บทบาทของพยาบาลในปฐมพยาบาล การช่วยเหลอื ผ้ปู ว่ ยในภาวะฉุกเฉนิ อบุ ตั ิเหตุหมู่ และสาธารณภัย
บทที่ ๓ บทบาทของพยาบาลในปฐมพยาบาล การชว่ ยเหลือผู้ปว่ ย ในภาวะฉุกเฉนิ อุบัติเหตุหมู่ และสาธารณภยั 3.1 การจัดบริการในหนว่ ยฉุกเฉิน 3.2 การจาแนกผู้ปว่ ยอุบัตเิ หตุและฉุกเฉิน 3.3 หลกั การเตรยี มรับผู้ป่วยอุบตั ิเหตหุ มู่ 3.4 หลักการบรรเทาสาธารณภัย 3.5 หลักการพยาบาลผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ อุบัติเหตหุ ม่แู ละสาธารณภยั 3.6 Guidelines Advance CPR 2016
วัตถุประสงค์ 1. บอกความหมายและความสาคญั ของภาวะฉกุ เฉินทางการแพทยไ์ ด้ 2. จาแนกประเภทของผู้ป่วยฉุกเฉินได้ถกู ต้อง 3. อธบิ ายความหมาย ชนิด และ วัตถุประสงคข์ องการคดั กรองผู้บาดเจบ็ ได้ 4. บอกหลกั การชว่ ยเหลอื ผ้ปู ่วยฉุกเฉนิ และการเตรียมรบั ผปู้ ่วยอบุ ัตเิ หตหุ มไู่ ด้ 5. บอกความหมายของการคดั แยกผเู้ จบ็ ปว่ ย ณ จุดเกิดเหตุ (Field Triage) ได้ถกู ตอ้ ง 6. อธิบายความสาคญั ของการคดั แยกผเู้ จบ็ ปว่ ย ณ จดุ เกดิ เหตุ (Field Triage) ได้ถกู ต้อง 7. วิเคราะหส์ ถานการณ์และประเภทของผเู้ จ็บปว่ ย ณ จดุ เกดิ เหตุการณ์ คดั แยกผู้บาดเจบ็ ณ จุดเกิดเหตุ (Field Triage )ได้ถกู ตอ้ ง เหมาะสม 8. หลกั การพยาบาลผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ อุบตั เิ หตหุ มแู่ ละสาธารณภัย 9. บอกหลักการช่วยฟื้นคนื ชีพข้นั สูง Guidelines Advance CPR 2016 ได้
3.1 การจดั บรกิ ารในหนว่ ยฉุกเฉิน ฉุกเฉิน หมายถึง การเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน โดยปัจจุบันทันด่วนและ ต้องการการช่วยเหลือและแก้ไข อย่างรีบด่วน มิฉะนั้นอาจเป็นอนั ตราย ถึงชวี ิต หรอื ทาใหเ้ กิดความพกิ ารและความทกุ ข์ทรมานอย่างมากได้
การแพทย์ฉกุ เฉิน (Emergency Medicine) ตามคาจากัดความของ พรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน ๒๕๕๑ มี ความหมาย ท่ีกว้าง โดยให้หมายถึง (๑) การปฏิบัติการฉุกเฉิน (๒) การศึกษา (๓) การฝึกอบรม (๔) การค้นคว้า (๕) การวิจยั และ (๖) การป้องกันการเจ็บป่วยทีเ่ กดิ ข้ึนฉุกเฉิน โดยท้ัง (๑) – (๖) เก่ียวกับการประเมิน การ จัดการ การบาบัดรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน นับต้ังแต่การรับรู้ถึงภาวการณ์เจ็บป่วยฉุกเฉิน จนถึงการดาเนินการให้ ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการบาบัดรักษาให้พ้นภาวะฉุกเฉิน จาแนกเป็นการ ปฏิบัติการในชุมชน และการปฏิบัติการ ต่อผู้ป่วยฉุกเฉินท้ังนอก โรงพยาบาลและในโรงพยาบาล
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS System) หมายถึงระบบที่มี การจัดวางอย่างเปน็ ระเบยี บ (Organized) ครอบคลุม (Integrated) เป็นไปเพ่ือให้ความช่วยเหลือภาวะเร่งด่วนทางการแพทย์สาหรับ บคุ คลแต่ละคน เพื่อเขา้ ถึง (Assess) และเขา้ สู่ (Enter) ระบบการให้ การดแู ลสขุ ภาพในระยะเวลา อนั รวดเร็ว
ความหมายคาจากดั ความของ Emergency Care System ระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ประกอบด้วย 4 ระบบหลักได้แก่ ระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ระบบการ รักษาพยาบาลฉุกเฉินในโรงพยาบาล (Hospital-Based Emergency Department) ระบบส่งต่อ (Referral System) และ ระบบการจัดการสาธารณภยั ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข (Disaster)
การจดั บรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉนิ 1. มีมาตรฐานและโครงสรา้ งท่เี หมาะสม มกี ารกาหนดนโยบายที่ชัดเจนในการ ดแู ล ชว่ ยเหลือผูเ้ จ็บป่วยฉุกเฉนิ นอกโรงพยาบาล 2. มีระบบบรกิ ารแจง้ เหตุท่งี ่ายตอ่ การเรียกใช้ 3. มีความสามารถส่อื สารท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ 4. มบี ุคลากรทีป่ ฏิบัตงิ านในระบบบรกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉิน 5. ควรมกี ฎและระเบยี บรองรบั การปฏิบตั ิงานของเจา้ หน้าที 6. การจัดระบบการเงินการคลังในการบริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ 7. การประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนรู้จักบทบาทหน้าท่ีของระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน 8. มรี ะบบข้อมูลระบบบริการการแพทยฉ์ ุกเฉิน
การจดั บรกิ ารในหอ้ งฉกุ เฉิน การจัดบริการในแผนกฉุกเฉินเป็นกระบวนการนาไปสู่การจัดการ ทรัพยากรที่เหมาะสม เพื่อใช้กับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นอย่างมี ประสทิ ธิภาพ แบง่ ออกเป็น 1. การจัดการกับสถานการณ์เพื่อป้องกันปัญหาท่ีทาให้เกิดการ สญู เสีย เช่น สถานท่ตี ้ังมีความเหมาะสม ปลอดภยั 2. มีการเตรยี มการวางแผนการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆท่ีเกิดข้ึน การวางแผนการใช้ทรพั ยากร การพัฒนา การฝกึ อบรม 3. มีการจดั สรรทรพั ยากรทใี่ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั สถานการณ์ 4. มีระบบการจัดการในระยะปานกลางและระยะยาวเมื่อมี สถานการณ์ทีไ่ มค่ าดคิดเกิดข้ึน
การจดั การดา้ นอาคารสถานท่ีของหน่วยฉกุ เฉนิ สถานที่ของแผนกฉุกเฉินควรตั้งอยู่ใกล้ทางเข้าออกของโรงพยาบาล มี ป้ายบอกทางที่ชัดเจนและมีขนาดใหญ่พอที่ผู้มารับบริการสามารถมองเห็นได้ ง่ายจากภายนอกโรงพยาบาล และสามารถติดต่อประสานงานกับแผนกอ่ืนๆท่ี เก่ียวข้องได้สะดวก มีทางเข้าออกและกว้างเพียงพอในการปฏิบัติงานและการ เคล่ือนย้ายผู้ป่วย เครื่องมือ อุปกรณ์ เตียงผู้ป่วยได้สะดวก มีแสงสว่างที่ เพียงพอกับการปฏิบตั ิงาน มรี ะบบสารองไฟฟา้ มรี ะบบระบายอากาศที่ดี มีพน้ื ที่ เพียงพอในการตั้งเตยี งบริการผูป้ ่วย
การจดั แบ่งพ้นื ที่ภายในแผนกฉกุ เฉนิ 1. ศูนย์เปล ควรอยู่บริเวณด้านหน้าของแผนก สามารถมองเห็นผู้ป่วยหรือ ยานพาหนะทีน่ ามาส่งผูป้ ว่ ยได้ชัดเจน สามารถประเมินอาการของผู้ป่วย เพื่อ จัดประเภทรถนั่งหรือรถนอนไปให้บริการผู้ป่วยในการส่งต่อรักษาในแผนกที่ เหมาะสม 2. หน่วยประชาสัมพันธแ์ ละห้องบัตร ควรอยู่บริเวณดา้ นหน้าของแผนก ให้ผู้ มารับบริการสามารถมองเห็นได้ชัดเจน สามารถติดต่อสอบถามข้อมูล เก่ยี วกับการรบั บรกิ ารไดโ้ ดยสะดวก
3. ท่ีพักรอ จะต้องมีจานวนมากพียงพอและสุขสบาย ที่สาคัญผู้ป่วย สามารถขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ได้ขณะนั่งรอตรวจ เมื่อมีอาการ เปล่ียนแปลง 4. หน่วยคัดกรองผู้ป่วย จะเป็นด่านแรกในการประเมินอาการของ ผู้ป่วยเบื้องต้น เพ่ือจาแนกและจัดลาลับความสาคัญในการให้การช่วยเหลือท่ี เหมาะสมกับผู้ปว่ ยแตล่ ะราย 5. ห้องทาการรักษาพยาบาล ใช้สาหรับการให้การรักษาพยาบาลใน กรณีฉกุ เฉินทว่ั ไป เชน่ ฉดี ยา ทาแผล การทาหตั ถการต่างๆ เป็นตน้
6. ห้องชว่ ยฟื้นคนื ชีพ ใชส้ าหรับการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ปว่ ยท่ีอยู่ใน ภาวะหัวใจล้มเหลว หรือหายใจล้มเหลว ในห้องน้ีควรมีพื้นท่ี แสงสว่าง เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ รถ Resuscitation, Monitor, Defibrillator, เครือ่ ง Suction, ถังออกซเิ จน เป็นต้น 7. ห้องผ่าตัดเล็ก ควรจัดให้เป็นก่ึงปลอดเชอ้ื เพ่ือใช้สาหรับการ ผ่าตัดเล็กท้ังในเวลาปกติและนอกเวลาทาการ มีเคร่ืองมือสาหรับการทา ผา่ ตดั เล็กทส่ี ามารถหยบิ ใชไ้ ด้อยา่ งสะดวก 8. ห้องหรือบริเวณสาหรับการใส่เฝือก ควรอยู่ติดกับห้อง รักษาพยาบาลเพื่อให้สะดวกในการเคล่ือนย้ายเปลผู้ป่วย และสะดวก รวดเร็วในการใส่เฝือก
9. ห้องสังเกตอาการ ในกรณีท่ีผู้ป่วยมีการเจ็บป่วยที่ยังไม่สามารถ หาสาเหตุได้ชัดเจน หรืออาจมีอาการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ ดังนั้น จาเป็นต้องให้ผู้ป่วยนอนสังเกตอาการและต้องมีการประเมินอาการของ ผูป้ ว่ ยอยา่ งใกล้ชิดเปน็ ระยะๆ 10. ห้องแยก เป็นห้องท่ีใช้ราหรับผู้ป่วยท่ีได้รับสารพิษหรือการติด เชื้อที่รุนแรง หรือผู้ป่วยที่มีการเปล่ียนแปลงของการรับรู้ เช่น ผู้ป่วยโรคทาง จติ เวช และต้องอยู่ในความดแู ลของพยาบาลอยา่ งใกลช้ ิด 11. หน่วยรักษาความปลอดภัย เป็นหน่วยงานท่ีสาคัญที่สนับสนุน การปฏิบัติงานและดูแลความปลอดภัยของผู้รับบริการ ในกรณีท่ีไม่สามารถ ควบคุมสถานการณไ์ ด้
การให้การรกั ษาพยาบาลในภาวะฉกุ เฉนิ พยาบาลจะตอ้ ง 1. สามารถรักษาชีวติ ของผปู้ ่วยหรอื ผู้บาดเจ็บได้ 2. สามารถป้องกนั ไม่ใหผ้ ปู้ ว่ ยหรือผ้บู าดเจบ็ มอี าการ มากข้ึนหรอื หนักกวา่ เดิม 3. สามารถบรรเทาอาการเจบ็ ปวดทรมานได้ 4. สามารถสง่ ตอ่ ผูป้ ว่ ยหรือผูบ้ าดเจ็บได้อยา่ งปลอดภัย
การปฏบิ ตั งิ านการพยาบาลฉุกเฉินประกอบดว้ ย 1. การจาแนกประเภทของผปู้ ่วย การจดั ลาดับความสาคัญของการเจบ็ ปว่ ย 2. การเตรยี มการรับสถานการณ์ฉุกเฉิน 3. การใหก้ ารดูแลผู้ปว่ ยในภาวะวิกฤติในทกุ ช่วงกล่มุ อายุ 4. การดแู ลและจดั การกับสถานการณ์ทไี่ ม่สามารถคาดคิดได้ 5. การใหก้ ารดแู ลผู้ปว่ ยอย่างสอดคลอ้ งตอ่ เน่ือง
ข้อพึงตระหนกั สาหรับพยาบาลในภาวะฉกุ เฉิน 1. รู้ถึงภาวะฉุกเฉิน โดยรู้ถึงความเป็นมาของโรคของผู้ป่วยที่อยู่ใน ความรับผิดชอบ และสามารถสังเกตถึงอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นได้อย่าง ถกู ต้อง 2. การให้บรกิ ารพยาบาลฉุกเฉิน พยาบาลจะเปน็ บคุ คลแรกท่ีพบกับ ผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน พยาบาลจึงต้องรู้ว่าจะให้การพยาบาลเช่นใดเม่ือผู้ป่วย มาถึง 3.ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลอยา่ งรวดเรว็ และจดั ระบบงานใหเ้ หมาะสม 4. การสมั ผัสผปู้ ว่ ยตอ้ งแสดงออกด้วยความเตม็ ใจ 5. ใหค้ วามช่วยเหลือทส่ี ามารถทาใหแ้ กผ่ ู้ป่วยได้
6. รแู้ ละเข้าใจถงึ วิธกี ารทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ัตใิ นกรณีท่เี ก่ียวขอ้ งกบั กฎหมาย 7. ทางานร่วมและประสานงานกบั ผรู้ ว่ มงาน 8. จัดหาและเตรียมอปุ กรณ์ และส่ิงของตา่ ง ๆ ให้พร้อมทีจ่ ะใช้งานได้ ทกุ เวลา 9. ชีแ้ จงและใหค้ าแนะนาผูป้ ่วยและญาติอยา่ งชดั เจน
EMERGENCY RECORD 1. Patient Identification. 2. Patient's signature or designee for consent to examination/treatment. 3. Time and mode of arrival. 4. Allergies. 5. Immunization history of children and patients with open wounds. 6. Pertinent history of the illness or injury, including details relative to first aid or 7. Emergency care administered prior to his/her arrival to the Emergency Center.
EMERGENCY RECORD 8. Diagnostic and therapeutic procedures, including results and/or the patient's response. 9. Description of significant clinical, laboratory and radiology findings. 10. Diagnosis. 11. Discharge instructions for follow-up care. 12. Disposition and the patient's condition upon completion of evaluation/treatment.
3.2 การจาแนกผู้ปว่ ยอุบตั เิ หตุและฉุกเฉิน คาจากัดความ Triage อ่านว่า ธรีอาช Triage มาจากคาศัพท์ภาษา ฝร่ังเศสว่า Trier ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Sort Triage ในภาษาไทย แปลวา่ การคัดแยก แยกจัด เป็นหมวด Triage มีบันทึกว่าใชใ้ นการจัด กลุ่มผู้บาดเจ็บในสงคราม ตั้งแต่สมัยพระเจ้านโปเลียน โดยศัลยแพทย์ ชื่อ Baron Dominique Jean Larrey ต่อมาได้นามาใช้กับการ บาดเจบ็ อนื่ ๆรวมถึงการเจบ็ ปว่ ยดว้ ย
Triage การคดั แยกผบู้ าดเจบ็ (Triage) ความหมาย “ระบบ การจดั กลมุ่ ผูป้ ว่ ยเมื่อบุคลากรมไี ม่ เพยี งพอที่จะดแู ล ผูป้ ่วยไดท้ ุกคน” จดุ ประสงคข์ องการคดั แยก (Triage) • เพอ่ื จัดส่งผู้ปว่ ยทเ่ี หมาะสม ไปยงั ท่ีทเ่ี หมาะสม ในเวลาท่ี เหมาะสม
ประเภทของการคัดแยก สถานการณไ์ ม่ปกติ ◦Mass casualty / Disaster triage ◦Battle Field Triage สงคราม สถานการณ์ปกติ ◦Phone triage / Criteria-based dispatch ◦Field Triage / Scene Triage ◦Emergency Department Triage
หลักการในการจาแนกประเภทผปู้ ่วย 1. พยาบาลทท่ี าหนา้ ที่จาแนกประเภทผู้ปว่ ย ควรสามารถประเมินอาการ ได้อย่างรวดเร็ว บันทึกอาการและอาการแสดงต่างๆ ให้การดูแลที่เหมาะสมกับ อาการของผ้ปู ว่ ย 2. ตอ้ งสามารถระบุหรือจาแนกประเภทของผ้ปู ว่ ยไดอ้ ยา่ งถูกต้องแมน่ ยา 3. ควรระบรุ ะดบั ของความรนุ แรงของผู้ปว่ ยทกุ รายทมี่ ารบั บรกิ าร 4. การจาแนกประเภทของผ้ปู ว่ ยเปน็ กระบวนการท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา อาการของผ้ปู ว่ ยอาจดีข้นึ หรอื แย่ลงในขณะทีร่ อรบั การรกั ษา 5. กระบวนการจาแนกประเภทของผู้ป่วยเป็นการประเมินข้อมูลเบื้องต้น ซ่ึงต้องประเมินอาการของผู้ป่วยในช่วงเวลาสั้นๆ ละต้องการความช่วยเหลือที่ เหมาะสมตามสถานการณต์ ามความรนุ แรงในขณะน้ัน
6. การนาแนวทางการปฏิบัติมาใช้ในการประเมินอาการ เพ่ือจาแนกประเภท ของผู้ปว่ ยมาใช้ 7. การประเมินผู้ป่วยเด็ก อาจมีข้อจากัดในการประเมินอาการโดยเฉพาะใน เด็กเล็กท่ีไม่สามารถบอกอาการได้ จาเป็นต้องมีการประเมินอาการอย่าง ละเอยี ดจากขอ้ มูลทีม่ ีอยู่ 8. การจาแนกประเภทผู้ป่วยเป็นกระบวนการที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ผูป้ ว่ ยอาจมีอาการดขี นึ้ หรอื แยล่ งกไ็ ด้ 9. การประเมนิ อาการซา้ หลังจากการประเมนิ อาการในช่วงแรกมีความจาเป็น อยา่ งย่ิงเพราะอาการของผปู้ ว่ ยสามารถเปล่ยี นแปลงได้ขณะท่รี อการรักษาอยู่
Three – Level Acuity System Level Acuity Treatment & Sample condition Level 1 Emergent Reassessment time Immediately Cardiac arrest, Seizure, Anaphylaxis, Multiple Level 2 Urgent trauma, Shock, Severe respiratory distress, Level 3 Non urgent 10-45 minutes Chest pain, Uncontrolled hemorrhage, Severe head trauma, Open chest/abdominal 30 minutes-2hours wound, Poisoning with neurological changes, Active labor pain Major fracture, Sever headache, Aggressive patient, Major burn, Stroke, Acute asthmatic attack, Urinary retention, Laceration (serious), Eye injury with vision loss, Pregnant (active bleeding), Drug ingestion Closed fracture, Abdominal pain, Noncardiac chest pain, Bleeding (stable vital sign)
Five – Level Acuity System Level Acuity Treatment & Sample condition Level 1 Resuscitative Reassessment Cardiac arrest, Seizure, Anaphylaxis, Multiple trauma, Shock, Level 2 time Severe respiratory distress, Chest pain, Uncontrolled hemorrhage, Severe head trauma, Open chest/abdominal wound, Poisoning Level 3 Immediately with neurological changes Level 4 Level 5 Emergent 5-15 minutes Major fracture, Sever headache, Aggressive patient, Major burn, Stroke, Acute asthmatic attack, Urinary retention, Laceration Urgent 15-45 minutes (serious), Eye injury with vision loss, Pregnant(active bleeding), Drug ingestion Semi-urgent 1-2 hours Closed fracture, Abdominal pain, Noncardiac chest pain, Routine 4 hours Bleeding(stable vital sign), Drug ingestion, Renal calculi, Laceration Cystitis, Sore throat, Minor burn, Abscess, Minor bite, Constipation Routine physical, Suture removal, Prescription refill
3.3 หลักการเตรยี มรับผปู้ ่วยอบุ ตั ิเหตหุ มู่ Mass casualty incident ( MCI ) อุบัตภิ ัยหมู่ คอื เหตกุ ารณ์ทีม่ ผี บู้ าดเจบ็ จานวนมากจนเกินกาลังของโรงพยาบาล ในพ้ืนที่ โดยอาจจาต้องส่งตอ่ ไปโรงพยาบาลอืน่ ท้งั ในและนอกจงั หวัด
รูปแบบของแผนเตรยี มรบั อุบตั ภิ ยั หมู่ 1. แผนรบั อุบัตภิ ยั หมู่ ณ จดุ เกิดเหตุ 2. แผนรับอุบัตภิ ัยหมู่ในโรงพยาบาล
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ (Field Triage) ความหมายการ คัดแยกผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ เพื่อจัดลาดับ ความเร่งด่วนในการ ช่วยเหลือท่ีเหมาะสม ในกรณีมีผู้บาดเจ็บเป็น จานวนมาก ( mass casualty) เพ่ือจัดกลุ่มว่ากลุ่มใดควรได้รับการดูแลรักษาพยาบาลเพ่ือ ช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วน กลุ่มใดสามารถรอคอยได้ และกลุ่มใดที่มีอาการ รนุ แรงมาก มโี อกาสรอดชวี ิตน้อย แมว้ า่ ได้รบั การดแู ลรักษาพยาบาลอย่าง เต็มทแ่ี ล้วก็ตาม
วัตถุประสงค์ : ในการคดั แยกในโรงพยาบาลของหน่วยอบุ ตั เิ หตุและฉกุ เฉนิ 1. เพอ่ื ให้ผปู้ ว่ ยได้รับการตรวจรักษาพยาบาลตามความเรง่ ดว่ น 2. เพอ่ื ให้ผปู้ ว่ ยทอ่ี ยู่ในภาวะเรง่ ดว่ นมีสิง่ คกุ คามชีวิต ได้รบั การรกั ษาไดอ้ ย่าง รวดเร็ว ทนั เวลา 3. เพอ่ื ให้ผูป้ ่วยได้รับการประเมินและสง่ ต่อไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4. เพ่ือควบคมุ การหมุนเวยี นของผ้ปู ว่ ยในหน่วยฉกุ เฉนิ ลดการคบั ค่งั ของผปู้ ว่ ย 5. เพื่อลดระยะเวลาในการรอคอย 6. เพื่อลดความเครียดของผปู้ ่วย ญาตแิ ละผใู้ ห้บริการ
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ ณ ท่ี เกิดเหตุ การคัดแยกผู้บาดเจ็บรายเดียว จะคัด แยกโดยใช้ตารางการประเมินผู้ป่วยหนัก คือประเมินจากเกณฑ์ทาง สรีรวิทยากายวิภาคกลไกการเกิดบาดเจ็บ อายุและโรคประจาตวั การคัดแยก ผู้บาดเจ็บจานวนมาก (ในอุบตั ภิ ัยหมู่) 1. START( Simple Triage And Rapid Treatment ) 2. MTS ( Manchester triage scale ) 3. ESI ( Emergency Severity Index) 4. CTAS ( Canadian Triage and Acuity Scale ) 5. ATS ( Australasian Triage Scale )
5 level triage system
ระบบการจาแนกหรอื คดั แยกผู้ป่วยในหนว่ ยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ทไ่ี ดผ้ ลดคี วรประกอบดว้ ย 1. สามารถคัดแยกผู้ปว่ ยที่มภี าวะฉกุ เฉนิ เร่งด่วนได้อย่างรวดเรว็ 2. สามารถจัดระเบยี บการไหลเวียนของผู้มาใชบ้ ริการ 3. สามารถใหค้ าแนะนาแก่ผู้มาใช้บริการและญาติลดความขัดแย้ง และความไม่พงึ พอใจได้
แนวทางในการจัดระบบการคัดแยก (Triage System) 1. จัดให้มีการซักประวัติตรวจร่างกาย เพ่ือประเมินความรุนแรง ของการเจ็บป่วย 2. มีแนวทางซ่ึงจดั ขนึ้ เองในโรงพยาบาล ตามความเหมาะสม 3. ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการคัดแยกภายในเวลารวดเร็ว อาจทา การคดั แยกกอ่ นทาบตั ร 4. ถ้ามีความพร้อม อาจมีแนวทางปฏิบัติให้เจ้าหน้าท่ีท่ีมีหน้าท่ีคัด แยกผ้ปู ่วย สามารถทาการดูแลรักษาเบอื้ งตน้ ได้ 5. มกี ารประเมินผปู้ ว่ ยซา้ ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งระหว่างรอตรวจ
ข้ันตอนการชว่ ยเหลือกอ่ นนาสง่ โรงพยาบาล 1. การเจ็บปว่ ยฉกุ เฉินและการแจง้ เหตุ (Detection) 2. การแจ้งเหตุขอความช่วยเหลอื (Reporting) 3. การออกปฏิบัตกิ ารของหน่วยแพทย์ฉกุ เฉิน (Response) 4. การรักษาพยาบาล ณ จดุ เกดิ เหตุ (On scene care) 4.1 การประเมนิ สถานการณ์ (Scene size-up) 4.2 การประเมินสภาพผปู้ ว่ ยฉกุ เฉิน (Patient assessment) 5. การลาเลียงขนยา้ ยและการดแู ลระหวา่ งนาส่ง (Care in transit) 6. การนาส่งสถานพยาบาล (Transfer to definitive care)
หลกั การประเมินสถานการณ์ : สงิ่ ที่ต้องพึงระลึกไวเสมอในการประเมนิ สถาน การณ มีดงั น้ี 1. การป้องกันตนเองจากการติดเช้ือโรค (Body substance isolation = BSI) 2. ความปลอดภัยของสถานทีเ่ กิดเหตุ (Scene safety) 3. กลไกการบาดเจบ็ / เจ็บปวย (Mechanism of injury = MOI / Nature of illness = NOI) 4. จานวนผ้ปู ว่ ยเจ็บ (Number of patients) 5. แหล่งสนับสนนุ ท่ีตอ้ งการ (Additional resource)
การคน้ หาลกั ษณะของการบาดเจบ็ จะใชต้ วั อกั ษรช่วยจา DCAP- BTLS ในการประเมิน ซง่ึ มีความหมาย ดงั นี้ D = Deformities การผิดรปู C = Contusion รอยฟกช้า A = Abrasion แผลถลอก P = Puncture / Penetrations แผลจากการถูกแทง B = Burns แผลไหม้ T = Tenderness ตาแหนง่ เจ็บ L = Lacerations แผลฉกี ขาด S = Swelling อาการบวม
การรักษาพื้นฐานและข้นั สงู ณ ที่เกดิ เหต
การจดั การในการเตรียมรบั อบุ ตั ิภยั หมู่ 1. ศูนย์บญั ชาการ ควรตงั้ อยูใ่ นที่สามารถประเมินสถานการณ์ ต่างๆ ไดอ้ ย่างชัดเจน มีบคุ ลากรท่ีสามารถตดั สินใจในการสง่ั การต่างๆ ได้ สามารถประสานงานกบั หน่วยงานอนื่ ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วมี ประสทิ ธิภาพ 2. Triage Area ควรจัดสถานที่ในการคดั กรองและรองรับ ผบู้ าดเจ็บประเภทต่างๆ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน เพอื่ ความสะดวกในการขนยา้ ย การใหก้ ารดแู ลรกั ษาตามสภาพความรนุ แรงของการบาดเจ็บ
3. การจดั แบ่ง Zone ผปู้ ว่ ย ควรมีสัญลักษณต์ ดิ แสดงไว้อยา่ งชัดเจน 3.1 แดง เปน็ ผู้ปว่ ยท่อี ย่ใู นภาวะวกิ ฤตต้องให้การชว่ ยเหลอื ในทนั ที เช่น ผู้ปว่ ยหยดุ หายใจ ผูป้ ่วยท่มี กี ารบาดเจ็บที่รนุ แรงและอยู่ในภาวะช็อก ควรมี เครอื่ งมือหรืออปุ กรณใ์ นการช่วยชีวติ ที่จาเป็น บุคลากรมีความพรอ้ มในการให้ การดูแลรักษาพยาบาลผู้ปว่ ยวกิ ฤต
3.2 เหลืองเป็นพ้ืนท่ีผู้ป่วยบาดเจ็บที่ไม่รุนแรงต้องได้รับ ช่วยเหลือโดยเร็วรอได้บ้างในระยะเวลาไม่ก่ีชั่วโมง ไม่มีภาวะคุกคามต่อ ชีวิต เช่น ผู้ป่วยกระดูกหัก ผู้ป่วยท่ีมีบาดแผลฉีกขาด ควรทาการ Admit หรือสังเกตอาการผู้ป่วย ควรจัดสถานท่ีในการปฏิบัติงานอยู่ในหน่วย สังเกตอาการ
3.3 เขียว เป็นกลุ่มท่ีบาดเจ็บเล็กน้อยสามารถรอรับการ ตรวจรักษาแบบผู้ป่วยท่ัวไปได้ควรจัดสถานที่ในการปฏิบัติงานอยู่ใน หน่วยตรวจรักษาโรคท่ัวไป
3.4 นา้ เงนิ หรือดา เป็นพ้นื ที่ใหก้ ารดูแลผู้บาดเจ็บทห่ี มดหวังหรอื เสียชีวิต ควรจดั สถานท่ใี นการปฏบิ ัติงานอยู่ในดา้ นใดด้านหน่งึ ของแผนก ฉุกเฉินหรือบรเิ วณท่จี ดั ไวเ้ ฉพาะ และมีบคุ ลากรในการใหก้ ารดแู ลญาติ การ ดูแลเกี่ยวกบั ทรัพย์สิน การจดั การประสานงานในเรือ่ งตา่ งๆ
4. การจัดระบบในการรองรับผู้ป่วย เช่น เม่ือต้องรับผู้ป่วยไว้ใน โรงพยาบาลและแผนกในการดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมเต็ม ควรมีแผนกที่ สามารถใหก้ ารดูแลรกั ษาต่อได้ 5. การจัดระบบงานห้องผ่าตัด ควรมีการเตรียมเคร่ืองมือ อุปกรณ์ที่ เพียงพอรวมท้ังทีมงานในการใหก้ ารผา่ ตดั ด้วย
Search