Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้

ใบความรู้

Published by Anirut Srisangwarn, 2022-01-20 03:57:00

Description: ใบความรู้

Search

Read the Text Version

สิง่ ที่ไดเ้ รียนรู้ในวันน้ี 1. เพื่อช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ จิตนาการทางศิลปะ มีสุนทรีภาพ ความมีคณุ คา่ มผี ลตอ่ คุณภาพชีวติ มนษุ ย์ 2. กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย มือการจับดินสอ สี ดิน น้ามัน จิตใจ ทาแล้วผู้เรียนเกิดรู้สึกดีกับศิลปะ สติปัญญา ผู้เรียนเกิดความคิด สรา้ งสรรค์ในการทางานศิลปะ อารมณ์ ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนุกสนานกับ กจิ กรรมทางศิลปะ สังคม ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั ผ้อู ืน่ อย่างมีความสขุ 3. สาหรับผู้เรียนที่มีปัญหาหรือการปรับสภาพแวดล้อมไม่ทันควรจะศึกษานักเรียน กอ่ นทีจ่ ะเริม่ สอนหรอื สงั เกตเวลาสอน และมกี ารเขา้ หาเพ่อื พูดคุย 4. ตัวชี้วัดระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องจัดกิจกรรมอย่างไรให้เหมาะสมกับ ผเู้ รียนและผเู้ รียนรู้สึกชอบหรอื สนุกไปกบั กจิ กรรมนน้ั ดว้ ยไหม (ไม่ใช่ให้ผู้เรียนทา แค่วาดภาพระบายสคี วรจัดกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนสนใจและสนุกไปกับศิลปะ) 5. กิจกรรมที่ควรจัดต้องมีตัวอย่างหรือสิ่งของรอบตัวผู้เรียนหรือบริเวณห้องเรียนท่ี นาสิง่ ของมายกตวั อยา่ งเพื่อให้ผเู้ รยี นน้นั ได้เหน็ ภาพมากขน้ึ ส่งิ ทีอ่ ยากจะเรยี นรูเ้ พมิ่ 1. เคสทน่ี ักเรยี นชน้ั ประถมมีปัญหาตา่ ง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม ครอบครัว งานไม่ส่ง หรอื เคสอื่นๆ อยากจะเรยี นรู้เพ่ิมว่าอาจจะมีเคสท่ยี ังไม่ได้เจอ 2. แผนการสอนชน้ั ประถมศกึ ษา นาย อนิรุทธิ์ ศรีสังวาลย์ 614111025 หมูเ่ รียน 61/30

ใบความรู้ เรอ่ื ง การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ในการวาดภาพระบายสี ความหมายของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการวาดภาพระบายสี วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในการวาดภาพระบายสี หมายถึง เครื่องมือที่ช่วย สร้างสรรค์ผลงานภาพวาดระบายสี ได้แก่ กระดาษ ดินสอ ยางลบ พู่กัน จานสี สีประเภทตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 1. ดินสอ ดินสอที่ใช้ในการวาดภาพ ถ้าใช้ HB จะมี ความแข็งของไส้ดินสอ สีอ่อนเมื่อขีดบน กระดาษ ใช้ร่างภาพก่อนระบายสี ถ้าเป็น 2B ถึง 6 B หรือ EE จะมีความ อ่อนของไส้ดินสอ และเมื่อขีดจะมีความเข้มกว่า ใช้สาหรับตัดเส้น หรือแรเงา ใช้เสร็จเเลว้ เกบ็ ใส่กล่องให้เรียบรอ้ ย 2. ดนิ สอสี หรอื สีไม้ มีคุณสมบัติคล้ายดินสอ ใช้ได้ทั้งการ เขียนและระบายสี สามารถผสมสีโดยการ ระบายทับกันสีไม้บางชนิดที่ระบายแล้ว สามารถ ใช้พู่กันจุ่มน ้าแต้มให้สีผสมกั นไ ด้ ใชเ้ สรจ็ เเล้ว เก็บเรียงใส่กลอ่ งให้ เรยี บรอ้ ย

3. ยางลบ ใช้สาหรับลบเส้นดินสอ ใช้เสร็จเเล้วควร ทาความสะอาดโดย ใช้นิ้วถูสิ่งสกปรกที่ติดอยู่ ออก เกบ็ ใส่กลอ่ ง ให้เรยี บร้อย 4. กระดาษ กระดาษที่ใช้สาหรับวาดภาพระบายสีมี คณุ ลกั ษณะท่แี ตกต่างกนั เชน่ - กระดาษหนา 80 แกรม เหมาะสาหรับ ใชว้ าดเสน้ ด้วยดนิ สอ สไี ม้ - กระดาษหนา 200 แกรม (กระดาษ 100 ปอนด์) มีทั้งพื้นผิวเรียบ พื้นผิวหยาบ พื้นผิวหยาบเหมาะสาหรับระบายด้วยสีน้า สี โปสเตอร์ สีชอลก์ เป็นต้น ไม่ควรเก็บด้วยวิธีการหัก พับ หรืองอ เพราะจะทาใหก้ ระดาษเสียรปู ทรง วธิ ใี ชแ้ ละเก็บรกั ษาวสั ดุ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการวาดภาพระบายสี วสั ดุอุปกรณแ์ ต่ละชนิดมีคุณสมบตั ิการใชง้ านท่ีแตกต่างกัน จาเป็นตอ้ งรูจ้ ักเลือกใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน หลงั ใชแ้ ลว้ ควรเก็บรกั ษาใหเ้ รยี บรอ้ ย จงึ จะทาใหอ้ ปุ กรณค์ งทน และใชไ้ ดน้ าน

นาย อนิรุทธิ์ ศรีสังวาลย์ 614111025 สาขา ศลิ ปศึกษา หมู่เรยี น 61/30 หลกั ธรรม ท่สี รา้ งมนษุ ยสมั พันธ์กบั ผอู้ ่นื พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรมประจาใจเพื่อให้ตน สังคหวตั ถุ แปลวา่ ธรรมทีเ่ ป็นท่ตี ัง้ แห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่อง ดารงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เฉกเช่น พรหมเป็นแนวธรรมปฏิบัติของผู้ที่ ยึดเหน่ียวน้าใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทาให้ ปกครอง และการอยรู่ ่วมกับผ้อู นื่ ประกอบด้วยหลกั ปฏบิ ัติ 4 ประการ ไดแ้ ก่ คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็น 1. เมตตา คอื ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและ อนั หนง่ึ อันเดียวกนั ได้ และทาให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน เหมือน คิดทาประโยชน์แกม่ นษุ ยส์ ตั วท์ ่วั หน้า ล่ิมสลักรถที่ตรงึ ตัวรถไว้มิใหช้ ิ้นส่วนกระจายไป ทาให้รถแลน่ ไปไดต้ ามที่ตอ้ งการ 2. กรุณา คือ ความสงสาร คิดชว่ ยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบาบัดความ สงั คหวัตถมุ ีส่ปี ระการ คอื ทุกขย์ ากเดือดร้อนของปวงสัตว์ 1. ทาน การให้ การเสียสละ การแบง่ ปันเพือ่ ประโยชนแ์ กค่ นอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็น 3. มุทิตา คือ ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วย คนทไ่ี มเ่ หน็ แกต่ ัว แบง่ ปนั กนั (แบ่งปันไปมา) อาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดารงในปกติสุข พลอยยินดีด้วย 2. ปิยวาจา การพูดจาดว้ ยถอ้ ยคาไพเราะออ่ นหวาน จรงิ ใจ ไมพ่ ดู หยาบคายก้าวร้าว เม่ือเขาไดด้ ีมสี ุข เจรญิ งอกงามย่งิ ข้ึนไป พูดในสง่ิ ท่ีเปน็ ประโยชน์ เหมาะกบั กาลเทศะ พดู ดตี ่อกัน (พดู จาจบั ใจ) 4. อุเบกขา คอื ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดารงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็น 3. อตั ถจริยา ช่วยเหลือกัน (ช่วยกิจกนั ไป) ด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง 4. สมานตั ตตา การเปน็ ผู้มีความสมา่ เสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอ พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทาแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่ ปลาย วางตัวดีต่อกัน (นิสัยเป็นกันเอง) เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉย สงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทา เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควร รบั ผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รบั ผลอันสมกับความรบั ผดิ ชอบของตน ฆราวาสธรรม 4 อิทธิบาท 4 ฆราวาสธรรม ประกอบด้วย 2 คา \"ฆราวาส\" แปลว่า ผู้ดาเนินชีวิตในทาง อทิ ธิบาท หรอื อทิ ธิบาท 4 เปน็ ศัพทใ์ นพระพทุ ธศาสนา หมายถึง ฐานหรือ โลก, ผู้ครองเรือน และ \"ธรรม\" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, หนทางสคู่ วามสาเร็จ หรอื คุณเครื่องให้ถึงความสาเร็จ คุณเครื่องสาเร็จสมประสงค์ คณุ สมบตั ิ, ขอ้ ปฏิบตั ิ ทางแห่งความสาเรจ็ คณุ ธรรมทีน่ าไปส่คู วามสาเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี ๔ ประการ ฆราวาสธรรม แปลวา่ คุณสมบัตขิ องผ้ปู ระสบความสาเรจ็ ในการดาเนินชีวิตทางโลก คอื ประกอบด้วยธรรมะ 4 ประการ คอื 1. ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความต้องการท่จี ะทา ใฝ่ใจรักจะทาสิ่งนั้นอยู่เสมอ และ 1. สจั จะ แปลวา่ จรงิ ตรง แท้ มคี วามซ่ือสัตย์เป็นพื้นฐาน เป็นคนจริงต่อความเป็น ปรารถนาจะทาให้ ได้ผลดยี ่งิ ๆขึน้ ไป มนุษย์ของตน 2. วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง 2. ทมะ แปลว่า ฝึกตน ข่มจิต และรักษาใจ บังคับตัวเองเพื่อลดและละกิเลส และ อดทน เอาธุระไม่ทอ้ ถอย รกั ษาสัจจะ 3. จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทา และทาสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิต 3. ขนั ติ แปลว่า อดทน ไม่ใช่แพียงแต่อดทนกับคาพูดหรือการกระทาของผู้อื่นที่เรา ฝักใฝ่ ไมป่ ล่อยใจให้ฟุ้งซา่ นเลอื่ นลอยไป ไม่พอใจ แต่หมายถึงการอดทนอดกลน้ั ตอ่ การบีบบังคับของกเิ สส 4. วิมังสา (ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ 4. จาคะ แปลว่า เสียสละ บริจาคสิ่งที่ไม่ควรมีอยู่ในตน โดยเฉพาะกิเลสเพราะนั้น ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทานั้น มีการวางแผน วัดผล คือสิง่ ทไ่ี ม่ควรมีอยกู่ บั ตน ละนสิ ัยไม่ดตี า่ งๆ คิดค้นวธิ แี กไ้ ขปรับปรงุ เปน็ ต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook