Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Test

Test

Published by thanakritv, 2017-05-31 23:12:30

Description: 990

Search

Read the Text Version

1ช่ือเร่ืองนวตั กรรม สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง การสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate วิชากิจกรรมองคก์ ารวิชาชีพ 4 ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพปี ท่ี 2ชื่อผ้พู ฒั นา วทิ ยาลยั เทคโนโลยโี ปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ตาแหน่ง นางสาวณฐั กานต์ ภิรมณ์วฒุ ิการศึกษา ครูผสู้ อนสาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ปริญญาตรีวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต วชิ าเอกวทิ ยาการคอมพิวเตอร์สถานทต่ี ิดต่อ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ วทิ ยาลยั เทคโนโลยโี ปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ เบอร์โทรศพั ท์ 0-53231-061ปี ทท่ี านวตั กรรม E-mail : [email protected]ประเภทสื่อการสอน 2556 ประเภทสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทคดั ย่อ วตั ถุประสงคท์ ี่ใชใ้ นการทดลองคร้ังน้ีคือผูส้ อนตอ้ งการพฒั นาสื่อการสอนในรายวชิ ากิจกรรมองคก์ ารวิชาชีพ 4 ซ่ึงสอนเก่ียวกบั โปรแกรม Adobe Captivate ซ่ึงในหวั ขอ้ ท่ีทาวจิ ยั คร้ังน้ีไดเ้ ลือกหวั ขอ้การสร้างหนา้ จอ Log in การเขา้ ใชง้ านส่ือการเรียนการสอนโดยกลุ่มตวั อยา่ งท่ีผูว้ จิ ยั ไดท้ าการเลือกคือนกั ศึกษาระดบั ช้นั ปวช.ปี ที่ 2 สาขางานติดต้งั ไฟฟ้า ห้อง 2102 จานวน 38 คน ของวทิ ยาลยั เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ โดยทาการประเมินความพึงพอใจของผเู้ รียนในการใชส้ ่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวา่ มีความพึงพอใจในระดบั ใด โดยการใช้นกั ศึกษาทดลองใชส้ ่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate ประกอบวชิ ากิจกรรมองคก์ ารวชิ าชีพ 4 แลว้ ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโดยสถิติที่ใช้ในการทาวจิ ยั ในคร้ังน้ีคือค่าเฉล่ียของความพึงพอใจโดยผลจากการใชส้ ื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแลว้ พบวา่ โดยภาพรวมความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ียท่ี4.159ความสาคญั และความเป็ นมาของปัญหา การศึกษาน้นั เป็ นส่ิงที่จาเป็ นมากสาหรับทุกๆคน เพราะถา้ ใครไดร้ ับการศึกษามากก็จะมีความรู้มากและจะไดเ้ ปรียบในทุกๆเรื่อง ซ่ึงการศึกษาของประชากรในชาติน้นั เป็ นดชั นีการวดั และเปรียบเทียบความอยู่ดีกินดีของประเทศทว่ั โลก และระบุวา่ ประเทศใดประเทศหน่ึงจดั อยูใ่ นกลุ่มประเทศท่ีพฒั นาแล้ว ประเทศที่กาลงั พฒั นา หรือประเทศพฒั นาน้อยที่สุด ดงั น้นั ทุกคนจึงจาเป็ นตอ้ งศึกษาหาความรู้เพราะหากคนใดไม่ได้รับการศึกษาขาดความรู้แล้วน้ันย่อมทาให้ส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัวสังคม และประเทศชาติ โดยการศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพน้นั เป็ นการศึกษาท่ีสาคญั เพราะ

2เป็ นรากฐานของการศึกษาข้นั อ่ืนๆ หากผูเ้ รียนไม่ไดร้ ับความรู้อยา่ งเต็มท่ี ยอ่ มทาให้เกิดปัญหาในการเรียนระดบั ที่สูงข้ึน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจาวนั ของเรา อีกท้งั ยงั มีความสัมพนั ธ์กบั หลายๆดา้ น รวมท้งั ดา้ นการศึกษาและการเรียนการสอน ในปัจจุบนั ไดเ้ นน้ ผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลางโดยให้ผูเ้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากข้ึน เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ในเรื่องท่ีตนเองสนใจ โดยมีผูส้ อนเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนา โดยสามารถศึกษาหาความรู้ไดท้ ้งั ในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน สามารถหาความรู้ไดจ้ ากส่ือการเรียนรู้ประเภทต่างๆ ซ่ึงในปัจจุบนั น้ีมีสื่อหลายประเภทซ่ึงอานวยความสะดวกให้ผูเ้ รียนศึกษาหาความรู้ จากสื่อการเรียนรู้ได้ง่ายดาย ซ่ึงการศึกษาท่ีอาศัยเทคโนโลยีใหม่ๆ เหล่าน้ีเป็ นส่วนกลาง สถานศึกษาต่างๆ ในประเทศท้ังระดับโรงเรียน สถาบันวิทยาลยั และมหาวิทยาลยั ต่างๆ ก็ไดเ้ ขา้ ไปจดั การศึกษารูปแบบใหม่น้ี ซ่ึงรูปแบบที่กาลงั ไดร้ ับความนิยมอยู่มากในขณะน้ีคือ การดาเนินการศึกษา หรือ การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) เพ่ือสนองต่อความตอ้ งการการศึกษาที่ไร้พรมแดนไร้เงื่อนไขของเวลาและสถานท่ีโดยเน้นผเู้ รียนเป็ นสาคญั จะเป็ นการศึกษาในสถานที่ใดกไ็ ด้ โดยใชค้ อมพิวเตอร์แบบเครือข่าย (Network) หรืออินเตอร์เน็ต (Internet) ตามความจาเป็ นและเหมาะสมซ่ึงส่ือชนิดน้ีสามารถมีปฏิสัมพนั ธ์ตอบโตก้ บัผเู้ รียนได้ และมีการนาเสนอขอ้ มูลท่ีมีท้งั รูปภาพ ส่วนขอ้ ความบรรยาย ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดว้ ยเหตุน้ี ผูส้ อนจึงได้ตอ้ งการนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI เร่ือง การสร้างหน้าจอLog in เพอื่ ประเมินหาคุณภาพความเหมาะสมของสื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน CAI ในการพฒั นาการเรียนการสอนเรืองการสร้างหนา้ Log in เพือ่ เป็นแนวทางในการพฒั นาการสอนต่อไปวตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพฒั นาบทเรียนสื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างหนา้ จอ Log in 2. เพ่ือสารวจความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่ไดใ้ ช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้าง หนา้ จอ Log inแนวคิด ทฤษฎี หลกั การทเ่ี กยี่ วข้องกบั นวตั กรรม ความหมายของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน พวงเพชร วชั รรัตนพงค์ (2526 :16) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการนาเอาคอมพิวเตอร์เขา้ มาช่วยครูในการเรียนการสอน นกั เรียนเรียนรู้เน้ือหา บทเรียน และฝึ กฝนทกั ษะจากคอมพิวเตอร์แทนที่จะเรียนจากครูในบางวิชาบางบทเรียน การเรียนการสอนกบั คอมพิวเตอร์จะถูกดาเนินไปเป็ นระบบ คอมพิวเตอร์จะสามารถช้ีท่ีผดิ ของนกั เรียนไดเ้ ม่ือนกั เรียนกระทาผดิ ข้นั ตอนและคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนยงั เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยสนองความแตกต่างของความสามารถระหวา่ งบุคคลของนกั เรียนไดอ้ ีกดว้ ย

3 ยืน ภู่วรวรรณ (2531:120-129) ได้กล่าวถึงคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไดน้ าเน้ือหาวชิ าและลาดบั วธิ ีการสอนมาบนั ทึกเกบ็ ไว้ คอมพิวเตอร์จะช่วยนาบทเรียนท่ีเตรียมไวอ้ ยา่ งเป็นระบบมาเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมสาหรับ นกั เรียน แตล่ ะคน ทฤ ษ ฎี หลัก ที่ เกี่ ยวกับ การเรี ยนรู้ ของม นุ ษ ย์และส่ งผล กระท บ ต่อแนวคิ ดในการออก แบ บโครงสร้างของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไดแ้ ก่ (ถนอมพร เลาหจรัส. 2541: 52) 1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ( Behaviorism) 2. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivist) 3. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Schema Theory) 4. ทฤษฎีความยดื หยนุ่ ทางปัญญา (Cognitive Flexibility) ทฤษฎพี ฤตกิ รรมนิยม ( Behaviorism) เป็ นแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) เช่ือวา่ จิตวิทยาเป็ นเสมือนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์ของพฤติกรรมมนุษย์ (Scientific Study of Human Behavior) และการเรียนรู้ของมนุษยเ์ ป็ นท่ีสามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมภายนอก มีแนวความคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนอง (Stimuli and Response) เช่ือว่าการตอบสนองกับส่ิงเร้าของมนุษย์จะเกิดควบคู่กันในช่ ว ง เว ล า ท่ี เห ม า ะ ส ม ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม แ บ บ อ า ก า ร ก ร ะ ท า(Operant Conditioning) ซ่ึงมีการเสริมแรง (Reinforcement) เป็ นตวั การ ทฤษฎีน้ีส่งผลตอ่ การเรียนการสอนท่ีสาคญั ในลกั ษณะท่ีการเรียนเป็นชุดของพฤติกรรมซ่ึงจะตอ้ งเกิดข้ึนตามลาดบั ที่แน่ชดั ผเู้ รียนจะบรรลุวตั ถุประสงคไ์ ดต้ อ้ งมีการเรียนตามข้นั ตอนเป็ นวตั ถุประสงค์ ๆ ไปผลที่ไดจ้ ากการเรียนข้นั แรกน้ีจะเป็นพ้ืนฐานในการเรียนของข้นั ต่อ ๆ ไปในที่สุด คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ออกแบบตามแนวความคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มีโครงสร้างของบทเรียนในลกั ษณะเชิงเส้นตรง (Linear) โดยจะไดร้ ับการเสนอเน้ือหาในลาดบั ท่ีเหมือนกนั และตายตัว ซ่ึ ง ได้พิจารณ าแล้วว่าเป็ นลาดับการสอนที่ดี และผู้เรี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการต้งั คาถามผูเ้ รียนอย่างสม่าเสมอ หากตอบถูกก็จะได้รับการตอบสนองในรูปผลป้อนกลับทางบวกหรือรางวลั (Reward) หากผูเ้ รียนตอบผิดจะได้รับการตอบสนองในรูปของผลป้อนกลบั ในทางลบและคาอธิบายหรือการลงโทษ (Punishment) ซ่ึงผลป้อนกลบั น้ีถือเป็ นการเสริมแรงเพื่อใหเ้ กิดพฤติกรรมที่ตอ้ งการ ทฤษฎปี ัญญานิยม (Cognitivism) เกิดจากแนวคิดของชอมสก้ี (Chomsky) เชื่อวา่ พฤติกรรมมนุษยเ์ ป็ นเร่ืองของภายในจิตใจ มนุษยม์ ีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในแตกต่างกนั ออกไป การออกแบบการเรียนการสอนก็ควรท่ีจะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วย แนวความคิดเกี่ยวกับเร่ื องความทรง

4จา ได้แก่ ความแตกต่างระหว่างความทรงจาระยะส้ัน ระยะยาว และความคงทนของการจา(Short term memory, Long term memory, and Retention) แนวคิดเก่ียวกับการแบ่งประเภทความรู้ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คือ - ความรู้ในลกั ษณะเป็ นข้นั ตอน (Procedural Knowledge) ซ่ึงไดแ้ ก่ ความรู้ท่ีอธิบายว่าทาอยา่ งไร และเป็นองคค์ วามรู้ที่ตอ้ งการลาดบั การเรียนรู้ที่ชดั เจน - ความรู้ในลกั ษณะเป็ นการอธิบาย (Declarative Knowledge) ซ่ึงไดแ้ ก่ ความรู้ที่อธิบายวา่ คืออะไร - ความรู้ในลักษณะเป็ นเง่ือนไข (Condition Knowledge) ซ่ึงได้แก่ ความรู้ที่อธิบายเก่ียวกับวา่ เม่ือไรและทาไม ซ่ึงความรู้ 2 ประเภทหลงั น้ี ไม่ตอ้ งการลาดบั การเรียนรู้ท่ีตายตวั ทฤษฎโี ครงสร้างความรู้ (Schema Theory) เช่ือว่าโครงสร้างภายในความรู้ท่ีมนุษย์มีอยู่ มีลักษณะเป็ นโหนดหรือกลุ่มท่ีมีการเชื่อมโยงกนั อยู่ การที่มนุษยเ์ รียนรู้อะไรใหม่ ๆ น้นั มนุษยจ์ ะนาความรู้ใหม่ท่ีเพิ่งไดร้ ับน้นั ไปเชื่อมโยงกบั กลุ่มความรู้ที่มีอยู่เดิม (Pre-existing Knowledge) หน้าที่โครงสร้างของความรู้น้ีคือ การนาไปสู่การรับรู้ข้อมู ล (Perception) การรับรู้ข้อมู ลน้ัน จะไม่ส ามารถเกิ ดข้ึนได้ห ากขาดโครงส ร้างความรู้(Schema Theory) เพราะการรับรู้ขอ้ มูลน้นั เป็ นการสร้างความหมายโดยการถ่ายโอนความรู้ใหม่เขา้ กบัความรู้เดิม ในกรอบความรู้เดิมที่มีอยูแ่ ละจากการกระตุน้ โดยเหตุการณ์หน่ึง ๆ เกิดการเช่ือมโยงความรู้น้นั ๆ เขา้ ดว้ ยกนั การรับรู้ที่ทาใหเ้ กิดการเรียนรู้เนื่องจากไม่มีการเรียนรู้ใดเกิดข้ึนได้ โดยปราศจากการรับรู้โครงสร้างความรู้ยงั ช่วยในการระลึก (recall) ถึงสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีเราเคยเรียนรู้มา (Anderson, 1984) ทฤษฎคี วามยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility) เช่ือวา่ ความรู้แต่ละองคค์ วามรู้มีโครงสร้างท่ีแน่ชดั และสลบั ซบั ซ้อนมากนอ้ ยแตกต่างกนั ไป องค์ความรู้บางประเภทสาขาวิชา เช่น คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ถือวา่ เป็นองคค์ วามรู้ประเภทที่มีโครงสร้างตายตวั ไม่สลบั ซบั ซ้อน (Well-Structured Knowledge Domains) เพราะตรรกะและความเป็ นเหตุเป็ นผลท่ีแน่นอนของธรรมชาติขององคค์ วามรู้ องคค์ วามรู้บางประเภทสาขาวชิ า เช่น จิตวทิ ยาถือวา่ เป็ นองคค์ วามรู้ที่ไมม่ ีโครงสร้างตายตวั สลบั ซบั ซอ้ น (ill-structured Knowledge Domains) เพราะไม่เป็นเหตุเป็ นผลของธรรมชาติขององคค์ วามรู้ (West and Others, 1991) การแบ่งลกั ษณะโครงสร้างขององค์ความรู้ตามประเภทสาขาวิชา ไม่สามารถหมายรวมไปท้ังองค์ความรู้ในวิชาหน่ึ ง ๆท้งั หมด บางส่วนขององค์ความรู้บางประเภทสาขาวิชาที่มีโครงสร้างตายตวั ก็สามารถท่ีจะเป็ นองค์ความรู้ประเภทที่ไม่มีโครงสร้างตายตวั ไดเ้ ช่นกนั แนวคิดในเร่ืองยืดหยุ่นทางปัญญาน้ี ส่งผลให้เกิดความคิ ดในการออกแบ บ บท เรี ยนคอม พิวเตอร์ ช่ วยส อนเพื่ อตอบส นองต่อโครงส ร้ างองค์ความ รู้ที่ แตกตา่ งกนั ซ่ึงไดแ้ ก่แนวความคิดในเรื่องการออกแบบบทเรียนแบบสื่อหลายมิตินนั่ เอง

5 ทฤษฎีโครงสร้างความรู้และความยดื หยุน่ ทางปัญญา ส่งผลต่อการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปัจจุบนั ในลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั กล่าวคือ ทฤษฎีท้งั สองต่างสนบั สนุนแนวคิดเกี่ยวกบั การจดัระเบียบโครงสร้างการนาเสนอเน้ือหาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในลกั ษณะสื่อหลายมิติ การจดั ระเบียบโครงสร้างการนาเสนอเน้ือหาบทเรียนในลกั ษณะส่ือหลายมิติ จะตอบสนองต่อวธิ ีการเรียนรู้ของมนุษย์ในความพยายามท่ีจะเช่ือมโยงความรู้ใหม่เขา้ กบั ความรู้ที่มีอยู่เดิมไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ตรงกบั แนวคิดของทฤษฎีโครงสร้างความรู้ การนาเสนอเน้ือหาบทเรียนในลกั ษณะส่ือหลายมิติยงั สามารถที่จะตอบสนองความแตกต่างของโครงสร้างขององคค์ วามรู้ท่ีไม่ชดั เจน หรือมีความสลบั ซบั ซอ้ นซ่ึงเป็ นแนวคิดทฤษฎีความยืดหยุน่ ทางปัญญาไดอ้ ีกดว้ ย การจดั ระเบียบโครงสร้างการนาเสนอเน้ือหาบทเรียนลกั ษณะสื่อหลายมิติ จะให้ผู้เรี ยนทุกคนมีอิสระในการควบคุมการเรี ยนของตน (Learner control)ตามความสามารถ ความสนใจ ความถนดั และพ้ืนฐานความรู้ของตน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ออกแบบตามแนวคิดทฤษฎีท้งั สองน้ี ก็มีโครงสร้างของบทเรียนแบบส่ือหลายมิติในลกั ษณะโยงใย โดยผูเ้ รียนทุกคนไดร้ ับการเสนอเน้ือหาในลาดบั ท่ีไม่เหมือนกนั และไม่ตายตวั โดยเน้ือหาท่ีจะไดร้ ับการนาเสนอจะข้ึนอยกู่ บั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียน ความแตกต่างท่ีสาคญั ระหวา่ งการออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีปัญญานิยมก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีท้งั สองน้ีจะใหอ้ ิสระแก่ผเู้ รียน จากความหมายท่ีกล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไวว้ ่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การนาคอมพิวเตอร์กบั โปรแกรมบทเรียนมาช่วยในการเรียนการสอนมีการวางแผนเน้ือหาวิชาอย่างเป็ นข้ันตอน สามารถตอบสนองกับผูเ้ รียน มีการทบทวน การทาแบบฝึกหดั และการประเมินผล เทคนิคและวธิ ีการสอนคอมพวิ เตอร์ จากคากล่าวท่ีวา่ \"การสอนตอ้ งใชท้ ้งั ศาสตร์และศิลป์ \" ซ่ึงศาสตร์ คือ ตวั เน้ือความรู้ท่ีมีอยใู่ นตวัผูส้ อน ส่วนศิลป์ คือ ศิลปะ ความสามารถในการถ่ายทอดเน้ือหาไปสู่ผูเ้ รียน บางคร้ังเน้ือหาเดียวกนัผูส้ อนต่างกนั ย่อมมีศิลปะในการถ่ายทอดต่างกนั ดว้ ย การใช้ศาสตร์และศิลป์ ตอ้ งใช้อยา่ งผสมผสานกลมกลืนกนั การสอนคอมพิวเตอร์ก็เช่นกนั เม่ือผสู้ อนท่ีมีพ้ืนฐานความรู้เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ดีอยูแ่ ลว้ควรตอ้ งพจิ ารณาเพิ่มศิลปะในการสอน นน่ั คือ การนาความรู้ทางทฤษฎีการสอนและเทคนิควธิ ีการสอนไปใชเ้ พื่อจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ทฤษฎีการสอนของกาเย่ (Gagne) เป็ นแนวคิดเกี่ยวกบั การรู้ กล่าวถึงการเรียนรู้ของบุคคลวา่ จะเกิดข้ึนไดด้ ีหรือไม่เพียงใดข้ึนอยู่บนสภาพการณ์ท้งั ภายในและภายนอกผูเ้ รียน (Internal and ExternalConditions) และเหตุการณ์ในการเรียน (Events of Learning) จดั เป็ นลาดบั สภาพการณ์ในการเรียนรู้เป็ น9 ข้นั คือ 1. การเร้าความสนใจ

6 2. แจง้ จุดมุง่ หมายแก่ผเู้ รียน 3. สร้างสถานการณ์เพื่อดึงความรู้เดิม 4. เสนอบทเรียน 5. ช้ีแนวทางการเรียนรู้ 6. ใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิ 7. การใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั 8. การจดั การปฏิบตั ิ 9. ย้าใหเ้ กิดความจาและการถ่ายโอนความรู้ ทฤษฎีการสอนของเมอร์ริ ลไรเกลท (Merrill - Reigelath) แสดงทัศนะว่าการสอนเป็ นกระบวนการที่เสนอเป็นข้นั ตอนท่ีละเอียดและต่อเนื่อง ดงั น้ี 1. เลือกหวั ขอ้ ปฏิบตั ิท้งั หลายท่ีจะสอนดว้ ยการวเิ คราะห์ภารกิจ 2. ตดั สินใจวา่ จะสอนขอ้ ภารกิจใดเป็นอนั ดบั แรก 3. จดั ลาดบั ก่อนหลงั ของขอ้ ภารกิจที่เหลือ 4. ช้ีบ่งเน้ือหาที่สนบั สนุนการปฏิบตั ิภารกิจ 5. จดั เน้ือหาเขา้ บทเรียนและจดั ลาดบั บทเรียน 6. จดั ลาดบั การสอนภายในบทเรียนต่าง ๆ 7. ออกแบบการสอนในแตล่ ะบทเรียน ทฤษฎีการสอนของเคส (Case) ใหแ้ นวคิดเก่ียวกบั การสอนดา้ นพฤติกรรมในระหวา่ งการสอนแต่ละข้นั ของพฒั นาการทางสติปัญญาน้นั ข้ึนกบั การเพ่ิมความซบั ซอ้ นของยทุ ธศาสตร์การคิด ผเู้ รียนจะใชค้ วามคิดท่ีซบั ซ้อนไดเ้ ม่ือไดร้ ับประสบการณ์อยา่ งมีข้นั ตอน การจดั การสอนลกั ษณะน้ีจดั ลาดบั ตามความมุ่งหมายของภารกิจท่ีจะเรียน จดั ลาดบั ข้นั การปฏิบตั ิเพื่อนาไปสู่ความมุ่งหมายน้ัน ๆ โดยการเปรียบเทียบการคิดกบั ทกั ษะท่ีผูเ้ รียนไดร้ ับ มีการจดั ระดบั ความสามารถและการปฏิบตั ิของผูเ้ รียน มีแบบฝึกหดั หรือตวั อยา่ งใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษา ปัจจยั ที่ควรคานึงถึงต่อการจดั การสอนคอมพวิ เตอร์ การสอนเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์น้นั คงไม่สามารถจดั เขา้ ทฤษฎีการสอนประเภทใดประเภทหน่ึงไดโ้ ดยตรง แต่ควรนาทฤษฎีการสอนท้งั 4 ประการ มาพิจารณาใชร้ ่วมกนั การสอนคอมพิวเตอร์ยงั ตอ้ งคานึงถึงปัจจยั บางประการท่ีจะส่งผลตอ่ การสอนใหส้ ัมฤทธิผลดว้ ย

7 ทฤษฎคี วามพงึ พอใจ ความพึงพอใจ (Gratification) ตามความหมายของพจนานุกรมทางดา้ นพฤติกรรม ไดใ้ ห้ความจากดั ความไวว้ า่ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีมีความสุข เม่ือคนเราไดร้ ับผลสาเร็จ ตามความมุ่งหมาย (goals)ความตอ้ งการ (need) หรือแรงจูงใจ (motivation) (Wolman, 1973) ความพึงพอใจหมายถึง พอใจ ชอบใจ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้า 775) ความพึงพอใจหมายถึงความรู้ที่มีความสุขหรือความพอใจเม่ือได้รับความสาเร็จ หรือได้รับส่ิงที่ต้องการ (Quirk,1987) ความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกท่ีดีเม่ือประสบความสาเร็จ หรือไตร้ ับส่ิงที่ ตอ้ งการให้เกิดข้ึนเป็นความรู้สึกที่พอใจ (Hornby, 2000) โดยสรุปแลว้ ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ชอบใจ และมีความสุข ท่ีความ ตอ้ งการ หรือเป้าหมาย ท่ีต้งั ใจไวบ้ รรลุผลหรือสมหวงั น้นั เอง สาหรับนกั เรียนแลว้ กใ็ ชส้ ่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนส่วนใหญ่ก็ยอ่ มจะมีความตอ้ งการหรือความคาดหวงั วา่ ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะสามารถช่วยให้ตวั เองสามารถเขา้ ใจบทเรียนไดด้ ีย่ิงข้ึนหรือ ไตผ้ ลการเรียนดีข้ึนน้นั เอง ซ่ึงสามารถวดั ไดจ้ ากแบบสอบถามวดัระดบั ความพึงพอใจ หรือผลการทดสอบส่วนประกอบของนวตั กรรม นวตั กรรมจะประกอบดว้ ยส่วนของหนา้ จอหลกั เพื่อเขา้ สู่บทเรียน โดยจะมีพ้ืนหลงั เป็ นรูปภาพโลโกว้ ิทยาลยั ช่ือส่ือการสอน และมีป่ ุมกดตามชื่อในแต่ละหัวขอ้ เพื่อเขา้ สู่หวั บทเรียนในแต่ละส่วนโดยใหน้ กั ศึกษา ศึกษาขอ้ มูลไปทีละส่วน เร่ิมต้งั แต่ จุดประสงคก์ ารเรียน เน้ือหาประจาหน่วยการเรียนและแบบทดสอบหลงั เรียน ภาพท่ี 1 ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองการสร้างหนา้ จอ Log in

8ข้นั ตอนการพฒั นานวตั กรรม1. ข้นั เตรียมการ 1.1 ศึกษาขอ้ มูลจากสื่อการเรียนการสอน 1.2 กาหนดหวั ขอ้ ท่ีจะทาวจิ ยั ในช้นั เรียน 1.3 ศึกษาหลกั การแนวคิด ทฤษฎีและเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองที่จะทาการวจิ ยั ในช้นั เรียน 1.4 กาหนดกรอบโครงร่างในการสร้างส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน2. ข้นั ดาเนินการ 2.1 สร้างส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหน้าจอ Log inของโปรแกรม Adobe Captivate ซ่ึงประกอบดว้ ย ภาพที่ 2 ภาพการสร้างสื่อหนา้ แรก 2.1.1 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ภาพท่ี 3 การสร้างหนา้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

92.1.2 เน้ือหารายวชิ า ภาพที่ 4 การสร้างหนา้ บทเรียน2.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียน ภาพที่ 5 การสร้างหนา้ แบบทดสอบ ภาพที่ 6 การสร้างหนา้ แบบทดสอบ

10 2.2 สร้างเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 2.3 รวบรวมขอ้ มูลจากการวดั การใชบ้ ทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI) 2.4 วเิ คราะห์ขอ้ มูลและและสถิติที่ใชท้ ดสอบของคะแนนเฉลี่ยการใชบ้ ทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI)3. ข้นั สรุปผลและเผยแพร่ 3.1 เขียนรายงานการวิจยั เรื่อง ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง การสร้างหน้าจอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate 3.2 นาผลที่ไดจ้ ากการวจิ ยั คร้ังน้ีไปพฒั นาการเรียนการสอนในรายวชิ าอ่ืนต่อไปข้นั ตอนการใช้สื่อ 1. เมื่อเปิ ดบทเรียนข้ึนมาแล้วจะพบกบั หน้าตาของส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate ดงั น้ี ภาพท่ี 7 หนา้ จอส่ือคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนเรื่องการสร้างหนา้ จอ Log in 2. เมื่อเขา้ สู่บทเรียนแลว้ ใหน้ กั ศึกษาคลิกป่ ุม จุดประสงคก์ ารเรียนเพ่ือเขา้ ไปศึกษา ภาพที่ 8 หนา้ จอส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหนา้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

113. จากน้นั กลบั สู่หนา้ หลกั เพื่อเขา้ สู่หนา้ เน้ือหาประจาหน่วยเรียน ภาพท่ี 9 หนา้ จอสื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนหนา้ บทเรียน4. เมื่อเรียนจบบทเรียนประจาหน่วยเรียนแลว้ ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ภาพที่ 10 หนา้ จอสื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนหนา้ เขา้ สู่แบบทดสอบหลงั เรียน ภาพท่ี 11 หนา้ จอสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหนา้ เขา้ สู่แบบทดสอบหลงั เรียน

12 ภาพท่ี 12 หนา้ จอสื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนหนา้ แบบทดสอบหลงั เรียนกลุ่มทใ่ี ช้ในการทดลอง นกั ศึกษาระดบั ช้นั ปวช.ปี ท่ี 2 สาขางานติดต้งั ไฟฟ้า ห้อง 2102 จานวน 39 คนวทิ ยาลยั เทคโนโลยโี ปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่เคร่ืองมือทใ่ี ช้ประเมิน แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง การสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivateการรวบรวมข้อมูล 1. ให้กลุ่มตัวอย่างศึกษาจากส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง การสร้างหน้าจอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate 2. จากน้นั ให้นกั ศึกษาตอบแบบประเมินความพึงพอใจการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate 3. นาแบบสอบถามที่ไดน้ ามาวเิ คราะห์หาค่าเฉล่ียเพื่อสรุปผลสถติ ทิ ใี่ ช้ในการวจิ ัย อธิบายขอ้ มูลในรูปคา่ เฉลี่ย โดยผวู้ จิ ยั ไดก้ าหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายค่าเฉลี่ยของผลแบบสารวจความพงึ พอใจไว้ ดงั น้ี 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ยที่สุด 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดบั นอ้ ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง

13 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดบั มาก 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั มากที่สุดผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสาคัญ ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของนกั ศึกษาต่อสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivateตารางที่ 1 ตารางแสดงผลความพึงพอใจเรื่องการสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivateลาดับ หวั ข้อทป่ี ระเมิน ค่าเฉลยี่ ความพงึ พอใจ1 การจดั วางองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของหนา้ จอ 4.179 ระดบั ความพงึ พอใจมาก2 การเลือกใชส้ ีพ้นื และสีของเมนู 4.128 ระดบั ความพึงพอใจมาก3 ความถูกตอ้ งของขอ้ ความตามหลกั ภาษา 4.333 ระดบั ความพึงพอใจมาก4 ความเหมาะสมของตวั อกั ษรที่ใชน้ าเสนอ 4.051 ระดบั ความพึงพอใจมาก5 ความเหมาะสมของสีตวั อกั ษรและสีพ้ืน 4.128 ระดบั ความพงึ พอใจมาก6 ความเหมาะสมในการจดั วางตวั อกั ษรในแต่ละสไลด์ 4.128 ระดบั ความพงึ พอใจมาก7 ขนาดของรูปภาพที่นาเสนอ 3.949 ระดบั ความพึงพอใจมาก8 ความคมชดั ของรูปภาพ 4.154 ระดบั ความพงึ พอใจมาก9 การจดั วางองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของภาพในแต่ละจุด 3.949 ระดบั ความพึงพอใจมาก10 การนาเสนอภาพเคลื่อนไหวมีการสอดคลอ้ งกบั คาบรรยาย 4.128 ระดบั ความพึงพอใจมาก11 การสื่อความหมายของภาพวีดิทศั น์มีความสอดคลอ้ งกบั เน้ือหา 4.308 ระดบั ความพึงพอใจมาก12 การใชป้ ่ ุมตา่ งๆ เป็นตวั เช่ือมโยงเน้ือหาไปยงั จุดตา่ งๆ 4.154 ระดบั ความพึงพอใจมาก13 ความคล่องตวั ในการใชบ้ ทเรียน 4.154 ระดบั ความพงึ พอใจมาก14 ความเหมาะสมของแบบทดสอบกบั บทเรียน 4.179 ระดบั ความพงึ พอใจมาก15 ความทนั สมยั ของบทเรียน 4.282 ระดบั ความพงึ พอใจมาก16 ความสะดวกและง่ายตอ่ การใชง้ านของบทเรียน 4.333 ระดบั ความพงึ พอใจมากจากตารางพบว่า โดยภาพรวม นักศึกษามีความพึงพอใจต่อสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองการสร้างหนา้ จอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate อยูใ่ นระดบั มาก (ค่าเฉล่ีย เท่ากบั 4.159) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแลว้ พบวา่ นกั ศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดในเร่ือง ความสะดวกและง่ายต่อการใชบ้ ทเรียนคา่ เฉล่ีย 4.333 ความถูกตอ้ งของภาษาคา่ เฉล่ีย 4.333 การสื่อความหมายของภาพวีดิทศั น์มีความสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาค่าเฉล่ีย 4.308 และความทนั สมยั ของบทเรียนคา่ เฉล่ีย 4.282 ตามลาดบั

14สรุปผลการใช้นวตั กรรม 1. ผูเ้ รียนเกิดความสนใจในส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหน้าจอ Log in ของโปรแกรม Adobe Captivate 2. ผูเ้ รียนสามารถนาส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหน้าจอ Log in ของโปรแกรมAdobe Captivate กลบั ไปศึกษาเพม่ิ เติมไดด้ ว้ ยตนเองประโยชน์ทเี่ กดิ ขนึ้ ด้านผูส้ อนได้สื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือสามารถนาไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอนในรายวชิ าที่เก่ียวขอ้ งต่อไป ดา้ นผเู้ รียนไดส้ ื่อท่ีน่าสนใจสามารถขอผสู้ อนนากลบั ไปศึกษาซ้าไดเ้ องตามอธั ยาศยัแนวคดิ ในการพฒั นาต่อยอด จากผลการวิจยั เร่ืองส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การสร้างหน้าจอ Log in ของโปรแกรมAdobe Captivate ผวู้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะในการนาผลวจิ ยั ไปใช้ ดงั น้ี 1. จากผลการวจิ ยั พบวา่ ดา้ นเสียงบรรยาย เสียงดนตรี และเสียงประกอบ การบรรยายน้าเสียงอยู่ในระดบั เดียวกนั หมด ทาให้ขาดความน่าสนใจ ซ่ึงผูว้ ิจยั จะไดน้ าผลไปพฒั นาปรับปรุงในเรื่องเสียงบรรยายประกอบส่ือใหม้ ีความน่าสนใจมากข้ึนต่อไป 2. จากผลการวจิ ยั พบวา่ รูปแบบการนาเสนอ ขาดความหลากหลายในการนาเสนอเพ่ือกระตุน้ให้ผูเ้ รียนมีความสนใจในบทเรียน ซ่ึงผวู้ ิจยั จะนาผลไปปรับปรุงเพ่ิมความหลากหลายในรูปแบบการนาเสนอของส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใหน้ ่าสนใจต่อไป 3. จากผลการวจิ ยั พบวา่ รูปแบบของภาพและการจดั วางองคป์ ระกอบของภาพในสื่อยงั ไม่ดีพอซ่ึงผวู้ จิ ยั จะไดน้ าผลไปพฒั นาตอ่ ไปเอกสารอ้างองิ /บรรณานุกรมกิตติพร ปัญญาภิญโญผล. วจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการ: แนวทางสาหรับครู. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. 2554.สุมารินทร์ ถิละเวช การพฒั นาความสามารถทางการเรียนวชิ าคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่องความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์. 2553.อภิชยั เรืองศิริปิ ยะกุล พฒั นาส่ือการสอนดว้ ย Adobe Captivate 4 กรุงเทพ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ , 2553.อาพร เงินโต การสร้างชุดการสอนพฒั นาการอ่านคา www.acr.ac.th/acr/wijai1/62.doc. คน้ ควา้ เม่ือ 25/08/56.

15การวจิ ยั ในช้นั เรียน: หลกั การและตวั อยา่ ง http://www.krupai.net/action1.htm คน้ ควา้ เมื่อ 21/08/56.การสร้าง Log in ดว้ ยโปรแกรม Adobe Captivate http://dekdeemedia.com/ คน้ ควา้ เมื่อ 12/7/56.ทฤษฎีเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ช่วยสอน www.gotoknow.org/posts/20929 คน้ ควา้ เม่ือ 12/01/57.เทคนิคการสอนคอมพิวเตอร์ http://www.koobannok.com/142 คน้ ควา้ เม่ือ 1/10/56.http://www.siba.ac.th/siba2010/images/stories/research/015/001.pdf คน้ ควา้ เม่ือ 21/08/56.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook