ นการสร้างรายไดห้ ลายชอ่ งทาง รวมท้งั การเรยี นรดู้ ้านวิชาชพี และทักษะชีวิต การเปล่ียนโฉมบทบาท“ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน”เป็น “โค้ช” หรือ “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ทาหน้าที่กระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการ สร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวน การเรียนรู้เพื่อผลสัมฤทธิข์ องผู้เรียน รวมทัง้ ปรับระบบการผลิต และพฒั นาครตู ั้งแต่การดึงดูด คัดสรรผูม้ ี ความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพฒั นาศักยภาพและสมรรถนะครอู ยา่ งต่อเน่ืองครอบคลุม ทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนส่ือการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยน เรยี นรรู้ ะหวา่ งกนั รวมถงึ การพัฒนาครทู ี่มีความเชย่ี วชาญด้านการสอนมาเปน็ ผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และวดั ผลงานจากการพัฒนาผู้เรยี นโดยตรง แนวทางการพัฒนา 1. ปรับเปลย่ี นระบบการเรยี นรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 4 แนวทางย่อย ไดแ้ ก่ (1) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับช้ัน ตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาที่ใช้ฐานความรู้และระบบคิด ในลักษณะสหวิทยาการ มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีเป็นหลักสูตรฐาน สมรรถนะให้ได้มาตรฐานกับหลักสูตรในระบบการศึกษาช้ันนาที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติอย่าง ต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีท่ีเปิดเผยต่อสาธารณะเก่ียวกับการนิเทศการติดตามประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปฏิรูปหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอน อาชีวศึกษา ให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และการฝึกงานในสถานประกอบการ ปฏิรูปการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเน้นการเรียนรู้ ท่ีผูกกับงาน เพ่ือวางรากฐานให้มีสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถตอบสนองความต้องการของประเทศได้ ในหลากหลายมิติ ท้ังในด้านการผลิตกาลังคนท่ีมีสมรรถนะและทักษะในสาขาท่ีเป็นที่ต้องการของตลาด การพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ทมี่ ีศักยภาพในการสร้างธุรกิจใหม่ ท่ีใช้เทคโนโลยี นวตั กรรม และสามารถไปสู่ ตลาดต่างประเทศได้ รวมถึงมีนักวิจัยและนวัตกร ที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่มีคุณภาพ สามารถส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างดี (2) พัฒนา กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรยี นทุกระดับการศกึ ษา รวมถึงจัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะเพอ่ื พัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษ ท่ี 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเน้ือหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบ ใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ควรมีคุณลักษณะที่มี ชีวิต มีพลวัต มีปฏิสัมพันธ์การเช่ือมต่อและมีส่วนร่วม (3) พัฒนาระบบการเรียนรู้ เชิงบูรณาการท่ีเน้นการลงมือ ปฏิบัติ มีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสร้างทักษะชีวิต และสามารถ นามาใชต้ ่อยอดในการประกอบอาชพี ไดจ้ รงิ และ (4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ใี ห้ผเู้ รียนสามารถกากับการเรียนรู้ ข อ ง ต น ไ ด้ เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ น า อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ร ว ม ถึ ง มี ทั ก ษ ะ แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
31 ด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต โดยใช้ส่ือผสมอย่างหลากหลาย ปรับเปล่ียนตามความสามารถและระดับ ของผู้เรียน มีเน้ือหา ท่ีไม่ยึดติดกับตัวสื่อ เลือกประกอบเนอื้ หาได้เอง ค้นหา แก้ไข จดบันทึกได้ เก็บประวัติการ เรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีระบบการประเมินผลการเรียนรู้ที่รวดเร็วและต่อเน่ือง โดยผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและ สมรรถนะทเ่ี ปน็ ท่ตี ้องการของตลาดแรงงาน 2. เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ ประกอบด้วย 3 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) วางแผนการผลิต พัฒนาและปรับบทบาท “ครู คณาจารย์ยุคใหม่” ให้เป็น “ผู้อานวยการ การเรียนรู้” มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการ เป็นผ้เู ช่ียวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานจริง ในสถานประกอบการ ในสาขาทตี่ นเองสอน (2) ปรับระบบการผลิตและพฒั นาครูตั้งแต่การดงึ ดดู คดั สรร ผูม้ ีความสามารถสงู ใหเ้ ขา้ มาเป็นครู ปฏริ ปู ระบบ การผลิตครูยุคใหม่โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครูท่ีสามารถสร้างทักษะในการจั ดการเรียน การสอนในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีเปน็ หลักสูตรฐานสมรรถนะ และมีครูท่ีชานาญในด้านการ สอนภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 ที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติในจานวนที่เพียงพอต่อความต้องการของ นักเรียน อีกท้ังยังมีระบบการอบรม และเสริมสมรรถนะครูที่ผ่านการศึกษาในระบบเดิม หรือครูภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 ทีย่ งั ไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานในระดับนานาชาติ และ (3) ส่งเสริมสนบั สนนุ ระบบการพฒั นา ศักยภาพและสมรรถนะครู อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทั้งเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอื่นๆ ปฏิรูป ร ะ บ บ ก า ร ผ ลิ ต ค รู อ า ชี ว ะ ยุ ค ใ ห ม่ โ ด ย ผู้ ที่ มี ใ บ ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการในสาขาที่ตนเองสอน มีความรู้ ทักษะ และสามารถสร้างสมรรถนะที่สอดคล้องกบั กรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพใหแ้ ก่ผ้เู รียน และมี อัตรากาลังเพียงพอตอ่ ความต้องการของสถานศึกษาตามเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลังของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา 3. เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับทุกประเภทประกอบด้วย 6 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ โดยเน้น การสร้างความรับผิดชอบ ต่อผลลัพธ์ ต้ังแต่ระดับบนสุดลงไปจนถึงระดับโรงเรียน รวมถึงมีโครงสร้างแรงจูงใจและความรับผิดชอบ ของหน่วยงานและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบท่ีเหมาะสม (2) จัดให้มีมาตรฐานขั้นต่าของโรงเรียนในทุกระดับ เพ่ือผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้ึน มีการกาหนดมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับที่เหมาะสม กับบริบทของประเทศ ในด้านความพร้อมของโครงสร้างพ้ืนฐาน อุปกรณ์การเรียนการสอน การบริหารจัดการ โรงเรียน จานวนครูท่ีครบชั้น ครบวิชา จานวนพนักงานสนับสนุนงานบริหารจัดการโรงเรียน (3) ปรับปรุง โครงสร้างการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเพิ่มคุณภาพการศึกษา มีการปรับปรุงโครงสร้างการศึกษา ที่เน้นสายอาชีพมากขึ้น มีการเรียนการสอน และการเรียนรู้ท่ีใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดทักษะความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะภาษาที่ 3 ทักษะและความรู้ในการประกอบอาชีพใหม่ ๆ อย่างคล่องตัว เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม (4) เพ่ิมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน ในการจัดการศึกษา ส่งเสริมภาคประชาสังคมปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพ้ืนที่เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และมีชีวิต รวมถึง การเรียนรู้และทบทวนทักษะพ้ืนฐาน ได้แก่ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โดยระดม ทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม (5) พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยแยก การประกันคุณภาพการศึกษาออกจากการประเมินคุณภาพและ การรับรองคุณภาพและการกากับดแู ลคุณภาพ การศกึ ษา และปฏริ ปู ระบบการสอบทีน่ าไปสู่การวดั ผลในเชิงทกั ษะท่ีจาเปน็ สาหรบั ศตวรรษที่ 21 มากกว่าการวดั ร ะ ดับคว ามรู้ และ (6) ส่ง เสริมก าร วิ จัย แ ละ ใ ช้ เ ท คโ น โ ล ยี ใน ก าร สร้ าง แ ละ จั ดก าร ค ว า ม รู้ การเรียนการสอน และการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ซึ่งรวมถึง แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
32 การบูรณาการความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากบั ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และภาครัฐ เพ่ือเสริมสร้าง ระบบนเิ วศนวตั กรรมทเ่ี ขม้ แขง็ 4. พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวติ ประกอบด้วย 5 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) จัดให้มี ระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงและยืดหยุ่น (2) มีมาตรการจูงใจและส่งเสริม สนับสนุนให้คนเข้าสู่ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาตนเอง รวมถึงการยกระดับทักษะวิชาชีพ (3) พัฒนาระบบ การเรียนรู้ชุมชนให้เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม (4) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์ม สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท การศึกษาอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และ (5) พัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรียนรู้ ดิจิทัลท่ีมีคุณภาพท่ีนักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองผ่านเทคโนโลยีสมยั ใหม่ได้ 5. สร้างระบบการศกึ ษาเพื่อเปน็ เลศิ ทางวชิ าการระดับนานาชาตปิ ระกอบด้วย 5 แนวทางย่อย ได้แก่ (1) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญและมีความ โดดเด่นเฉพาะสาขาสู่ระดับนานาชาติ มีกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพที่กาหนดสมรรถนะ และทักษะพื้นฐานสาหรับสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะใน 10 กลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย S-curve และ New S-curve เพ่ือเป็นเครื่องมือในการยืนยันและพัฒนาสมรรถนะ ของแรงงาน และมีกรอบแนวคิดในการคาดการณ์อุปสงค์แรงงานในอนาคตในสาขาอาชีพต่าง ๆ และมีแนวทาง ทบทวนและปรับปรุงให้แม่นยามากขึ้นเป็นระยะ (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปลี่ยน นักเรียน นักศึกษาและบุคลากรในระดับนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาศูนย์วิจัย ศูนย์ฝึกอบรม และทดสอบ ในระดับภูมภิ าค (3) จัดใหม้ กี ารเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและประวตั ิศาสตร์ท้องถ่นิ (4) จดั ให้มกี ารเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านในสถาน ศึกษา และสาหรับประชาชน และ (5) ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และนักเรียน กับประเทศเพ่ือนบา้ นในภมู ิภาคเอเชยี อาคเนย์ 2) แผนยอ่ ยการตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนษุ ย์ทหี่ ลากหลาย การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย อาทิ ภาษา ตรรกะ และคณิตศาสตร์ ด้านทัศนะ และมิติดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหวของร่างกาย การจัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ์ รวมถึง ผู้มีความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา และรักษากลุ่ม ผูม้ ีความสามารถพิเศษของพหุปัญญาแต่ละประเภท การสรา้ งสภาพแวดล้อมและระบบสนับสนนุ ประชากรไทย มีอาชีพบนฐานพหุปญั ญาการสร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษให้สามารถต่อยอดการประกอบอาชพี ได้อย่างม่ันคงท่ีครอบคลุมทั้งการพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมท้ังสื่อต้ังแต่ระดับปฐมวัย เพ่ือสร้างเด็กและเยาวชนไทยมีการพัฒนาที่สมดุล มีทางเลือก ในการใช้ศักยภาพพหุปญั ญาในการดารงชวี ิต เกดิ อาชพี บนฐาน พหุปัญญาที่สงั คมยอมรับและเห็นความสาคัญ รวมทั้งมีกลไกคัดกรองและส่งเสรมิ เด็กและเยาวชนท่ีมีความสามารถพเิ ศษจัดโรงเรียนระบบเสรมิ ประสบการณ์ การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ตลอดจนสร้างมาตรการจูงใจ เพื่อพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษผลักดันให้ประเทศ ไทยมีบทบาทเด่นในประชาคมโลก ทั้งด้านกีฬา ภาษาและวรรณกรรม สุนทรียศิลป์ ตลอดจนการวิจัย และการ สรา้ งเสน้ ทางอาชีพ สภาพแวดลอ้ มการทางาน และระบบสนับสนนุ ทีเ่ หมาะสมสาหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษผ่าน กลไกต่าง ๆ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน เคร่ืองมือการทางานที่เหมาะสม การสร้างระบบเช่ือมโยงเครือข่าย วิจัยกับศูนย์ความเป็นเลิศท่ีมีอยู่ในปัจจุบันในรูปแบบการร่วมมือ การมีกลไกการทางาน ในลักษณะการรวมตัว ของกลมุ่ คนในหลายสาขาวชิ า เพอ่ื รวมนกั วิจยั และนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้า แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลุง
33 ให้สามารถต่อยอดงานวิจัย ท่ีสามารถตอโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือและเชื่อมต่อ กับสถาบันวิจัยอ่ืน ๆ ท่ัวโลก เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้นักวิจัยความสามารถสูงของไทยรวมถึงการเปิดพ้ืนที่ ในการสร้างเสริมศกั ยภาพ ผมู้ ีความสามารถพิเศษให้สามารถต่อยอดการประกอบอาชีพได้อย่างม่ันคง แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาโดยพัฒนาระบบบริหารจัดการกลไกการคัดกรอง และการส่งต่อเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัว ในการเสริมสร้างความสามารถพิเศษตามความถนัดและศักยภาพท้ังด้านกีฬา ภาษาและวรรณกรรม สุนทรียศิลป์ ส่งเสริม สนับสนุนระบบสถานศึกษาและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างและพัฒนาเด็กและเยาวชน ท่ีมีความสามารถพเิ ศษบนฐานพหุปัญญา และส่งเสรมิ สนบั สนุนมาตรการจูงใจแกภ่ าคเอกชน และส่ือในการมี ส่วนร่วมและผลักดันให้ผู้มีความสามารถพเิ ศษมีบทบาทเด่นในระดบั นานาชาติ 2. สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสาหรับ ผู้มีความสามารถพิเศษ โดยจัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบสนับสนุนเพื่อผู้มีความสามารถพิเศษได้สร้าง ความเข้มแข็งและต่อยอดได้ จัดให้มีกลไกการทางานในลักษณะการรวมตัวของกลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ ในหลากสาขาวิชาเพื่อรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้า เพื่อพัฒ นาต่อยอดงานวิจัย เพื่อตอบโจทย์ การพัฒนาประเทศ สร้างความร่วมมือและเช่ือมต่อสถาบันวิจัยช้ันนาทั่วโลก เพ่ือสร้างความ เขม้ แขง็ ให้นกั วจิ ัยความสามารถสูงของไทยใหม้ ีศกั ยภาพสงู ยง่ิ ขนึ้ 1.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) 5.1 หลกั การและแนวคดิ แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 13 มจี ุดมงุ่ หมายสงู สุดเพ่ือขับเคล่อื นการพฒั นาประเทศให้สามารถบรรลุผลตาม เป้าหมายก าร พัฒ น าร ะ ยะ ย าว ท่ี ก า หน ดไ ว้ ใน ยุ ทธ ศา ส ตร์ช าติ โ ดยมุ่ง หวั ง ให้แผน พั ฒ น า ฯ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ทาหน้าที่เป็นกลไกในการชี้ประเด็นที่มลี าดับความสาคัญสูงต่อการพัฒนา ประเทศในระยะ 5 ปี และเพื่อผลักดันให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่างๆ เพื่อขับเคล่ือนสู่ความ เจริญเติบโตท่ีทุกภาคส่วนได้รับประโยชน์อย่างเท่าเทียมกันโดย (ร่าง) แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13 ไดก้ าหนดทศิ ทางและเปา้ หมายของการพัฒนาบนพ้ืนฐานของหลกั การและแนวคิดท่ีสาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 5.1.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสืบสาน รักษา ต่อยอดการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้าง ภูมิคุ้มกันที่ดี ควบคู่กับการใช้เง่ือนไข 2 ประการเพ่ือกากับการกาหนดทิศทางและประเด็นการพัฒนา ในส่วนต่าง ๆ ได้แก่ เงื่อนไขความรู้ โดยการใช้องค์ความรู้ทางวิชาการท่ีรอบด้าน และเง่ือนไขคุณธรรม โดยยึดถอื ผลประโยชนข์ องประชาชนและความเปน็ ธรรมในทุกมิตขิ องสงั คม 5.1.2 แนวคิด Resilience ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการลดความเปราะบางต่อความ เปลี่ยนแปลงอันประกอบด้วยการพัฒนาความสามารถใน 3 ระดับ ได้แก่ (1) การพร้อมรับ (Cope) หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤติ ให้สามารถยืนหยัดและต้านทานความยากลา บาก รวมถึงฟื้นคืนกลับสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว (2) การปรับตัว (Adapt) หมายถึง การปรับทิศทาง รูปแบบ และแนวทางการพัฒนาให้สอดรับกับความเปลีย่ นแปลง พรอ้ มกระจายความเส่ียงและปรับตัวอยา่ งเท่าทันเพื่อ แสวงหา ประโยชน์จากสิ่งที่เกิดข้ึน และ (3) การเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรา้ งและปัจจยั พ้ืนฐานใหส้ อดรบั กบั ความเปลีย่ นแปลง แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
34 5.1.3 เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติซึ่งอยู่บนพ้ืนฐานของแนวคิด “ไม่ท้ิงใคร ไว้ข้างหลัง” โดยมุ่งเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้กับประชาชนทุกกลุ่ม ท้ังในมิติของการมีปัจจัย ทจี่ าเปน็ สาหรับการดารงชีวิตข้ันพน้ื ฐานทเี่ พยี งพอ การมสี ภาพแวดล้อมที่ดี การมปี ัจจัยสนับสนนุ ใหม้ ีสุขภาพท่ี สมบูรณ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ การมีโอกาสท่ีจะใช้ศักยภาพของตนในการสร้างความเป็นอยู่ท่ีดี รวมถึงการมุ่งสง่ ตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมทดี่ ีไปยังคนรุน่ ตอ่ ไป 3.1.4 โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซ่งึ เป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกจิ ใน 3 รูปแบบควบคู่กนั ไดแ้ ก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว โดยอาศัยฐานศักยภาพและความเข้มแข็งของ ประเทศอันประกอบด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมกับการใช้ ประโยชน์จากองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพ่ิม เพื่อผลักดันให้ประเทศมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างย่ังยืน และสามารถกระจายรายได้ โอกาส และความมงั่ คง่ั ได้อย่างทั่วถงึ นอกจากนี้ การจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ยังคานึงถึงเง่ือนไขและข้อจากัดของ การพัฒนาประเทศท่ีสืบเน่ืองมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมท้ังปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งทางตรงและทางอ้อมซงึ่ จะสง่ ผลให้บรบิ ทของประเทศและของโลกเปล่ยี นแปลงไปในอนาคต 5.2 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายการพัฒนา 5.2.1 การปรบั โครงสร้างการผลติ สู่เศรษฐกจิ ฐานนวัตกรรม โดยยกระดบั ขดี ความสามารถใน การแข่งขันของภาคการผลิตและบริการสาคัญให้สูงข้ึน และสามารถตอบโจทย์พัฒนาการของเทคโนโลยีและ สังคมยุคใหม่ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงเศรษฐกิจท้องถิ่นและผู้ประกอบการรายย่อย กับหว่ งโซม่ ูลคา่ ของภาคการผลิตและบรกิ ารเป้าหมาย รวมถึงพัฒนาระบบนเิ วศท่ีสง่ เสริมการค้าการลงทุนและ นวตั กรรม 5.2.2 การพัฒนาคนสาหรับโลกยุคใหม่ โดยพัฒนาให้คนไทยมีทักษะและคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับโลกยุคใหม่ ทั้งทักษะในด้านความรู้ ทักษะทางพฤติกรรม และคุณลักษณะตามบรรทัดฐานท่ีดี ของสังคม เตรียมพร้อมกาลังคนที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เอ้ือต่อการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ภาคการผลิตและบริการเป้าหมายท่ีมีศักยภาพและผลิตภาพสูงข้ึน รวมทั้งพัฒนา หลักประกันและความคุ้มครองทางสงั คมเพ่ือสง่ เสริมความม่นั คงในชวี ิต 5.2.3 การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม โดยลดความเหลื่อมล้าท้ังในเชิงรายได้ ความมั่งค่ัง และโอกาสในการแข่งขันของภาคธุรกิจ สนับสนุนช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางและผู้ด้อยโอกาสให้มี โอกาสในการเล่ือนชนั้ ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถงึ จัดให้มบี ริการสาธารณะที่มคี ุณภาพอย่างท่ัวถงึ และเท่าเทยี ม 5.2.4 การเปลีย่ นผ่านไปสคู่ วามย่ังยืน โดยปรบั ปรุงการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติในการผลติ และ บริโภคให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ แก้ไขปัญหามลพิษ สาคัญ ด้วยวิธีการท่ีย่ังยืน โดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ ขยะ และมลพิษทางน้า และลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก เพอื่ มงุ่ ส่คู วามเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon neutrality) ภายในครงึ่ แรกของศตวรรษนี้ 5.2.5 การเสริมสร้างความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและ ความเสยี่ งภายใตบ้ ริบทโลกใหม่ โดยการสรา้ งความพรอ้ มในการรับมือและแสวงหาโอกาสจากการเปน็ สังคมสงู วยั การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยโรคระบาด และภัยคุกคามทางไซเบอร์ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและ กลไก ทางสถาบันที่เอื้อต่อการเปล่ียนแปลงสู่ดิจิทัล รวมทั้งปรับปรุงโครงสร้างและระบบการบรหิ ารงานของ ภาครัฐ ให้สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของบริบททางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีได้อย่าง ทันเวลา มี ประสทิ ธิภาพ และมธี รรมาภิบาล แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
35 5.3 หมดุ หมายการพฒั นา หมดุ หมายการพัฒนาทีก่ าหนดข้ึนเป็นประเดน็ ทีม่ ีลกั ษณะเชงิ บูรณาการ ซึ่งสามารถนาไปสูก่ าร พัฒนา ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กันทาให้หมุดหมายแต่ละ ประการ สามารถสนับสนนุ เป้าหมายหลกั ได้มากกว่าหนึง่ ขอ้ โดยหมดุ หมายทงั้ 13 ประการ แบ่งออกได้เป็น 4 มิติ ดังนี้ 5.3.1 มติ ิภาคการผลติ และบริการเปา้ หมาย หมดุ หมายที่ 1 ไทยเปน็ ประเทศชัน้ นาดา้ นสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรปู มูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจดุ หมายของการท่องเที่ยวท่ีเน้นคุณภาพและความยั่งยนื หมุดหมายท่ี 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าท่สี าคญั ของโลก หมดุ หมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสขุ ภาพมูลค่าสงู หมดุ หมายที่ 5 ไทยเปน็ ประตกู ารคา้ การลงทนุ และยุทธศาสตร์ทางโลจิสตกิ ส์ ที่สาคัญของภมู ภิ าค หมุดหมายท่ี 6 ไทยเปน็ ฐานการผลิตอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์อัจฉรยิ ะที่สาคญั ของโลก 5.3.2 มติ โิ อกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสงั คม หมุดหมายที่ 7 ไทยมวี สิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มที่เขม้ แข็ง มีศกั ยภาพสงู และสามารถแขง่ ขันได้ หมดุ หมายที่ 8 ไทยมีพนื้ ท่แี ละเมืองอัจฉรยิ ะท่ีน่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยง่ั ยนื หมดุ หมายท่ี 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครอง ทางสังคมที่เพียงพอเหมาะสม 5.3.3 มติ ิความยัง่ ยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม หมุดหมายที่ 10 ไทยมเี ศรษฐกจิ หมนุ เวียนและสังคมคาร์บอนตา่ หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภยั ธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.3.4 มิติปัจจยั ผลกั ดันการพลิกโฉมประเทศ หมดุ หมายท่ี 12 ไทยมกี าลงั คนสมรรถนะสูง ม่งุ เรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง ตอบโจทย์ การพฒั นาแหง่ อนาคต หมดุ หมายท่ี 13 ไทยมีภาครัฐทีท่ ันสมยั มีประสทิ ธภิ าพ และตอบโจทย์ประชาชน 1.6 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศกึ ษาเพื่อความเท่าเทียมและท่วั ถึง (Inclusive Education) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อีกท้ังยึด ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ง ยืน ( Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ป ร ะ เ ด็น ภายในประเทศ (Local Issues) โดยนายทุ ธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคดิ สาคญั ใน การจดั ทาแผนการศกึ ษาแห่งชาติ วิสัยทัศน์ จดุ มุ่งหมาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์และตัวชวี้ ัด ดังนี้ วสิ ัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
36 พันธกจิ 1. พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีคนไทยทุกคนเข้าถึงโอกาสในการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพและ ประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องและรองรบั กระแสการเปลี่ยนแปลง ของโลกศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้ คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ไนศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาศกั ยภาพและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ 3. สร้างความมั่นคงแก่ประเทศชาติ โดยสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และสังคม คณุ ธรรม จริยธรรมที่คนไทยทกุ คนอยู่ร่วมกันอยา่ งปลอดภยั สงบสขุ และพอเพียง 4. พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้ามกับดัก ประเทศรายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศในโลกท่ีหนึ่ง และลดความเหล่ือมล้าในสังคมด้วยการเพ่ิมผลิตภาพ ของกาลังแรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และ การพัฒนาประเทศพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใต้ยุคเศรษฐกิจ และสังคม 4.0 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมอื ผนึกกาลังมงุ่ สู่การพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลกั ปรัชญาชองเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า ภายในประเทศ เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ และทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลุง
37 เปา้ หมายของการจดั การศึกษา 5 ประการ ดังนี้ 1. ประซากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) มีตัวช้ีวัดที่ สาคญั เช่น ประชากรกลมุ่ อายุ 6 - 14 ปี ทกุ คนไดเ้ ขา้ เรยี นในระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนต้นหรือ เทียบเท่าที่รัฐต้องจัดให้ฟรี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการ ทาง การศกึ ษาทเ่ี หมาะสมทุกคน และประชากรวยั แรงงานมีการศกึ ษาเฉล่ียเพ่มิ ข้นึ เป็นตน้ 2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่าง เท่าเทียม (Equity) มีตัวชี้วัดที่สาคัญ เช่น ผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานทุกคนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการศกึ ษา 15 ปี เป็นตน้ 3. ระบบการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ สามารถพฒั นาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) มีตัว ชี้วั ดท่ีสาคัญ เช่น นัก เรียน มีคะ แน น ผลก าร ทดสอ บทาง ก าร ศึก ษาร ะ ดับช า ติ ข้ันพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไปเพ่ิมข้ึน และคะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบ โครงการประเมินผล นักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Program for International student Assessment: PISA) ของนักเรียน อายุ 15 ปสี ูงข้ึน เปน็ ต้น 4. ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาที่มีประสิทธภิ าพ เพื่อการลงทนุ ทางการศึกษาท่ีค้มุ คา่ และบรรลุ เป้าหมาย (Efficiency) มีตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ เช่น ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอกลดลง มีระบบการบริหารงานบุคคล ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน รวมท้งั มีกลไกส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการจดั การศกึ ษา เปน็ ตน้ 5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่ เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ตัวชว้ี ดั ทส่ี าคญั เชน่ อันดบั ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ดา้ นการศึกษาดีข้ึน สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึนเมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา และจานวน สถาบันอุดมศึกษาที่ติดอันดับ 200 อนั ดบั แรกซองโลกเพ่มิ ขึน้ เป็นตน้ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมาย และตวั ช้ีวัด ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ มีเป้าหมายดงั นี้ 1.1 คนทุกชว่ งวยั มคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ี พิเศษ ไดร้ ับการศกึ ษาและเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ 1.3 คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รปู แบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตและพฒั นากาลังคน การวิจัยและนวัตกรรรม เพื่อสรา้ งขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ มีเป้าหมาย ดังน้ี 2.1 กาลังคนมีทักษะทีส่ าคัญจาเปน็ และมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 2.2 สถาบันการศึกษาและหนว่ ยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตทม่ี คี วามเชีย่ วชาญ และเป็นเลิศเฉพาะด้าน 2.3 การวิจัยและพฒั นาเพอื่ สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมท่สี รา้ งผลผลติ และ มลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลุง
38 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรูม้ ีเปา้ หมาย ดงั นี้ 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คุณลักษณะทจี่ าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 3.2 คนทุกช่วงวยั มีทกั ษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้ตามศกั ยภาพ 3.3 สถานศกึ ษาทกุ ระดับการศกึ ษาสามารถจดั กิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รอยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน 3.4 แหล่งเรยี นรู้ สอ่ื ตาราเรียน นวตั กรรม และสื่อการเรียนรู้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี 3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมนิ ผลมปี ระสิทธภิ าพ 3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดับสากล 3.7 ครู อาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษามีเป้าหมาย ดังนี้ 4.1 ผ้เู รียนทุกคนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ 4.2 การเพ่มิ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพือ่ การศกึ ษาสาหรับคนทกุ ช่วงวยั 4.3 ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลมุ ถกู ตอ้ ง เป็นปจั จุบนั เพอ่ื การวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 : การจัดการศกึ ษาเพื่อสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ มมีเป้าหมาย ดงั น้ี 5.1 คนทกุ ช่วงวัย มจี ิตสานึกรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและนาแนวคิด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบัติ 5.2 หลกั สตู ร แหล่งเรยี นรู้ และส่อื การเรียนรทู้ ี่ส่งเสริมคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตร กับส่งิ แวดลอ้ ม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ 5.3 การวิจัยเพื่อพฒั นาองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสริมคุณภาพชีวิต ที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 : การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา มีเปา้ หมาย ดงั นี้ 6.1 โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบริหารจดั การการศึกษามคี วามคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบริหารจดั การศึกษามปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลส่งผลตอ่ คุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา 6.3 ทกุ ภาคสว่ นของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาทตี่ อบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนและพืน้ ที่ 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรับลักษณะ ทแี่ ตกต่างกนั ของผู้เรยี น สถานศึกษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา มคี วามเปน็ ธรรม สรา้ งขวญั กาลงั ใจและส่งเสรมิ ให้ปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
39 1.7 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตร)ี เพ่ือเป็นการตระหนักถึงความสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากร มนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐) ประเด็นการพัฒนา ศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กต้งั แต่ ช่วงต้งั ครรภ์จนถงึ ปฐมวยั การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วยั รุ่น การพัฒนาและยกระดบั ศักยภาพ วัยแรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีตอบสนอง ต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ และพหปุ ญั ญาของมนษุ ยท์ ห่ี ลากหลาย และประเด็นอน่ื ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 7.1 นโยบายการจัดการศกึ ษาท้ัง ๑๒ ขอ้ ดังน้ี ขอ้ ๑ การปรบั ปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย ขอ้ ๒ พฒั นาครูให้มีสมรรถนะทางภาษาและดจิ ิทัล ขอ้ ๓ ปฏริ ปู การเรียนรู้ด้วยดจิ ิทลั ส่งเสรมิ การฝกึ ทกั ษะดจิ ทิ ลั ในชวี ติ ประจาวนั ขอ้ ๔ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ สถานศึกษาใหม้ ีความเป็นอิสระ คลอ่ งตัว การกระจายอานาจ โดยใช้จงั หวดั เปน็ ฐาน ข้อ ๕ ปรบั ระบบการประเมนิ ผล ประกนั คุณภาพ การทดสอบวัดความรู้และทกั ษะทีจ่ าเปน็ ข้อ 6 จัดสรรและกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถงึ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ระดมทรัพยากรจากทกุ ภาคสว่ น ข้อ ๗ นากรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ และกรอบคุณวฒุ อิ า้ งองิ อาเซียนสกู่ ารพัฒนา ขอ้ 8 พัฒนาเด็กปฐมวยั ข้อ 9 การศึกษาเพ่อื อาชีพและสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขัน ขอ้ ๑๐ การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทย ด้วยนวตั กรรมและเทคโนโลยใี นการจดั การศกึ ษา ข้อ ๑๑ การเพิ่มโอกาสและการเขา้ ถึงการศึกษาของกลุม่ ผู้ด้อยโอกาสทางการศกึ ษา ขอ้ ๑๒ จดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยยดึ หลกั การเรียนรตู้ ลอดชีวิต 7.2 วาระเรง่ ด่วน 7.2.1 ความปลอดภัยของผเู้ รียน 7.2.2 หลกั สตู รฐานสมรรถนะ 7.2.3 Big Data 7.2.4 ขบั เคล่ือนศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา 7.2.5 พัฒนาทักษะทางอาชีพ 7.2.6 การศกึ ษาตลอดชีวิต 7.2.7 การจดั การศึกษาสาหรบั ผู้ทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ 1.8 นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 เน่ืองจากในห้วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซ่ึงทาให้ทุก คนต้องปรับเปลยี่ นชวี ิตใหเ้ ข้ากับวิถีชีวติ ใหม่ หรอื New Normal จงึ มีความจาเปน็ ต้องปรับเปลย่ี นรูปแบบการ ดาเนินการให้มีความปลอดภัยทั้งต่อผู้เรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย ดังน้ัน จึงอาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบาย และจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดงั น้ี หลกั การตามนโยบาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ กระทรวงศึกษาธิการมุง่ มน่ั ดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลือ่ นทุกแผนยอ่ ยในประเดน็ ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลุง
40 และแผนย่อยที่ ๓ ในประเด็น ๑๑ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรูปประเทศ ด้าน การศึกษา (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายรัฐบาลท้ังในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และ การพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เร่ือง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ แ ล ะ พ หุ ปั ญ ญ า ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ ห ล า ก ห ล า ย น อ ก จ า ก น้ี ยั ง ส นั บ ส นุ น ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง รา่ ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับ ที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) โดยเฉพาะหมดุ หมาย ท่ี ๑๒ ไทยมกี าลังคนสมรรถนะสงู มุง่ เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ รวมท้ังนโยบายและแผนตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียน ทุกช่วงวัยจะได้รับ การพัฒนาในทุกมิติท้ังในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะท่ีสาคัญจาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ และ มีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งค่ังและย่ังยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทางาน ภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือสร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจให้กับสังคมและผลักดันให้การ จัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดหลักการสาคัญ ในการประกาศนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ไว้ดงั นี้ ๑. สร้างความเชื่อม่ัน ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนและประชาชน โดยให้ ทุกหน่วยงานนารปู แบบการทางานโดยบูรณาการการทางานร่วมกัน และปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความโปรง่ ใส ความ รบั ผดิ ชอบ ความเปน็ อนั หนึ่งอนั เดียวกัน ๒. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดาเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร ประชาชนและประเทศชาติ โดยให้ความสาคัญกับการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผ่านกลไก การรบั ฟงั ความคิดเหน็ มาประกอบการดาเนินงานท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา ๓. ดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีได้ประกาศและแถลงนโยบายไว้แล้ว เม่ือวันที่ ๒๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เพือ่ มุ่งเนน้ ผลใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงของภาคการศึกษาท่ีจะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อ ผู้เรียนและประชาชนอย่างมนี ยั สาคัญ นโยบายและจุดเน้น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ๑. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย ๑.๑ เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพ่ือเพิ่มความเช่ือม่ันของสังคม และป้องกันจาก ภัยคุกคาม ในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีการดาเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภัย ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่างๆ อย่างเข้มข้น รวมท้ังดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมินผลการดาเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ดาเนินการได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพ่ือปรับปรุง พัฒนา และขยายผลตอ่ ไป ๑.๒ เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการ จัดการ เรียนรู้ เพ่ือสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและสร้างสรรค์ พร้อมทงั้ หาแนวทางวิธีการปกปอ้ งคุม้ ครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขน้ึ กับผู้เรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ทีพ่ ึงประสงค์ด้านสิง่ แวดล้อม รวมท้ังการปรบั ตัวรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต ๑.๔ เร่งพัฒนาบทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านความปลอดภัยท่ีมีอยู่ในทุกหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการใหด้ าเนนิ การอย่างคลอ่ งตัวและมปี ระสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
41 ๒. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ๒.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานาหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่าง เตม็ รปู แบบ เพื่อสรา้ งสมรรถนะท่ีสาคญั จาเป็นสาหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑ ให้กับผเู้ รียน ๒.๒ จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ท้ังในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมท้ัง การเรียนร้ผู ่านแพลตฟอร์มและหอ้ งดจิ ทิ ลั ใหค้ าปรกึ ษาแนะนา ๒.๓ พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะ สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เพ่ือสร้างความฉลาดรู้ด้านการอ่าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคดิ แบบเปน็ เหตุเป็นผลให้นกั เรียนไทยสามารถแข่งขันไดก้ ับนานาชาติ ๒.๔ พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเ ตอร์ (Coding) สาหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพือ่ รองรับ การเปลีย่ นแปลงสู่สังคมดจิ ิทลั ในโลกยคุ ใหม่ ๒.๕ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสรมิ สรา้ ง วิถชี วี ติ ของความเปน็ พลเมืองทีเ่ ขม้ แขง็ ๒.๖ จัดการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคลของผู้เรยี นผ่านดิจิทัลแพลตฟอรม์ ท่ีหลากหลาย และ แพลตฟอร์มการเรียนรู้อัจฉริยะท่ีรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอนคุณภาพสูง รวมท้ังมีการประเมินและพัฒนาผ้เู รยี น ๒.๗ ส่งเสริมการใหค้ วามรูแ้ ละทกั ษะดา้ นการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กบั ผู้เรยี น โดยบรู ณาการการทางานรว่ มกับหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ธ น า ค า ร ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ธ น า ค า ร อ อ ม สิ น ส ห ก ร ณ์ ฯ ล ฯ ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ โครงการ และกจิ กรรมตา่ งๆ และการเผยแพร่สื่อแอนนิเมชันรอบรู้เรอ่ื งเงิน รวมท้งั สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การลงทุนเชิง พาณชิ ย์เพ่ือให้เกดิ ผลตอบแทนท่สี งู ข้ึน ๒.๘ ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้ให้มีรูปลักษณ์ท่ีทันสมัย สวยงาม ร่มรื่น จูงใจ ให้เขา้ ไปใช้บรกิ าร โดยมมี ุมคน้ หาความรู้ดว้ ยเทคโนโลยีทนั สมยั มมุ จัดกจิ กรรมเชิงสร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะห์ของ ผู้เรียน หรือกลุ่มผู้เรียน และการร่วมกิจกรรมกบั ครอบครัว หรือจัดเป็นฐานการเรยี นรดู้ ้านต่างๆ ที่ผู้เรียนและ ประชาชน สามารถมาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสารรับรองการเข้าร่วมกิจกรรม เพ่อื นาไปใช้ประโยชน์ ในส่วนที่เกีย่ วข้องหรือสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมทงั้ มีบรเิ วณพักผอ่ น ท่ีมบี รกิ ารลักษณะบ้านสวนกาแฟ เพ่อื การเรยี นรู้ เป็นต้น 2.9 ส่งเสริมสนบั สนุนสถานศกึ ษาให้มกี ารนาผลการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติไปใชใ้ นการวาง แผนการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน 2.10 พฒั นาระบบการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาที่เนน้ สมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผ้เู รยี น ๓. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษาทกุ ชว่ งวยั ๓.๑ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการส่ง ต่อ ไปยังสถานศึกษาในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและ เด็กออกกลางคัน ๓.๒ ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพ่ือรับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเน่ืองอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการ รว่ มงานกับทุกหน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
42 ๓.๓ พัฒนาข้อมูลและทางเลือกท่ีหลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมท้ังกลมุ่ NEETs ในการเข้าถงึ การศึกษา การเรียนรู้ และการฝกึ อาชพี อยา่ งเทา่ เทยี ม ๓.๔ พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยครอบครัว (Home School) และการ เรยี นรู้ทบ่ี า้ นเปน็ หลกั (Home-based Learning) ๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ๔.๑ พัฒนาหลักสตู รอาชีวศกึ ษา และหลกั สูตรวิชาชีพระยะสัน้ แบบโมดลู (Modular System) มี การบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เช่ือมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมท้ังการจัดการเรียนรู้แบบต่อเน่ือง (Block Course) เพ่ือสะสมหน่วย การเรยี นรู้ (Credit Bank) รว่ มมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพ่อื การมงี านทา ๔.๒ ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนากาลังคนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และยกระดับสมรรถนะ กาลังคน ตามกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมท้ังขับเคล่ือนความเป็นเลิศทางการ อาชวี ศึกษา (Excellent Center) โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิตกาลังคนท่ี ตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ ๔.๓ พัฒนาสมรรถนะอาชีพท่ีสอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพ่ือให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน พร้อมท้ังสร้างช่องทางอาชพี ใน รูปแบบหลากหลาย ให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังผู้สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความร่วมมือ ระหวา่ งหน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ๔.๔ ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตามสมรรถนะ ที่จาเป็นในการเข้าสู่อาชีพ และการนาผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าทางาน ศึกษาต่อ ขอรับประกาศนียบัตรมาตรฐาน สมรรถนะการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะ ภาษาองั กฤษ (English Competency) ๔.๕ จดั ตั้งศูนย์ให้คาปรึกษาการจัดตั้งธรุ กิจ (ศูนย์ Start up) ภายใตศ้ ูนย์พัฒนาอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนยบ์ ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการ ดา้ นอาชีพทัง้ ผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนท่วั ไป โดยเชอื่ มโยงกับ กศน. และสถานประกอบการ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชนทีส่ อดคลอ้ งกบั การประกอบอาชีพในวิถีชวี ติ รปู แบบใหม่ ๔.๖ เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและกาลังแรงงานในภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุม่ เกษตรกรอจั ฉรยิ ะ (Smart Farmer) และกลุม่ ยวุ เกษตรกรอจั ฉรยิ ะ (Young Smart Farmer) ที่ สามารถ รองรบั การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยสี มัยใหม่ได้ ๔.๗ ส่งเสริม และสนบั สนนุ การผลติ และพฒั นากาลงั คนทุกช่วงวัยเพ่ือการมีงานทา โดยบูรณาการ ความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ และสถาบันสังคมอื่น ๔.๘ พัฒนาหลักสูตรอาชีพสาหรับกลุ่มเป้าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชาชน ที่สอดคล้อง มาตรฐานอาชีพ เพ่ือการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทงั้ สามารถ นาผลการเรยี นรู้และมวลประสบการณ์เทยี บโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ ๕. การส่งเสริมสนบั สนุนวิชาชพี ครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ๕.๑ ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมนิ ตาแหนง่ และวิทยฐานะของขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
43 ๕.๒ ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบ ระดับ สมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพนื้ ฐาน และระดบั อาชวี ศึกษา ๕.๓ พัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดาเนินชวี ติ ของผ้เู รียนไดต้ ามความสนใจและความถนดั ของแตล่ ะบคุ คล ๕.๔ พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให้มีสมรรถนะท่ี สอดคล้องและเหมาะสมกบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและการเปล่ยี นแปลงของโลกอนาคต ๕.๕ เร่งรัดการดาเนินการแก้ไขปัญหาหน้สี ินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ควบคู่กับการ ใหค้ วามรูด้ า้ นการวางแผนและการสร้างวนิ ัยด้านการเงนิ และการออม 6. การพัฒนาระบบราชการและการบรกิ ารภาครฐั ยคุ ดิจิทลั ๖.๑ ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ ๔.๐ ด้วยนวัตกรรม และการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็น กลไกหลัก ในการดาเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การส่งเสริมความร่วมมือ บรู ณาการกบั ภาคส่วนตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก ๖.๒ ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่าย สื่อสาร ขอ้ มลู เช่ือมโยงหน่วยงานภาครฐั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ รองรับระบบราชการ ๔.๐ สามารถตอบสนองความ ต้องการของประชาชนไดใ้ นทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทกุ ช่องทาง ๖.๓ ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความจาเป็น และใชพ้ น้ื ทเ่ี ป็นฐาน ท่ีมุ่งเน้นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นเป็นสาคญั ๖.๔ นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในตาแหนง่ และสายงานตา่ งๆ ๖.๕ ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของส่วนราชการให้เป็นไปตามกลไกการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั 7. การขบั เคลื่อนกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแห่งชาติ เร่งรัดการดาเนินการจัดทากฎหมายลาดับรองและแผนการศึกษาแห่ง ชาติเพ่ือรองรับ พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติควบคู่กับการสรา้ งการรับรใู้ หก้ บั ประชาชนไดร้ บั ทราบอยา่ งทั่วถึง แนวทางการขับเคล่อื นนโยบายสูก่ ารปฏบิ ัติ ๑. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดยดาเนนิ การจดั ทาแผนและงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ๒. ใหม้ คี ณะกรรมการตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายการจดั การศกึ ษา ของ กระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติระดับพ้ืนที่ ทาหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบตามลาดับ ๓. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและ ดาเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพ้ืนที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมท้ังรายงานต่อ คณะกรรมการติดตามฯ ตามข้อ ๒ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ตามลาดับ แผนปฏบิ ัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
44 ๔. สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนท่ี (Area) ซึ่งได้ดาเนินการอยู่ก่อนแล้ว หากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องต้องเร่งรดั กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จ และมปี ระสิทธภิ าพอยา่ งเป็นรูปธรรม 1.9 นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐) ได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาคนในทุกมิติ และทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา มีแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีดีสมวัยทุกด้าน มีการปฏิรูปการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ ๒๑ ปรบั บทบาทครูให้เป็นครูยุคใหม่ เพ่ิมประสิทธิภาพ ระบบบริหาร จัดการศึกษาในทุกระดับ และสร้างระบบการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ แผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มกี รอบทศิ ทางในการจัดการศกึ ษาใหค้ นไทยทุกคนสามารถ เขา้ ถึงโอกาส และ คว ามเสมอภาคใน ก าร ศึก ษาที่มีคุณภาพ พัฒ น าก าลัง คน ให้มีสมร ร ถน ะ ใน ก าร ทาง าน ที่สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ท่ีมีเป้าหมายการพัฒนา โดยเฉพาะหมุดหมายที่ ๑๒ ไทยมีกาลังคน สมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต รวมทั้งนโยบาย และจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ท่ีได้กาหนดโดยสอดคล้องกับแผน ระดบั ต่างๆ ของประเทศ ดังกลา่ วข้างต้น ดังน้ัน เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล นโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานซึ่งถือเป็นหน่วยงานหลักท่ีจัดการ ศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศ จึงมีความมุ่งม่ันในการพัฒนาการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ได้กาหนดแนวทางการพัฒนา “การศึกษาข้ันพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาส ด้านคุณภาพ และด้านประสิทธิภาพ และเพ่ือเป็นการต่อยอดพัฒน า การศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้เป็น “วิถีอนาคต วิถีคุณภาพ” จึงกาหนดนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดงั นี้ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ 1. ด้านความปลอดภัย 1.1 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพ้ืนท่ีปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบและ กลไก ในการดูแลความปลอดภัยอย่างเขม้ ขน้ ใหก้ ับผเู้ รียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา จากโรคภยั ตา่ งๆ ภัย พบิ ตั ิ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ 1.2 ส่งเสริมการจัดสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการมีสขุ ภาวะท่ีดแี ละเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม 1.3 สร้างภูมคิ ุม้ กัน การรเู้ ท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดาเนนิ ชีวิตวถิ ีใหม่ (New Normal) และ ชวี ิตวถิ ปี กตติ ่อไป (Next Normal) 2. ดา้ นโอกาสและการลดความเหลอื่ มลา้ ทางการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ ๓ - ๖ ปีทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา สร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้และการดูแลปกป้อง เพื่อให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน โดยการมี สว่ นร่วมของหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนบุ าลคลองขลงุ
45 2.2 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และ ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสาหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้อง กับความตอ้ งการ ของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ 2.3 จดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รียนทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ ได้รบั โอกาสในการพฒั นาเต็มตามศักยภาพ 2.4 ส่งเสริมเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพและจัดหาทางเลือกใน การเข้าถงึ การเรยี นรู้ การฝึกอาชพี เพ่อื ให้มที กั ษะในการดาเนินชวี ติ สามารถพึ่งตนเองได้ 2.5 พัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศของนกั เรียนระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานเป็นรายบุคคล เพอ่ื ใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออก จากระบบการศึกษา และชว่ ยเหลือเด็กตกหลน่ เด็กออกกลางคนั ให้กลับเข้าสรู่ ะบบ 3. ด้านคณุ ภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ท่ีเน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสม กับความต้องการและบรบิ ท 3.2 พัฒนาผเู้ รียนให้เกดิ สมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้น สูง มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทางานของตนเองและร่วมกับผู้อน่ื โดยใช้ การรวมพลังทางานเป็นทีม เป็นพลเมืองท่ีดี มีศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน รวมท้ังมีความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองใน ระบอบประชาธิปไ ตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 3.3 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ นาไปสู่การมีอาชีพ มีงานทา และสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศของผเู้ รยี นใหเ้ ต็มตามศักยภาพ เพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 3.4 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้ นาไปสกู่ ารพฒั นาการเรียนรูแ้ ละสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทง้ั ส่งเสริมการนาระบบธนาคารหน่วย กิต มาใช้ในการเทยี บโอนผลการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ต่างๆ ของผู้เรยี นในสถานศกึ ษา 3.5 พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งบุคลากรสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหน่งและ มาตรฐานวชิ าชีพ 4. ดา้ นประสิทธภิ าพ 4.1 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอานาจและใช้พ้ืนที่ เปน็ ฐานทม่ี ุง่ เน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเปน็ สาคัญ ตามหลักธรรมาภิบาล 4.2 นาเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น 4.3 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการ ขับเคลื่อน บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทกุ ระดับ เพ่อื ให้ประสบผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม 4.4 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในโรงเรียนท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ โรงเรยี นที่ตั้งในพน้ื ทล่ี ักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา 4.5 เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ใหส้ อดรับกบั ชวี ิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวติ วิถีปกติต่อไป (Next Normal) แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนบุ าลคลองขลงุ
46 จดุ เน้นของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ๑. เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 โดยเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟ้ืนฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ให้กับ ผเู้ รยี นทุกระดับ รวมทง้ั ลดความเครียดและสุขภาพจิตของผู้เรียน ๒. เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐาน ความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธกิ าร (MOE Safety Platform) 3. สง่ เสรมิ ให้เดก็ ปฐมวยั ท่มี อี ายุ ๓ – ๖ ปี และผู้เรยี นระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเด็ก พิการทคี่ ้นพบจากการปกั หมดุ บ้านเด็กพกิ ารให้กลบั เขา้ สูร่ ะบบการศกึ ษา ๔. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและการจัดทากรอบหลักสูตรรวมท้ัง จัดกระบวนการเรยี นรูท้ างประวัตศิ าสตร์ หน้าทพี่ ลเมอื งและศลี ธรรม ใหเ้ หมาะสมตามวยั ของผเู้ รยี น ๕. จัดการอบรมครูโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน ควบคู่กับการให้ความรู้ด้านการวางแผนและ การสร้างวนิ ัยด้านการเงนิ และการออม เพื่อแก้ไขปญั หาหนส้ี ินครู 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ ( Active Learning) มีการวัด และประเมินผลในช้ันเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดบั ๗. ยกระดบั คณุ ภาพของนักเรยี นประจาพักนอน สาหรับโรงเรียนท่ีอยู่ในพืน้ ท่ีสงู ห่างไกลและ ถ่ินทุรกันดาร 8. มงุ่ เนน้ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั เพ่อื การเรียนรู้ทกุ ระดับ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอานาจและใช้พ้ืนที่เป็นฐาน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาล ใหก้ บั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา 1.10 แผนการศกึ ษาจังหวัดกาแพงเพชร (พ.ศ. 2560 – 2579) แนวคิดการจดั การศึกษา (Conceptual Design) แนวคิดของการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร (พ.ศ. 2560-2579) ยดึ หลักการ เป้าหมาย และ แนวคดิ ดังนี้ 1.1 หลกั การจดั การศึกษา 1) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือให้ ประชาชนทุกคน ทุกช่วงวัยตั้งแต่เด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยทางาน และผู้สูงวัยมีโอกาสในการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้แต่ละบุคคลได้พัฒนา ตามความพร้อมและความสามารถให้บรรลุขีดสูงสุด มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในการดารงชีวิต และการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคม รวมทั้ง มีสมรรถนะในการทางานเพ่อื การประกอบอาชพี ตามความถนดั และความสนใจ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอันจะนาไปพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม และ ประเทศชาติ 2) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) เป็นการจัด การศึกษาสาหรับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ท้ังผู้เรียน กลุ่มปกติ กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มที่มีความต้องการจาเป็น พิเศษ บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ให้ได้รับการบริการทางการศึกษาที่เหมาะสม ตามศักยภาพ และความพรอ้ มอยา่ งเท่าเทียม แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลงุ
47 3) หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ การจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาผู้เรียนให้มีความรอบรู้ มีทักษะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก โดยยึดหลักความ พอประมาณ มกี ารตัดสินใจทมี่ เี หตุผล และมภี มู คิ ุม้ กันทีด่ ีในตวั ซึ่งเป็นการเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึง ถึงคว ามเป็นไปไ ด้ของสถาน ก าร ณ์ต่ าง ๆ โดยใช้ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ มีความ ตระหนักในคณุ ธรรม มีความช่ือสตั ย์สจุ ริต อดทน พากเพยี ร และใช้สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ 4) หลกั การมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพให้กับประชาชนทุกคน เป็นพันธกิจที่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของสังคมทุกภาคส่วน โดย บคุ คล กลุ่มบุคคล หรือองคก์ รต่าง ๆ จะไดร้ บั การสง่ เสริมใหเ้ ข้าร่วมจัดการศกึ ษา เสนอแนะ กากับติดตาม และ สนับสนุนการจัดการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ ตามความพร้อมเพื่อประโยชน์ของสังคม ด้วยรูปแบบวิธีการที่ หลากหลาย สนองความต้องการและความจาเป็นข องแต่ละบุคคล และสนองยุทธศาสตร์ชาติ และความจาเปน็ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 1.2 เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) สร้างหลักประกันว่า เด็กปฐมวัยทุกคนจะได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน ประถมศึกษาทุกคน สาเรจ็ การศึกษาระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมีผลลพั ธ์ทางการเรียนท่ี มีประสิทธิผลทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมและมี คณุ ภาพกาลังแรงงานมีทกั ษะท่ีจาเปน็ รวมถงึ ทกั ษะทางเทคนิคและอาชีพสาหรับ การจา้ งงาน การมีงานท่ีดีและ การเป็นผู้ประกอบการ กลุ่มผู้พิการและด้อยโอกาสเข้าถึงการศึกษา และการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียมมี การเพ่มิ จานวนครูทมี่ ีคุณภาพเพื่อการศกึ ษาสาหรับ การพฒั นาอย่างยง่ั ยืนและการมวี ถิ ีชวี ิตทย่ี ่งั ยืน วสิ ยั ทศั น์ (Vision) “คนกาแพงเพชรเป็นคนดี มคี ุณภาพ ดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาทีย่ ั่งยืน” พันธกิจ (Mission) 1. จัดการศกึ ษาเพือ่ ดารงไวซ้ งึ่ เอกลกั ษณแ์ ละวางพน้ื ฐานความมัน่ คงของจงั หวัดกาแพงเพชร 2. ส่งเสรมิ ศกั ยภาพการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ 3. ส่งเสริม สนบั สนุนคณุ ภาพการศึกษาทุกระดับให้ไดม้ าตรฐานการศึกษา 4. ส่งเสริม สนับสนุน ประชากรได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้า ทางการศกึ ษา 5. เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเ พียง ท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล วัตถปุ ระสงคข์ องแผนการศกึ ษาจังหวดั กาแพงเพชร (พ.ศ. 2560-2579) 1. เพอื่ จัดการศกึ ษาเพื่อดารงไว้ซงึ่ เอกลักษณแ์ ละวางพ้ืนฐานความมัน่ คงของจังหวัดกาแพงเพชร 2. เพื่อส่งเสริมศักยภาพการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวชิ าชีพ โดยใชก้ ารวิจยั นวตั กรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อสง่ เสริม สนบั สนนุ คณุ ภาพการศกึ ษาทกุ ระดับให้ไดม้ าตรฐานการศึกษา 4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ประชากรได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างเสมอภาคและลดความเหล่ือมลา้ ทางการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
48 5. เพ่ือเสริมสร้างคุณธรรม และดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี ยงที่เป็นมิตร กับส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งย่ังยนื 6. เพอื่ พฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เป้าหมายดา้ นผู้เรียน แผนการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคณุ ลักษณะต่อไปนี้ 3Rs ไดแ้ ก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetics) 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทั กษะด้ านการสร้ างสรรค์ และนวั ตกรรม (Creativity and Innovation) ทั กษะด้ าน ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross - cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางาน เป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศ และการรู้ เท่ าทั น ส่ื อ(Communications, Information and Media Literacy) ทั กษะด้ านคอมพิ วเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะ การเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินยั คณุ ธรรมจริยธรรม (Compassion) 1M ไดแ้ ก่ ศลี ธรรม (Morals) ความประพฤตทิ ดี่ ที ่ชี อบทั้งศลี และธรรม - เบญจศีล หมายถึง ข้อห้ามปฏิบัติ 5 ประการ 1) ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ 2) ละเว้นจากการ ลักขโมยฯ 3) ละเว้นจากการประพฤติผิดล่วงละเมิดลูกเมียคนอื่น 4) ละเว้นจากการพูดคาหยาบ พูดเพ้อเจ้อ พูดสอ่ เสียด 5) ละเว้นจากการเสพสุรา - เบญจธรรม หมายถึง ข้อพึงปฏิบัติ 5 ประการ คือ 1) เมตตากรุณา ความรัก ความปรารถนาดี ต่อผู้อ่ืน 2) สัมมาอาชีวะ การประกอบสัมมาชีพ 3) กามสังวร การสารวมในกาม 4) สัจจะ การพูดความจริง 5) สติสัมปชัญญะ ความระลกึ ได้และความรตู้ วั เปา้ หมายของการจัดการศึกษา แผนการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร ได้กาหนดเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาในระยะ 20 ปี ไว้ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย 6.1 ประชากรทุกคนเข้าถงึ การศกึ ษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานอย่างท่วั ถงึ (Access) 1) เด็กปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวัย 2) ประชากรทุกคนมโี อกาสได้รับบริการทางการศึกษาต้งั แต่ปฐมวยั ถงึ มธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือ เทียบเท่าที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน 3) ประชากรท่ีอยูใ่ นกาลังแรงงานไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะ ความรูค้ วามสามารถ และ สมรรถนะที่ ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ 4) ประชากรสูงวยั ได้เรียนรู้ ฝึกฝนเพ่ือพฒั นาความรู้ความสามารถ และทกั ษะเพือ่ การทางานหรือ การมีชวี ิตหลงั วัยทางานอยา่ งมคี ุณค่าและเป็นสขุ 6.2 ผู้เรยี นทกุ กลุ่มเปา้ หมายได้รบั บริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทยี ม (Equity) ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งกลุ่มปกติ ผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความบกพร่องด้านต่างๆ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีภูมิหลังทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกัน ได้รับโอกาสและการ บรกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียม แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลงุ
49 6.3 ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถและเต็มตาม ศกั ยภาพ (Quality) ผเู้ รียนทกุ กลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสได้รบั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน เพื่อพัฒนาคณุ ลกั ษณะ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแต่ละบุคคลตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมฐานความรู้ สังคมแห่งปัญญา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ท่ี ประชาชนสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ มคี ุณธรรม จริยธรรมและสามารถดารงชีวิตได้อย่างเป็นสุข ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6.4 ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ และการลงทุนทางการศกึ ษาท่คี มุ้ ค่าและบรรลเุ ปา้ หมาย (Efficiency) หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดกาแพงเพชรทุกแห่ง สามารถบริหารและจัดการศึกษา อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ดว้ ยคณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดใหม้ ีระบบการจดั สรรและใช้ทรพั ยากรทางการศึกษาที่ ก่อประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขีดความสามารถของตน และส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมที่มีศักยภาพและความพร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมทุนและร่วม รับภาระคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ือการศกึ ษา โดยเฉพาะสถานประกอบการ สถาบันและองค์กรตา่ งๆ ในสังคม และผ้เู รียน 6.5 ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เ ป็นพลวัตและ บริบทที่เปลย่ี นแปลง (Relevancy) ระบบการศึกษาในจังหวัดกาแพงเพชร มีคุณภาพและมาตรฐาน สน องตอบและก้าวทัน การเปล่ียนแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางาน ของกาลังคนใน ประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน สังคม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ จังหวัดกาแพงเพชร ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ที่จะนาจังหวัดกาแพงเพชร ดว้ ยการศึกษาทสี่ รา้ งความม่ันคงในชีวติ ของประชาชน สงั คมและประเทศชาติ และ การสรา้ งเสริมการเตบิ โตท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม ตวั ช้ีวดั ตามเป้าหมายของแผนการศึกษาจังหวดั กาแพงเพชร (พ.ศ.2560-2579) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อดารงไว้ซ่ึงเอกลักษณ์และวางพ้ืนฐานความม่ันคง ของจังหวดั กาแพงเพชร ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้เป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ทางวิชาชีพโดยใช้การวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดบั ให้ไดม้ าตรฐานการศึกษา ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและลดความเหลอ่ื มล้าทางการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม และดารงชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงที่เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล แผนปฏิบัติการประจาปี 2566 โรงเรยี นอนุบาลคลองขลุง
50 1.11 ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2 วสิ ยั ทัศน์ “จัดการศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ เพอ่ื ให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ” พันธกิจ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีสมรรถนะ ตามหลกั สตู ร และทักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21 2. เพิ่มโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่างทัว่ ถึง และเท่าเทียม 3. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ สี มรรถนะและทักษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษท่ี 21 4. พัฒนาสถานศึกษาและระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับให้มีความปลอดภัยจากภัยพิบัติ และภัยคกุ คามทุกรปู แบบ 5. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปา้ หมายการพฒั นาท่ียง่ั ยนื 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการของหนว่ ยงานในสงั กดั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลเหมาะสม กบั บริบท เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดี ของชาตมิ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 2. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. ผู้เรียน ได้รับโอกาส ความเสมอภาค ในการได้รับความช่วยเหลือ และบริการทางการศึกษา อย่างท่ัวถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ุณภาพ 4. เด็กกลุ่มเสี่ยงท่ีจะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รับการช่วยเหลอื ใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ 5. ผูบ้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ สามารถจดั การเรียนรู้ให้ผู้เรียน มีคณุ ลักษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และจดั การเรียนรูต้ ามหลักพหปุ ญั ญา 6. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา มีความปลอดภัยจากภัยพิบัติและ ภัยคกุ คามทกุ รปู แบบ รวมถงึ การจดั สภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการมีสขุ ภาวะทีด่ ี 7. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน ( Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สถานศึกษา มกี ารนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ิทัลมา ใช้ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ มีระบบการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธภิ าพ เหมาะสม กับบรบิ ท แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2566 โรงเรียนอนุบาลคลองขลุง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226