Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทาง bmc

แนวทาง bmc

Description: แนวทาง bmc

Search

Read the Text Version

โครงสรางเอกสาร คมู ือการบรหิ ารโครงการผลติ อาชีวะพันธุใหม เพื่อสรางกำลงั คนท่มี สี มรรถนะสงู สำหรับอุตสาหกรรม NEW GROWTH ENGINE ตามนโยบายไทยแลนด 4.0 และการปฏริ ปู การอุดมศกึ ษาไทย องคป ระกอบของคมู อื ประกอบดว ย 6 สว น ดังนี้ สว นท่ี 1 ความเปนมาและความสำคญั สว นท่ี 2 กรอบแนวคดิ การขับเคลอื่ นสถานศึกษา ในโครงการผลติ อาชีวะพนั ธุใหม สว นท่ี 3 โครงสรา งการบริหารการขบั เคลือ่ นสถานศกึ ษา ในโครงการผลติ อาชีวะพนั ธุใหม สว นที่ 4 การจัดระบบดา นคลังปญญาอาชีวศกึ ษาพรีเมียม (Intelligent Center of Premium Course Project) สว นท่ี 5 องคประกอบสคู วามสำเร็จ สวนท่ี 6 การประเมินความสำเร็จ

2 สว นที่ 1 ความเปนมาและความสำคญั 1.1 นโยบาย 1.2 เกณฑการคดั เลือกสถานศึกษาโครงการผลิตอาชวี ะพันธใุ หม เพื่อสรา งกำลังคนท่ีมสี มรรถนะสงู 1.3 เปา หมายการดำเนินงาน 1.4 สถานศกึ ษาท่ีไดร บั การคัดเลือก 1.5 ผลที่คาดวาจะไดร ับ สวนท่ี 2 กรอบแนวคิดการขับเคลอ่ื นสถานศกึ ษาในโครงการผลิตอาชวี ะพนั ธุใหม 2.1 กลยุทธก ารขบั เคล่ือนสถานศกึ ษาในโครงการผลติ อาชวี ะพนั ธใุ หม กลยทุ ธที่ 1 นวัตกรรมการบริหารจดั การสถานศกึ ษาและสงิ่ อำนวยความสะดวกสนู วตั กรรมการเรียนรู เปาประสงค 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธที่ 2 สรางความเขม แขงและระบบความรว มมือกับเครือขายพันธมิตร 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธท่ี 3 พฒั นาคุณภาพผเู รยี นและผสู ำเร็จการศึกษา 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธท่ี 4 พัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอาชพี 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธท่ี 5 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู การวัดผลและประเมินผล 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธท่ี 6 ยกระดับสถานศึกษาเปนศูนยฝกอบรมหรือถายทอดองคความรู การทดสอบสมรรถนะ บุคคลตามมาตรฐานอาชพี และคลงั ปญ ญาอาชวี ศกึ ษาพรเี มยี ม 1. .......................................................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................................................... กลยุทธท่ี 7 ประชาสมั พนั ธ เผยแพร และขยายผลการจดั การอาชีวศึกษาคณุ ภาพสงู 1. .......................................................................................................................................................... 2. ..........................................................................................................................................................

3 2.2 การบริหารโครงการผลติ อาชวี ะพันธใุ หมเพื่อขับเคล่ือนกลยทุ ธ นำกลยุทธมาจัดทำรายละเอียดแนวทางการบริหารโครงการฯ โดยใชแนวคดิ เชงิ ระบบ IPOO และ ประยุกตใ ชรูปแบบ Business Model Canvas ดงั นี้ กลยทุ ธท่ี ........ ............................................................................................. Input Process Output/Outcome พันธมิตร/ความรวมมือหลักท่ี กจิ กรรมดำเนนิ งานหลกั (Key Activities) ผลลพั ธ/คณุ ภาพผูเรยี นและ เขม แข็ง (Key Partners) ผสู ำเร็จการศึกษา (Key Results) ทรพั ยากรหลกั (Key Resources) การกำกับดูแล (System Oversight) ตน แบบ/คลังปญญา (Value Propositions กลไกการขับเคลอ่ื น (Key Drivers) สว นที่ 3 โครงสรา งการบรหิ ารการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาในโครงการผลิตอาชีวะพนั ธใุ หม โครงสรางการบริหารและบทบาทหนา ที่ ผูอำนวยการ วชิ าการ บรหิ ารทรัพยากร พฒั นากิจการนร.นศ. แผนงานและความรวมมือ หัวหนาโครงการ หวั หนาแผนกวชิ า ครู

4 บทบาทหนา ท่ี 1. ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา 2. รองผูอำนวยการสถานศึกษา 2.1 ฝาย....................................... 2.2 ฝา ย....................................... 3. หัวหนา โครงการผลติ อาชีวะพันธใุ หมฯ 4. หัวหนา แผนกวิชา (สาขาวิชาภายใตโ ครงการผลิตอาชีวะพันธใุ หมฯ ) 5. ครู (ผสู อนทุกคน ที่สอนสาขาวิชาภายใตโครงการผลิตอาชีวะพนั ธุใหมฯ ) สวนที่ 4 การจดั ระบบดา นคลังปญ ญาอาชวี ศกึ ษาพรเี มียม (Intelligent Center of Premium Course Project) 4.1 สารสนเทศดานอาชีพ สถานศกึ ษามขี อมูลเทคโนโลยีระบบสารสนเทศของสถานประกอบการ ผูเช่ียวชาญ มาตรฐาน สมรรถนะอาชีพทีเ่ กีย่ วของ มีแหลงเรียนรอู ิเลก็ ทรอนกิ สที่เชอ่ื มโยงแหลง เรยี นรใู นสาขาอาชีพ และสง เสริมการใช เทคโนโลยีที่ทันสมัย 4.2 การวิจัยและองคค วามรูใหมด า นอาชีพ (Digital Content) สถานศกึ ษาจัดทำ/จดั หา งานวิจยั และองคค วามรูเทคโนโลยวี ิชาชพี ใหท ันตอการเปล่ยี นแปลง เทคโนโลยที างวิชาชพี ในอนาคต มกี ารใชส ื่ออเิ ล็กทรอนิกสใ นการจดั การเรียนการสอนดวยสอ่ื การเรยี นรูเกย่ี วของ กบั สาขาวิชา เชน E-book E-learning E-content และโปรแกรมจำลอง 4.3 ระบบการสือ่ สารอเิ ลก็ ทรอนกิ สร ะหวางครฝู ก ครูผูสอน และนักศึกษา สถานศกึ ษามีระบบตดิ ตามการนเิ ทศ การใชระบบสือ่ สารอิเล็กทรอนิกสระหวางครผู สู อน ครูฝก และนักศึกษา มีเว็บไซตส าขาวชิ า คลงั ปญ ญาอาชวี ศึกษาพรเี มยี ม (Intelligent Center of Premium Course Project) มีการผลิตและใชสื่ออิเลก็ ทรอนกิ สในการเรียนการสอนอยางหลากหลาย 4.4 บุคลากร 1. ครฝู ก ในสถานประกอบการ 2. ผูเ ชี่ยวชาญ/ครพู ิเศษ 3. ครูในสถานศกึ ษาที่มคี วามสามารถเฉพาะทาง

5 สว นท่ี 5 องคป ระกอบสูความสำเร็จ สถานศึกษาในโครงการผลิตอาชีวะพันธุใหมเพื่อสรางกำลังคนที่มีสมรรถนะสำหรับอุตสาหกรรม NEW GROWTH ENGINE ตามนโยบายไทยแลนด 4.0 และการปฏิรูปการอุดมศึกษา บริหารโครงการใหเปนไปตาม มาตรฐานการบริหารโครงการผลิตอาชีวะพันธุใหมเพื่อสรางกำลังคนที่มีสมรรถนะสำหรับอุตสาหกรรม NEW GROWTH ENGINE ตามนโยบายไทยแลนด 4.0 และการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย จำนวน 4 มาตรฐาน ประกอบดวย 1. มาตรฐานดานปจจัยนำเขา ประกอบดวย 6 องคประกอบ 9 ตัวชวี้ ัด 2. มาตรฐานดานกระบวนการ ประกอบดวย 6 องคประกอบ 16 ตัวชี้วัด 3. มาตรฐานดานผลผลิต ประกอบดวย 2 องคป ระกอบ 4 ตวั ชวี้ ดั 4. มาตรฐานดานผลลพั ธ ประกอบดวย 2 องคป ระกอบ 3 ตวั ชี้วดั มาตรฐานดานปจ จยั นำเขา องคป ระกอบ ตัวชี้วัด คำอธิบายตวั ชี้วดั 1.1 ดานงบประมาณ 1.1.1 แผนการใชจาย มีแผนปฏิบัติการประจำปของโครงการผลิตอาชีวะพันธุ งบประมาณ ใหมฯ เพอ่ื สรา งกำลังคนท่ีมสี มรรถนะสำหรบั อตุ สาหกรรม ท่ชี ัดเจนดวยการมีสวนรว มของผเู กย่ี วของ ท่สี อดคลองกับ การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอน รวมทั้งมีการ นำแผนไปใชและกำกับ ติดตามและประเมินผล อยางเปน ระบบตอเนื่อง 1.2 ดานหลกั สูตร 1.2.1 หลกั สูตรท่ีเปน มีหลักสูตรที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานอาชีพในระดับชาติ มาตรฐานสากล หรือระดับสากล โดยจัดทำรวมกับสถานประกอบการ และภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการใชหลักสูตร และปรับปรุง พัฒนาอยาง ตอเนือ่ ง 1.3 ดา นผเู รยี น 1.3.1 คุณสมบตั ิ ความรู มีความรูความสามารถตามที่หลักสูตรกำหนด และมี พนื้ ฐาน และวธิ ีการรับ ความสามารถพิเศษดานภาษาหรืออืน่ ๆ ตามลักษณะของ ผเู รยี น สาขาวิชาทีก่ ำหนด มีสว นรวมของสถานประกอบการใน การคดั เลือกผเู รยี นเขา ศึกษาตามโครงการผลติ อาชีวะพันธุ ใหมฯ 1.4 ดานผูสอน 1.4.1 สมรรถนะของครูใน มีรายละเอียดสมรรถนะครตู ามโครงการผลิตอาชีวะพันธุ สถานศึกษา ใหมฯมีกระบวนการคัดเลือกครูตามสมรรถนะที่กำหนด รวมถึงมบี ัญชรี ายชอ่ื ครูและหนา ที่รับผดิ ชอบ 1.4.2 ประสบการณของครู มีรายละเอียดประสบการณครูฝกในสถานประกอบการ ฝก ในสถานประกอบการ ตามโครงการผลิตอาชีวะพันธุใหมฯ มีการแตงตั้ง จัดทำ ฐานขอมูล และ มีการบันทึกการปฏิบัติงานของครูฝกใน สถานประกอบการ 1.4.3 ประสบการณของ มีรายละเอียดประสบการณวิทยากรผูเชี่ยวชาญตาม วทิ ยากรผูเ ช่ียวชาญ โครงการผลิตอาชีวะพันธุใหมฯ มีการแตงตั้ง จัดทำ

6 องคป ระกอบ ตัวชี้วัด คำอธิบายตวั ช้ีวดั ฐานขอมูล และ มีการบันทึกการปฏิบัติงานของวิทยากร ผเู ชย่ี วชาญ 1.5 ดา นผูบรหิ าร 1.5.1 ภาวะผูนำในการ มีความมุงมั่นตั้งใจ มุงผลสัมฤทธิ์ในการบริหารโครงการ บริหารจดั การองคกรเชงิ รุก ผลิตอาชีวะพนั ธใุ หมฯ มคี วามรบั ผิดชอบ สรา งพลงั รวมใน การทำงานกับเพื่อนรวมงานและเครือขาย สื่อสาร สราง แรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ สงเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประสานงานกับเครือขายความรวมมือและมีการนิเทศ กำกบั ติดตามอยางตอ เนอื่ ง 1.6 ดา นส่งิ อำนวย 1.6.1 โครงสรางพื้นฐาน มีเทคโนโลยีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูที่ทันสมัยได ความสะดวก และสิ่งอำนวยความสะดวก มาตรฐาน จัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสม และมีระบบ สูนวัตกรรมการเรียนรู สนบั สนุนการเชอ่ื มโยงองคความรจู ากภายนอกสูห องเรียน มีการปรบั ปรุงและบำรงุ รกั ษา 1.6.2 ระบบบรหิ ารจัดการ มีหองปฏิบัติการที่มีความพรอม มีวัสดุ อุปกรณและ สิง่ อำนวยความสะดวก เคร่อื งมือ เปน ไปตามมาตรฐาน และมีระบบบริหารจัดการ โครงการผลิตอาชีวะพันธ หองปฏิบัติการ มีระบบความปลอดภัยและการจัด ใหมฯ สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตามมาตรฐานการฏิบัติงาน สาขาวิชา มาตรฐานดา นกระบวนการ (Process) องคประกอบ ตวั ช้ีวัด คำอธิบายตัวช้ีวัด 2.1 ดา นการสราง 2.1.1 กลไกการสราง สถานศึกษามีคณะกรรมการจากทุกภาคสวน และ ความเขมแข็ง พันธมิตรในการจัดการ สถานศึกษาที่เปดสอนในสาขาเดียวกันดำเนินการ แบบ ของระบบความ เรยี นการสอน Consortium มีการประชุม มีแผนการดำเนินงาน และมี รวมมอื การกำหนดผลประโยชนร ว มกัน 2.1.2 ความเขม แข็งของ สถานศึกษามีสถานประกอบการที่เปนพันธมิตรอยาง เครือขายพันธมติ ร เพียงพอทั้งดานปริมาณและคุณภาพมี การแลกเปลี่ยน ภายในประเทศ เรียนรูรวมกัน และบูรณาการการใชทรัพยากรตางๆ รว มกนั ในการจดั การเรยี นการสอน 2.1.3 ความเขมแข็งของ สถานศึกษามีความรวมมือทางวิชาการและทรัพยากร เครอื ขายสูมาตรฐานสากล ตางๆกับสถานศึกษาและ/หรือสถาบันในตางประเทศ เพื่อใหการสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผูเรยี น หรือใหการฝกประสบการณวิชาชีพอยางตอเนื่อง โดย บูรณาการและประยุกตใชทรัพยากรตางๆ รวมกับ เครอื ขายใหก า วสคู วามเปน มาตรฐานสากล 2.2 ดา นการบริหาร 2.2.1 การวางแผน และ สถานศึกษามีแผนกลยุทธ แผนปฏบิ ตั ิการอาชวี ะพันธุใ หม ใน โครงการ การดำเนนิ การตามแผน การกำหนดเปาหมาย ทิศทางที่ชัดเจน ดำเนินการตามแผน และการสอบทาน การสอบทาน และมกี ารสรปุ ผลการดำเนนิ งาน

7 องคป ระกอบ ตัวชว้ี ัด คำอธบิ ายตวั ช้ีวัด 2.2.2 การสรา งพลังรวมใน สถานศึกษามีการประชุมปรกึ ษาหารือ สรางความเขาใจ การขบั เคล่ือนโครงการ สรา งแรงจูงใจ และมคี ณะกรรมการบรหิ ารโครงการ 2.2.3 การสื่อสารองคก ร สถานศึกษามีแผนการสื่อสารองคกรไปยังกลุมเปาหมาย และเผยแพรโ ครงการ เครือขายพันธมิตร ผูมีสวนไดสว นเสยี ชุมชนและสังคม มีการ จดั ทำคูมือครูผูสอนและครูฝกในสถานประกอบการ เพื่อสราง ความรู ความเขาใจ ในการมีสวนรวมและการสนับสนุน โครงการ 2.3 ดานการพฒั นา 2.3.1 การพัฒนา สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการในการแลกเปลี่ยนเรียนรูการ ครผู สู อน และครู สมรรถนะครูผูสอน และ พัฒนาสมรรถนะครูผูสอน และครูฝกใน สถานประกอบการ ฝกในสถาน ครูฝกดวยการสรางสังคม มีการถายทอดองคความรูดานเทคโนโลยี ดานวิชาชีพจาก ประกอบการ แหงการเรยี นรูรว มกนั สถานประกอบการมาสูสถานศึกษา และมีนวัตกรรมการ เรยี นรรู วมกัน 2.3.2 การเสริมสราง สถานศึกษามีแผนการฝก ประสบการณส มรรถนะวิชาชพี มี ประสบการณครฝู ก ใน การประยุกตใ ชป ระสบการณของครูฝก ในสถาน สถานประกอบการ ประกอบการเพื่อปรับปรงุ การเรยี นการสอน 2.3.3 การสรา งความรู สถานศึกษามีแผนการสรางความรู ความเขาใจ และ ความเขา ใจและใช แรงจูงใจ ของครูฝกในสถานประกอบการ มีบันทึกการ ประโยชนส งู สุดจากครูฝก ปฏบิ ตั งิ านระหวางครผู สู อนกบั ครฝู กในสถานประกอบการ ในสถานประกอบการ เกี่ยวกับ องคความรู การถายองคความรู การใช เทคโนโลยีและนวัตกรรม และการมีปฏิสัมพันธระหวาง ครูผูสอนกบั ครูฝกในสถานประกอบการ 2.4 ดานนวัตกรรม 2.4.1 การจดั การเรียนรูใน สถานศึกษามีนวัตกรรมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนา การจัดการเรยี นรู สถานศึกษา สมรรถนะผูเรียนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ ห ล า ก ห ล า ย ผ ส ม ผ ส า น ก ั น ( Blended learning) ประยุกตใชเทคโนโลยี นวัตกรรมการเรียนรูที่เหมาะสม สรางนวตั กรรมเพื่อสงเสริมการเรียนรู และใชผูเชี่ยวชาญ ในอาชพี มาถายทอดความรู ทักษะประสบการณ 2.4.2 การจัดการเรยี นรูใน สถานศึกษามีการจัดกระบวนการพัฒนาสมรรถนะตาม สถานการณจริง มาตรฐานการปฏิบัติงานที่กำหนด มีการประยุกตใช เทคโนโลยี ในรูปแบบการถายทอดเทคโนโลยีจากสถาน ประกอบการสูสถานศึกษา และมีการปฏิสัมพันธระหวาง ครผู สู อนกับครูฝก

8 องคประกอบ ตัวช้วี ดั คำอธิบายตัวชี้วดั 2.5. ดานการวัดและ 2.5.1 การวัดและ ประเมินผลและการ ประเมินผล สถานศึกษาจัดทำแผนการวัดและประเมินผลที่เชื่อมโยง ประกันคุณภาพ มาตรฐานอาชพี และมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน และความพรอ ม 2.5.2 การประกนั คุณภาพ ในการเขาสูอาชีพ (SOFT SIDE) สถานศึกษาและสถาน 2.6 ดา นคลงั ปญญา ประกอบการมีสวนรว มในการวัดและประเมินผลระหวา งเรยี น อาชีวศึกษาพรเี มยี ม 2.6.1 สารสนเทศดาน และสิน้ สุดภาคเรียน และครูฝกในสถานประกอบการสะทอน (Intelligent Center อาชพี ผลการเรียนรแู ละปฏบิ ตั งิ านของนกั ศกึ ษา of Premium Course Project) สถานศึกษามหี ลกั สูตรสอดคลองกบั มาตรฐานอาชีพ คณุ ภาพ ครู คุณภาพผูสำเร็จการศึกษา คุณภาพของเครือขาย พันธมิตร คุณภาพการบรหิ ารจัดการและทรัพยากร ตรงตาม สมรรถนะอาชีพ สถานศึกษามีขอมูลเทคโนโลยีระบบสารสนเทศของสถาน ประกอบการ ผูเชี่ยวชาญ มาตรฐานสมรรถนะอาชีพที่ เกี่ยวของ มีแหลงเรียนรูอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อมโยงแหลง เรียนรูในสาขาอาชีพ และสงเสริมการใชเทคโนโลยีท่ี ทนั สมัย 2.6.2 การวจิ ัยและองค สถานศึกษาจัดทำ/จัดหา งานวิจัยและองคความรูเทคโนโลยี ความรใู หมด า นอาชพี วิชาชีพใหทันตอการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีทางวิชาชีพใน (Digital Content) อนาคต มีการใชสื่ออิเลก็ ทรอนิกสในการจดั การเรียนการสอน ดวยสื่อการเรียนรูเกี่ยวของกับสาขาวิชา เชน E-book E- learning E-content และโปรแกรมจำลอง 2.6.3 ระบบการส่อื สาร สถานศึกษามีระบบติดตามการนิเทศ การใชร ะบบสื่อสาร อเิ ล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสระหวางครูผูสอน ครูฝก และนักศึกษา มี ระหวา งครูฝก เว็บไซตสาขาวิชา คลังปญญาอาชีวศึกษาพรีเมียม ครผู ูส อน และ (Intelligent Center of Premium Course Project) มี นักศึกษา การผลิตและใชสื่ออิเล็กทรอนิกสในการเรียนการสอน อยางหลากหลาย มาตรฐานดา นผลผลิต/ผลลัพธ (Output/Outcome) องคประกอบ ตวั ชวี้ ัด คำอธบิ ายตวั ชี้วดั 3.1 ตน แบบและการ 3.1.1 การถอดบทเรียน การจดั ทำเอกสารการถอดบทเรียนการจัดการอาชวี ศกึ ษา ขยายผลการจัดการ ความสำเร็จการจัดการ คุณภาพสูงสูความสำเร็จ เปนแหลงนวัตกรรมและ อาชวี ศึกษาคณุ ภาพสูง อาชวี ศึกษาคุณภาพสงู เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรูและการพัฒนาครู สูการ เปนศูนยการจัดการความรู (KM) อาชีวศึกษาคุณภาพสูง ในสาขาวชิ า

9 องคประกอบ ตัวช้วี ัด คำอธิบายตัวช้ีวัด 3.2 ผสู ำเร็จศึกษา 3.1.2 การเผยแพร แนวคิดการจัดการ มกี ระบวนการถายทอด และแบง ปนประสบการณในการ อาชีวศึกษาคณุ ภาพสงู จัดการอาชีวศึกษาคุณภาพสูง หรือเปนศนู ยฝก อบรมการ จดั การอาชวี ศึกษาคุณภาพสูงในสาขาวิชาเปนสถานศึกษา 3.2.1 จำนวนผูสำเร็จ ตนแบบในการจัดการอาชีวศึกษาคุณภาพสูงในสาขาวิชา การศกึ ษา เปนแหลงเรียนรูและใหคำปรึกษาในการจัดการ อาชีวศึกษาคุณภาพสูงสูสาขาอื่นในสถานศึกษาเปนศูนย 3.2.2 จำนวนผสู ำเร็จ ประเมินและทดสอบมาตรฐานอาชีพในสาขาวิชาตาม การศกึ ษาที่ผา นเกณฑ โครงการผลติ อาชีวะพันธใุ หม ตามมาตรฐานท่ีกำหนด แตล ะสาขาวิชา จำนวนผูสำเร็จการศึกษาตามเกณฑการสำเร็จการศึกษา ของแตละสาขาภายในระยะเวลาที่กำหนดไวในหลักสูตร เมอ่ื เทยี บกบั ผเู รียนแรกเขา จำนวนผูสำเร็จการศึกษาที่ไดรับการรับรองสมรรถนะ บุคคลตามมาตรฐานอาชีพ หรือผานการประเมิน มาตรฐานสากล หรือผานการประเมินรวมกับหนว ยงาน/ สถานประกอบการทรี่ ว มจดั การเรียนการสอน 4.1 แนวทางการ 4.1.1 ขอเสนอแนะการ ขอเสนอแนะการยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา ยกระดับคณุ ภาพ อาชวี ศึกษาแบบองค ยกระดับคุณภาพการ ในสาขาวิชาเพื่อการพัฒนาและเปนขอมูลใหสำนักงาน รวม จัดการอาชีวศึกษาใน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการกำหนดแนวนโยบาย 4.2 ผสู ำเร็จการศึกษา สาขาวิชาเพ่ือการพฒั นา การยกระดบั คุณภาพการจัดการอาชวี ศกึ ษาในภาพรวม 4.2.1 จำนวนผูสำเร็จ จำนวนผูสำเร็จการศึกษาที่มีงานทำและมีคาตอบแทนที่ การศึกษาที่มีงานทำและ เหมาะสมหรือศึกษาตอตรงกับสาขาวิชาทส่ี ำเร็จการศึกษา ม ี ค  า ต อ บ แ ท น ที่ ภายในระยะเวลา 1 ป เหมาะสม หรือศึกษาตอ ตรงกับสาขาวิชาที่สำเร็จ การศกึ ษา 4.2.2 ระดับความพึง ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ/ชุมชน/ พ อ ใ จ ข อ ง ส ถ า น ผูรับบริการตอผูสำเร็จการศึกษาในการปฏิบัติงาน ดาน ประกอบการตอผูสำเร็จ ความรูทางวิชาชีพ ดานสมรรถนะทางเทคนิค และดาน การศึกษา คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค (สมรรถนะทเี่ ปน Soft skills) สวนที่ 6 การประเมินความสำเร็จ ตวั อยางเครอ่ื งมอื มาตรฐาน ตวั ชี้วัดและเกณฑการประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ในโครงการผลติ อาชีวะพันธุใหม

10 มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานดา นปจ จัยนำเขา (input) ตัวช้วี ดั ที่ 1.3.1 คุณสมบัติ ความรูพ ืน้ ฐาน และ องคป ระกอบ 1.3 ดา นผเู รียน วิธีการรบั ผูเรียน คำอธบิ ายตวั ชี้วดั มีความรคู วามสามารถตามที่หลักสูตรกำหนด และมีความสามารถพิเศษดานภาษาหรอื อื่น ๆ ตามลักษณะของ สาขาวิชาที่กำหนด โดยการมีสวนรวมของสถานประกอบการในการคดั เลือกผูเรียนเขาศึกษาตามโครงการ ผลติ อาชวี ะพันธุใ หมฯ รายการดำเนินงาน แหลง ขอมลู 1. มีคณะกรรมการรวมในการกำหนดคณุ สมบตั ิและ 1. คำสง่ั คณะกรรมการกำหนดคณุ สมบัตแิ ละความรู ความรูพ น้ื ฐานเกณฑทใี่ ชใ นการคดั เลือกผูเขา รับ พ้นื ฐานของผูเขา รับการศึกษา การศกึ ษาของผูเรียนทจี่ ะเขา รบั การศกึ ษาสอดคลอง 2. ประกาศเกณฑที่ใชในการคดั เลือกผูเ ขารบั กับสาขาวิชา การศกึ ษา 2. มีคณะกรรมการรว มในการพิจารณาคดั เลือกผเู รยี น 3. คำสั่งคณะกรรมการพิจารณาคุณสมบตั ิและ ตามคุณสมบัติและความรูพื้นฐานของผูเรียนที่จะเขา ความรูพื้นฐานของผูเขารบั การศึกษาใหเปน ไปตาม รบั การศกึ ษาใหเปนไปตามเกณฑท ่ีกำหนด เกณฑทก่ี ำหนด 3. มีเครอ่ื งมอื ในการคัดเลอื กผเู รียน 4. หลกั ฐานการรับผูเ รยี น เชน คำสั่งแตง ตงั้ 4. มีรายงานผลการตรวจสอบคุณสมบัติ ความรู กรรมการออกขอสอบ ตรวจขอสอบ คุมสอบ พืน้ ฐานของผเู รยี น และประกาศผลการคดั เลือกผูเรียน ประกาศผลสอบ รับมอบตวั ลงทะเบยี น การขึน้ ทจี่ ะเขารับการศกึ ษา ทะเบียนเปนนักศึกษา 5. รายงานผลการตรวจสอบคุณสมบตั ิ ความรู พื้นฐานของผูเ รยี น และประกาศผลการคัดเลือก ผเู รยี นทจ่ี ะเขารบั การศกึ ษา 6. อ่นื ๆ เกณฑการใหคะแนน 0 - ไมม ีการดำเนนิ งาน 1 – มกี ารดำเนินงานรายการ 1 2 – มีการดำเนินงานรายการ 1 และ 2 3 – มีการดำเนินงานรายการ 1, 2 และ 3 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบทกุ รายการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook