Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2_เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายใน_2016_Feb_10

บทที่ 2_เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายใน_2016_Feb_10

Published by thanakritv, 2017-09-05 23:39:12

Description: บทที่ 2_เกณฑ์ประเมินคุณภาพภายใน_2016_Feb_10

Search

Read the Text Version

บ ท ท่ี ๒ เ ก ณ ฑ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ร ะ ดั บ ภ า ค วิ ช า ขอมูลท่ีใชในการประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา ประกอบดวย สวนท่ี ๑ โครงรางองคกรสว นที่ ๒ ผเู รยี น สว นท่ี ๓ ระบบปฏิบตั กิ าร และสว นที่ ๔ ผลลพั ธ รวมทงั้ ขอมูลอน่ื ๆ ในภาคผนวก สวนท่ี ๑ โครงรางองคกร โครงรางองคกร คือ ภาพรวมของภาควิชา เปนส่ิงสําคัญท่ีมีอิทธิพลตอวิธีการดําเนินงาน และเปนความทา ทายสาํ คัญทภ่ี าควชิ าเผชิญอยู ๑. ลกั ษณะองคกร : ใหอธิบายลักษณะสภาพแวดลอมการปฏิบัติงานของภาควิชา และความสัมพันธหลักกับผูเรียน ผูเรียนกลมุ อนื่ ผสู ง มอบ คคู วามรว มมอื ผูมสี วนไดสวนเสีย โดยตอบคําถามตอไปนี้ : ๑ ก. สภาพแวดลอมขององคกร (๑) รายวิชา บรกิ ารวิชาการ และงานวิจัย ภาควิชา จัดการเรียนการสอนในรายวิชาอะไรบาง ลําดับความสําคัญเชิงเปรียบเทียบของแตละรายวิชา เปนอยางไร ภาควชิ า มบี รกิ ารวชิ าการอะไรบา ง ลําดับความสาํ คัญเชิงเปรยี บเทยี บของแตล ะบริการเปนอยางไร ภาควิชา มีงานวิจัยสําคัญอะไรบาง ลําดับความสําคัญเชิงเปรียบเทียบของแตละหัวขอวิจัยเปนอยางไร (๒) วสิ ัยทัศน และพนั ธกิจ พนั ธกจิ และวิสยั ทัศนข องภาควิชาที่ไดป ระกาศไว คอื อะไร(พันธกิจของภาควิชาควรครอบคลุมท้ัง ๔ ดาน ไดแก ๑) จัดการเรียนการสอน ๒) วิจัย ๓) บริการวิชาการ และ๔) ทํานุบาํ รงุ ศิลปวัฒนธรรม) (๓) ลักษณะโดยรวมของบคุ ลากร ๑) การแบง กลุม บคุ ลากรและจาํ นวนบคุ ลากรทีป่ ฏิบัติหนา ที่ เปนอยางไร (คณาจารย [เต็มเวลา บางเวลา อัตราการบรรจุจริงและปฏิบัติงานจริง สังกัด วพม./รพ.รร.๖]ขาราชการ ลูกจา งประจาํ พนักงานราชการ ลูกจา งช่วั คราว) ๒) ปจจัยของความผูกพนั ทีท่ ําใหคณาจารยและบุคลากรเขามามีสวนรวมอยางจริงจังเพ่ือใหภาควิชาบรรลพุ นั ธกิจ และวิสยั ทัศน มอี ะไรบาง ๖ | ห น า

(๔) สนิ ทรัพย ทรัพยากรทใ่ี ชส นบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน บรกิ ารวิชาการ และงานวิจัย มอี ะไรบา ง (หองเรียน [ระบุ ขนาดและจํานวน] อุปกรณคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ หองสมุด[จํานวนหนังสือและวารสาร ฐานขอมูลออนไลนของหองสมุด] หองปฏิบัติการ รวมทั้งเทคโนโลยี และอุปกรณท่สี ําคญั อนื่ ๆ ทีใ่ ชเกี่ยวกับการเรียนการสอน) (๕) กฎระเบียบขอ บงั คบั สภาพแวดลอ มดานกฎระเบียบขอบงั คับท่บี งั คับใชก ับภาควิชา มอี ะไรบาง (กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ของ วพม. ทเ่ี กย่ี วขอ ง) ๑ ข. ความสมั พนั ธร ะดบั องคกร (๑) โครงสรางองคกร โครงสรา งการบริหารภาควชิ าและระบบธรรมาภบิ าลของภาควชิ า มลี ักษณะอยางไร มีคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน อะไรบาง ใหอธิบายความสัมพันธเชิงการรายงานระหวางคณะกรรมการชุดตา งๆ กับภาควชิ า (๒) ผูเรยี น ผูเรยี นกลุมอื่นและผมู สี ว นไดส ว นเสีย ๑) ผูเรยี น หรือผใู ชบ ริการ และกลมุ ผมู ีสวนไดสวนเสียท่ีสําคญั ของภาควิชา มีอะไรบา ง ๒) กลุมดังกลาวมีความตองการและความคาดหวังที่สําคัญอะไรบางตอการจัดการเรียนการสอนบริการวชิ าการ การวิจัย และการทาํ นุบาํ รงุ ศิลปวฒั นธรรม ๓) การจัดบรกิ ารสนับสนุนตอกลมุ ผูเรียนและผูเ รยี น และการปฏิบัติการตามความตองการและความคาดหวงั ของสวนตลาด กลมุ ผูเรยี น และกลมุ ผมู สี วนไดสว นเสีย แตล ะกลุม มคี วามแตกตางกันอยา งไร (๓) ผูส ง มอบและคคู วามรวมมอื ๑) ผูสงมอบและคูความรวมมือท่ีเปนทางการและไมเปนทางการที่สําคัญ มีอะไรบาง กลุมตางๆเหลานี้ มีบทบาทอะไรในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาและการสนับสนุนตอผูเรียนและผูเรียนกลุมอื่น การสงเสริมขีดความสามารถในการแขง ขันของภาควิชา และการทาํ ใหเกดิ นวตั กรรมของภาควชิ าอยางไร ๒. สภาวการณขององคกร : สภาวการณเชิงกลยุทธของภาควิชาเปนอยางไร ใหอธิบายสภาพแวดลอมดานการแขงขัน ความทา ทายและความไดเ ปรยี บเชงิ กลยทุ ธที่สําคัญ และระบบปรับปรุงผลการดําเนินการของภาควชิ า โดยตอบคําถามตอ ไปน้ี : ๒ ก. สภาพดา นการแขง ขนั (๑) ลาํ ดับในการแขงขัน ใหอธิบายขนาดและการเติบโตของภาควชิ า เมื่อเปรียบเทยี บกับภาควิชาอนื่ ๆ พรอ มระบุคแู ขง (๒) การเปลยี่ นแปลงความสามารถในการแขง ขัน การเปลีย่ นแปลงที่สาํ คญั ซ่ึงมผี ลกระทบตอสถานการณแขง ขันของภาควชิ า รวมถึงการเปลี่ยนแปลงท่ีสรางโอกาสสาํ หรับการสรางนวตั กรรมและความรวมมือ คืออะไร ๗ | ห น า

(๓) ขอ มูลเชิงเปรยี บเทียบ แหลงขอมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแขงขันที่สําคัญที่จะสามารถหาไดจากภายใน วพม. หรือภายในชุมชนวิชาการมีอะไรบาง แหลงขอมูลเชิงเปรียบเทียบที่สําคัญที่มีอยูจากภายนอกชุมชนวิชาการมีอะไรบางมีขอ จาํ กัดอะไรบางในการรวบรวมและใชขอมูลตา ง ๆ เหลานี้ (ถาม)ี ๒ ข. บริบทเชงิ กลยทุ ธ (๑) ความทา ทายและความไดเ ปรียบเชิงกลยทุ ธ ความทาทายและความไดเปรียบเชิงกลยุทธท่ีสําคัญดานรายวิชาและบริการวิชาการ การปฏิบัติการความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม และบคุ ลากร ของภาควิชา มีอะไรบา ง ๒ ค. ระบบการปรบั ปรุงผลการดําเนนิ การ สวนประกอบท่ีสําคัญของระบบปรับปรุงผลการดําเนินการของภาควิชา ซ่ึงรวมถึงกระบวนการประเมินและการปรับปรงุ โครงการและกระบวนการทีส่ ําคัญระดบั ภาควชิ า มีอะไรบาง สว นที่ ๒ ผูเรียน การมุงเนนผเู รียนนี้ ถามถึงวิธกี ารท่ีภาควิชาสรางความผูกพันกับกลุมผูเรียนและผูเรียน เพื่อความสําเร็จของการดําเนินการในระยะยาว รวมทั้งวิธีการที่ภาควิชารับฟงเสียงของผูเรียน สรางความสัมพันธกับกลุมผูเรียนและผูเรียน และใชส ารสนเทศดงั กลาวเพอ่ื ปรับปรงุ และคน หาโอกาสในการสรา งนวตั กรรม๓.๑ เสียงของผูเ รยี น : ภาควิชามีวิธีการอยางไรในการรวบรวมสารสนเทศจากกลุมผูเรียนและผูเรียน ใหอธิบายวิธีการที่ภาควชิ ารับฟงกลมุ ผูเรียนและผูเรียน และการไดมาซ่งึ สารสนเทศเก่ียวกับความพึงพอใจและความไมพึงพอใจโดยตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี :  ภาควิชามีวิธีการรับฟง มีปฏิสัมพันธ และสังเกตกลุมผูเรียนและผูใชบริการ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลท่ี สามารถนาํ ไปปฏิบตั ไิ ด (actionable information) อยา งไร  วิธีการรับฟงดงั กลาวมีความแตกตางกันอยางไรระหวางกลุมผูเรียนและผูใชบริการ มีการใชส่ือสังคม ออนไลน รวมถึงเทคโนโลยีท่ีใชงานบนเว็บ (Web-based technologies) ในการรับฟงอยางไร วธิ ีรบั ฟงแตกตา งอยา งไรในแตละชว งเวลาของการจดั การเรยี นการสอน  ภาควิชามีวิธีการติดตามคุณภาพของรายวิชาและบริการ รวมถึงคุณภาพของการสนับสนุนกลุม ผเู รียนและผใู ชบรกิ าร และวิธีการติดตอระหวางกันเพ่ือใหไดขอมูลปอนกลับที่ทันทวงทีและสามารถ นําไปปฏิบัตไิ ดอ ยา งไร  ภาควิชามีวิธีการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของกลุมผูเรียนและผูใชบริการอยางไร วิธีการเหลาน้ีมีความแตกตางกันอยางไรสําหรับแตละกลุมผูเรียนและผูใชบริการ และทําใหม่ันใจได วาการวัดผลดังกลาวใหสารสนเทศที่สามารถนําไปใชเพื่อตอบสนองใหเกินความคาดหวังของกลุม ผเู รยี นและผูใ ชบ ริการและเพ่ือรกั ษาความผูกพันกบั กลมุ ดังกลา วในระยะยาว ๘ | ห น า

 ภาควิชามีวิธีการประเมินความไมพึงพอใจของกลุมผูเรียนและผูใชบริการ และทําใหมั่นใจไดวาการ วัดผลดังกลาวใหสารสนเทศที่สามารถนําไปใชเพ่ือตอบสนองความตองการและทําไดดีกวาความ คาดหวังในอนาคตของกลมุ ผเู รียนและผใู ชบรกิ ารอยางไร๓.๒ ความผูกพนั ของผูเรยี น: ภาควิชามีวิธีการอยางไรในการตอบสนองความคาดหวังของผูเรียนและผูเรียนกลุมอ่ืน เพื่อสรางความผกู พันและความสัมพันธกับกลุมดังกลาว ใหอธิบายถึงวิธีการที่ภาควิชากําหนดรายวิชาและบริการ และชองทางการส่ือสารเพ่ือสนับสนุนกลุมผูเรียนและผูเรียน รวมท้ังวิธีการสรางความสัมพันธกับกลุมผูเรียนและผูเ รยี น ใหภาควชิ าตอบคาํ ถามตอไปน้ี :  ภาควิชามวี ธิ กี ารคนหาความตองการเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน บริการวิชาการ การวิจัย และ การทํานุบาํ รุงศลิ ปวัฒนธรรมจากกลุมผูเรยี น ผูใชบริการ อยางไร  ภาควิชามีวิธีการกําหนดและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน บริการวิชาการ การวิจัย และการ ทํานบุ าํ รุงศลิ ปวัฒนธรรม เพื่อใหตอบสนองตอความตองการและทําใหดีกวาความคาดหวังของแตละ กลุมผูเรียน ผูใชบริการ อยางไร (ตามที่ระบุไวในโครงรางองคกร) เพ่ือดึงดูดกลุมผูเรียน ผูใชบริการ ใหมๆ รวมทงั้ สรางโอกาสในการขยายความสมั พันธก บั กลุมผูเรยี น ผใู ชบริการในปจ จบุ ัน  ภาควิชามีวิธีการชวยใหกลุมผูเรียน ผูใชบริการ สามารถสืบคนสารสนเทศ และขอรับการสนับสนุน จากภาควชิ า รวมทัง้ สามารถใชบ รกิ ารและใหขอปอนกลับเก่ียวกับรายวิชา บริการ และการสนับสนุน ทภ่ี าควชิ า มีใหก บั กลมุ ผูเ รียน ผใู ชบรกิ ารกลุมอน่ื อยางไร  ภาควิชามีวิธีการสนับสนุนกลุมผูเรียน ผูใชบริการ รวมท้ังกลไกหลักในการสื่อสาร อยางไร วิธีการ ดงั กลา วมคี วามแตกตางกันอยา งไรในแตล ะกลุมผเู รียน ผใู ชบริการ  ภาควิชามีวิธีการกําหนดความตองการในการสนับสนุนกลุมผูเรียน ผูใชบริการ และทําใหม่ันใจได อยางไรวาการสนบั สนุนตามความตอ งการดังกลาวไดมีการถายทอดไปสูทุกคนและทุกกระบวนการที่ เก่ียวขอ งเพอื่ ปฏิบตั ิ  ภาควชิ ามีวธิ ีการใชส ารสนเทศเกีย่ วกบั กลมุ ผเู รียน ผูใชบริการ รวมถึงรายวิชาและบริการเพื่อกําหนด กลุม /ประเภทของกลมุ ผเู รียน ผูใชบรกิ าร ทั้งในปจจุบันและอนาคตอยา งไร  ในการจําแนกกลุม/ประเภทของกลุมผูเรียน ผูใชบริการ ภาควิชาไดคํานึงถึงกลุมผูเรียน ผูใชบริการ ของภาควิชาคูแขง รวมท้ังกลุมผูเรียน ผูใชบริการท่ีจะมีในอนาคตอยางไร ภาควิชากําหนดอยางไรวา กลุมผูเรยี น ผูใชบ ริการสว นใด ทีจ่ ะใหค วามสําคัญและชกั จูงใหม าศกึ ษาทีภ่ าควชิ ามากขนึ้  ภาควิชามีวิธีการประชาสัมพันธ สรางและจัดการความสัมพันธกับกลุมผูเรียน ผูใชบริการ เพื่อรักษา กลุมผูเรียน ผูใชบริการไว เพิ่มความผูกพันกับภาควิชา และสนองความตองการ/ทําใหดีกวาความ คาดหวงั ของกลุมผูเ รยี น ผูใชบ รกิ ารในแตละชวงท่ีภาควิชามีการจัดการเรียนการสอน หรือจัดบริการ อยางไร (รวมทั้งรักษาผูเรียนใหยังคงศึกษาตอใน วพม. โดยไมซํ้าชั้น และไมออกจาก วพม. ดวยเหตุ ใดๆ)  ภาควิชามีวิธีการใชประโยชนอยางเต็มที่จากสื่อสังคมออนไลน เพื่อสงเสริมความผูกพันและ ความสมั พนั ธกบั กลมุ ผเู รยี น ผูใ ชบริการ อยา งไร ๙ | ห น า

 ภาควิชามีวิธีการจัดการกับขอรองเรียนท่ีไดรับจากกลุมผูเรียน ผูใชบริการ และทําใหม่ันใจไดวาจะ แกไขขอรองเรียนนั้นอยางมีประสิทธิผล และทันทวงที และทําใหความเชื่อมั่นของผูเรียนและกลุม ผูเรยี นอน่ื กลับคืนมา รวมทงั้ สรา งเสริมความพึงพอใจและความผกู พัน อยางไร สว นที่ ๓ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ระบบปฏิบัติการ ถามวาภาควิชา มีวิธีการออกแบบ จัดการ และปรับปรุง รายวิชา ตลอดจนกระบวนการทํางานท่ีเก่ียวกับพันธกิจ อยางไร รวมท้ังมีวิธีการปรับปรุงประสิทธิผลของการปฏิบัติการเพ่ือสงมอบคุณคาแกผูเรียนและผเู รียนกลมุ อื่น และทําใหภ าควชิ าประสบความสําเรจ็ และยั่งยนื อยางไร๖.๑ กระบวนการทาํ งาน : วธิ กี ารออกแบบ จัดการ และปรับปรุง รายวิชาเปนอยางไร และกระบวนการทํางานสําคัญท่ีเก่ียวกับพันธกิจหลัก เปนอยางไร ใหอธิบายวิธีออกแบบ จัดการ และปรับปรุงกระบวนการทํางานสําคัญเพ่ือสงมอบรายวิชาและบริการที่มีคุณคาสําหรับผูเรียนและผูเรียนกลุมอื่น และทําใหภาควิชาประสบความสําเร็จและยั่งยนื และสรุปกระบวนการทํางานท่ีสําคญั ของภาควิชา ใหตอบคําถามดังตอ ไปน้ี :  วิธีการออกแบบ/จดั การ/ปรับปรงุ “การออกแบบหลักสตู ร” ของแตละรายวิชา เปน อยางไร  วธิ ีการออกแบบ/จัดการ/ปรบั ปรงุ “การเรยี นการสอน” ของแตละรายวชิ า เปน อยา งไร  วิธีการออกแบบ/จดั การ/ปรบั ปรงุ “การประเมนิ ผล” ของแตล ะรายวชิ า เปน อยา งไร  วิธีการออกแบบ/จัดการ/ปรับปรุง “บริการทางวิชาการ” เปนอยา งไร  วิธีการออกแบบ/จดั การ/ปรับปรงุ “การวิจัย” เปนอยา งไร  วิธีการออกแบบ/จัดการ/ปรบั ปรุง “การทาํ นบุ ํารุงศลิ ปวฒั นธรรม” เปน อยา งไร  มีตัววัดเชิงผลลัพธและตัววัดเชิงกระบวนการอะไรบาง ท่ีภาควิชาใชควบคุมและปรับปรุง กระบวนการทํางานสําคัญขางตน (การจัดการเรียนการสอน บริการวิชาการ การวิจัย และการทํานุ บาํ รุงศิลปวฒั นธรรม)  วิธีการปรบั ปรุงกระบวนการทาํ งานเพื่อเพมิ่ ผลการเรียนรูของผูเรียน และผลการดําเนินการดานอื่นๆ (บริการทางวชิ าการ วิจยั ทํานุบํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม) รวมทัง้ ลดความแปรปรวน เปนอยางไร๖.๒ ประสทิ ธผิ ลการปฏิบัติการ : วธิ ีทาํ ใหม่นั ใจวากระบวนการสําคัญตางๆ มีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิผล ทั้งในปจจุบันและอนาคต ใหอธิบายวิธีควบคุมตนทุน บริหารทําใหสถานที่ทํางานมีความปลอดภัย มีการเตรียมพรอมเพ่ือภาวะฉกุ เฉินท่อี าจเกดิ ข้ึน และสรางสรรคส่ิงใหมๆ เพ่ืออนาคต เพ่ือทําใหมั่นใจวาระบบปฏิบัติการมีประสิทธิผล และสงมอบคณุ คา แกผเู รยี นและผเู รียนกลุมอ่นื ใหตอบคาํ ถามดงั ตอ ไปนี้ :  วิธีควบคมุ ตนทนุ โดยรวมของการทาํ งาน เปน อยางไร  วิธีนําเรื่อง “รอบเวลาการทํางาน การเพิ่มผลผลิต และปจจัยอ่ืนๆ ที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล” มาใชใ นกระบวนการทาํ งาน เปน อยางไร  วธิ ีปอ งกันไมใหเ กดิ ขอผิดพลาดหรอื การทํางานซ้าํ เปน อยา งไร ๑๐ | ห น า

 วิธีลดตนทุนการตรวจสอบ การทดสอบ และการตรวจติดตามกระบวนการ หรือผลการดําเนินการ รวมท้ังสรางสมดุลระหวางความจําเปนของการควบคุมตนทุน กับความตองการของกลุมผูเรียนและ ผูเรียนของภาควชิ า เปน อยา งไร  วิธีดูแลใหสภาพแวดลอมในสถานท่ีทํางานมีความปลอดภัยตอกลุมผูเรียน ผูใชบริการ และบุคลากร เปนอยา งไร  วิธีการเพ่ือใหมั่นใจวามีการเตรียมพรอมตอภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน เปนอยางไร และระบบการ เตรยี มพรอ มดงั กลาวไดคาํ นงึ ถึงการปองกัน การจัดการความตอเนื่องของระบบปฏิบัติการ และการกู คนื สสู ภาพเดิมอยา งไร  วธิ ีการจัดการเพ่อื ใหเ กดิ นวตั กรรม เปนอยา งไร สวนท่ี ๔ ผลลัพธ หมวดผลลัพธ ขอใหภาควิชาแสดงผลลัพธและแนวโนมของผลลัพธ ดังตอไปน้ี ไดแก ผลลัพธดานการเรียนรูของผูเรียน ผลลัพธดานประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ (การจัดการเรียนการสอน บริการวิชาการ การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม) และผลลัพธดานการมุงเนนผูเรียน รวมทั้งขอมูลอ่ืนๆ ในภาคผนวก๗.๑ ผลลัพธด านการเรียนรูข องผูเรียน และผลลพั ธอ ่นื ๆ ตามพนั ธกิจ : ๗.๑.๑ ผลลพั ธด า นการเรยี นรขู องผเู รียน ไดแก ▪ รอยละของผูเรียนท่ีมีผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สาขาแพทยศาสตร ๖ ดา น ผา นเกณฑ ในแตละรายวิชา ▪ รอ ยละของผูเ รยี นทไ่ี ดร บั เกรด A (แยกตามรายวชิ า) ๗.๑.๒ ผลลัพธดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ ๑) การเรียนการสอน ▪ จํานวนรายวิชาท่ีมีการประเมินผล “การจัดการเรียนการสอน และสื่อการเรียนการสอนของ อาจารย” โดยผเู รยี น ▪ จํานวนรายวิชาท่มี กี ารประเมินผล “รูปแบบ/วิธกี ารประเมนิ ผล” ▪ จาํ นวนรายวิชาท่ีนาํ ผลการวเิ คราะหข อสอบมาปรบั ปรงุ ขอ สอบอยา งเปนรูปธรรม ▪ จํานวนรายวชิ าท่ีมีการประเมินผล “ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูการสอน และสภาพแวดลอมการ เรยี นรู” โดยผเู รยี น และคณาจารย ▪ จาํ นวนของหวั ขอ ในรายวิชาท่ีมกี ารสอนเปนภาษาองั กฤษ ▪ จํานวนรายวชิ าท่มี กี ารสอนโดยใช E-Learning ▪ จํานวนรายวิชาทม่ี กี ารสรปุ ผลการประเมินหลักสูตร (มคอ.๕) ๑๑ | ห น า

▪ จํานวนรายวชิ าทีม่ ีการนําผลการประเมินหลักสูตรมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอยางเปนรูปธรรม (ปรบั มคอ.๓) ๒) งานวจิ ัย (*กรณุ าสง ตารางสรปุ ผลงานวิจัยมาดว ย) ▪ จาํ นวนผลงานบทความวิชาการทต่ี พี มิ พในวารสารวิชาการระดับประเทศ ▪ จํานวนผลงานบทความวิชาการทีต่ ีพมิ พใ นวารสารวิชาการนานาชาติ ▪ จาํ นวนผลงานวจิ ยั ตีพิมพในวารสารวิชาการระดบั ประเทศ ▪ จํานวนผลงานวิจัยตีพิมพใ นวารสารวชิ าการระดับนานาชาติ ▪ จํานวนอาจารยท ไี่ ดร บั ทนุ สนบั สนนุ งานวิจัย ▪ จํานวนนวัตกรรมและงานสรา งสรรค ๓) งานบรกิ ารวิชาการ (**กรุณาสงตารางสรปุ บรกิ ารวิชาการมาดวย) ▪ จํานวนโครงการบรกิ ารวิชาการแกสงั คม ▪ จํานวนโครงการท่นี าํ มาพัฒนาการเรยี นการสอนและการวิจยั ▪ จาํ นวนโครงการทส่ี รา งความเขม แข็งกบั สงั คม ๔) การทาํ นุบํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม (***กรุณาสง ตารางสรุปกิจกรรมทํานุบาํ รงุ ศิลปวัฒนธรรมมาดว ย) ▪ จํานวนกิจกรรมสง เสรมิ และสนบั สนนุ ศลิ ปวัฒนธรรม ▪ การพัฒนาสุนทรยี ภาพในมติ ทิ างศลิ ปวัฒนธรรม (ตอบระดบั ทป่ี ฏบิ ัติจรงิ )๗.๒ ผลลพั ธด า นผเู รยี น: ▪ ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา – แยกตามรายวิชา (Evaluation form PCM 1/54) (ขอ ๑,๒,๓,๗) ▪ ความพึงพอใจของผูเรียนตอ “การจัดการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนของอาจารย” (Evaluation form PCM 1/54) ▪ ความพึงพอใจของผูเรียนตอ “ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน” (Evaluation form PCM 1/54 (ขอ ๕, ๖) ▪ จํานวนรายวิชาท่ีใชสื่อสังคมออนไลน เพ่ือสงเสริมความผูกพันและความสัมพันธกับกลุมผูเรียนและ ผูเรยี น ▪ ขอ รองเรียนทีไ่ ดรบั จากกลุมผเู รียนและผูเรยี น (กรุณาระบรุ ายละเอียด) ************************************************* ๑๒ | ห น า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook