Nutri-note Naseeyah chama Nutrition and dietetics major Faculty of science and technology
สารบญั คำศัพท์ทำงกำรแพทย์............................................................................................................................................5 ตวั ช้วี ดั กำรประเมนิ สัดสว่ นร่ำงกำย ........................................................................................................................9 - BMI ...........................................................................................................................................................9 - BMI ผู้สูงอำยุ.............................................................................................................................................9 - วธิ ีคำนวณ %Ideal body weight (%IBW)........................................................................................... 10 - วธิ ีคำนวณ Adjusted body weight ..................................................................................................... 10 - คำนวณ IBW อยำ่ งง่ำย........................................................................................................................... 10 - นำ้ หนกั ทล่ี ดลงโดยไม่ได้ตงั้ ใจ (%weight loss) ...................................................................................... 10 - Classifications of nutritional status................................................................................................. 11 - Overweight and obesity.................................................................................................................... 11 - เกณฑ์กำรแปรผลเสน้ รอบวงของจุดกึ่งกลำงแขนท่อนบน (Mid upper Arm Circumference)............. 12 - เกณฑ์กำรแปรผลเปอร์เซ็นต์ไขมนั ในรำ่ งกำย.......................................................................................... 12 กำรคำนวณควำมต้องกำรพลังงำน ...................................................................................................................... 14 - คำนวณพลงั งำนจำกนำ้ หนักตัวและระดับกิจกรรม.................................................................................. 14 - Resting Energy Expenditure (joint FAO/WHO/UNU) .................................................................... 14 - BMR คำนวณจำก Schofield Equations.............................................................................................. 15 - BMR คำนวณจำก Harris-Benedict Equations ................................................................................... 15 - BMR คำนวณจำก Mifflin-St jeor Equations ...................................................................................... 16 กำรคำนวณควำมต้องกำรโปรตีน......................................................................................................................... 18 - คำนวณอย่ำงง่ำยจำกน้ำหนัก ...................................................................................................................... 19 - คำนวณสมดุลโปรตนี ................................................................................................................................... 19
กำรคำนวณ Fluid requirement....................................................................................................................... 20 กำรคำนวณพลังงำนในเดก็ .................................................................................................................................. 20 Screening and assessment tool................................................................................................................... 21 Drug and food interaction ............................................................................................................................ 23 Nutrition support............................................................................................................................................ 24 Metabolic syndrome...................................................................................................................................... 26 ธำลสั ซีเมีย (Thalassemia) ................................................................................................................................ 27 โรคเบำหวำน....................................................................................................................................................... 30 คำ่ ในกำรวนิ จิ ฉัยและเปำ้ หมำยในกำรติดตำมโรคเบำหวำน ............................................................................. 30 ชนดิ ของ Insulin............................................................................................................................................. 32 ภำวะน้ำตำลในเลือดสูงชนดิ Diabetic ketoacidosis..................................................................................... 34 เกณฑ์กำรวินจิ ฉยั ภำวะน้ำตำลในเลอื ดสงู ชนิด diabetic ketoacidosis ......................................................... 34 กำรดูแลรกั ษำเม่ือผำ่ นพน้ ภำวะ DKA.............................................................................................................. 35 ภำวะน้ำตำลตำ่ ในเลอื ด (hypoglycemia) ...................................................................................................... 36 กำรตรวจวินิจฉัยโรคและตรวจคดั กรองเบำหวำนขณะตงั้ ครรภ์ ........................................................................... 37 เปำ้ หมำยของระดบั นำ้ ตำลในเลอื ดของผูป้ ว่ ยเบำหวำนขณะต้งั ครรภ์ .............................................................. 38 กำหนดคำรบ์ ในแตล่ ะมื้อสำหรบั หญิงต้ังครรภ์ (GDM)..................................................................................... 39 กำรตรวจระดับน้ำตำลในเลือดด้วยตนเอง ....................................................................................................... 40 ค่ำในกำรวนิ จิ ฉัยควำมดันโลหิตสงู ....................................................................................................................... 42 Classification of Blood Cholesterol Levels................................................................................................ 43 คำ่ ที่ใช้ในกำรติดตำม .....................................................................................................................................43 DASH diet ......................................................................................................................................................... 44 TLC Diet............................................................................................................................................................ 46
กำรแบ่งระยะของCKD........................................................................................................................................ 46 สมุนไพรกับผ้ปู ่วยโรคไต.................................................................................................................................. 49 อำหำรคีโตเจนิค (Ketogenic diets)................................................................................................................... 54 กำรคำนวณพลงั งำนอำหำรทำงหลอดเลอื ดดำ..................................................................................................... 55 ชนิด/สตู รนมผงเดก็ ตำวยั .................................................................................................................................... 57
คาศัพท์ทางการแพทย์ A Atrial Fibrillation (AF) โรคหวั ใจเต้นผดิ จงั หวะ ไมส่ มำ่ เสมอ Asthma โรคหอบหืด Ante natal care (ANC) กำรดูแลกอ่ นคลอด (กำรฝำกครรภ์) Allergy โรคภมู แิ พ้ Acute Gastroenteritis (AGE) ลำไสอ้ ักเสบฉับพลนั Acidosis ภำวะเลอื ดเปน็ กรด Acute Renal Failure (ARF) ไตวำยฉับพลนั B Burns แผลไหม้ Blunt chest ไดร้ บั กำรกระแทกทห่ี นำ้ อก Blood pressure (BP) ควำมดันโลหติ Benign Prostatic Hyperplasia (BPH) โรคตอ่ มลูกหมำกโต Basal ganglia ปมประสำทที่มีหนำ้ ทีเ่ กยี่ วข้องกับกำรสง่ั กำรกำรเคลอื่ นไหวของรำ่ งกำย กำรเรยี นรู้ กำรตัดสนิ ใจ และกิจเกีย่ วกับอำรมณ์ควำมรู้สกึ C C-Spine injury กำรบำดเจ็บทกี่ ระดูกตน้ คอ crushing กำรบดทบั Concussion สมองกระทบกระเทอื น Coma ภำวะหมดสติ ไมร่ สู้ กึ ตัว Complication โรคแทรกซ้อน Cesarian Section (C/S) กำรผ่ำคลอด Chief Complaint (CC) ประวัติสำคญั ท่มี ำโรงพยำบำล Colonic polyp ต่ิงเนื้อท่ลี ำไสใ้ หญ่ Computed Tomography (CT) กำรตรวจเอก็ ซ์เรย์คอมพิวเตอร์ Constipation ทอ้ งผกู Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทำงหลอดเลอื ดสมอง Coronary Care Unit (CCU) หออภบิ ำลผู้ป่วยหนกั เฉพำะโรคหัวใจ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) กำรล้ำงไตทำงช่องท้องชนิดตอ่ เน่ืองดว้ ยตนเอง CTF (Capture the fracture) เปน็ โครงกำรดูและผปู้ ่วยโรคกระดูกหักจำกโรคกระดูกพรนุ โดยทมี สหวิชำชพี ปจั จบุ นั ใชค้ ำว่ำ FLS (Fracture Liaison service) D Dyslipidemia (DLD) โรคไขมนั ในเลือดสงู Diagnosis (Dx) กำรวินจิ ฉยั โรค Dyspnea หอบเหนอื่ ย Discharge ผ้ปู ว่ ยออกจำกโรงพยำบำลแลว้ E Emergency room (E.R) ห้องฉกุ เฉิน
F Fracture กำรแตกหกั ของกระดูก fracture Femur กระดกู ต้นขำหกั Follow up (F/U) นดั ตรวจติดตำมอำกำร Family history (FH) ประวัตกิ ำรเจบ็ ป่วยของคนในครอบครวั G General Appearance (GA) ลักษณะภำยนอกทั่วไป Global aphasia เป็นควำมผดิ ปกติของภำษำพดู เกิดจำกพยำธิสภำพท่ีสมอง ผ้ปู ่วยจะพดู ไม่คลอ่ ง ไม่ชดั และมี ปัญหำเรื่องควำมเขำ้ ใจ H Head injury กำรไดร้ ับบำดเจ็บที่ศีรษะ Hemodialysis หอ้ งลำ้ งไต HT (Hypertension) ควำมดันโลหติ สงู I In patient Department (IPD) แผนกรักษำผปู้ ว่ ยใน Intake/Outtake (I/O) ปริมำณน้ำเขำ้ ออกในแต่ละวัน Intensive care unit (I.C.U) หออภบิ ำลผ้ปู ่วยหนักรวม Ischemic stroke โรคหลอดเลือดสมองตบี หรอื อุดตนั Intracerebral hemorrhage โรคหลอดเลือดสมองแตกจำกกำรฉีกขำดของหลอดเลือดในสมอง J Jaundice ดซี ำ่ น L Labour room (L.R) หอ้ งคลอด LN (Lupus Nephritis) โรคไตท่ีเป็นผลกระทบจำกโรค SLE M Medication (MED) อำยุรกรรม morbid obesity ภำวะอว้ นอย่ำงรนุ แรง N Nervous System (N/S) สัญญำณชีพทำงระบบประสำท not applicable (N/A) ไม่มีขอ้ มูล Nephrotic syndrome (NS) ไตอักเสบ Nasogastric Tube (NG Tube) กำรใสส่ ำยยำงทำงจมูกถึงกระเพำะ NASH (Nonalcoholic steatohepatitis) เป็นภำวะทีม่ ไี ขมันสะสมในตับรวมกับกำรอักเสบ Non-ST Elevated Myocardial Infarction (NSTEMI) ภำวะหวั ใจขำดเลอื ดเฉียบพลนั
O Observe สังเกตอำกำร Orthopedic (ORTHO) กระดกู และขอ้ Out Patient Department (OPD) แผนกผปู้ ว่ ยนอก Operating room (O.R) ผำ่ ตดั ORIF (Open Reduction Internal Fixation) กำรผำ่ ตัดกระดูกใหเ้ ขำ้ ท่ีโดยกำรตรึงกระดกู ทหี่ กั ด้วยโลหะซ่ึงจะใส่ อย่ภู ำยนอกร่ำงกำยของผูป้ ว่ ย P Pneumothorax ภำวะลมในชอ่ งปอด Pulse ชพี จร Pain ควำมปวด Pale ซดี Physical therapy แผนกกำยภำพบำบดั Pharmacy หอ้ งจำ่ ยยำ Physical Examination (PE) กำรตรวจรำ่ งกำย Past History (PH) ประวัติอดีต Present Illness (PI) ประวตั ิปัจจุบัน Physical therapy (PT) กำยภำพบำบัด Past medical history (PMH) ประวัตอิ ดตี ของกำรรกั ษำ Q R R/O สงสยั ว่ำจะเป็น S Swelling อำกำรบวม Surgical (SUR) ศัลยกรรม (รกั ษำด้วยกำรผ่ำตดั ) Side effect ผลข้ำงเคยี ง Sputum เสมหะ Stress เครยี ด Surgery ศัลยกรรม Septicemia ติดเชือ้ ในกระแสเลือด SLE (Systemic lupus erythematosus) โรคแพภ้ มู ิตัวเอง Septic shock ภำวะชอ็ กเหตุพิษติดเช้ือ เกิดขึน้ หลังจำกกำรตดิ เชื้อในกระแสเลือด Surgical Intensive Care Unit (SICU) หออภิบำลผปู้ ว่ ยวิกฤตศัลยกรรม ST Elevated Myocardial Infarction (STEMI) ภำวะหัวใจขำดเลอื ดเฉียบพลนั SGOT (Serum Glutamic-Oxaloacetic Transaminase) หรอื AST (Aspartate Transaminase) เป็นเอนไซม์ ที่ใช้ชว่ ยตรวจภำวะโรคตับ SGPT (Serum glutamate pyruvate transaminase) หรือ ALT (Alanine transaminase) เป็นเอนไซม์ท่ีใช้ ช่วยตรวจภำวะโรคตับ
T Treatment กำรรกั ษำ Transfer กำรยำ้ ยผปู้ ว่ ย Therapy กำรรักษำ Traumatic Brain Injury (TBI) กำรบำดเจ็บท่สี มอง Tuberculosis วณั โรค U Unconscious ไม่รู้สกึ ตัว Urine analysis กำรเก็บปสั สำวะส่งตรวจ Urticarial ลมพิษ underlying disease (U/D) โรคประจำตัว Upper Respiratory Infection (URI) กำรตดิ เช้ือทำงเดินหำยใจสว่ นบน Urinary Tract Infection (UTI) กำรติดเชื้อทำงเดินปสั สำวะ V Vital sign (V/S) สญั ญำณชีพ Vomit อำเจียน Viral myocarditis กลำ้ มเน้ือหัวใจอักเสบจำกไวรัส W Wound แผล Weak อ่อนเพลยี Ward ตึกผู้ปว่ ย
ตวั ชวี้ ัดการประเมินสดั ส่วนร่างกาย - BMI - BMI ผสู้ งู อายุ ภาวะโภชนาการ BMI (kg/m2 ) ผอม 18.5-19.9 ระดับ 1 17.0-18.4 ระดับ 2 16.0-16.9 ระดับ 3 ระดับ 4 <16 ปกติ 18.5-24.9 อ้วน ระดบั 1 25.0-29.9 ระดับ 2 30.0-39.9 ระดับ 3 >40.0
- วิธีคานวณ %Ideal body weight (%IBW) - วธิ คี านวณ Adjusted body weight - คานวณ IBW อยา่ งง่าย ชำย: IBW (kg) = ส่วนสูง (cm) –105 หญงิ : IBW(kg) = สว่ นสูง (cm) – 110 - น้าหนักที่ลดลงโดยไมไ่ ด้ตง้ั ใจ (%weight loss) ระยะเวลำ 1 สัปดำห์ ลดลง 1-2% 1 เดือน ลดลง 5% 3 เดือน ลดลง 7.5% 6 เดือน ลดลง 10%
- Classifications of nutritional status ดชั นี Normal Mild Moderate Severe Nutrition status %W/A >90 75-90 60-75 <50 Underweight %W/H >90 80-90 70-80 <70 Wasting %H/A >95 90-95 85-90 <85 Stunting -Gomez F, Galvan RR, Cravioto J, Frenk S. Malnutrition in infancy and childhood, with special reference to kwashiorkor. Adv Prediatr. 1955;7:131-169 -Warelow JC. Classification and definition of protein-calorie malnutrition. Br Med J. 1972;3(5826):566-9. - Overweight and obesity วนิ จิ ฉัยโดยใชเ้ กณฑ์อ้ำงองิ ได้ 2 แบบ 1. ใชก้ รำฟหรือตำรำงค่ำอำ้ งองิ BMI ตำมอำยุ และเพศขององค์กำรอนำมยั โลก เนอื่ งจำกขณะนย้ี งั ไมม่ ีเกณฑ์ อ้ำงอิง BMI สำหรบั เด็กไทย 2. ใชค้ ำ่ นำ้ หนักตำมเกณฑส์ ่วนสงู %W/H* >110-120 >120-140 >140-160 >160-200 >200 Nutritional Overweight Mild obesity Moderate Severe Morbid status* obesity obesity obesity นำ้ หนักเกนิ อว้ นเลก็ นอ้ ย อว้ นปำนกลำง อ้วนมำก อว้ นรนุ แรง เปรยี บเทยี บกับกราฟ** Overweight Obesity Morbid กรมอนามัย พ.ศ. 2542 เริม่ อ้วน โรคอว้ น obesity โรคอ้วนรนุ แรง * คำ่ %W/H เป็นกำรประเมินควำมรนุ แรงของโรคอว้ นในเด็ก ในทำงเวชปฏบิ ตั ิ **จำกกำรเปรียบเทยี บกบั กรำฟเกณฑ์อำ้ งองิ กำรเจรญิ เติบโตของเด็กไทย กระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ. 2542 พบวำ่ เดก็ ท่ีไดร้ ับกำรวนิ ิจฉัยวำ่ เป็น “โรคอว้ น” คือ นำ้ หนักตำมเกณฑส์ ่วนสงู มำกกวำ่ ค่ำมธั ยฐำน +3SD จะมนี ้ำหนักคิด เปน็ 135-153 % ของคำ่ ideal weight for height (W/H) และ +2SD จะมนี ้ำหนกั คิดเปน็ 122-135 %W/H ดังนนั้ ถ้ำใชเ้ กณฑ์เดิมตำมตำรำง จะทำให้กำรวนิ จิ ฉัยโรคอว้ นในเดก็ ไทยมำกเกนิ กว่ำที่ควรจะเปน็ อำ้ งอิงจำกแนวทำงกำรดูแลรักษำและปอ้ งกนั ภำวะโภชนำกำรเกินในเด็ก ชมรมโภชนำกำรเด็กแหง่ ประเทศไทย
- เกณฑก์ ารแปรผลเสน้ รอบวงของจุดกงึ่ กลางแขนทอ่ นบน (Mid upper Arm Circumference) Mid-upper arm circumference (MUAC) Z-score MUAC Diagnostic BMI (kg/m2) Grade of <-1.0 Men Women category Men Women Chronic energy (mm) (mm) deficiency <230 <220 Undernourished <17 <17 3 <-2.0 <200 <190 Sever wasting <13 <13 4 <-3.0 <170 <160 Extreme wasting <10 <10 5 Ferr0-luzzi and james,british Journal of Nutrition 75:3-10,1996 - เกณฑ์การแปรผลเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมันในรา่ งกาย Body fat ranges for persons 18 years of age and older Classification Percent body fat (%) Males Females Unhealthy ≤5 ≤8 Acceptable range (lower end) 6-15 9-23 Acceptable range (upper end) 16-24 24-31 Unhealthy ≥25 ≥32
(jackson and pollock,1978)
การคานวณความตอ้ งการพลังงาน - คานวณพลงั งานจากน้าหนกั ตัวและระดับกิจกรรม - Resting Energy Expenditure (joint FAO/WHO/UNU) อาย(ุ ป)ี เพศชาย เพศหญิง 0-3 (60.9xkg)-54 (61.0xkg)-51 3-10 (22.7xkg)+495 (22.5xkg)+499 10-18 (17.5xkg)+651 (12.2xkg)+746 18-30 (15.3xkg)+679 (14.7xkg)+496 30-60 (11.6xkg)+879 (8.7xkg)+829 >60 (13.5xkg)+487 (10.5xkg)+596 -World Health organization. Energy and protein requirements. Geneva: World Health organization, 1985. Technical report Series No. 724. ดชั นมี วลกาย (กก./ตร.ม.) คานวณเป้าหมายพลังงานอย่างง่ายจากน้าหนัก < 30 30-35 kcal/kg/day, น้ำหนักปัจจบุ นั ขณะท่ีไม่บวม >30 11-14 kcal/kg/day, น้ำหนกั ปัจจุบนั ขณะท่ไี ม่บวม หรอื 22-25 kcal/kg/day, นำ้ หนกั ท่คี วรจะเปน็ (IBW) ทีม่ ำ : คำแนะนำกำรดแู ลทำงโภชนำกำรในผปู้ ว่ ยผูใ้ หญ่ทน่ี อนโรงพยำบำล พ.ศ.2560
- BMR คานวณจาก Schofield Equations อายุ (ปี) เพศชาย เพศหญิง 0-3 0.167W+15.174H-617.6 16.252W+10.232H-413.5 3-10 19.59W+1.303H+414.9 16.969W+1.618H+371.2 10-18 16.25W+1.372H+515.5 8.365W+4.65H+200 W=weight(kg), H=height(cm) -Schofield WN. Predicting basal metabolic rate, new standard and review of previous work. Hum Nutr Clin Nutr 1985; 39 (Suppl 1): 5-41. - BMR คานวณจาก Harris-Benedict Equations
- BMR คานวณจาก Mifflin-St jeor Equations
Derived from FAO/WHO/UNU expert consultation
การคานวณความต้องการโปรตีน Nitrogen balance = N intake – N loss N loss = N feces+skin+urine+(other in case of injury) - Recommendation of protein intake in normal adult 0.8 g/kgBW/day, for underweight/obese persons and adjusted weight could be used
- คานวณอยา่ งง่ายจากนา้ หนัก ปริมาณโปรตีนตอ่ วนั (กรมั ) ดัชนีมวลกาย < 30 1.2-1.5 กรัม/ กก.น้ำหนักปัจจบุ นั 30-39.9 2 กรมั /กก.นำ้ หนกั อดุ มคติ >40 2-2.5 กรมั /กก.นำ้ หนกั อุดมคติ ที่มำ :คำแนะนำกำรดูแลทำงโภชนำกำรในผู้ปว่ ยผู้ใหญท่ ีน่ อนโรงพยำบำล พ.ศ.2560 - คานวณสมดลุ โปรตีน สมดุลโปรตนี (กรัม/วนั ) = โปรตนี ท่ีได้รบั – อตั รำกำรสลำยโปรตีนของรำ่ งกำย (protein catabolic rate, PCR) PCR คำนวณจำกปรมิ ำณ urinary urea nitrogen (UUN) ทเ่ี ก็บจำกปสั สำวะ 24 ชม. โดยใชส้ ูตรนี้ PCR = (24hr UUN +4) x 6.25 คำ่ คงท่ี “4” แทนปริมำณไนโตรเจนท่ีสูญเสียไปในรูปที่วดั ไม่ไดใ้ นปัสสำวะ (เชน่ creatinine uric) และเหงอื่ ผิวหนงั และอุจจำระ คำ่ คงที่ “6.25” เป็นแฟคเตอรแ์ ปลงปรมิ ำณไนโตรเจนเปน็ โปรตนี เน่อื งจำก โปรตีนมีองคป์ ระกอบท่เี ป็น ไนโตรเจนอยู่ 16% (100/16 =6.25) ปริมาณโปรตนี ทีค่ วรได้รับ (กรมั ต่อวนั ) = PCR + 10 ขอ้ จำกดั ของกำรใช้สตู รนี้ คอื ผ้ปู ่วยที่ไตเส่ือม (eGFR < 50 มล/นำที/1.73 ตร.ม.) ผทู้ มี่ ีกำรเปลีย่ นแปลงของค่ำ blood urea nitrogen (BUN) หรือสญู เสยี นำ้ มำกเกินปกติ มผี วิ หนังลอกมำกผดิ ปกติ - ทำงคลินกิ ใชส้ มดุลไนโตรเจนเป็นตัวประเมินว่ำผ้ปู ่วยตอ้ งกำรให้โภชนบำบดั มำกน้อยตำมระดับควำม รุนแรงของกำรเกิด catabolism ปรมิ าณ UUN 24 hr (g/day) ระดับความรนุ แรงของการเกิด catabolism 5-10 เคแทบอลซิ ึมน้อย หรือ ภำวะไดร้ ับอำหำรตำมปกติ 10-15 เคแทบอลิซึมปำนกลำง > 15 เคแทบอลซิ มึ รนุ แรง ท่มี ำ : คำแนะนำกำรดูแลทำงโภชนำกำรในผ้ปู ่วยผู้ใหญ่ท่นี อนโรงพยำบำล พ.ศ.2560
การคานวณ Fluid requirement - Guideline for estimate water requirement Adult 18-60 yr: 35 ml/kgBW/day > 60 yr: 30 ml/kgBW/day - Addition loss thru sweat: + 2-2.5 ml per 1 0C increased due to fever - add for extra loss, i.e. drain, diarrhea, vomiting etc. • By assessing fluid loss Water intake = urinary loss +500 to 750 ml/day การคานวณพลงั งานในเด็ก
Screening and assessment tool Screening tool เคร่ืองมอื อ้างอิง Malnutrition Screening Tool (MST) Ferguson et al. (1999) Mini Nutritional Assessment Short-Form (MNA-SF) Rubenstein et al. (2001) Nutritional Risk Screening (NRS 2002) Kondrup et al. (2003) Malnutrition Universal Screening Tool (MUST) Stratton et al. (2004) Short Nutritional Assessment Questionnaire (SNAQ) Kruizenga et al. (2005) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) Chittawatanarat et al. (2016) Screening Tools คะแนน เกณฑ์ Malnutrition Screening Tool (MST) 0-1 No risk of malnutrition ≥2 Risk of malnutrition Mini Nutritional Assessment Short-Form 12-14 (MNA-SF) 8-11 Normal 0-7 At risk of malnutrition Nutritional Risk Screening (NRS 2002) 0-2 3 Malnourished Malnutrition Universal Screening Tool 0 Normal (MUST) 1 ≥2 Nutritionally at-risk Short Nutritional Assessment Questionnaire 0-1 Low risk (SNAQ) 2 ≥3 Medium risk Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) 0 High risk Assessment Tools ≥1 Subjective Global Assessment (SGA) Well nourished คะแนน Moderately malnourished A Severely malnourished Normal Nutritionally at-risk เกณฑ์ Normal
Mini Nutritional Assessment (MNA) B Mild-Moderate Malnutrition Patient generated subjective global C Severe Malnutrition assessment (PG-SGA) 24-30 Normal Nutrition Alert Form (NAF) 17-23.5 Risk of malnutrition 0-16 Malnutrition Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) A Normal Assessment tool B Moderate Malnutrition C Severe Malnutrition 0-5 6-10 Normal-Mild Malnutrition ≥11 Moderate Malnutrition 0-4 Severe Malnutrition 5-7 8-10 Normal ≥11 Mild Malnutrition Moderate Malnutrition เครือ่ งมือ Severe Malnutrition Subjective Global Assessment (SGA) อ้างอิง Mini Nutritional Assessment (MNA) Patient generated subjective global assessment (PG-SGA) Detsky et al. (1999) Nutrition Alert Form (NAF) Guigoz et al. (2001) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT) Ottery et al. (2004) Komindrg et al. (2005) Chittawatanarat et al. (2016)
Drug and food interaction - amphetamine เป็นยำกระตุ้นประสำทส่วนกลำงโดยหล่ังสำรโดพำมีนในสมอง ทำให้รู้สึกกระตือรือร้น ผลขำ้ งเคยี ง ทำใหเ้ บื่ออำหำร - Carboplatin เป็นยำรกั ษำโรคมะเร็งหลำยชนิด ยำจะยับย้งั กำรสังเครำะหส์ ำรพนั ธุกรรมของเซลล์มะเร็ง เช่น DNA อำกำรข้ำงเคียง คลน่ื ไส้ อำเจยี น Drug that may increase apatite - Anticonvulsant : เปน็ ยำรักษำอำกำรชักตำ่ ง ๆ อำจเกิดกำรเสยี สมดลุ ของเกลอื แร่ - Antipsychotic : ยำรกั ษำโรคจิต, ไบโพลำร์ - Antidepresant : ยำรกั ษำอำกำรซมึ เศร้ำ Drug can decrease nutrition absorption - Laxatives : เปน็ ยำบรรเทำอำกำรท้องผกู ทำใหอ้ จุ จำระออ่ นตวั ลง หรือกระตนุ้ กำรบีบตัวของลำไส้ - Aluminum hydroxide : เปน็ ยำลดกรดในกระเพำะอำหำร - Statin : เปน็ ยำลดคลอเลสเตอรอลในเลอื ด Drug can increase a loss of a nutrition - Diuratics : เป็นยำขับปสั สำวะ ใชใ้ นกำรรักษำควำมดันโลหติ สูง - Aspirin : ยำลดกำรอักเสบ เชน่ ปวดประจำเดือน - Clobazam : ยำลดอำกำรวิตกกังวล Effect of food or drug intake - Drug absorption : อำหำรหรือสำรอำหำรในกระเพำะและลำไสอ้ ำจทำให้ลดกำรดูดซึมของยำ โดยกำร ชะลอกำรย่อยอำหำรหรือจับกับอนุภำคของอำหำร อำหำรอำจทำหน้ำท่ีเพ่ิมหรือยับยั้งกำรเผำผลำญของ ยำบำงชนดิ ในร่ำงกำย - Drug excretion : ยำจะถูกขบั ถ่ำยออกทำงไต - Dietary calcium : สำมำรถจับกับยำปฏิชีวนะ “tetracycline” ซ่ึงเป็นยำรักษำกำรติดเช้ือ ได้แก่ มำลำเรยี ซิฟิลิส
- กรดอะมิโนในธรรมชำติ สำมำรถดูดซึมกับ “levodopa” ซึงเป็นยำรักษำโรคพำร์กินสัน ซ่ึงจะไปเพิ่มสำร ส่ือประสำทโดพำมนิ ในสมอง Absorption Distribution - กำรรับปะทำนไฟเบอร์ในปริมำณมำกจะรบกวนกำรดูดซึมของ “Digoxin” ซ่ึงเป็นยำกลุ่มของ (Cardiac glycoside) ท่มี ฤี ทธ์ิเพมิ่ กำรบีบตัวของกล้ำมเนอ้ื หัวใจ ใช้รักษำหัวใจวำย หัวใจหอ้ งบน - Metabolism : อำหำรท่ีมีกำรบ่มหรือหมัก เช่นโยเกิร์ต โดยจะทำปฏิกิริยำกับยำ “Tyramine” ซึ่งเป็น กำรยบั ย้งั เอนไซม์ monoamine oxidase ใชร้ กั ษำรควติ กกงั วล โรคพำร์กนิ สนั - Food hight Vit.K (ผักตระกูลกะหล่ำ) ลดประสิทธิภำพของยำ “Anticoagulant” ซึ่งเป็นยำต้ำนกำร แข็งตัวของเลือด - ห้ำมรับประทำน Grapefruit juice พร้อมกับยำต่อไปน้ี “Cyclosporin” ซึ่งเป็นยำกดภูมิคุ้มกันใช้กับ ผู้ป่วยที่มีกำรปลูกถ่ำยอวัยวะ เช่น หัวใจ ไต และตับ “Certain statins” ซ่ึงเป็นกลุ่มยำลดคลอ เลสเตอรอล Nutrition support ความเขม้ ข้น (kcal/ml) % Free water 1:1 84 1.2:1 81 1.5:1 75 2:1 70 - Food intake < 60 % มำกกวำ่ 7 วนั - Weight loss > 5% in 1 mo >7.5% in 1 mo >7.5% in 3 mo >10% in 6 mo
อาหารทาง categories company Name Caloric distribution (%) Com CHO PRO FAT CHO 11.25 fresenius kabi Fresubin 45 20 35 14 15.68 abbott Ensure 56 15 29 11.7 12.5 abbott Jevity 62.72 16.32 31.68 12.5 13.72 polymeric formula Nestle Boost optimum 46.8 16.8 36 11.25 10.75 Nestle Nutren-fibre 50 16 34 11.25 8.25 Nestle Isocal 50 13 37 11.85 13.14 Thai-otsuka Blendera-MF 54.88 16.28 29.79 15.4 12.43 Nestle Nutren-balance 45 15 40 12.43 13.25 abbott GlucernaSR triple care 43 20 37 15.25 8.75 diabetic abbott GlucernaSR triple care 45 20 35 10.68 abbott Glucerna liquid 33 18 49 12.5 Thai-otsuka ONCE PRO 47.4 19.52 40.05 Thai-otsuka Gen-DM 52.56 16.92 30.51 disease- hepatic Thai-otsuka Aminoleban-oral 61.6 25.6 15.3 specific immuno- Thai-otsuka Neo-mune 49.72 24.6 25.65 modulatin Thai-otsuka Neo-mune 49.72 24.64 25.74 oral-impact 53 22 25 g Nestle Prosure 61 21 18 abbott renal abbott Nepro 35 18 47 semi- Thai-otsuka Pan-Enteral 42.72 12 45.27 elemental Nestle Peptamen 50 16 34
งการแพทย์ mposition (g/100kcal) Electrolyte and Remark micronutrients (mg or O PRO FAT 2kcal fiber drink 5 5 3.89 mEq/100 kcal) fiber and FOS Na K P mixed fiber and FOS 3.75 3.22 30 80 60 synbiotic added 8 4.08 3.52 84.35 156.52 54.78 7 4.2 4 94.56 159.52 60.96 prebiotic 5 4 3.78 37 120.6 47 only for tube feeding | fiber free 5 3.25 4.2 74.40 107.60 49.20 2 4.07 3.31 50 125 50 FOS 5 3.75 4.44 78.35 108.76 55.72 fructose free | high soluble fiber 5 5 4.11 87.00 126.00 68.00 5 5 3.89 93.78 164.44 74.67 oral/ feeding (powder) 5 4.5 5.44 98.21 154.71 61.88 only for oral (liquid in box) 5 4.88 4.45 93.20 156.00 72.00 oral/ feeding (liquid in can) 4 4.23 3.39 97.4 162.5 66.5 whey PRO | omega-3,6,9 4 6.4 1.7 70.11 130.46 50.14 3 6.15 2.85 22.6 77.1 39.9 FOS | plant-based 3 6.16 2.86 78.49 99.32 22.43 BCAA 5 5.5 2.78 78.61 99.46 22.46 5 5.25 2 105.94 132.67 71.29 Vanilla flavor 5 4.5 5.22 119.05 158.73 83.49 melon flavor 8 3 5.03 58.82 58.82 40 100% whey | tropical fruit 5 4 3.78 44 110.46 43 energy dense 67.97 89.45 55.86 for dialysis | high protein | low Na, K, P whey pro 100% | MCT:LCT = 70:30
Metabolic syndrome Criteria of metabolic syndrome WHO NCEP ATP III IDF AACE AHA/NHLBL Risk factor FG,IGT,T2M plus ≥ 3 of the Abdominal IGT OR IFG ≥ 2 of the criteria obesity Plus criteria ≥ 2 of the Plus ≥ 2 of the criteria criteria Abdominal BMI >30 and/or Waist circumference (cm) BMI >25 Waist obesity waist/hip ratio circumference Male >0.90 >102 ≥ 90 - >102 cm female >0.85 Triglyceride ≥ 150 mg/dl >88 ≥ 80 - >88 cm HDL-C reduced Male < 35 mg/dl ≥ 150 mg/dl ≥ 150 mg/dl ≥ 150 mg/dl ≥ 150 mg/dl Female < 39 mg/dl BP (mmHg) ≥ 140/90 reduced reduced reduced reduced Fasting ≥ 110 mg/dl glucose < 40 mg/dl < 40 mg/dl < 40 mg/dl < 40 mg/dl < 50 mg/dl < 50 mg/dl < 50 mg/dl < 50 mg/dl ≥ 135/85 ≥ 130/85 ≥ 130/85 ≥ 130/85 ≥ 100 mg/dl ≥ 100 mg/dl - -
ธาลสั ซีเมีย (Thalassemia) ธาลัสซีเมยี (Thalassemia) เปน็ โรคโลหติ จำงทมี่ ีสำเหตจุ ำกควำมผิดปกติทำงพนั ธุกรรมระดับยีน ทำให้ กำรสร้ำงฮีโมโกบิล (Hemoglobin; Hb) ซึ่งเป็นโปรตีนท่ีเป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ส่งผล ให้เม็ดเลอื ดแดงมอี ำยสุ นั้ แตกง่ำย ถูกทำลำยง่ำย จดั เปน็ โรคโลหติ จำงทำงพันธกุ รรมท่พี บบ่อยทีส่ ุดในโลก อำหำรที่เหมำะสมสำหรับผู้ป่วยโรคธำลัสซีเมีย คืออำหำรท่ีมีโปรตีนและกรดโฟลิก (Folic acid) สูง เพ่ือ ชว่ ยในกำรสรำ้ งเมด็ เลอื ดแดง ปรมิ าณโฟเลทในอาหาร อาหาร ปรมิ าณโฟเลท (ไมโครกรมั ต่อ 35 กรัม หรอื ½ ส่วน) ตำลึง 42.70 ใบกยุ๋ ช่ำย 50.75 ผักกำดหอม 36.75 ค่ืนช่ำย 39.90 ดอกกะหลำ่ 32.90 มะเขือเทศ 8.61 ถัว่ เขียว 53.55 ถ่ัวแดง 49.70 ถวั่ เหลอื ง 62.65 อำ้ งอิงจำก : ผศ.ภญ.ดร.กลุ วรำ เมฆสวรรค์ จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลยั เรอื่ ง โภชนำกำรผปู้ ว่ ยธำลัสซีเมยี อำหำรท่คี วรหลีกเลยี่ งสำหรบั ผู้ป่วยโรคธำลัสซีเมีย คอื อำหำรทมี่ ีธำตเุ หลก็ สงู
เนอื้ สตั ว์ ปริมาณธาตุเหลก็ (มลิ ลิกรัม สตั ว์น้า ปรมิ าณธาตุเหลก็ (มลิ ลิกรัม ต่อ 40 กรัมหรือ 1 ส่วน) ตอ่ 40 กรมั หรือ 1 สว่ น) ปอดหมู 47.6 กุ้งฝอยสด 28.0 25.2 เลือดหมู 25.9 หอยโขม 15.6 6.4 หมหู ยอง 17.8 หอยแมลงภู่ 8.1 5.8 ตับหมู 10.5 หอยแครง 5.6 น่องไก่บ้ำน 7.8 ปลำดุก ปริมาณธาตเุ หล็ก (มลิ ลิกรมั ต่อ 100 กรัม) เนือ้ ววั เคม็ ทอด 7.5 ปลำช่อน 36.3 กบแหง้ 3.8 ปลำตะเพียน 17.2 15.1 ผลติ ภัณฑ์จำกธัญพืชและเห็ดท่มี ปี รมิ ำณธำตุเหลก็ สูง 9.9 8.2 ธญั พืชและ ปริมาณธาตเุ หลก็ ผกั และเห็ด 7.6 7.3 ของว่าง (มลิ ลกิ รัมต่อ 100 กรัม) ดำร์กชอ็ กโกแลต 17.0 ผักกดู ถว่ั ดำ 16.5 ใบแมงลัก เตำ้ เจี้ยว 15.2 ใบกระเพำแดง เมล็ดฟักทอง 15.0 ยอดมะกอก ถ่ัวลสิ ง 13.8 ดอกโสน งำขำว 13.0 ใบชะพลู ถวั่ แดง 10.5 ตน้ หอม
ลกู เดอื ย 10.0 มะเขือพวง 7.1 งำดำ 9.9 เห็ดหหู นู 6.1 จมูกข้ำวสำลี 6.8 ยอดอ่อนขีเ้ หล็ก 5.8 ข้ำวโอ๊ต 6.5 ผักกระเฉด 5.3 อ้ำงอิงจำก : ผศ. ดร. ภญ. ปิยนุช โรจน์สง่ำ ภำควิชำเภสัชเคมี คณะเภสัชศำสตร์ มหำวิทยำลัยมหิดล เร่ือง บทควำมเผยแพร่ควำมรู้สปู่ ระชำชน ธำลัสซเี มยี (Thalassemia)...กินอยำ่ งไรใหเ้ หมำะสม หมายเหตุ : ควรหลีกเล่ียงกำรรับประทำนอำหำรร่วมกับอำหำรท่ีมีวิตำมินสูง เช่น ส้ม มะเขือเทศ เพรำะ วิตำมินซีจะช่วยในกำรดูดซึมธำตุเหล็ก และควรรับประทำนร่วมกับอำหำรท่ีลดกำรดูดซึกธำตุเหล็ก เช่น ชำ และ นมถว่ั เหลอื ง
โรคเบาหวาน ค่าในการวนิ จิ ฉยั และเป้าหมายในการติดตามโรคเบาหวาน ตำรำงกำรแปลผลระดับพลำสมำกลูโคสและ A1C เพ่อื กำรวินจิ ฉยั ปกติ ระดับนา้ ตาลในเลอื ดท่เี พ่ิมความเสยี่ งการ โรคเบาหวาน <100 มก./ดล. เปน็ เบาหวาน ≥126 มก./ดล. <140 มก./ดล. ≥200 มก./ดล. impaired fasting impaired glucose - ≥200 มก./ดล. < 5.7 % glucose (IFG) tolerance (IGT) ≥6.5% พลำสมำกลูโคสขณะอด 100-125 มก./ดล. - อำหำร (FPG) - 140-199 มก./ดล. พ ล ำ ส ม ำ ก ลู โ ค ส ที่ 2 ช่ัวโมงหลัง ด่ืมน้ำตำล -- กลูโคส 75 กรัม 2 h-PG 5.7-6.4% (OGTT) พลำสมำกลูโคสทเ่ี วลำใดๆ ในผ้ทู ่ีมีอำกำรชัดเจน ฮโี มโกลบินเอวันซี (A1C) *IFG เป็นภำวะระดับนำ้ ตำลในเลือดขณะอดอำหำรผดิ ปกติ *IGT เป็นภำวะระดบั นำ้ ตำลในเลอื ดสูงหลังไดร้ ับกลโู คส เปา้ หมายในการติดตามโรคเบาหวาน - เปำ้ หมำยในกำรควบคุมระดับนำ้ ตำลในเลือดสำหรบั ผู้ปว่ ยเบำหวำนสงู อำยุ และผปู้ ่วยระยะสุดท้ำย สภาวะผ้ปู ่วยเบาหวานสูงอายุ เป้าหมายระดับ A1C ผู้มีสขุ ภำพดี ไม่มีโรครว่ ม <7% ผมู้ ีโรคร่วม ชว่ ยเหลือตัวเองได้ 7.0-7.5% ผู้ปว่ ยที่ต้องไดร้ ับกำรชว่ ยเหลอื มีภำวะเปรำะบำง ไม่เกิน 8.5% มภี ำวะสมองเสื่อม ไมเ่ กิน 8.5% ผปู้ ว่ ยที่คำดว่ำจะมชี ีวติ อยู่ไดไ้ มน่ ำน หลกี เลย่ี งภำวะนำ้ ตำลในเลือดสูงจนทำให้เกิดอำกำร
- เป้ำหมำยกำรควบคมุ เบำหวำนสำหรับผู้ใหญ่ การควบคมุ เบาหวาน ควบคมุ เข้มงวดมาก เป้าหมาย ควบคุมไมเ่ ข้มงวด >70-110 มก./ดล. ควบคมุ เข้มงวด 140-170 มก./ดล ระดับน้ำตำลในเลือดขณะอดอำหำร ระดบั น้ำตำลในเลือดหลังอำหำร 2 ช่วั โมง <140 มก./ดล 80-130 มก./ดล - - ระดบั น้ำตำลในเลือดสงู สดุ หลังอำหำร - <180 มก./ดล - A1C (% of total hemoglobin) <6.5% <7.0% 7.0-8.0% - เปำ้ หมำยกำรควบคุมปัจจยั เสยี่ งของภำวะแทรกซ้อนทห่ี ลอดเลือด กำรควบคมุ /กำรปฏิบัตติ ัว เปำ้ หมำย ระดับไขมนั ในเลือด* <100 มก./ดล ระดับไขมันในเลือด ระดบั แอล ดี แอลคเลสเตอรอล* <150 ม ก . / ด ล . ระดบั ไตรกลเี ซอไรด์ ≥40 มก./ดล ระดับ เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล: ผูช้ ำย ≥ 50 มก./ดล ผูห้ ญงิ <140 มม.ปรอท <90 มม.ปรอท ควำมดนั โลหิต** ควำมดนั โลหิตซสิ โตลคิ (systolic BP) 18.5-22.9 กก./ม.² หรือใกลเ้ คียง ควำมดันโลหิตไดแอสโตลิค (diastolic BP) ไม่เกินส่วนสูงหำรด้วย 2 น้ำหนกั ตัว <90 ซม. ดัชนมี วลกำย <80 ซม. รอบเอวจำเพำะบุคคล (ทง้ั สองเพศ)*** ไม่สูบบุหร่แี ละหลีกเลีย่ งกำรรับควนั บุหรี รอบเอว : ผ้ชู ำย ตำมคำแนะนำของแพทย์ ผหู้ ญิง กำรสูบบุหร่ี กำรออกกำลังกำย * ถ้ำมโี รคหลอดเลอื ดหัวใจหรอื มีปจั จัยเส่ยี งของโรคหลอดเลอื ดหัวใจหลำยอยำ่ งร่วมดว้ ยควรควบคมุ ให้ LDL-C ต่ำกวำ่ 70 มก./ดล. ** ผู้ป่วยที่มีควำมเสี่ยงสูงต่อกำรเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ควำมดันโลหิตซิสโตลิคไม่ควรต่ำกว่ำ 110 มม.ปรอท ผู้ป่วย ท่ีอำยุน้อยกว่ำ 40 ปีหรือมี ภำวะแทรกซ้อนทำงไตร่วมด้วยควรควบคุมควำมดนั โลหิตใหน้ อ้ ยกว่ำ 130/80 มม.ปรอท ถำ้ ไม่ทำใหเ้ กิด ภำวะแทรกซ้อนของกำรรกั ษำ
ชนดิ ของ Insulin แบ่งเป็น 4 ชนิดตามระยะเวลาออกฤทธิ์ ไดแ้ ก่ 1. ฮวิ แมนอินซูลนิ ออกฤทธ์ิสั้น (short acting หรอื regular human insulin, RI) 2. ฮวิ แมนอนิ ซูลินออกฤทธน์ิ ำนปำนกลำง (intermediate acting human insulin, NPH) 3. อินซูลินอะนำล็อกออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin analog, RAA) เป็นอินซูลินที่เกิดจำกกำร ดัดแปลง กรดอะมโิ นทส่ี ำยของฮิวแมนอนิ ซลู นิ 4. อินซูลินอะนำล็อกออกฤทธิ์ยำว (long acting insulin analog, LAA) เป็นอินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจำก กำร ดัดแปลงกรดอะมิโนที่สำยของฮิวแมนอินซูลิน และเพิ่มเติมกรดอะมิโน หรือเสริมแต่งสำยของอินซูลินด้วย กรด ไขมัน (Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017)
(ภวนิ ท์พล โชติวรรณวริ ชั , 2559) ศพั ทท์ างเภสชั จลนศาสตร์ (Pharmacokinetic) 1. Onset คือ ระยะเวลำตั้งแตใ่ ห้ยำไปจนกระท่ังถึงยำเริ่มออกฤทธ์ิ 2. Peak คือ ระยะเวลำต้ังแต่ให้ยำไปจนถึงระดับสูงสุดของยำ ช่วง peak เป็นช่วงที่ต้องกังวลกับกำรเกิด hypoglycemia ให้มำก 3. Duration คือระยะเวลำทย่ี ำออกฤทธท์ิ ้งั หมด
ภาวะน้าตาลในเลือดสูงชนิด Diabetic ketoacidosis คือเป็นภำวะฉุกเฉินท่ีมีระดับน้ำตำลในเลือดสูงและเกิดภำวะกรดเมตะบอลิคจำกกำรท่ีมีกรดคีโตนคั่งใน รำ่ งกำย ภำวะนพ้ี บไดท้ ง้ั ในผปู้ ว่ ยเบำหวำนชนดิ ที่1และชนดิ ท่ี2 (รพีพร โรจนแ์ สงเรอื ง) อาการและอาการแสดง อาการแสดงของDKA เม่ือถึงจุดท่รี ำ่ งกำยไมส่ ำมำรถรักษำสมดุลไดห้ รือมีภำวะเครยี ด(stress) บำงอยำ่ งมำ เป็นปจั จยั เสย่ี งทำให้เกิดอำกำรได้แก่ ปวดท้อง คลืน่ ไส้ อำเจียน หำยใจหอบลึก (Kussmaul breathing) เนื่องจำกภำวะ metabolic acidosis หมดสติ (coma) อำกำรของภำวะ dehydration เชน่ ควำมดนั โลหติ ตำ่ ชพี จรเต้นเร็ว ช็อค ลมหำยใจมกี ล่นิ acetone (พฒั น์ มหาโชคเลิศวฒั นา.2544) ปจั จัยชักนาไดแ้ ก่ 1. กำรขำดยำลดระดับนำ้ ตำล 2. มีโรคทีก่ ่อภำวะเครียดต่อร่ำงกำย เชน่ ภำวะติดเช้ือ กำรได้รับอบุ ตั เิ หตุ หวั ใจวำย โรคหลอด เลอื ดสมอง ภำวะกล้ำมเนอื้ หัวใจขำดเลอื ด 3. ไดร้ บั ยำบำงชนิดเชน่ thiazide, steroid สาเหตุ เกิดขนึ้ ไดท้ ง้ั ในผ้ปู ว่ ยเบำหวำนชนดิ ที่1และชนดิ ท่ี2 แต่มกั เกดิ ขึ้นในผู้ปว่ ยเบำหวำนชนดิ ท่ี 1ได้งำ่ ยและบอ่ ย กว่ำเนื่องจำกมีภำวะขำดอินซูลนิ ที่รนุ แรงกวำ่ (รพพี ร โรจนแ์ สงเรือง, มปป) เกณฑ์การวินิจฉยั ภาวะน้าตาลในเลือดสูงชนดิ diabetic ketoacidosis (ทม่ี ำ:American Diabetes Association From Diabetes Care Vol 29, Issue 12, 2006.)
การดูแลรกั ษาเมอื่ ผ่านพ้นภาวะ DKA 1. การหยดุ fluid replacement และเร่ิมกนิ อาหาร ผู้ป่วยไม่ควรรบั ประทำนอำหำร (ยกเว้นอมนำ้ แข็ง เปน็ คร้ังครำว กรณรี ้สู ึกตวั ด)ี จนกระทงั่ ภำวะ metabolic ของรำ่ งกำยดีข้ึน คอื blood glucose <300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L และไม่มีภำวะ ketosis 2. การหยดุ insulin infusion ควรหยดุ เมอ่ื ผปู้ ว่ ยมีกำรรู้สึกตวั ดี และภำวะ metabolic ดขี นึ้ คอื blood glucose < 300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L โดยฉีดยำ regular insulin subcutaneous ขนำด 0.25 – 0.5 unit/kg ก่อนม้ืออำหำร และหยดุ insulin infusion หลังจำกฉีดยำหน่งึ ชวั่ โมง 3. การให้ subcutaneous regular insulin ในมอ้ื ต่อไป กรณผี ้ปู ่วยใหม่ เริ่มให้ subcutaneous regular insulin 0.25 – 0.5 unit/kg/dose ก่อนมื้ออำหำร 3 มอื้ และก่อนนอน 1 – 2 วัน วนั ถดั ไปเมอ่ื ไม่มี acidosis แล้วจงึ เรม่ิ ให้ regular insulin ผสมกับ intermediate acting insulin (NPH) ผสมก่อนอำหำรเชำ้ โดยให้ total dose insulin 0.7 – 1.0 unit/kg/day แบ่งให้ 2 ใน 3 สว่ นก่อนอำหำรเช้ำ (สัดส่วนของ NPH : regular insulin ประมำณ 2 : 1) และ 1 ใน 3 สว่ นกอ่ นอำหำรเย็น (สัดส่วนของ NPH : regular insulin ประมำณ 1 : 1) 4. การคานวณอาหารเฉพาะโรคเบาหวาน ควรให้ลักษณะอำหำรประกอบด้วย carbohydrate 50 – 55% , fat 25 – 30%, protein 15–20% 5. การประเมนิ ผลระดบั นา้ ตาลในเลือดและการตรวจนา้ ตาลและ ketone ในปสั สาวะ ตรวจ ระดับ blood glucose คอื ก่อนอำหำรเชำ้ , กลำงวัน, เย็น, ก่อนนอน, หลงั เท่ียงคนื – ตี 3 และเมอ่ื มีอำกำรสงสัย hypoglycemia นอกจำกน้นั ควรตรวจ urine ketone เม่อื ผล blood glucose > 250 mg/dl เสมอ เม่อื พบมี ระดับนำ้ ตำลผิดปรกติใหป้ รบั ขนำดและชนิด insulin ทีใ่ หเ้ พอ่ื รักษำระดบั น้ำตำลระหว่ำง 70 – 180 mg/dl 6. การให้ความรูโ้ รคเบาหวาน ผู้ปว่ ยใหมแ่ ละผปู้ ว่ ยเกำ่ ทุกรำยที่มีอำกำร DKA ควรจะไดัรับควำมรู้ควำม เข้ำใจเร่ืองโรคเบำหวำนใหมใ่ หถ้ ูกต้อง เพ่ือกำรดูแลตนเองตอ่ ไป (พฒั น์ มหาโชคเลศิ วัฒนา.2544)
กรณีไมม่ อี าการเจบ็ ป่วย กรณเี จ็บปว่ ย ไม่สบาย ตรวจไมพ่ บคโี ตน ตรวจพบคีโตน ตรวจไม่พบคีโตน ตรวจพบคโี ตน - ออกกำลังกำยได้ - หยดุ พกั /งดออกกำลังกำย - ตรวจระดับน้ำตำลในเลือด - กรณีกนิ อำหำรและด่ืมน้ำได้ และคีโตนซ้ำ ภำยใน 4 ชัว่ โมง ปกติ : - ดื่มน้ำเปล่ำมำกๆ ไม่ต้องกิน - ด่ืมน้ำเปล่ำ 2-4 ลิตร ใน 2 - ใหด้ ่ืมนำ้ บ่อยๆ (2-4 ลติ ร ใน - ให้ติดต่อทีมผู้รักษำเพ่ือ อำหำรเพิม่ ชวั่ โมง 4 ชว่ั โมง) ขอคำปรึกษำ หำกพบคโี ตนใน ปัสสำวะมีค่ำสูงปำนกลำงถึง - ตรวจเลือดซำ้ ถำ้ สงู กว่ำ 250 - เพ่ิมอินซูลินชนิดออกฤทธ์ิ - แจ้งใหแ้ พทย์ทรำบวำ่ เป็น มำก มก./ดล. หำกไม่พบคีโตน ให้ สั้นทันทีร้อยละ 10-20 เม่ือ เบำหวำนหรอื เบำหวำนชนดิ ที่ - ในกรณีที่ไม่สำมำรถ ฉีดอินซลู ินชนิดออกฤทธสิ์ ั้น ถงึ เวลำฉีดยำ 1 และรับคำแนะนำปรับขนำด ติดต่อทีมผู้รักษำได้ให้ดื่ม *ถ้ำตรวจพบสำรคีโตนให้ - ตรวจระดับน้ำตำลในเลือด อนิ ซูลนิ น้ำเปลำ่ 2-4 ลิตร ใน 2 ชว่ั โมง ปฏิบัติตำมกรณีตรวจพบคี และคีโตนซ้ำ ภำยใน 2-3 - ตรวจระดับน้ำตำลใน โตน ชม. จนกว่ำระดับน้ำตำลใน เลอื ดทกุ 2-3 ช่วั โมง เลือดต่ำกว่ำ 180 มก./ดล. - กินอำหำรและดม่ื นำ้ ไม่ได้ : และไม่พบสำรคโี ตน - พบแพทย์ทันที หำก รุนแรงอำจซึมหรือหมดสติ ภาวะน้าตาลตา่ ในเลอื ด (hypoglycemia) แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ระดับ ระดับ 1 (level 1) glucose alert value หมำยถงึ ระดับนำ้ ตำลในเลอื ดท่ี ≤ 70 มก./ดล. ระดบั 2 (level 2) clinically significant hypoglycemia หมำยถึง ระดบั น้ำตำลในเลอื ด ท่ี <54 มก./ดล. ระดบั 3 (level 3 ) ภำวะน้ำตำลตำ่ ในเลือดระดบั รนุ แรง หมำยถึง กำรท่ผี ้ปู ว่ ยมีอำกำรสมองขำด กลโู คสทรี่ นุ แรง (severe cognitive impairment) ซึง่ ตอ้ งอำศัยผู้อน่ื ช่วยเหลอื ภาวะนา้ ตาลต่าในเลือดระดับไม่รุนแรง ใหก้ ินอาหารท่ีมีคารโ์ บไฮเดรต 15 กรมั กลูโคสเม็ด 3 เม็ด นำ้ ส้มคัน้ 180 มล. น้ำอดั ลม 180 มล.
น้ำผงึ้ 3 ช้อนชำ ขนมปัง 1 แผน่ สไลด์ นมสด 240 มล. ไอศกรีม 2 สคูป ข้ำวตม้ หรอื โจก๊ ½ ถว้ ยชำม กลว้ ย 1 ผล ภาวะนา้ ตาลตา่ ในเลือดระดบั ปานกลาง ให้กนิ อาหารทีม่ คี าร์โบไฮเดรต 30 กรัม ผู้ป่วยเบำหวำนท่ีมีสำยกระเพำะอำหำร หรือสำย PEG สำมำรถให้น้ำหวำน น้ำผลไม้ สำรละลำย กลููโคส หรอื อำหำรเหลวที่มีคำรโ์ บไฮเดรต 15-30 กรัม ทำงสำยกระเพำะอำหำร หรอื สำย PEG ได้ ตดิ ตำมระดับกลูโคสในเลอื ดโดยใช้เครอ่ื งตรวจน้ำตำลในเลอื ดชนิดพกพำ หรือ point-of-care device (ถ้ำสำมำรถทำได้) ท่ี 15 นำที หลังกินคำร์โบไฮเดรตครั้งแรก กินอำหำรที่มีคำร์โบไฮเดรต 15 กรัมซ้ำ ถ้ำระดับ กลโู คสในเลอื ดที่ 15 นำที หลงั กินคำร์โบไฮเดรตครง้ั แรกยังคง <70 มก. /ดล. ทม่ี ำ : แนวทำงเวชปฏิบตั ิสำหรบั โรคเบำหวำน 2560 Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017 การตรวจวนิ ิจฉยั โรคและตรวจคดั กรองเบาหวานขณะต้งั ครรภ์ - เกณฑข์ อง Carpenter และ Coustan หญิงตง้ั ครรภ์ด่มื นำ้ ท่ลี ะลำยน้ำตำลกลโู คส 100 กรมั (100 gm OGTT) เวลา ระดับนา้ ตาลในเลอื ด (มก./ดล.) ก่อนด่มื น้ำตำล 100 กรมั 95 หลงั ดืม่ น้ำตำล 1 ชวั่ โมง 180 หลงั ด่มื น้ำตำล 2 ชว่ั โมง 155 หลังดืม่ น้ำตำล 3 ชว่ั โมง 140 *ตง้ั แต่ 2 คำ่ ขน้ึ ไปจะถอื วำ่ เปน็ โรคเบำหวำน ขณะตั้งครรภ์ - เกณฑข์ อง International Diabetes Federation (IDF)
หญงิ ตัง้ ครรภ์ดม่ื นำ้ ท่ลี ะลำยนำ้ ตำลกลูโคส 75 กรมั (75 gm OGTT) เวลา ระดบั นา้ ตาลในเลือด (มก./ดล.) ก่อนด่มื นำ้ ตำล 100 กรมั 92 หลงั ดื่มน้ำตำล 1 ช่วั โมง 180 หลงั ด่มื นำ้ ตำล 2 ชวั่ โมง 153 *ตัง้ แต่ 1 ค่ำขึ้นไปจะถอื วำ่ เป็นโรคเบำหวำนขณะตง้ั ครรภ์ เปา้ หมายของระดบั น้าตาลในเลือดของผปู้ ่วยเบาหวานขณะต้งั ครรภ์ เวลา ระดับน้าตาลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นอำหำรเช้ำอำหำรมื้ออนื่ และกอ่ นนอน 60-95 หลงั อำหำร 1 ช่วั โมง <140 หลงั อำหำร 2 ช่ัวโมง <120 เวลำ 02.00 – 04.00 น. >60 ท่ีมำ: แนวทำงเวชปฏบิ ัติสำหรับโรคเบำหวำน 2559
กาหนดคารบ์ ในแต่ละม้ือสาหรบั หญิงตงั้ ครรภ์ (GDM) Nutrient or food type recommendation Meal planning tips Energy Intake should be sufficient to Include 3 small- to moderate sized promote adequate , but not meals and 2- 4 snacks. Space excessive , weight gain to support snacks and meals least 2 hours fetal development and to avoid apart. A bedtime snack ( or even a ketonuria . Daily minimum of 1700- snack in the middle of the night) is 1800 kcal is an appropriate starting recommended to diminish of goal hours fasting. Carbohydrate A minimum of 175 g CHO daily , Common carbohydrate guidelines Protein allowing for the approximately 33 : 2 carbohydrate choices (15-30 g) needed for fetal brain development. at breakfast , 3- 4 choices ( 45- 60g) Recommendations are based on for lunch and evening meal, 1- 2 effect of intake on blood glucose choices ( 15 to 30 g) for snacks. levels. Intake should be distributed Recommendations should be throughout the day. Frequent modified based on individual feedings, smaller portions, with intake assessment and blood glucose sufficient to avoid ketonuria. self-monitoring test results. 1.1 g/kg Protein foods do not raise post- meal blood glucose levels. Add protein to meals and snacks to help provide enough calories and to satisfy appetite.
Fat Limit saturated fat. Fat intake may be increased because of increased protein take; focus on leanerprotein choices. Sodium Not routinely restricted Fiber For relief of constipation , gradually Use whole grains and raw fruits increase intake and increase fluids. and vegetables. Activity and fluids help relieve constipation. Non-nutritive sweeteners Use only FDA-approved sweeteners. Saccharin crosses the placenta but has not been shown to be harmful Vitamins and mineral Preconception folate . Assess for Take prenatal vitamin, if it causes specific individual need : multivitamin nausea,try taking at bedtime. throughout pregnancy ,iron at12 weeks, and calcium, especially in the last trimester and while lactating Alcohol Avoid all alcohol even in cooking การตรวจระดับน้าตาลในเลือดด้วยตนเอง ขอ้ บง่ ช้กี ารทา SMBG 1. ผูป้ ่วยเบำหวำนท่มี คี วำมจาเปน็ ในกำรทำ SMBG 1.1 ผู้ที่ต้องกำรคุมเบำหวำนอย่ำงเข้มงวด ได้แก่ ผู้ป่วยเบำหวำนที่มีครรภ์ (pre-gestational DM) และ ผปู้ ่วยเบำหวำนขณะตงั้ ครรภ์ (gestational DM) 1.2 ผู้ปว่ ยเบำหวำนชนดิ ท่ี 1 1.3 ผู้ป่วยเบำหวำนที่มีภำวะนำ้ ตำลต่ำในเลือดบ่อยๆ หรอื รนุ แรง หรือมภี ำวะนำ้ ตำลต่ำในเลือด โดยไม่มี อำกำรเตือน 2. ผู้ปว่ ยเบำหวำนที่ควรทา SMBG
2.1 ผูป้ ่วยเบำหวำนชนดิ ที่ 2 ซึง่ ไดร้ บั กำรรักษำดว้ ยกำรฉดี อินซลู ิน 3. ผปู้ ่วยเบำหวำนท่ีอาจพจิ ารณาใหท้ ำ SMBG 3.1 ผู้ป่วยเบำหวำนชนิดที่ 2 ซ่ึงไม่ได้ฉีดอินซูลินแต่เบำหวำนควบคุมไม่ได้ พิจำรณำให้ทำ SMBG เม่ือ ผู้ป่วย และ/หรือผู้ดูแลพรอ้ มที่จะเรียนรู้ ฝึกทักษะ และนำผลจำก SMBG มำใช้ปรับเปล่ียน พฤติกรรมเพื่อควบคุม ระดบั น้ำตำลในเลอื ดให้ได้ตำมเปำ้ หมำย 3.2 ผู้ท่ีเพ่ิงได้รับกำรวินิจฉัยว่ำเป็นเบำหวำน เพื่อเรียนรู้ในกำรดูแลตนเองท้ังเรื่องอำหำร กำรออกกำลัง กำย หรอื ไดย้ ำลดระดับนำ้ ตำลในเลอื ดให้เหมำะสมกับกจิ วตั รประจำวนั ความถ่ีของการทา SMBG ความถีข่ องการทา SMBG 1. ผู้ป่วยเบำหวำนระหวำ่ งกำรต้ังครรภ์ควรทำ SMBG ก่อนอำหำรและหลังอำหำร 1 หรือ 2 ช่ัวโมง ทั้ง 3 มื้อ และกอ่ นนอน (วันละ 7 คร้งั ) อำจลดจำนวนครั้งลงเม่อื ควบคุมระดับน้ำตำลในเลือดได้ดี 2. ผ้ปู ว่ ยเบำหวำนชนดิ ท่ี 1 ที่ได้รับกำรรักษำดว้ ย insulin pump ควรทำ SMBG วันละ 4-6 คร้ัง 3. ผ้ปู ว่ ยเบำหวำนทฉี่ ดี อินซูลนิ ต้งั แต่ 3 ครง้ั ขนึ้ ไป ควรทำ SMBG กอ่ นอำหำร 3 ม้อื ทกุ วัน ควรทำ SMBG ก่อนนอน และหลังอำหำร 2 ชม.เป็นครั้งครำว หำกสงสัยว่ำมีภำวะน้ำตำลต่ำในเลือดกลำงดึกหรือมี ควำมเสี่ยงที่ จะเกดิ ควรตรวจระดบั น้ำตำลในเลอื ดชว่ งเวลำ 02.00-04.00 น. 4. ผปู้ ่วยเบำหวำนทฉ่ี ีดอินซลู นิ วนั ละ 2 ครงั้ ควรทำ SMBG อย่ำงน้อยวนั ละ 2 ครง้ั โดยตรวจก่อน อำหำร เช้ำและเย็น อำจมีกำรตรวจก่อนอำหำรและหลงั อำหำรมื้ออื่นๆ เพ่ือดูแนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงของ ระดับน้ำตำล ในเลือด และใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในกำรปรับยำ 5. ควรทำ SMBG เม่ือสงสัยว่ำมีภำวะน้ำตำลต่ำในเลอื ดและหลังจำกให้กำรรักษำจนกวำ่ ระดับน้ำตำล ใน เลือดจะกลับมำปกตหิ รอื ใกลเ้ คียงปกติ 6. ควรทำ SMBG ก่อนและหลังกำรออกกำลังกำย หรือกิจกรรมที่มีควำมเส่ียง เช่น กำรขับรถ ในผู้ป่วย เบำหวำนทไ่ี ดร้ บั ยำซง่ึ มคี วำมเสยี่ งท่จี ะเกดิ ภำวะน้ำตำลตำ่ ในเลอื ด 7. ในภำวะเจ็บป่วยควรทำ SMBG อย่ำงน้อยวันละ 4 คร้ัง ทุก 4 ถึง 6 ช่ัวโมง หรือก่อนม้ืออำหำร เพ่ือ คน้ หำแนวโน้มท่ีจะเกดิ ภำวะน้ำตำลตำ่ ในเลือดหรอื ระดับน้ำตำลในเลือดสงู เกินควร
8. ในผู้ป่วยเบำหวำนชนิดท่ี 2 ซึ่งฉีดอินซูลินก่อนนอน ควรทำ SMBG ก่อนอำหำรเช้ำทุกวันหรืออย่ำง น้อย 3 ครั้ง/สัปดำห์ในช่วงท่ีมีกำรปรับขนำดอินซูลิน อำจมีกำรทำ SMBG ก่อนและหลังอำหำรมื้ออ่ืนๆ สลับกัน เพ่อื ดูแนวโน้มกำรเปลี่ยนแปลงของระดบั น้ำตำลในเลอื ด ถำ้ ยังไมไ่ ด้ค่ำ A1C ตำมเป้ำหมำย ทม่ี ำ: แนวทำงเวชปฏบิ ตั สิ ำหรับโรคเบำหวำน 2559 ค่าในการวนิ ิจฉัยความดันโลหติ สูง ตำรำงกำรจำแนกโรคควำมดันโลหติ สงู ตำมควำมรนุ แรงในผ้ใู หญอ่ ำยุ18 ปี ข้นึ ไป Category SBP DBP (มม.ปรอท) (มม.ปรอท) Optimal < 120 และ < 80 Normal 120-129 และ/หรอื 80/84 High normal 130-139 และ/หรือ 85-89 Grade 1 hypertension (mild) 140-159 และ/หรอื 90-99 Grade 2 hypertension (moderate) 160-179 และ/หรือ 100-109 Grate 3 hypertension (severe) >180 และ/หรอื >110 Isolated systolic hypertension (ISH) >140 และ < 90 หมำยเหตุ:SBP = systolic blood pressure; DBP = diastolic blood pressure. เมื่อควำมรุนแรงของ SBP และ DBP อยู่ต่ำงระดับกัน ให้ ถือระดับท่ีรุนแรงกว่ำเป็นเกณฑ์ สำหรับ ISH ก็แบ่งระดับ ควำมรุนแรงเหมือนกัน โดยใชแ้ ต่SBP ทม่ี ำ:แนวทำงกำรรักษำโรคควำมดันโลหิตสูงในเวชปฏบิ ตั ิทั่วไป พ.ศ.2558
Classification of Blood Cholesterol Levels คา่ ทีใ่ ช้ในการตดิ ตาม Source: American Association Of Clinical Endocrinologists Medical Guidelines for Clinical Practice, 2012
DASH diet DASH Diet ( Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) โ ด ย ชื่ อ DASH Diet ห ม ำ ย ถึ ง แนวทำงโภชนำกำรเพ่ือหยุดควำมดันโลหิตสงู หลักการ : ลดกำรบริโภคอำหำรที่มีเกลือโซเดียม ไขมันอิ่มตัว ไขมันรวมและคอเรสเตอรอลลง และเพิ่ม กำรรับประทำนใยอำหำร โปรตีน แคลเซียม แร่ธำตตุ ำ่ งๆอยำ่ ง โปแตสเซียมและแมกนเี ซียม รวมถึงปริมำณสำรไน เตรทท่ีมผี ลกำรศกึ ษำถึงกำรลดควำมดันโลหติ สูงได้ สัดสว่ นการรับประทานอาหารตามหลกั DASH ใน 1 วนั : ชนิดอาหาร สัดส่วน ธญั พชื ชนดิ ต่ำงๆ โดยเนน้ เปน็ ธัญพชื ไมข่ ดั สี 7-8 สว่ นบริโภค (หรอื ประมำณ 7-8 ทพั พี) ผักและผลไม้ อย่ำงละ 4-5 ส่วนบริโภค (หรือประมำณ 4-5 ทัพพี และผลไม้ 3-4 ส่วน) เ น้ื อ สั ต ว์ ไ ข มั น ต่ ำ อ ย่ ำ ง เ นื้ อ ป ล ำ 2-3 สว่ นบริโภค (หรอื ประมำณ 4-6 ช้อนกนิ ขำ้ ว) ลดกำรรบั ประทำนสัตวเ์ น้อื แดง กำรตัดส่วนไขมนั หรือ หนังของเน้ือสัตว์และเลือกรับประทำนเน้ือสัตว์ไขมัน ตำ่ น้ำมนั หรือไขมัน 2-3 สว่ นบรโิ ภค (หรือไมเ่ กิน 6 ช้อนชำ) ถั่วชนดิ ต่ำงๆ เชน่ อัลมอนด์ ถ่วั เลนทิล 4-5 สว่ นบรโิ ภค(หรือประมำณ 4-5 ฝำ่ มอื )ตอ่ สปั ดำห์ ของหวำนชนดิ ต่ำงๆ ไม่เกิน 5 ส่วนบริโภคต่อสัปดำห์* แนะนำให้ รับประทำนนำนๆครัง้ แนะนำให้ใช้เครื่องเทศหรือสมุนไพรต่ำงๆในกำรเสริม รสชำติอำหำร และลดกำรใช้เกลือหรือเคร่ืองปรุงท่ีมี โซเดียมสงู ในกำรปรุงแตง่ อำหำร - Mayo Clinic Staff. DASH diet: Healthy eating to lower your blood pressure [ online document] . http://www.mayoclinic.org/healthy-lifestyle/nutrition-and-healthy-eating/in-depth/dash-diet/art- 20048456. October 3, 2017. -Siervo, M., Lara, J., Chowdhury, S., Ashor, A., Oggioni, C., & Mathers, J. (2015). Effects of the Dietary Approach to Stop Hypertension ( DASH) diet on cardiovascular risk factors: A systematic review and meta-analysis. British Journal of Nutrition, 113(1), 1-15. doi:10.1017/S0007114514003341.
(นพิ ำวรรณ, มปป)
TLC Diet ท่มี ำ : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001 TLC ย่อมำจำก Therapeutic Lifestyle Change Diet เป็นวิธีกำรดูแลทำงโภชนบำบัดทำงกำรแพทยว์ ธิ ีหน่ึง ท่ีมี ประสทิ ธิภำพในกำรดแู ลผ้ปู ่วยที่มีภำวะไขมันในเลือดผิดปกติได้เป็นอย่ำงดี การแบ่งระยะของCKD
พยำกรณโรคไตเร้ือรงั ตำมควำมสมั พันธของ GFR และระดบั อลั บูมินในปสสำวะ ท่ีมำ:คำแนะนำสำหรับกำรดแู ลผู้ป่วยโรคไตเร้อื รังก่อนกำรบำบัดทดแทนไต พ.ศ.2558 ไตอักเสบเฉยี บพลนั (Nephrotic Syndrome) โรคไตเนฟโฟรติกเกิดจำกมีควำมผิดปกติของหน่วยไต(Glomerulus) ที่ทำหน้ำที่กรองปัสสำวะทำให้ ร่ำงกำยสูญเสียโปรตีนออกทำงปัสสำวะ จึงมีระดับโปรตีนในเลือดต่ำ บวม และภำวะไขมันในเลือดสูง โดยสำร อำหำรทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และสำคญั กับโรคไตเนฟโฟรติก ได้แก่ โปรตนี ไขมัน และโซเดยี ม 1. โปรตีน ผู้ป่วยโรคไตเนฟโฟรติกจะมีกำรสญู เสียของโปรตีนทำงปัสสำวะ ดังนั้นจะต้องได้รับโปรตีนที่เพียงพอ และ ควรเลือกแหล่งโปรตีนที่มีคุณภำพสูง (High Biological Value) เพรำะมีกรดอะมิโนท่ีจำเป็นครบทุกชนิด และ ร่ำงกำยสำมำรถนำไปใช้ได้ดีทำให้ของเสียเกิดข้ึนน้อย เพื่อชะลอกำรเส่ือมของไต และทดแทนกำรสูญเสียของ โปรตีน แตห่ ำกไดร้ บั โปรตีนมำกเกนิ ไปจะทำให้เพ่ิมกำรสูญเสียโปรตนี และทำงำนของไต ควรบรโิ ภคอาหารทีม่ ีโปรตนี คณุ ภาพสูง เปน็ โปรตนี ที่พบได้ในอำหำรประเภทเนอื้ สตั ว์ และผลิตภณั ฑ์จำกสัตว์ เช่น ไข่ นม เนอ้ื สตั ว์ ปลำ ไก่ เน้อื ววั หมู ควรหลีกเลี่ยง เนอ้ื สตั วท์ ี่ตดิ มนั เครอ่ื งในสัตว์ และสตั ว์ทะเลบำงชนิด ไดแ้ ก่ กงุ้ ปู ปลำหมึก เพรำะมีปริมำณคลอเลสเตอรอลสูง อำจทำให้กระตุ้นกำรสร้ำงไขมันท่ีตับเพิ่มขึ้น ควรรับประทาน โปรตีนท่มี ีคุณภาพสูงอย่างน้อย 50 % ของปริมาณโปรตนี ทั้งหมด ตำมคำแนะนำของแพทย์ หรอื นักโภชนำกำร
2. ไขมนั ภำวะไขมันในเลือดสูงเป็นภำวะแทรกซ้อนของโรคไตเนฟโฟรติก ท่ีมกี ำรสูญเสียโปรตีนทำงปัสสำวะ จงึ ทำ ให้กระตุ้นกำรสร้ำงไขมันที่ตับมำกผิดปกติ ดังนั้นกำรควบคุมอำหำรที่มีไขมันสูงจะช่วยเพ่ือป้องกันปัจจัยเส่ียงต่อ ภำวะหลอดเลือดแดงแข็งได้ โดยแนะนาให้บริโภคไขมันไม่อ่ิมตัว เช่น น้ามันถั่วเหลือง น้ามันราข้าว น้ามันงา น้ามันมะกอก น้ามันทานตะวัน และน้ามันคาโนลา แต่เมื่อหำยจำกโรคไตเนฟโฟรติก ภำวะไขมันในเลือดสูงจะ หำยดว้ ย ควรหลกี เล่ียงอาหารทม่ี ีไขมนั อาหารท่ีมีกรดไขมันอ่ิมตัวสูง เป็นไขมันที่พบในสัตว์และผลิตภัณฑ์จำกสัตว์ เช่น เน้ือสัตว์ติดมัน เคร่ืองใน สตั ว์ พบในผลิตภณั ฑจ์ ำกพชื เช่น กะทิ น้ำมันปำลม์ และนำ้ มันมะพรำ้ ว อาหารทม่ี ีไขมันทรานส์สูง เนยขำว มำกำรนี ผลติ ภัณฑแ์ ปรรปู ตำ่ งๆ เช่น คุกก้ี เค้ก โดนัท อาหารที่ทาใหไ้ ตรกลเี ซอไรด์ในเลอื ดสูง อำหำรประเภทแป้ง น้ำตำล ขนมหวำน ผลไมร้ สหวำนจัด เคร่ืองดื่ม ที่มีรสหวำน และเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ อาหารท่ีมคี ลอเลสเตอรอลสงู กงุ้ หอย ปลำหมึก ตับ ไข่แดง ไข่ปลำ และเครอื่ งในสัตว์ 3. โซเดยี ม หำกร่ำงกำยมีกำรสูญเสียโปรตีนทำงปัสสำวะส่งผลให้ไตมีกำรดูดกลับของน้ำและเกลือแร่มำสะสมในร่ำงกำย ทำให้เกิดอำกำรบวม ควรหลกี เล่ยี งอาหารท่ีมโี ซเดยี ม โซเดียมพบนอ้ ยในอำหำรธรรมชำติแต่จะพบมำกในเครื่องปรุง อำหำรแปรรปู และอำหำรหมกั ดอง เครอ่ื งปรุง เกลือ ซอสปรุงรส ผงชรู ส นำ้ ปลำ ผงปรงุ รสกะปิ ซอสมะเขอื เทศ ซอสพริก น้ำจ้ิม เครอื่ งแกงตำ่ งๆ อาหารแปรรปู บะหม่กี ่งึ สำเรจ็ รปู ปลำกระป๋อง ไสก้ รอก ลกู ชน้ิ ขนมกรบุ กรอบ ขนมปงั กงุ้ แห้ง อาหารหมักดอง ผักและผลไมด้ อง แหนม กนุ เชียง ไขเ่ ค็ม ปลำรำ้ นำ้ บดู ู เต้ำเจยี้ ว หำกรับประทำอำหำรท่ีมีโซเดียมสูงมำกๆจะทำให้เกิดกำรคั่งของน้ำในร่ำงกำย ส่งผลให้เกิดอำหำรบวม ควำมดันโลหิตสูง และหวั ใจลม้ เหลว
ขอ้ แนะนาในการลดโซเดียม รปู ภาพ หลีกเลี่ยงกำรปรงุ อำหำรเพิ่ม หลกี เล่ียงอำหำรแปรรปู และอำหำรหมักดอง ประกอบอำหำรแยกกับสมำชิกในบ้ำน อ่ำนฉลำกโภชนำกำรเพ่อื เปรยี บเทยี บปริมำณโซเดยี มในอำหำร เมอื่ ทำนอำหำรนอกบ้ำน ควรตักทำนเฉพำะส่วนท่เี ป็นเนื้อ ไม่รำดน้ำแกง สมนุ ไพรกบั ผ้ปู ่วยโรคไต สมนุ ไพรทมี่ โี พแทสเซียม อัลฟลั ฟำ Alfalfa ผักชี (ใบ) Coriander (leaf) อีฟน่ืง พรมิ โรส )Evening Primrose( มะระ ผล), ใบ( Bitter Melon (fruit, leaf) ขมิ้น เหงำ้ )) Turmeric (rhizome)
Search